You are on page 1of 13

87 มกราคม – มิถุนายน 2563 ปีที่ 43 เล่มที่ 1 วารสารสุขศึกษา

ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้ารับบริการนวดแผนไทย
ของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา
มนชนก ชูวรรธนะปกรณ์1 เกษแก้ว เสียงเพราะ2
1 อาจารย์ประจาสาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
2 อาจารย์ประจาสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงพรรณนาภาคตัดขวางนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการการ
นวดแผนไทยของผู้สูงอายุที่มารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล จังหวัดพะเยา กลุ่มตัวอย่างเป็น
ผู้สูงอายุ จานวน 403 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เก็บข้อมูลในระหว่างเดือนมกราคม-เมษายน 2561
โดยใช้แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และ
ไคสแควร์
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุ ร้อยละ 48.4 ที่เคยมีประสบการณ์ นวดแผนไทยโดยมีอายุ
ระหว่าง 60-69 ปี ร้อยละ 27.6 ความถี่ของการมารับบริการนวดแผนไทย 1-2 ครั้งต่อเดือน ร้อยละ 71.7
รูปแบบที่มารับบริการนวดแผนไทย ร้อยละ 65.1 นวดเพื่อส่งเสริมสุขภาพ และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ
การเข้ารับบริการนวดแผนไทย ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ ฐานะเศรษฐกิจและสังคม สิทธิการ
รักษาพยาบาล โรคประจาตัวของกลุ่มตัวอย่างที่เข้ารับบริการคือ โรคความดันโลหิตสูง โรคเกี่ยวกับกล้ามเนื้อ
และโรคเบาหวานตามลาดับ และการรับรู้ข้อมูลข่าวสารมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p0.05)
ปัจจัยเสริม การตัดสินใจด้านสถานที่บริการนวดแผนไทย ได้แก่ รูปแบบการให้บริการนวดแผนไทย และ
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ มีความสัมพันธ์ต่อการเลือกเข้ารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลใน
จังหวัดพะเยา (p0.05)
แนวทางพั ฒ นาคุ ณ ภาพการให้ บ ริ ก ารการแพทย์ แ ผนไทยควรส่ งเสริ ม และให้ ค วามส าคั ญ เกี่ ย วกั บ
กระบวนการให้บริการ บุคลากร ข้อมูลข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ และการจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการ
เข้าถึงระบบบริการสุขภาพให้เพิ่มขึ้นและพัฒนาคุณภาพการให้บริการอย่างต่อเนื่อง และหน่วยงานภาครัฐที่
เกี่ยวข้องควรสนับสนุนและจัดระบบบริการให้สิทธิการรักษาเพิ่มแก่ผู้สูงอายุที่มีโรคประจาตัว ให้สามารถ
เข้าถึงระบบบริการแพทย์ทางเลือกเพิ่มขึ้น

คาสาคัญ: การตัดสินใจเข้ารับบริการนวดแผนไทย/ การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ/ บริการนวดแผนไทยใน


โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล

Corresponding author: มนชนก ชูวรรธนะปกรณ์, อีเมล: c_monchanok@hotmail.com, โทร: 0894318119


Received: January 8, 2019; Revised: March 8, 2019; Accepted: April 1, 2019
Thai Journal of Health Education January – June 2020 Vol. 43 No.1 88

Factors that Related to Decision Making on Thai Traditional


Massage Services in the Elderly, Phayao Province
Monchanok Choowanthanapakorn1 Katekaew Seangpraw2
1 Lecturers, Department of Applied Thai Traditional Medicine, School of Medicine, University of Phayao
2 Lecturers, Department of Public Health, School of Medicine, University of Phayao

Abstract
This cross-sectional descriptive study aimed to study the factors related to decision making on
Thai traditional massage services in elderly people in health promoting hospitals, Phayao
Province. Sample group of 403 participants were selected by multi-stage random sampling. Data
was collected during January - April 2018 by interview form. Data were analyzed using descriptive
statistics, mean, standard deviation, percentages, and Chi square.
The results showed that sample group of elderly people who had were used Thai traditional
massage for 48.4 % who aged between 60-69 years for 27.6 % , the frequency of Thai traditional
massage service 1-2 times per month (71.7 %), types of Thai Traditional massage (65.1 %) Promote
health massage. Factors that related to decision making on Thai traditional massage services were
personal factors, gender, age, economic status and society. Rights to healthcare, Congenital
Disease. The sample group that received the service had Hypertension, musculoskeletal diseases
and Diabetes respectively, and the perception of information were statistically significant (p<0.05).
The reinforcing factors such as process of providing Thai traditional massage services, location and
physical environment on decision making services at Health Promotion Hospital in Phayao
Province had a statistically significant (p<0.05)
Guidelines for improving the quality of Thai traditional medicine services should promote and
pay attention to professional services process, professional personnel, public information
relations, accessible facilities, and building environment management, and constantly service-
quality improvement. And government agencies that related the health should support and
organize the Rights to healthcare system for elderly with congenital diseases to be able to access
to alternative medicine services.

Keywords: Decision Making Service/ Elderly Health Care/ Thai Traditional Massage Service in
Health Promotion Hospital

Corresponding author: Monchanok Choowanthanapakorn, Email: c_monchanok@hotmail.com,


Tel: 0894318119
89 มกราคม – มิถุนายน 2563 ปีที่ 43 เล่มที่ 1 วารสารสุขศึกษา

บทนา ผู้สูงอายุเป็นภาระหน้าที่และความรับผิดชอบที่
ปั จ จุ บั น ผู้ สู ง อายุ เ พิ่ ม จ านวนขึ้ น ทั่ ว โลก ทุกครอบครัว ตลอดจนชุมชน รวมถึงหน่วยงาน
ประเทศไทยเป็น อีกประเทศหนึ่งที่ กาลังพัฒ นา ภาครัฐ ที่ มี บ ทบาทหน้ าที่ ค วามรับ ผิ ด ชอบด้ า น
และมี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปพร้ อ มกั บ สั งคมโลก ผู้สูงอายุต้องดูแลร่วมมือกัน
อย่างต่อเนื่อง ข้อมูลสถานการณ์ประชากร ในปี กระทรวงสาธารณสุขได้ส่งเสริมนโยบายและ
พ.ศ. 2564 พบว่ า ประเทศไทยก าลั ง จะเข้ า สู่ กาหนดยุทธศาสตร์การแพทย์แผนไทย สนับสนุน
“สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ ” เมื่อประชากรอายุ ให้เป็นทางเลือกในการรักษาโรคและฟื้นฟูสภาพ
60 ปี ขึ้ น ไปมี สั ด ส่ ว นสู งถึ ง ร้ อ ยละ 20.0 ของ ความเจ็ บ ป่ ว ยแก่ ป ระชาชน โดยให้ มี ก ารใช้
ประชากรทั้งหมด ในปี พ.ศ. 2574 ประเทศไทย ผสมผสานกับการแพทย์แผนปัจจุบัน การแพทย์
จะเข้าสู่สังคมสูงอายุระดับสุดยอด เมื่อประชากร แผนไทยมีความสาคัญชัดเจนขึ้นในปี พ.ศ. 2545
อายุ 60 ปีขึ้นไปมีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 28.0 ของ จนถึงปัจจุบันการให้บริการการแพทย์แผนไทยได้
ประชากรทั้งหมด 1 ซึ่งผลจากการที่ผู้สู งอายุไทย เข้าร่วมอยู่ในระบบประกันสุขภาพแห่งชาติ 4 มี
เพิ่ ม จ านวนมากขึ้ น อย่ า งรวดเร็ ว ท าให้ มี ค วาม การให้ บ ริ ก ารด้ า นการแพทย์ แ ผนไทยแก่
ต้องการบริการด้านสุขภาพเพิ่มขึ้นด้วย เนื่องจาก ประชาชนในโรงพยาบาลภาครัฐ ซึ่งการบริการ
อายุที่มากขึ้นทาให้มีโอกาสเกิดโรคภัยไข้เจ็บได้ ประกอบด้ ว ย การนวดแผนไทย การจ่ า ยยา
ง่าย เมื่อเจ็บป่วยจะมีความรุนแรง หายช้า และ สมุ น ไพร การอบหรื อ การประคบสมุ น ไพร
มักมีความพิการหรือพยาธิสภาพต่างๆ ได้เสมอ 2 ซึ่งศาสตร์การดูแลรักษาสุขภาพด้วยการแพทย์
ซึ่ งผู้ สู งอ า ยุ เป็ น ช่ ว งวั ย ที่ ต้ อ งเผ ชิ ญ ก า ร แผนไทย สามารถนามาใช้ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
เปลี่ยนแปลงในทางเสื่อมลงทุกด้าน เช่น ทางด้าน แบบองค์ ร วมตามหลั ก ของธรรมานามั ย คื อ
ร่างกาย ด้านจิตใจ และด้านสังคม อันส่งผลต่อ กายานามั ย จิ ต ตานามั ย และชี วิ ต านามั ย 5
การเกิด ปั ญ หาสุ ขภาพจิต จากการเจ็บ ป่ วยทาง โดยกายานามัยเป็นหลักการป้องกันก่อนเจ็บป่วย
กาย เกิ ด โรคเรื้ อ รั ง ไม่ สุ ข สบาย ไม่ ส ามารถ เช่ น การรั บ ประทานอาหาร การใช้ ส มุ น ไพร
ทางานได้ อย่างเดิ ม นอกจากนั้ นจากการศึก ษา การนวดบาบัด การออกกาลังกายด้วยท่าบริหาร
ข้ อ มู ล พบว่ า กลุ่ ม โรคที่ ผู้ สู ง อายุ ป่ ว ยมาก 3 ฤาษี ดั ด ตน เป็ น ต้ น จิ ต ตานามั ย เป็ น หลั ก การ
อันดับแรก คือ กลุ่มโรคระบบกล้ามเนื้อ กระดูก บริหารจิตด้วยทาน ศีล ภาวนา ส่วนชีวิตานามัย
และข้อ กลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจ และกลุ่ม เป็นหลักการดาเนินชีวิตชอบ เดินสายกลาง ตาม
โรคหัวใจและหลอดเลือด3 ดังนั้นการก้าวเข้าสู่วัย หลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง อยู่ ใ นสิ่ ง แวดล้ อ มที่
สู งอายุ จึ งต้ อ งให้ ค วามส าคั ญ ในเรื่ อ งการดู แ ล เหมาะสม และเห็นความสาคัญของการช่วยเหลือ
สุขภาพอนามัยที่เหมาะสมแบบเป็นองค์รวมอัน ผู้สูงอายุอื่นให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี การบาบัดโรค
จะส่งผลต่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งนี้การดูแล ด้วยวิธีการนวดแผนไทยเป็นวิธีการบาบัดโรคที่มี
Thai Journal of Health Education January – June 2020 Vol. 43 No.1 90

มายาวนาน เนื่ อ งจากการนวดเป็ น บริ ก ารที่ ส่ ง เส ริ ม สุ ขภ าพ ต าบ ล ในเขต อ าเภ อเมื อง


นอกเหนื อ จากปั จ จั ย สี่ ในปั จ จุ บั น มั ก พบว่ า จั ง หวั ด พะเยา เก็ บ ข้ อ มู ล ในระหว่ า งเดื อ น
ผู้สูงอายุที่มีปัญหาการเครียด ปวดเมื่อยกล้ามเนือ้ มกราคม-เมษายน พ.ศ. 2561 เกณฑ์การคัดเลือก
เริ่มมาใช้บริการการนวดแผนไทยเพื่อช่วยบาบัด กลุ่มตัวอย่าง คือ มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ทั้งเพศ
อาการและช่วยคลายเครียด6 หญิ งและเพศชาย อาศัยอยู่ในพื้น ที่ ไม่น้ อยกว่า
1 ปี สามารถสื่ อ สารได้ และสมั ค รใจเข้ า ร่ ว ม
การศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ ปั ญ หา
โครงการวิจัย คานวณขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตร
สุขภาพ มีความสาคัญต่อการวางแผนแนวทางที่
ของ Cohen8 กาหนดระดั บ ความเชื่ อ มั่ น 95%
เหมาะสม การศึ ก ษาส่ วนใหญ่ ใช้ก รอบแนวคิ ด
ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ 5% และ
PRECEDE-PROCEED Model7 ซึ่งประกอบด้วย สั ด ส่ ว นของลั ก ษณะประชากรที่ ส นใจคื อ 0.5 9
3 กลุ่ ม ปั จ จั ย ได้ แ ก่ ปั จ จั ย น า ปั จ จั ย เอื้ อ และ โดยเพิ่ ม จ านวนกลุ่ ม ตั วอย่ างอี ก ร้อ ยละ 5 เพื่ อ
ปั จ จั ย เสริ ม ผู้ วิ จั ย ได้ น ากรอบแนวคิ ด นี้ ไ ป ป้องกันการสูญหายของกลุ่มตัวอย่างหรือการได้
ประยุกต์ในการกาหนดตัวแปรที่ ต้องการศึกษา ข้อมูลไม่สมบูรณ์ ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดจานวน
เกี่ ย วกั บ ปั จจั ยที่ มี ผ ลต่อ การตั ดสิ น ใจใช้ บ ริการ 403 คน การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบหลาย
นวดแผนไทยของผู้ สู ง อายุ จั ง หวั ด พะเยา ขั้ น ตอน (Multi-stage sampling) ขั้ น แรกสุ่ ม
ผลการศึกษาครั้งนี้จะทาให้ได้ข้อมูลพื้นฐานและ เลือกพื้น ที่อาเภอ ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างโดยการ
ปัจจัย ที่สาคัญ ต่อการน าไปพั ฒ นาและวางแผน จับสลาก (Simple Random Sampling) จาก 9
แก้ ไขปั ญ หาให้ ส อดคล้ อ งกั บ บริ บ ทของพื้ น ที่ อาเภอได้อาเภอเมืองพะเยา ขั้นที่สองสุ่มตาบล
จัดบริการนวดแผนไทยได้อย่ างมีประสิท ธิภ าพ จาก 15 ต าบล โดยใช้ วิธี การสุ่ม อย่ างง่า ย โดย
การจับฉลากเลือกได้ 2 ตาบลคือ ตาบลบ้านตุ่น
และสร้ า งความประทั บ ใจแก่ ผู้ สู งอายุ ที่ ม ารั บ
(10 หมู่ บ้ าน) และต าบลบ้ านต า (13 หมู่ บ้ าน)
บริการ
รวม 23 หมู่ บ้ า น เพื่ อ ให้ ก ลุ่ ม ตั ว อย่ า งกระจาย
วัตถุประสงค์การวิจัย ครอบคลุ ม ทุ ก หมู่ บ้ าน ผู้วิ จัย แบ่ งชั้ น ที่ ไม่ อ าศั ย
เพื่ อ ศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การตั ด สิ น ใจใช้ สัดส่วนโดยแบ่งเป็นโควต้า (Quota) ของผู้สูงอายุ
บริ ก ารการนวดแผนไทยของผู้ สู งอายุ ที่ ม ารั บ ที่ อ าศั ย อยู่ ในต าบลบ้ า นตุ่ น และบ้ านต า และมี
บริ ก ารในโรงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพต าบล ความสมัครใจเข้าร่วมตอบแบบสัมภาษณ์โดยใช้
จังหวัดพะเยา การเก็บตัวอย่างแบบตามสะดวก (Convenient
sampling)
ระเบียบวิธีวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผู้ วิจัยสร้างขึ้นจาก
การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เป็ น การวิ จั ย เชิ งพรรณนา
การประยุ ก ต์ ใ ช้ แ นวคิ ด PRECEDE-PROCEED
ภาคตั ด ขวาง (Cross-sectional Descriptive
Model7 เป็ น กรอบแนวคิ ด ในงานวิ จั ย และ
Studies) ประชากร คือ ผู้สูงอายุทั้งเพศชายและ
ประยุกต์แบบสัมภาษณ์ จาก สถาบันวิจัยระบบ
หญิง ที่มารับบริการนวดแผนไทย โรงพยาบาล-
สาธารณสุข กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและ
91 มกราคม – มิถุนายน 2563 ปีที่ 43 เล่มที่ 1 วารสารสุขศึกษา

การแพทย์ทางเลือก10 และมูลนิธิฟื้นฟูการแพทย์ จั ด อยู่ ใ นระดั บ ปานกลาง ช่ ว งคะแนนร้ อ ยละ


แผนไทยและสมาคมอายุ ร เวทวิ ท ยาลั ย 11 0-59 จัดอยู่ในระดับไม่ดี การตรวจสอบคุณภาพ
แบ บ สั ม ภ าษ ณ์ เป็ นลั ก ษ ณ ะให้ เลื อ กตอบ เครื่อ งมื อ โดยน าแบบสัม ภาษณ์ ให้ ผู้เชี่ ย วชาญ
ประกอบด้ ว ย 3 กลุ่ ม ปั จ จั ย ได้ แ ก่ ปั จ จั ย น า จานวน 3 ท่าน ตรวจสอบและพิ จารณา จากนั้ น
(Predisposing factors) เกี่ ย วกั บ องค์ ป ระกอบ แก้ไขความตรงเชิงเนื้อหา ความเข้าใจของภาษา
ของข้อมูลทั่วไปและทั กษะต่าง ๆ ในการศึกษา คุณภาพของแบบสอบถามแล้วนาไปทดสอบกับ
ครั้งนี้ มี 6 ข้อ ประกอบด้วยอายุ เพศ สถานภาพ กลุ่มที่มีความคล้ายคลึง (Try out) กับตัวอย่างใน
สมรส ระดับการศึกษา ฐานะทางเศรษฐกิจและ การวิจัย จานวน 30 คน นามาวิเคราะห์หาความ
สังคม และ โรคประจาตัว ปัจจัยเอื้อ (Enabling เที่ ย ง (Cronbach’s alpha coefficient) ได้ ค่ า
factors) เกี่ยวกับแหล่งทรัพยากรที่จาเป็นในการ เท่ากับ 0.9
แสดงพฤติกรรมของบุคคลและความสามารถที่จะ ภายหลั ง ได้ รั บ การอนุ มั ติ ก ารพิ จ ารณ า
ช่วยให้บุคคลสามารถแสดงพฤติกรรมนั้นได้ ใน จริยธรรมจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยใน
การศึก ษาครั้งนี้ มี 4 ข้ อ ประกอบด้ วยสิ ทธิก าร มนุ ษ ย์ มหาวิ ท ยาลั ย พะเยา เลขที่ โ ครงการ
รั ก ษาพยาบาล ประสบการณ์ น วดแผนไทย 2/101/59 ผู้วิจัยท าการเก็บ รวบรวมข้อมู ลโดย
ความถี่ของการมารับบริการ รูปแบบของบริการ ประกาศรับสมัค รผู้ ช่วยวิจัย ในพื้ น ที่จ านวน 15
นวดแผนไทยที่ เลื อ กใช้ (นวดผ่ อ นคลาย นวด คน เป็นอาสาสมัครสาธารณสุขในหมู่บ้าน (อสม.)
รัก ษาโรค)6 ปั จจัย ที่ มีผ ลต่ อการตั ด สิน ใจ 3 ข้ อ และสามารถสื่อสารภาษาท้องถิ่นได้ จากนั้นทา
ได้ แ ก่ ส ถ า น ที่ ให้ บ ริ ก า ร น ว ด แ ผ น ไท ย การประชุมเตรียมความพร้อมและอธิบายวิธีการ
การให้บริการ และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และ เก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อให้มีความสอดคล้องตาม
ปัจจัยเสริม (Reinforcing factors) เกี่ยวกับสิ่งที่ วัตถุประสงค์ของการวิจัยจานวน 3 ชั่วโมง และ
สนับสนุนให้บุคคลกระทาหรือปฏิบั ติพฤติกรรม ประเมินผลโดยการสังเกตและการตอบคาถาม
นั้นๆ ซึ่งสิ่งเหล่านี้บุคคลจะได้รับจากบุคคลอื่นที่มี เพื่ อ ให้ เข้ า ใจตรงกั น โดยผู้ วิ จั ย จากนั้ น ติ ด ต่ อ
อิทธิพลต่อตนเอง ประกอบด้วยบุคคลหรือสื่อใด ประสานงานกับผู้นาชุมชน เพื่อให้ผู้ช่วยนักวิจัย
ที่ มี อิท ธิพ ลในการเลื อกใช้บ ริก ารนวดแผนไทย ท าการเก็ บ ข้ อ มู ล โดยเข้ า พบกลุ่ ม ตั ว อย่ า งเพื่ อ
การแนะนาให้บุคคลรู้จักหรือบุคคลในครอบครัว อธิบ ายวัตถุประสงค์ ขั้ นตอนการวิจัย และการ
มาใช้บ ริก ารนวดแผนไทย 12 โดยแบบสอบถาม พิทักษ์สิทธิ์ เมื่อกลุ่มตัวอย่างยินดีเข้าร่วมการวิจัย
ด้านการตัดสินใจจากเดิม 5 ระดับ เป็น 3 ระดับ จึ งให้ ล งนามในหนั ง สื อ ยิ น ยอมและตอบแบบ
ตามลิ เ กิ ร์ ต (Likert scale) ได้ แ ก่ ไม่ เ ห็ น ด้ ว ย สัมภาษณ์ ในการศึกษาครั้งนี้เก็บรวบรวมข้อมูลที่
ไม่แน่ใจ และเห็นด้วย เพื่อให้สอดคล้องกับบริบท บ้ า นผู้ สู งอายุ แ ละโรงพยาบาลส่ งเสริ ม สุ ข ภาพ
ของผู้ สู ง อายุ ใ นพื้ น ที่ การจั ด ระดั บ คะแนน ตาบล ในช่วงเวลา 15.00–20.00 น. เพื่ อไม่ให้
ประยุกต์ตามแนวคิดของบลูม13 คือ ช่วงคะแนน กระทบเวลาการทางานและกลุ่มตัวอย่างสะดวก
ร้ อ ยละ 80-100 คะแนน จั ด อยู่ ใ นระดั บ ดี ในการให้ ข้อมูล โดยใช้เวลาสัมภาษณ์ ประมาณ
ช่ ว งคะแนนร้ อ ยละ 60-79 ของคะแนนเต็ ม 15-20 นาที
Thai Journal of Health Education January – June 2020 Vol. 43 No.1 92

การวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป ที่เคยนวดแผนไทยจะใช้สิทธิบัตรประกันสุขภาพ


โ ด ย ใช้ ส ถิ ติ เชิ ง พ ร ร ณ น า (Descriptive ถ้วนหน้ า(บั ต รทอง 30 บาท) มากกว่าสิ ทธิก าร
Statistics) ประกอบด้ ว ย การแจกแจงความถี่ รักษาชนิดอื่นร้อยละ 33.2
ร้อ ยละ ค่ า เฉลี่ ย และส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน เมื่ อ ทดสอบความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งปั จ จั ย
สาหรับ การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อ ส่ ว นบุ ค คลด้ า นเพศ อายุ ฐานะเศรษฐกิ จ และ
การตัดสินใจมาใช้บริการนวดแผนไทยใช้สถิติไคส สังคม สิทธิการรักษาพยาบาลกับประสบการณ์
แควร์ (Chi-Square test) และ Fisher 's exact นวดแผนไทยของผู้สูงอายุ พบว่ามีความสัมพันธ์
test ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 อย่ า งมี นั ย ส าคั ญ ทางสถิ ติ (p0.05) ส่ วนใหญ่
ผลการศึกษา ผู้ สู งอายุ ที่ มี ส ถานภาพสมรสเคยนวดแผนไทย
พบว่า ผู้สูงอายุกลุ่มตัวอย่างโดยภาพรวมเคย ร้อ ยละ 29.3 และระดั บ การศึ ก ษาพบว่ า ส่ ว น
นวด ร้อ ยละ 48.4 โดยส่ วนใหญ่ มี อ ายุร ะหว่า ง ใหญ่ไม่ได้เรียนหนังสือเคยการเข้ารับบริการนวด
60-69 ปี ร้ อยละ 27.6 รองลงมาคื อ ระหว่ าง 70-79 ปี แผนไทย ร้อยละ 27.5 เมื่อทดสอบความสัมพันธ์
และมากกว่าหรือเท่ากับ 80 ปี ร้อยละ 16.2 และ ระหว่า งปั จจั ยส่ วนบุ ค คลด้ านสถานภาพสมรส
ร้อยละ 4.7 ตามลาดับ เป็นเพศหญิ งที่เคยนวด และระดั บ การศึ ก ษากั บ การเข้ ารับ บริก ารนวด
แผนไทย ร้อยละ 31.8 ฐานะเศรษฐกิจและสังคม แผนไทยของผู้สูงอายุพบว่าไม่มีความสัมพันธ์ทาง
พบว่ า เพี ย งพอ ไม่ เ หลื อ เก็ บ ร้ อ ยละ 19.1 สถิติ (p0.05) (ตารางที่ 1)
สาหรับสิทธิการรักษาพยาบาล ส่วนใหญ่ผู้สูงอายุ
ตารางที่ 1 จาแนกตามจานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง
รวม ไม่เคยนวด เคยนวด
คุณลักษณะประชากร (N=403) (n=208) (n=195) p
จานวน(ร้อยละ) จานวน(ร้อยละ) จานวน(ร้อยละ)
อายุ (ปีที่ทาวิจัย) 0.002
60-69 ปี 262 (65.0) 151 (37.4) 111 (27.6)
70-79 ปี 114 (28.3) 49 (12.1) 65 (16.2)
80 ปีขึ้นไป 27 (6.7) 8 (2.0) 19 (4.7)
ค่าเฉลี่ย (Mean) = 68.04 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) = 7.09 ค่าต่าสุด (Min) = 60 ค่าสูงสุด (Max)= 89
เพศ 0.003
ชาย 169 (41.9) 102 (25.3) 67 (16.6)
หญิง 234 (58.1) 106 (26.3) 128 (31.8)
สถานภาพสมรส 0.347
โสด 52 (12.9) 22 (5.5) 30 (7.4)
สมรส 253 (62.8) 135 (33.5) 118 (29.3)
93 มกราคม – มิถุนายน 2563 ปีที่ 43 เล่มที่ 1 วารสารสุขศึกษา

ตารางที่ 1 จาแนกตามจานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง (ต่อ)


รวม ไม่เคยนวด เคยนวด
คุณลักษณะประชากร (N=403) (n=208) (n=195) p
จานวน(ร้อยละ) จานวน(ร้อยละ) จานวน(ร้อยละ)
ระดับการศึกษา 0.064
ไม่ได้เรียนหนังสือ 212 (52.6) 101 (25.1) 111 (27.5)
ประถมศึกษาชั้นปีที่ 1-6 146 (36.2) 77 (19.1) 69 (17.1)
มัธยมศึกษาชัน้ ปีที่ 1-3 45 (11.2) 30 (7.4) 15 (3.8)
ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม 0.001
ไม่เพียงพอ มีหนี้สิน 185 (45.9) 112 (27.8) 73 (18.1)
เพียงพอ ไม่เหลือเก็บ 153 (38.0) 76 (18.9) 77 (19.1)
มีพอเหลือเก็บ 65 (16.1) 20 (4.9) 45 (11.2)
สิทธิการรักษาพยาบาล 0.022
สิทธิบัตรประกันสุขภาพ 292 (72.4) 158 (39.2) 134 (33.2)
ถ้วนหน้า (บัตรทอง 30 บาท)
สิทธิผู้สงู อายุ 58 (14.4) 32 (7.9) 26 (6.5)
สิทธิข้าราชการ 53 (13.2) 18 (4.5) 35 (8.7)

ผู้ สู งอายุ ที่ มี โ รคประจ าตั ว พบว่ า มากกว่ า ร้อยละ 19.6 รองลงมาคือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ค รึ่ งห นึ่ งเค ย น วด แ ผ น ไท ย ร้ อ ย ล ะ 42.9 ร้อ ยละ 17.9 ครอบครั ว ร้ อ ยละ 11.8 และสื่ อ
เมื่อจาแนกโรคประจาตัวที่พบบ่อยและเคยนวด โปสเตอร์ แผ่นพับ ร้อยละ 10.4 ตามลาดับ เมื่อ
แผนไทย คือโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 34.2 ทดสอบความสัมพั นธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล
รองลงมาคื อ โรคปวดกล้ า มเนื้ อ และโครงสร้ า ง ด้านโรคประจาตัว และการรับรู้ข้อมูลข่าวสารกับ
กระดูก ร้อยละ 28.4 และโรคเบาหวาน ร้อยละ การเข้ารับบริการนวดแผนไทยของผู้สูงอายุพบว่า
14.2 ตามล าดั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสารเกี่ ย วกั บ การ มี ค วาม สั ม พั น ธ์ อ ย่ า งมี นั ย ส าคั ญ ทางสถิ ติ
บริการนวดแผนไทย พบว่า ส่วนใหญ่ได้รับข้อมูล (p0.05) (ตารางที่ 2)
ข่าวสารเกี่ยวกับการบริการนวดแผนไทยร้อยละ
37.7 และพบว่า ช่ อ งทางข้ อ มู ล ข่ าวสารที่ ได้ รั บ
มากที่ สุ ด จากอาสาสมั ค รสาธารณสุ ข (อสม.)
Thai Journal of Health Education January – June 2020 Vol. 43 No.1 94

ตารางที่ 2 จานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จาแนกตามข้อมูลด้านโรคประจาตัวและข้อมูลข่าวสารกับการเข้ารับ


บริการนวดแผนไทย (N=403)
รวม ไม่เคยนวด เคยนวด
ข้อมูล (N=403) (n=208) (n=195) p
จานวน (ร้อยละ) จานวน (ร้อยละ) จานวน (ร้อยละ)
โรคประจาตัว 0.001
ไม่มี 178 (44.2) 156 (38.7) 22 (5.5)
มี 225 (55.8) 52 (12.9) 173 (42.9)
ชนิดของโรคประจาตัว (n=225) 0.001
โรคความดันโลหิตสูง 104 (46.2) 27 (12.0) 77 (34.2)
โรคปวดกล้ามเนื้อและโครงสร้างกระดูก 80 (35.6) 16 (7.2) 64 (28.4)
โรคเบาหวาน 41 (18.2) 9 (4.0) 32 (14.2)
การเคยได้รบั ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการบริการนวดแผนไทย 0.022
ไม่เคย 174 (43.2) 131 (32.6) 43 (10.6)
เคย 229 (56.8) 77 (19.1) 152 (37.7)
ช่องทางที่เคยได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการนวดแผนไทย (n=229) 0.001
อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 55 (24.0) 10 (4.4) 45 (19.6)
เจ้าหน้าที่สาธารณสุข 46 (20.1) 5 (2.2) 41 (17.9)
ครอบครัว 35 (15.3) 8 (3.5) 27 (11.8)
สื่อโปสเตอร์ แผ่นพับ 34 (14.8) 10 (3.3) 24 (10.4)
กลุ่มผู้สูงอายุดว้ ยกัน 59 (25.8) 44 (19.2) 15 (6.6)

ด้านปัจจัยเสริม สาหรับผู้สูงอายุที่เคยเข้ารับ รู ป แบบที่ เข้ า รั บ บริ ก ารนวดแผนไทย พบว่ า


บริการนวดแผนไทยทั้ง 195 คน พบว่า มากกว่า ส่วนใหญ่ผู้สูงอายุจะเลือกใช้บริการนวดแผนไทย
ครึ่ ง หนึ่ ง มี ค วามถี่ ข องการมารั บ บริ ก ารนวด แบบส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 65.1 และนวดรักษา
แผนไทย 1-2 ครั้งต่อเดือน ร้อยละ 71.7 สาหรับ อาการเพียงร้อยละ 34.9 เท่านั้น (ตารางที่ 3)
ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จาแนกตามพฤติกรรมการมารับบริการและรูปแบบบริการนวดแผนไทย
(n=195)
พฤติกรรม จานวน ร้อยละ
ความถี่ของการเข้ารับบริการนวดแผนไทย
1-2 ครั้งต่อเดือน 140 71.7
มากกว่า 3 ครั้งต่อเดือน 55 28.3
รูปแบบของบริการนวดแผนไทยที่เลือกใช้
นวดส่งเสริมสุขภาพ 127 65.1
นวดรักษาอาการ 68 34.9
95 มกราคม – มิถุนายน 2563 ปีที่ 43 เล่มที่ 1 วารสารสุขศึกษา

การจ าแนกตามระดั บ การตั ด สิ น ใจของ ความสัมพั นธ์ต่อการตัดสินใจเข้าใช้บริการนวด


ผู้สูงอายุที่เคยเข้ารับบริการนวดแผนไทย ทั้ง 195 แผนไทยของผู้ สู ง อายุ โดยเปรี ย บเที ย บจาก
คน พบว่าด้ านสถานที่ มี ผ ลต่ อการตัด สิ น ใจเข้ า ประสบการณ์เคยเข้ารับบริการและไม่เคยเข้ารับ
รั บ บ ริ ก ารน วด แ ผ น ไท ย ระดั บ ป าน กล าง บริ ก าร พบว่า สถานที่ ให้ บ ริ ก ารนวดแผนไทย
(ร้อยละ 31.6) รูปแบบการนวดแผนไทยมีผลต่อ รูปแบบการนวดแผนไทย และสภาพแวดล้อมทาง
การตัดสินใจอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 26.6 กายภาพของคลินิกนวดแผนไทย มีความสัมพันธ์
และสภาพแวดล้อ มทางกายภาพที่ มี ผลต่อ การ กั บ การตั ด สิ น ใจเข้ า รั บ บริ ก ารนวดแผนไทย
ตัดสินใจเข้ารับการนวดแผนไทยอยู่ในระดับพอใจ (p0.05) (ตารางที่ 4)
น้ อย ร้ อ ย ล ะ 21.8 เมื่ อท ด ส อบ ปั จจั ย ที่ มี

ตารางที่ 4 จานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามระดับการตัดสินใจและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการ
ตัดสินใจเข้ารับบริการนวดแผนไทย
การเข้ารับบริการ
รวม (N=403) ไม่เคย เคย
ระดับการตัดสินใจ/ เข้ารับบริการ เข้ารับบริการ p
ปัจจัยแวดล้อม (n=208) (n=195)
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
สถานที่ให้บริการนวดแผนไทย 0.025
พอใจมาก 59 14.6 34 8.4 25 6.2
พอใจปานกลาง 235 58.4 108 26.8 127 31.6
พอใจน้อย 109 27.0 66 16.4 43 10.6
รูปแบบการนวดแผนไทย 0.037
พอใจมาก 60 14.9 23 5.7 37 9.2
พอใจปานกลาง 220 54.6 113 28.0 107 26.6
พอใจน้อย 123 30.5 72 19.7 51 12.6
สภาพแวดล้อมทางกายภาพของสถานที่ 0.003
พอใจมาก 54 13.4 19 4.7 35 8.7
พอใจปานกลาง 170 42.2 82 20.3 88 21.9
พอใจน้อย 179 44.4 107 26.5 72 17.9
Thai Journal of Health Education January – June 2020 Vol. 43 No.1 96

อภิปรายผล ที่พบสูงกว่ากลุ่มที่ไม่เคยเข้ารับบริการนวดแผน-
ผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้ สามารถอธิบายได้ว่า ไทย คื อ โรคความดั น โลหิ ต สู ง รองลงมาคื อ
ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์ต่อผู้สูงอายุในการ โรคปวดกล้ ามเนื้ อ และโครงสร้ า งกระดู ก และ
เข้ารับการนวดแผนไทยในระบบบริการสุขภาพ โรคเบาหวาน ตามลาดับ แสดงให้ เห็ นว่าระบบ
ประกอบไปด้ ว ยปั จ จั ย ส่ ว นบุ ค คล ปั จ จั ย น า ไหลเวี ย นโลหิ ต ในร่ า งกายของผู้ สู งอายุ มี ก าร
ปั จ จั ย เอื้ อ และปั จ จั ย เสริ ม 7 ส าหรั บ ปั จ จั ย น า ไหลเวียนที่ไม่ดี ทาให้เกิดอาการปวดต่าง ๆ ตาม
เกี่ ย วกั บ คุ ณ ลั ก ษณะประชากรและสั งคมใน ร่างกายขึ้นได้16 ส่วนสถานภาพสมรส และระดับ
การศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วยอายุ พบว่าผู้สูงอายุ การศึ ก ษา พบว่ า ไม่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างสถิ ติ
ที่เคยเข้ารับบริการนวดแผนไทยส่วนใหญ่มีอายุ เมื่อเทียบกับการเข้ารับบริการการนวดแผนไทย
ระหว่ า ง 60-69 ปี เนื่ อ งจากอายุ ที่ เพิ่ ม มากขึ้ น ของผู้สู งอายุ จะเห็ น ได้ ว่าผู้ สูงอายุ ที่ ไม่ ได้ เรีย น
ร่างกายก็จ ะมี ภ าวะของการเสื่อ มมากขึ้ น อย่ าง หนั ง สื อ เข้ า รั บ บริ ก ารนวดแผนไทยมากกว่ า
เห็นได้ชัด แต่การนวดแผนไทยให้กับผู้สูงอายุควร ผู้สูงอายุที่เคยเรียนหนังสือ แสดงให้เห็นว่าระดับ
มี ค วามระมั ด ระวั ง เนื่ อ งจากยิ่ ง อายุ ม ากขึ้ น การศึกษาไม่มีความสัมพันธ์อย่างชัดเจนในการ
ร่างกายและกระดูกมีความเปราะบางอาจทาให้ เข้ารับการนวดแผนไทยในผู้สูงอายุ ซึ่งผู้สูงอายุที่
กระดู ก แตกหั ก ได้ ง่ า ยจึ ง ควรท าการนวดใน ไม่ได้เรียนหนังสืออาจจะเกิดจากการทางานหนัก
ผู้สูงอายุ อย่างระมั ดระวัง 14 เพศ ส่ วนใหญ่ เป็ น และอิริยาบถที่ไม่ถูกต้องทาให้ต้องเข้ารับบริการ
เพศหญิ งที่ เข้ ารับ บริการนวดแผนไทยมากกว่ า นวดแผนไทยมากกว่า15
เพศชาย เนื่ อ งจากเพศหญิ ง มี ฮ อร์ โมนในการ ปัจจัยเอื้อ ประกอบด้วยสิทธิการรักษาพยาบาล
เจริญเติบโตต่อร่างกายที่รวดเร็วและทาให้อาการ จากการศึกษาครั้งนี้พบว่า ผู้สูงอายุที่เข้ารับการ
ปวดตามมาหลังจากที่ฮอร์โมนและประจาเดือน นวดแผนไทยส่วนใหญ่ใช้สิทธิบัตรประกันสุขภาพ
หมด จึงเกิดอาการปวดต่าง ๆ มากกว่าเพศชาย ถ้วนหน้า (บัตรทอง 30 บาท) มากกว่าสิทธิการ
และท าให้ ป ระสบการณ์ ในการนวดแผนไทยมี รักษาชนิ ดอื่นเนื่องจากสิทธิบัตรประกันสุขภาพ
มากกว่า 15 ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมพบว่า ถ้วนหน้า (บัตรทอง 30 บาท) สามารถนามาใช้ใน
ฐานะเพียงพอ ไม่เหลือเก็บ เคยมีประสบการณ์ การเบิกจ่ายได้หลังจากการรับบริการ สอดคล้อง
นวดแผนไทยเนื่องจากรายได้ที่เพียงพอ จึงส่งผล กับงานวิจัยของธีรยา นิยมศิลป์ และคณะ6 พบว่า
ให้ผู้สูงอายุใช้บริการการนวดแผนไทยเพื่อช่วยใน ปัจจุบันรูปแบบการให้บริการด้านการแพทย์แผน
การส่งเสริมสุขภาพหรือการนวดเพื่อรักษาอาการ ไทยในโรงพยาบาลได้ รั บ การสนั บ สนุ น ให้ เป็ น
เพื่ อให้ ห ายจาก โรคที่ เกิ ด จากการท างาน ทางเลือกในการรั กษาโรคและฟื้นฟูสภาพความ
และโรคประจ าตั ว จากการศึ ก ษาครั้ งนี้ พ บว่ า เจ็บป่วยแก่ประชาชนมีความชัดเจนมากขึ้นและ
ผู้สูงอายุที่เข้ารับการนวดแผนไทยมีโรคประจาตัว ได้เข้ามาร่วมอยู่ในระบบประกันสุขภาพแห่งชาติ
97 มกราคม – มิถุนายน 2563 ปีที่ 43 เล่มที่ 1 วารสารสุขศึกษา

ส่ งผลให้ ป ระชาชนเข้ า รั บ บริ ก ารเพิ่ ม ขึ้ น และ ปัจจัยที่ มีผ ลต่อการตัด สิน ใจของผู้ สูงอายุ ที่
สอดคล้ องกั บ งานวิจัยของพรพรรณ ระวังพั น ธ์ เข้ารับบริการในการนวดแผนไทย ได้แก่ สถานที่
และคณะ12 พบว่า การให้บริการการแพทย์แผน ให้ บ ริ ก ารนวดแผนไทย รูป แบบการให้ บ ริ ก าร
ไทยมีโครงสร้างการบริห ารและบุ ค ลากรที่ มีใบ แพทย์แผนไทย และสิ่งแวดล้อมกายภาพ จะอยู่
ประกอบวิ ช าชี พ การแพทย์ แ ผนไทยประจ า ในระดั บปานกลาง ซึ่งอธิบ ายให้เห็ น ว่าสถานที่
โรงพยาบาลชุ ม ชนและโรงพยาบาลส่ ง เสริ ม ให้บริการ และกระบวนการให้บริการ โดยเฉพาะ
สุขภาพตาบลทาให้ประชาชนสามารถตัดสินใจมา ศั ก ย ภ า พ ข อ งเจ้ า ห น้ า ที่ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
รับบริการมากขึ้น ความเชี่ ย วชาญ และสิ่ งแวดล้ อ มทางภายภาพ
ส าหรั บ การเข้ า รั บ บริ ก ารนวดแผนไทย ป ระ กอ บ ด้ วย อุ ป กรณ์ ก ารจั ด ห้ อ งส ร้ า ง
อธิบายได้ว่าผู้สูงอายุที่มีโ รคประจาตัว และเคย บรรยากาศ ความสะอาดส าหรั บ การนวด
ได้รับข่าวสารเกี่ยวกับนวดแผนไทยด้านการนวด ทุกปัจจัยล้วนมีความสาคัญต่อการตัดสินใจของ
รั ก ษาอาการและนวดส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพจาก ผู้สูงอายุที่จะมารับบริการการนวดแบบแผนไทย
อาสาสมั ครสาธารณสุ ข (อสม.) เคยเข้ารับ การ ในระบบสาธารณสุ ข สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย
นวดแผนไทยมากกว่าผู้สูงอายุที่ไม่มีโรคประจาตัว ที่ผ่านมา16 พบว่าประชาชนบางส่วนไม่มั่นใจใน
และความถี่ของการมารับบริการมากกว่าครึ่งหนึ่ง คุ ณ ภาพของการให้ บ ริ ก ารการแพทย์ แ ผนไทย
จากการสารวจเคยมารับบริการการนวดแผนไทย เนื่ อ งจากยั งไม่ ค่ อ ยเชื่ อ มั่ น ในบทบาทวิ ช าชี พ
1-2 ครั้ ง ต่ อ เดื อ นมากที่ สุ ด ซึ่ งแสดงให้ เห็ น ถึ ง แพทย์แผนไทย และขาดแคลนบุคลากรที่มี ความ
อัตราส่วนในการใช้บริการที่ชัดเจน รูปแบบของ เชีย่ วชาญ (ร้อยละ 12.6) บุคลากรทางการแพทย์
บริ ก ารนวดแผนไทยที่ เ ลื อ กใช้ ม ากที่ สุ ด คื อ อื่นๆยังขาดความเชื่อมั่นในวิชาชีพแพทย์แผนไทย
การนวดส่ งเสริ ม สุ ข ภาพมากกว่ าการนวดเพื่ อ และมี ค วามเข้ า ใจคลาดเคลื่ อ นเกี่ ย วกั บ แพทย์
รั ก ษาอาการ เนื่ อ งจากการนวดเพื่ อ ส่ ง เสริ ม แผนไทย (ร้อยละ15.5) โดยการให้บริการแพทย์
สุขภาพส่วนใหญ่จะนวดทั้งร่างกาย ส่วนการนวด แผนไทยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลควร
เพื่อรักษาอาการจะนวดเฉพาะจุดที่เป็นโรค และ เน้ น ที่ ค วาม พึ งพ อ ใจ ข อ งผู้ ม ารั บ บ ริ ก าร
เน้ น การรั ก ษาอาการเจ็ บ ปวดเฉพาะบริ เวณ การจั ด การสภาพแวดล้ อ มที่ เ อื้ อ ต่ อ การดู แ ล
เท่ า นั้ น 16 นอกจากนี้ ยั ง พบว่ า กลุ่ ม ตั ว อย่ า ง สุขภาพอย่างต่อเนื่อ ง และเพิ่ม ผลต่อการผ่อน-
ส่ วนใหญ่ ที่ ม ารับ บริก ารการแพทย์ แ ผนไทยใน คลาย เพื่ อ สอดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลมีจานวนผู้เข้า ประชาชนที่ ม ารั บ บริ ก าร ฉะนั้ น แนวทางการ
รับบริการในระดับปานกลางและน้อย ประเภท พัฒนาคุณภาพการให้บริการการแพทย์แผนไทย
ของการใช้บริการส่งเสริมสุขภาพและการป้อง- ควรส่งเสริมให้ครบวงจรในการดูแลสุขภาพแบบ
กันโรคพบว่าส่วนใหญ่ใช้บริการนวดไทยมากที่สุด องค์รวมทั้งด้านกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ6
Thai Journal of Health Education January – June 2020 Vol. 43 No.1 98

ปัจจัยเสริม ที่มีอิทธิพลในการเลือกใช้บริการ ข้อเสนอแนะ


นวดแผนไทย การแนะนาให้บุคคลรู้จักหรือบุคคล หน่ ว ยงานด้ านสาธารณสุ ข ในพื้ น ที่ ควรใช้
ในครอบครัวมาใช้บริการนวดแผนไทย โดยการ เป็นข้อมูลพฤติกรรมการมารับบริการนวดแผน-
รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการบริการนวดแผน ไทยและข้อมูลพื้นฐานในการศึกษาวิจัย วางแผน
ไทยจากอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) รองลงมา เพื่ อพั ฒ นาการเข้าถึ งระบบบริการสุข ภาพทาง
คื อ เจ้ าหน้ าที่ ส าธารณสุ ข ครอบครัว และกลุ่ ม การแพทย์แผนไทยและการนวดแผนไทย และ
ผู้ สู งอายุ ด้ ว ยกั น ตามล าดั บ จากผลการศึ ก ษา สามารถน าไปใช้ เ ป็ น นโยบายในการบริ ห าร
ทาให้เห็นว่าการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชน จัดการ การแพทย์ทางเลือกในระบบสุขภาพ
มีผลต่อการตัดสินใจมาเลือกรับบริการนวดแผน- นอกจากนี้ ควรมี ก ารศึ ก ษาข้ อ มู ล ในเชิ ง
ไทย การเข้าถึ งผู้สู งอายุ สามารถท าได้ ในหลาย คุณ ภาพ (Qualitative research) และการวิจั ย
รู ป แบบ ไม่ ว่ า จะเป็ น การเยี่ ย มบ้ า นผู้ สู ง อายุ เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร (Action research) เพื่ อ ให้ ไ ด้
การจัดตั้งสมาคมผู้สูงอายุในชุมชน การให้ความรู้ ข้อมูลในเชิงลึกและแนวทางพัฒนาการมีส่วนร่วม
เกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยให้ผู้สูงอายุได้รู้จักกัน ในระบบบริการแพทย์แผนไทยในอนาคตต่อไป
มากยิ่ งขึ้ น เพื่ อ เป็ น การป้ อ งกั น โรคในเบื้ อ งต้ น เพื่ อ มี ก ารส่ งเสริ ม และท าความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ
และสนับสนุนให้ผู้สูงอายุหันมาดูแลสุขภาพมาก การแพทย์ แ ผนไทยและการแพทย์ แ ผนไทย
ยิ่งขึ้น สอดคล้องกับงานวิจัยของแสงเพ็ชร ภู่มา ประยุ ก ต์ และให้ ป ระชาชนหั น มาใช้ แ พทย์
และคณะ 16 และธี ร ยา นิ ย มศิ ล ป์ และคณะ 6 ทางเลือกในการป้องกันและรักษาโรคภัยต่าง ๆ
พบว่า การให้ ข้อมู ลข่าวสารประชาชนเกี่ยวกั บ
กิตติกรรมประกาศ
การบริการแพทย์แผนไทยอยู่ในระดับปานกลาง
คณะผู้วิจัยขอขอบพระคุณคณะแพทยศาสตร์
ซึ่งยังไม่ ค รอบคลุม ในการเข้าถึงบริก ารสุข ภาพ
ที่ ใ ห้ ค วามร่ ว มมื อ และสนั บ สนุ น การด าเนิ น
ของประชาชนโดยเฉพาะในพื้นที่ชนบท
งานวิจัย ขอบคุณมหาวิทยาลั ยพะเยาที่ สนั บสนุ น
ดังนั้ น ด้านความเข้ม แข็งทางวิ ชาการควร
งบประมาณ แผ่ นดิ น พ.ศ. 2561 (RD61059)
สนับสนุนให้มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล
และขอขอบคุ ณ ผู้ อ านวยการโรงพยาบาล -
ข่าวสารด้านการแพทย์ทางเลือกอย่างทั่วถึงและ
ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพต าบล และเจ้ า หน้ า ที่ ทุ ก ฝ่ า ย
เข้ า ใจง่ า ย โดยมี ก ารวางแผนร่ ว มกั น ระหว่ า ง
ที่อนุเคราะห์ให้ความร่วมมือในการอานวยความ
หน่วยงานรับผิดชอบหลักและหน่วยงานในระดับ
สะด วกในระห ว่ า งการลงพื้ นที่ เ ก็ บ ข้ อ มู ล
พื้นที่
ตลอดจนผู้ สู ง อายุ ที่ ยิ น ดี เ ข้ า ร่ ว มงานวิ จั ย ใน
การศึกษางานวิจัยในครั้งนี้
99 มกราคม – มิถุนายน 2563 ปีที่ 43 เล่มที่ 1 วารสารสุขศึกษา

เอกสารอ้างอิง folk healer in Songkhla Province. Thaksin


1. Siripanich B. Situation of the elderly 2016. University Journal 2018;21(1):21-29.
Foundation for Thai Elderly Research and 10. สาลี ใจดี , พงษ์ พิสุทธิ์ จงอุดมสุข และคณะ. คู่มือ
Development Institute. Bangkok: Thailand; การนวดไทยเพื่ อ เสริ ม สร้ า งสุ ข ภาพผู้ สู ง อายุ .
2017. สถาบัน วิจัยระบบสาธารณสุขและกรมการแพทย์
2. Limpawattana P. Elderly and common แผนไทยและการแพทย์ ท างเลื อ ก. กระทรวง
diseases. Department of Medicine, Faculty ส า ธ า ร ณ สุ ข น น ท บุ รี ก รุ ง เท พ ฯ ; 2552.
of Medicine Khonkaen University; 2010. [เข้ า ถึ งเมื่ อ 15 ธั น ว า ค ม 2561]. เข้ า ถึ งได้
3. Chaisawat P, Phawananan P, Na Nong Khai จ า ก : http:// kb.hsri.or.th/ dspace/ handle/
S, and Kittipichai V. Health service 11228/2793?locale-attribute=th.
utilization according to the rights of the 11. Thai Traditional Medicine Rehabilitation
elderly, Wihan Khao Sub-district, Tha Chang Foundation and Ayurvedic Medical
District, Sing Buri Province. Wachirasarn Association. Thai royal massage. Bangkok:
Nursing. 2016; 18 (2): 42s-50s Pikanate Printing Center Company; 2 0 0 5 :
4. Department of Development Thai 15s-60s
Traditional Medicine and Alternative 12. Rawangpan P, Jampangern S,
Medicine, Ministry of Public Health. Opaswattana† O, and Aemsomboon O. The
Creating knowledge management, wisdom, Situation of Thai Traditional Medicine
Tai, way of life. Annual Meeting of Thai Services at Public Health Facilities in
Traditional Medicine Folk medicine and Suphan Buri Province. Journal of Thai
alternative medicine, 2006. Bangkok. 2006: Traditional & Alternative Medicine 2018;
109s-110s 16(2):268s-283s
5. Ketusingh O. Thammanamai Unit 1-7. 13. Bloom BS. Handbook on formative and
Bangkok: Sukhothai Thammathirat Open summative evaluation of student learning.
University; 1988. New York: McGraw-Hill; 1971
6. Niyomsil T, and Kapol N. Thai traditional 14. Muangphaisan W. Nutritional management
medicine services in hospitals of ministry of in the elderly. The Society of Gerontology
public health. Thai Phisai Journal Thesis and Geriatric Medicine, 2nd edition, January
2010;5(1):178s-189s 2017: 36s-39s
7. Green L W, Kreuter MW, Deeds SG, and 15. Laohaphan T, Chaturathamrong E, and
Partridge K B. Health education planning: A Thepwan T. Applied Thai Traditional
diagnostic approach. Palo Alto, CA: Medicine and Development Sustainable
Mayfield; 1980. Thai Traditional Medicine, Faculty of
8. Cohen J. Statistical power analysis for the Medicine, Siriraj Hospital Mahidol University
behavioral sciences. 2 nd ed. Hillsdale, NJ: August 2011: 67s-72s
Lawrence Earlbaum Associates; 1988: 7s-57s 16. Pooma S, and Angsusingha G. Situation of
9. Buatum N, Roengsanthia M, Jarukitsakul S, thai traditional medicine services at
and Sukjan Inthanuchit K. Thai massage of tambon health promoting hospitals.
low back pain treatment: A case study of Journal of Thai Traditional & Alternative
Medicine 2016;14(1):21-36.

You might also like