You are on page 1of 53

คู่มือการนวดไทย

เพื่ อ เสริ ม สร้ า งสุ ข ภาพผู้ สู ง อายุ

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
สถาบันสุขภาพวิถีไทย
ศูนย์ข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์
กรมพัฒนาการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา
สมาคมวิชาชีพการนวดไทย
คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ คำนำ
ที่ปรึกษา
ภญ.ดร.สำลี ใจดี นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข พญ.วันดี โภคะกุล
บรรณาธิการ คู่มือการนวดไทยเพื่อการเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ จัดทำขึ้น
นพ.ประพจน์ เภตรากาศ รัชนี จันทร์เกษ สุดารัตน์ สุวรรณพงศ์ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้นำความรู้ไปใช้ในการนวดตนเอง เพื่อให้มีสุขภาพดี
สุพัตรา สันทนานุการ ป้องกันอาการต่าง ๆ อันเนื่องจากสภาวะความเสื่อมตามวัย
กองบรรณาธิการ คู่มือการนวดไทยเพื่อการเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ เกิดจาก
บุญทำ กิจนิยม พิศิษฐ์ เบญจมงคลวารี ถวิล อภัยนิคม กระบวนการจั ด การความรู้ ข องภาคี เ ครื อ ข่ า ยต่ า ง ๆ ได้ แ ก่ มู ล นิ ธิ
ประทิน ทรัพย์บุญมี กรกมล เอี่ยมธนะมาศ วิโรจน์ มณฑา สาธารณสุขกับการพัฒนา สมาคมวิชาชีพการนวดไทย กรมพัฒนาการ
อัญชลี คติอนุรักษ์
แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สถาบันสุขภาพวิถีไทยภายใต้
ประสานงาน สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข นอกจากนี้มีแพทย์ผู้ทรงคุณวุฒิด้านผู้สูง
นงลภัส ศศิวัจน์ไพสิฐ อายุ นักวิชาการจำนวนมากที่เข้าร่วมกระบวนการ ทำให้คู่มือเล่มนี้
ข้อมูลบรรณานุกรมหอสมุดแห่งชาติ สำเร็จขึ้น
ประพจน์ เภตรากาศ รัชนี จันทร์เกษ สุดารัตน์ สุวรรณพงศ์และคณะ ที่สำคัญที่สุด คือ คณะหมอนวดไทย ที่เข้าร่วมโครงการจัดการ
คู่มือการนวดไทยเพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ
กรุงเทพฯ : อุษาการพิมพ์ ความรู้คณะนี้ ได้ทุ่มเทชีวิตและจิตใจให้กับการนวดไทย จนกล่าวได้ว่า
104 หน้า หมอนวดไทยคณะนี้ เป็นผู้สืบสานมรดกการนวดไทยให้ดำรงอยู่ และ
๑. คู่มือ ๒. การนวดไทย ๓. ผู้สูงอายุ ๔. การเสริมสร้างสุขภาพ พัฒนาจนการนวดไทยเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับประเทศและระดับโลก
ISBN: 978-974-299-136-4 คณะผู้ จั ด ทำ ขอขอบพระคุ ณ ครู บ าอาจารย์ ทุ ก ท่ า นที่ มี
สนับสนุนโดย ส่วนร่วมในการจัดทำคู่มือเล่มนี้ และหวังว่าคู่มือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์
สถาบันสุขภาพวิถีไทย ภายใต้สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ต่อผู้สูงอายุในการเรียนรู้และนำไปใช้ประโยชน์ เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ
ชั้น ๒ อาคารสวนกีฬากระทรวงสาธารณสุข ของตนเองต่อไป
ถนนติวานนท์ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐
โทรศัพท์: ๐-๒๕๙๑-๘๕๗๒ ต่อ ๑๑๔ โทรสาร: ๐-๒๕๙๑-๘๕๖๗
บรรณาธิการ
พิมพ์ครั้งที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๒ จำนวน ๑,๐๐๐ เล่ม
สถานที่พิมพ์ : อุษาการพิมพ์ โทรศัพท์ : ๐-๒๒๕๑-๕๘๑๕, ๐-๒๒๕๒-๐๔๔๘
สารบัญ
หน้า
บทที่ ๑ การจัดการความรู้การนวดไทยเพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ ๕
บทที่ ๑
บทที่ ๒ นิยามผู้สูงอายุ ๙ การจัดการความรู้การนวดไทย
นิยามผู้สูงอายุทางการแพทย์แผนไทย ๑๒ เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ
บทที่ ๓ สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย ๑๕
บทที่ ๔ สุขภาพของผู้สูงอายุ ๒๙
สุขภาพของผู้สูงอายุตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทย ๓๖
บทที่ ๕ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ ๔๕
การบริหารร่างกายเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ๔๖ ประชากรผู้ สู ง อายุ ใ นสั ง คมไทย ณ ปั จ จุ บั น นี้ มี ถึ ง ๗ ล้ า นคน
การนวดไทยเพื่อสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ๕๕ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ ๑๐ ของประชากรไทยทั้ ง หมด โดยคาดการณ์ ว่ า ใน
การนวดถนอมสายตา ๕๖ ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ จะมีถึงร้อยละ ๑๘ ของประชากร หมายความว่าขณะที่คน
การนวดตนเองเพื่อผ่อนคลาย กลุ่ ม หนึ่ ง เดิ น มา ๑๐ คน ในจำนวนนั้ น จะมี ผู้ สู ง อายุ ๒ คน และ
• คอ ศีรษะ ๖๐ จะมี ก ารเพิ่ ม ขึ้ น ในอั ต ราที่ ร วดเร็ ว เป็ น ๒ เท่ า ภายในเวลา ๓๐ ปี
• มือ แขน ไหล่ ๖๕ สัดส่วนประชากรผู้สูงอายุต่อประชากรทั้งหมดเท่ากับร้อยละ ๙.๒ ในปี
พ.ศ. ๒๕๔๓ และจะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ ๑๑.๔ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓๑ การ
• หลัง เอว สะโพก ๗๔
เปลี่ยนแปลงนี้จะนำประเทศไทยเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” (Aging Society)
• ขา เข่า ข้อเท้า ๘๓
ซึ่งมีผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
การนวดตนเองเพื่อเสริมสร้างความคล่องตัว ๙๑
จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติในพ.ศ. ๒๕๔๕ พบว่า
การนวดตนเองเพื่อผ่อนคลายช่วยให้นอนหลับดี ๙๔
โรคหรื อ อาการของโรคที่ ผู้ สู ง อายุ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น กั น มาก ๕ อั น ดั บ แรก
การนวดตนเองเพื่อช่วยการขับถ่ายอุจจาระ ๙๗
ได้แก่ ปวดเมื่อยตามร่างกาย ปวดหลัง ปวดข้อ นอนไม่หลับ เวียน
การนวดตนเองเพื่อป้องกันอาการจุกเสียด ท้องอิด ท้องเฟ้อ ๙๙

บรรณานุกรม ๑๐๓ ผู้สูงอายุในสังคมไทย. สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร. เมษายน ๒๕๔๘

การจัดการความรู้การนวดไทย 
ศีรษะ โรคตา ความจำเสื่อมและความดันโลหิตสูง ตามลำดับ และ แต่ไม่ถนัดในการถ่ายทอดออกเป็นตัวหนังสือหรือคู่มือ นำมาประมวล
โรคต่างๆ เหล่านี้พบมากขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้น๒ และจากการสำรวจความ สั ง เคราะห์ แ ละเรี ย บเรี ย งเป็ น ความรู้ ใ นรู ป หนั ง สื อ และคู่ มื อ เพื่ อ นำมา
เสี่ ย งของผู้ สู ง อายุ ไ ทยของกระทรวงพั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คงของ เผยแพร่ และใช้สร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุไทย
มนุษย์ในพ.ศ. ๒๕๔๙ พบว่าผู้สูงอายุเกือบ ๓ ใน ๔ มีโรคประจำตัว โรค
ที่เป็นปัญหาสำคัญได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคข้อ โรคเบาหวาน ๑. วัตถุประสงค์
โรคตา โรคหัวใจและหลอดเลือด ดังนั้นการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ๑.๑ เพื่ อ ถอดความรู้ แ ละประสบการณ์ ก ารนวดไทยในการ
จึ ง เป็ น กระบวนการเพิ่ ม ความสามารถในการดู แ ลตนเองเพื่ อ พั ฒ นา สร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพผู้ สู ง อายุ จ ากผู้ ป ระกอบโรคศิ ล ปะสาขาการแพทย์
สุขภาพของตนเองให้บรรลุความสมบูรณ์ทางกาย อารมณ์ สังคมและจิตใจ แผนไทย ประเภทการนวดไทย
และเป็ น ปั จ จั ย สำคั ญ ที่ จ ะทำให้ ผู้ สู ง อายุ มี ชี วิ ต ยื น ยาว ปกติ สุ ข และมี ๑.๒ เพื่ อ ศึ ก ษา วิ เ คราะห์ แ ละสั ง เคราะห์ ก ารถอดความรู้ ก าร
สมรรถภาพที่จะอยู่ได้ด้วยตนเอง ลดการพึ่งพิงจากผู้ใกล้ชิด นวดไทยในการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ นำมาเรียบเรียงเป็นเอกสาร
การสร้างเสริมสุขภาพด้วยการนวดไทยเป็นภูมิปัญญาไทยที่สั่งสม วิชาการเพื่อเผยแพร่ในงานมหกรรมสมุนไพรแห่งชาติ ครั้งที่ ๖
สืบทอดมาเป็นเวลาช้านานเป็นการช่วยเหลือเกื้อกูลที่อบอุ่นในระหว่าง
คนในครอบครัวด้วยสื่อสัมผัสแห่งความเอื้ออาทร และเป็นวิทยาการที่ ๒. กระบวนการจัดการความรู้
สามารถพึ่งตนเองได้ในชุมชน ในด้านสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพด้วย
๒.๑ ศึกษาข้อมูลเอกสาร ชุดความรู้ที่เกิดจากกระบวนการจัดการ
การนวดจะทำให้ ร ะบบต่ า งๆ ของร่ า งกายโดยเฉพาะระบบโครงสร้ า ง
ความรู้ที่เกี่ยวข้อง
ร่างกาย มีสมรรถภาพการเคลื่อนไหว มีการปรับสมดุลและมีการไหลเวียน
๒.๒ แต่งตั้งอนุกรรมการจัดการความรู้การนวดไทยในการสร้าง
ของเลือดทั่วร่างกาย ทำให้เนื้อเยื่อของอวัยวะต่างๆ ได้รับสารอาหารและ
เสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ซึ่งประกอบด้วยครูและวิทยากรหมอนวดไทยที่เป็น
ออกซิ เ จนจากเม็ ด เลื อ ดแดงได้ ดี นอกจากนี้ ก ารนวดไทยยั ง สามารถ
ผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทย ประเภทการนวดไทยที่มี
ลดอาการปวด แก้ เ คล็ ด ขั ด ยอก ลดการอั ก เสบ ลดการติ ด ขั ด ของ
ความรู้ ค วามชำนาญไม่ น้ อ ยกว่ า ๒๐ ปี และผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ด้ า น
กล้ามเนื้อ เอ็น ข้อต่อ และสามารถคลายเครียด แก้เป็นลม ลดอาการ
ผู้สูงอายุ ด้านการแพทย์ ด้านสาธารณสุข ฯลฯ
จุกเสียด แก้ท้องผูก
๒.๓ จัดประชุมอนุกรรมการจัดการฯเพื่อวางกรอบและแนวทาง
การจัดการความรู้การนวดไทยในการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
การจั ด การความรู้ กำหนดหั ว ข้ อ บทบาทหน้ า ที่ และกำหนดการ
รวบรวมความรู้ที่แฝงอยู่ในตัวหมอนวดไทยที่มีทักษะและประสบการณ์
ดำเนินงาน

การสาธารณสุ ข ไทย ๒๕๔๘-๒๕๕๐ . สำนั ก นโยบายและยุ ท ธศาสตร์ กระทรวง ๒.๔ การดำเนินการตั้งแต่ การทบทวนเอกสารวิชาการ จัดประชุม
สาธารณสุข หน้า ๒๓๓ ถอดความรู้การนวดไทยในการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ การวิเคราะห์
 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การจัดการความรู้การนวดไทย 
และสังเคราะห์ การเรียบเรียงเป็นร่างเอกสารฯ
๒.๕ การนำเสนอร่ า งเอกสารการจั ด การความรู้ ฯ ต่ อ อนุ ก รรม
การฯ
๒.๖ การจั ด ทำเป็ น หนั ง สื อ เรื่ อ งการนวดไทยเพื่ อ สร้ า งเสริ ม บทที่ ๒
สุขภาพผู้สูงอายุ เพื่อเผยแพร่ในงานมหกรรมสมุนไพรแห่งชาติครั้งที่ ๖
นิยามผู้สูงอายุ
๓. ประโยชน์ที่ ได้รับและกระบวนการต่อเนื่องจากการจัดการความรู้
๓.๑ เกิดกระบวนการเรียนรู้ระหว่างครูและวิทยากรหมอนวดไทย
ที่เป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทย ประเภทการนวดไทย
ที่มีความรู้ความชำนาญ และผู้ทรงคุณวุฒิด้านผู้สูงอายุ ด้านการแพทย์
แผนปัจจุบันและการสาธารณสุข นิยามผู้สูงอายุ
๓.๒ เกิดเอกสารวิชาการที่เป็นเอกสารตั้งต้นในการจัดทำเป็นคู่มือ พระราชบั ญ ญั ติ พ ระราชบั ญ ญั ติ ผู้ สู ง อายุ พ.ศ. ๒๕๔๖
หนังสือ ตำรา การนวดไทยเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุต่อไป มาตรา ๓ (เป็นกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
๓.๓ เกิดชุดความรู้ด้านการนวดไทยเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ พ.ศ.๒๕๔๐ มาตรา ๕๔ และมาตรา ๘๐ วรรคสอง) ให้นิยามผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุ ซึ่งผู้สูงอายุจะได้ใช้ในการเรียนรู้และใช้ในการนวดตนเอง ว่ า หมายความถึ ง บุ ค คลซึ่ ง มี อ ายุ เ กิ น หกสิ บ ปี บ ริ บู ร ณ์ ขึ้ น ไปและมี
สัญชาติไทย
มติ ส มั ช ชาโลกผู้ สู ง อายุ พ.ศ. ๒๕๒๕ ที่ น ครเวี ย นนา ให้
คำจำกัดความผู้สูงอายุคือ ชายและหญิงที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป
Craig (๑๙๙๑) และ Hoffman others (๑๙๘๘) ได้แบ่งช่วงวัย
ผู้สูงอายุเป็น ๔ ช่วง (อ้างใน ศรีเรือนแก้วกังวาน, ๒๕๔๕) ดังนี้
๑. วัยสูงอายุตอนต้น (The young old) ช่วงอายุ ๖๐-๖๙ ปี
เป็นช่วงที่ต้องพบกับความเปลี่ยนแปลงของชีวิตที่เป็นภาวะวิกฤตหลาย
ด้าน เช่น การเกษียณอายุ การเสียชีวิตของญาติสนิทหรือคู่ครอง รายได้
ลดลง การสูญเสียบทบาททางสังคม โดยทั่วไปช่วงนี้บุคคลยังคงแข็งแรง
 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ นิยามผู้สูงอายุ 
แต่อาจต้องพึ่งพาผู้อื่นบ้าง อย่างไรก็ตาม ผู้ที่ได้รับการศึกษาสูงจะรู้จัก ร่างกายลดน้อยลง เป็นผลมาจากความเสื่อมตามกระบวนการสูงอายุซึ่ง
ปรับตัว ช่วงนี้เป็นช่วงที่ยังมีสมรรถภาพด้านต่างๆ มาก การปรับตัวควร เป็นไปตามอายุขัย (Life span) ซึ่งบางครั้งอาจกล่าวได้ว่าเป็นมิติทาง
ใช้แบบ Engagement คือ ยังร่วมกิจกรรมต่างๆ ทางสังคมทั้งในและนอก เวลาที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงไปสู่ความสูงอายุ เป็นความสูงอายุ
ครอบครัว ตามวัย (Chronological aging) เป็นความสูงอายุตามปีปฏิทิน โดยนับ
จากปีที่เกิดเป็นต้นไปและบอกได้ทันทีว่าใครมีอายุมากหรือน้อยเพียงใด
๒. วั ย สู ง อายุ ต อนกลาง (The middle age old) ช่ ว งอายุ
มิติที่สองเป็นความสูงอายุทางจิตใจ (Psychological aging) เป็นมิติ
๗๐-๗๙ ปี เป็นช่วงที่เริ่มเจ็บป่วย เพื่อนและสมาชิกในครอบครัวที่อยู่
ของความสูงอายุที่มีการเปลี่ยนแปลงในหน้าที่ของการรับรู้กระบวนการ
ใกล้ เ คี ย งเริ่ ม เสี ย ชี วิ ต มากขึ้ น การเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมทางสั ง คมน้ อ ยลง
ความคิด ความจำ การเรียนรู้ เชาว์ปัญญาและลักษณะของบุคลิกภาพที่
เป็นการปรับตัวแบบ Disengagement คือ การเลิกเกี่ยวข้องกับกิจกรรม
ปรากฏในระยะต่ า งๆ ของชี วิ ต และคนที่ มี อ ายุ ม ากขึ้ น มิ ติ สุ ด ท้ า ย
ต่างๆ ของสังคม
เป็นความสูงอายุมิติทางสังคม (Social aging) เป็นมิติที่คำนึงถึงการ
๓. วัยสูงอายุมาก (The old old) ช่วงอายุ ๘๐-๘๙ ปี เป็นช่วงที่ เปลี่ยนแปลงบทบาท หน้าที่ สถานภาพ ของผู้สูงอายุในระบบสังคม
ปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมยากขึ้น เพราะสิ่งแวดล้อมที่เหมาะกับคนอายุ เช่น ครอบครัว ชุมชน หน่วยงานของราชการ สโมสร และอื่นๆ เป็นต้น
ช่วงนี้ต้องมีความเป็นส่วนตัวมากขึ้น แต่ต้องอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ยัง (ณัฐพงศ์ อนุวัตรยรรยง, ๒๕๔๐)
กระตุ้ น ความมี ส มรรถภาพในแง่ ต่ า งๆ ตามวั ย (Both privacy and
stimulating) ผู้สูงวัยระยะนี้ต้องการความช่วยเหลือจากผู้อื่นมากกว่าวัยที่
ผ่านมา
๔. วัยสูงอายุมากๆ (The very old old) ช่วงอายุ ๙๐-๙๙ ปี ผู้ที่
มีอายุระดับนี้จะค่อนข้างน้อย เป็นระยะที่มักมีปัญหาด้านสุขภาพมาก ผู้ที่
มีอายุระดับนี้ควรทำกิจกรรมที่ไม่ต้องแข็งขัน ควรทำกิจกรรมที่ตนพอใจ
และอยากทำ ผู้สูงอายุกลุ่มนี้ได้ผ่านวิกฤตต่างๆ ของชีวิตมาแล้วด้วยดี
มากมาย ช่วงนี้จะเป็นคาบแห่งความสุขสงบ พอใจในตนเอง
Hall (๑๙๗๗) Birren and J.Renner (๑๙๗๗) ได้แบ่งความสูง
อายุเป็น ๓ มิติ โดยมิติแรกเป็นความสูงอายุมิติทางร่างกาย หรือชีวภาพ
(Biological aging) เป็นมิติของความสูงอายุที่มีความเปลี่ยนแปลงทาง
ด้ า นร่ า งกาย เนื่ อ งจากประสิ ท ธิ ภ าพการทำงานของอวั ย วะต่ า งๆ ใน

10 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ นิยามผู้สูงอายุ 11


นิยามผู้สูงอายุทางการแพทย์แผนไทย (ปิตตะสมุฎฐาน : ดีในร่างกายกำเริบ ผิดปกติ ทำให้บังเกิด
โรค มีอาการต่าง ๆ มักเกิดระหว่างเดือน ๕ ถึงเดือน ๘)
พระคัมภีร์สมุฎฐานวินิจฉัย ซึ่งเป็นตำราว่าด้วยปรัชญาความรู้ใน ๓. ปัจฉิมวัย (พาลผู้เฒ่า) บุ ค คลผู้ ใ ดมี อ ายุ ล่ ว งพ้ น ๓๒ ปี
การวินิจฉัยโรค รวมทั้งองค์ประกอบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการค้นหา ขึ้นไป ถึง ๖๔ ปี วาโย วาตะเป็นที่ตั้งแห่งโทษ หมายถึง
สาเหตุ แ ห่ ง การเกิ ด โรคและการรั ก ษาสุ ข ภาพ ได้ ก ล่ า วถึ ง กองอายุ การเจ็ บ ป่ ว ยของบุ ค คลในช่ ว งอายุ นี้ ถ้ า จะเจ็ บ ป่ ว ยด้ ว ย
สมุฎฐาน ไว้ดังนี้
สมุ ฎ ฐานใดๆ ก็ ต าม วาตะเป็ น เจ้ า สมุ ฎ ฐาน เมื่ อ มี ก าร
เจ็ บ ป่ ว ยด้ ว ยสาเหตุ จ ากธาตุ ส มุ ฎ ฐานใดก็ ต าม ธาตุ ล ม
กองอายุสมุฎฐาน แบ่งออกได้ ๓ วัย ดังนี้ กระทำด้ ว ยทุ ก ครั้ ง และกระทำโทษหนั ก กว่ า กองธาตุ อื่ น
๑. ปฐมวัย (พาลทารก-วัยเด็ก) ผู้ ใ ดคลอดจากครรภ์ ม ารดา เมื่ออายุพ้น ๖๔ ปี ไปแล้ว สมุฎฐานวาโย มีอาโปแทรกพิกัด
มีอายุได้วันหนึ่งขึ้นไปถึง ๑๖ ปี เสมหะเป็นที่ตั้งแห่งโทษ เสมหะและเหงื่อ
หมายถึง การเจ็บป่วยของบุคคลในช่วงอายุนี้ ถ้าจะเจ็บป่วย
(วาตะสมุ ฎ ฐาน : ลมในร่ า งกายกำเริ บ ผิ ด ปกติ ทำให้
ด้ ว ยสมุ ฎ ฐานใดๆก็ ต าม เสมหะเจ้ า สมุ ฎ ฐานเจื อ ไปใน
บังเกิดโรคมีอาการต่าง ๆ มักเกิดในระหว่างเดือน ๙ ถึง
สมุฎฐานทั้งปวง และให้โทษหนักกว่า สมุฎฐานทั้งปวง
เดือน ๑๒)
(เสมหะสมุฎฐาน : เสมหะในร่างกายกำเริบ ผิดปกติ ทำให้
พระคั ม ภี ร์ ว รโยคสาร ซึ่ ง เป็ น ตำรา ว่ า ด้ ว ยองค์ แ ห่ ง แพทย์
บั ง เกิ ด โรค มี อ าการต่ า ง ๆ มั ก เกิ ด ระหว่ า งเดื อ น ๑ ถึ ง
เดือน ๔) ๓๐ ประการ คุ ณ ลั ก ษณะของแพทย์ ที่ ดี ลั ก ษณะผู้ ป่ ว ย นิ มิ ต โรค
การรักษาโรค การเก็บสมุนไพร และอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
๒. มัชฌิมวัย (พาลปานกลาง) บุคคลผู้ใดมีอายุล่วงพ้น ๑๖ ปี กล่าวถึงเรื่องวัยของคนเรา ไว้ใน “ไวยลักษณะ๓” อ้างอิง ดังนี้
จนถึง ๓๒ ปิตตะเป็นที่ตั้งแห่งโทษ หมายถึง การเจ็บป่วย
ของบุคคลในช่วงอายุนี้ ถ้าจะเจ็บป่วยด้วยสมุฎฐานใดๆ ก็ตาม ในวะยะลักษณะ๔ นั้นมีเนื้อความว่า ไวยมี ๓ ประการ เด็ก
ปิตตะเป็นเจ้าสมุฎฐาน จะเจือไปในกองสมุฎฐานทั้งปวง และ ประการหนึ่ง ปานกลางประการหนึ่ง แก่ประการหนึ่ง กำหนดตั้งแต่เกิด
ให้โทษหนักกว่าสมุฎฐานทั้งปวง จนถึงอายุ ๑๖ ปี มีชื่อว่า เด็ก กินน้ำนมเป็นอาหาร แต่นี้ไปจนถึง ๗๐ ปี


“ไวยลักษณะ” ลักษณะวัย - ระยะของอายุ

วะยะลักษณะ ภาษาบาลี ความหมายเดียวกับไวยลักษณะ
12 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ นิยามผู้สูงอายุ 13
ชื่อว่า ปานกลาง ตั้งแต่ (อายุ ๗๐ ปี) นี้ไปชื่อว่า แก่ แลเด็กอยู่ในปฐมวัย
นั้ น มี เ สลดเป็ น เจ้ า เรื อ น อายุ ป านกลางนั้ น มี ดี เ ป็ น เจ้ า เรื อ น
คนแก่นั้น มีลมเป็นเจ้าเรือน คนเด็กกับคนแก่ ๒ พวกนั้น หมออย่า บทที่ ๓
รักษาด้วยวิธีกรรมอันหยาบมียาอันกล้าแข็งนั้น พึงรักษาด้วยวิธีกรรม
อันอ่อนๆ คนปานกลางนั้นให้หมอพิจารณาดูกำลังกายแล้วพึงรักษาด้วย สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย
วิธีกรรมตามสมควรเถิด

องค์ความรู้จากทั้ง ๒ คัมภีร์ คนแก่ สมุฎฐานวาโย


ประเทศไทยได้ ก้ า วเข้ า สู่ สั ง คมผู้ สู ง อายุ (Aging Society)
มี อ าโปแทรกพิ กั ด เสมหะและเหงื่ อ คื อ ถ้ า เจ็ บ ป่ ว ยมี
หมายความว่าประเทศไทยมีผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ ๑๐ ของประชากร
ธาตุ ล มเป็ น เหตุ แ ห่ ง โรค มี ปิ ต ตะ, เสมหะ (ธาตุ น้ ำ )
ทั้งหมด อันเนื่องจากอายุขัยเฉลี่ยของประชากรเพิ่มขึ้น อัตราตายลดลง
แทรกซ้ อ น การดู แ ลเรื่ อ งอาหาร และการให้ ย าต้ อ ง
ซึ่ ง เป็ น ผลพวงความก้ า วหน้ า ทางด้ า นเทคโนโลยี ก ารแพทย์ แ ละ
ระวังอย่างมาก เช่นเดียวกับการดูแลเด็ก สาธารณสุข และความสำเร็จในมาตรการลดจำนวนประชากรโดยการ
วางแผนครอบครั ว ด้ ว ยวิ ธี ก ารคุ ม กำเนิ ด ซึ่ ง ส่ ง ผลกระทบต่ อ การ
เปลี่ ย นแปลงทางด้ า นเศรษฐกิ จ สั ง คม สิ่ ง แวดล้ อ ม และโครงสร้ า ง
ประชากร
จากข้ อ มู ล ประชากรสู ง อายุ ใ นประเทศไทยที่ มี อ ายุ ตั้ ง แต่ ๖๐ ปี
ขึ้นไปได้เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว ในปี พ.ศ. ๒๕๐๓ ประเทศไทยมี
ประชากรสู ง อายุ ป ระมาณ ๑.๕ ล้ า นคน (ร้ อ ยละ ๕.๔ ของประชากร
ทั้งหมด) พ.ศ. ๒๕๒๓ ประเทศไทยมีประชากรสูงอายุประมาณ ๕.๖ ล้าน
คน (ร้อยละ ๗ ของประชากรทั้งหมด) พ.ศ. ๒๕๔๓ เพิ่มเป็น ๖.๒ ล้านคน
(ร้อยละ ๙.๒ ของประชากรทั้งหมด) ในปีปัจจุบัน พ.ศ.๒๕๕๒ (ข้อมูล ณ
วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๒) เพิ่มเป็น ๗.๓ ล้านคน (ร้อยละ ๑๑.๕ ของ
14 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย 15
ประชากรทั้งหมด) และคาดว่าในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ จะมีผู้สูงอายุมากกว่า มี ป ระชากรสู ง อายุ ประมาณ ๗.๑ ล้ า นคน แบ่ ง ออกเป็ น ๓ กลุ่ ม คื อ
๑๐.๗ ล้านคน หรือร้อยละ ๑๕.๓ ของประชากรทั้งหมด (สำนักงาน กลุ่มผู้สูงอายุวัยต้น (๖๐-๖๙ ปี) ร้อยละ ๕๙ ผู้สูงอายุวัยกลาง (๗๐-๗๙ ปี)
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๔๙) และจาก ร้ อ ยละ ๓๒ และผู้ สู ง อายุ วั ย ปลาย (๘๐ ปี ขั้ น ไป) ร้ อ ยละ ๙ โดยมี
การศึกษาเปรียบเทียบความเร็วของการเข้าสู่ภาวะประชากรสูงอายุ คุณลักษณะของประชากรสูงอายุ ดังนี้ เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
ระหว่างกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วกับประเทศไทยพบว่า การเพิ่มขึ้นของ เพศหญิง มีร้อยละ ๕๕ เทียบกับเพศชายคือร้อยละ ๔๕
สัดส่วนประชากรสูงอายุจากร้อยละ ๗ เป็นร้อยละ ๑๔ ของประเทศไทย ส่วนใหญ่อยู่กับคู่สมรส ร้อยละ ๖๓ ส่วนผู้สูงอายุที่เป็นหม้ายมี
มี ก ารเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งรวดเร็ ว มากกว่ า ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว ถึ ง ๓ เท่ า สัดส่วนลดลง มีร้อยละ ๓๒ อาศัยในเขตชนบทมากกว่าเขตเมือง อยู่ใน
(วาทินี บุญชะลักษี, ๒๕๔๕) เช่น ประเทศฝรั่งเศส ใช้เวลา ๑๑๔ ปี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมากที่สุด รองลงมาคือภาคกลาง ภาคเหนือ
ประเทศอังกฤษ ใช้เวลา ๑๐๗ ปี และสหรัฐอเมริกา ใช้เวลา ๗๒ ปี ภาคใต้ ตามลำดับ
แต่สำหรับประเทศไทยใช้เวลาเพียง ๓๐ ปีเท่านั้น แสดงว่าความเร็วของ
การเพิ่มประชากรสูงอายุเป็นเท่าตัวจะสั้นลง ทำให้มีเวลาในการเตรียม ๒. การศึกษาของผู้สูงอายุ
ความพร้อมด้านคนและระบบทำได้ในระยะเวลาสั้น จึงจำเป็นต้องมีการ จากการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ พบว่า
วางแผนและกำหนดยุทธศาสตร์ในการเตรียมประชากรในแต่ละช่วงวัย ระดับการศึกษาของผู้สูงอายุแตกต่างกันตามอายุ เพศ และเขตที่อยู่อาศัย
ในปัจจุบันให้เป็นคนสูงวัยที่มีคุณภาพ (Active Aging) มีสุขภาวะที่ดี โดยผู้สูงอายุส่วนใหญ่ที่จบการศึกษาระดับประถมภาคบังคับเป็นระดับ
มีความรู้ ความสามารถ และมีความมั่นคง เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี ประถมศึกษา ๔ ปี ซึ่งเป็นระบบที่ใช้กันอยู่ในเวลานั้น มีประมาณร้อยละ
ของสังคมโดยส่วนรวม ๖๘ มีผู้สูงอายุเพียงส่วนน้อย คือร้อยละ ๕ ที่จบระดับสูงกว่ามัธยมศึกษา
ตอนต้น ผู้สูงอายุในเขตเมืองมีการศึกษาสูงกว่าผู้สูงอายุในเขตชนบท
๑. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรสูงอายุ แม้ ว่ า สั ด ส่ ว นที่ ไ ม่ มี ก ารศึ ก ษาหรื อ มี ก ารศึ ก ษาต่ ำ กว่ า ระดั บ ประถมจะ
จากอัตราการเกิดของประชากรไทยที่ลดลงอย่างต่อเนื่องจาก แตกต่างกันไม่มากนักระหว่างเขตเมืองและเขตชนบท (ไม่ได้รับการศึกษา
๔๒.๒ ในปี ๒๕๐๗ เป็น ๑๐.๙ ต่อประชากร ๑๐๐๐ คน ในปี ๒๕๔๘ เขตเมือง ร้อยละ ๑๕ เขตชนบท ร้อยละ ๑๗) ความแตกต่างระหว่างเพศ
ทำให้ประชากรวัยเด็ก ๐-๑๔ ปีมีจำนวนลดลง ในขณะที่ประชากรสูง ในด้ า นการศึ ก ษา พบว่ า ผู้ สู ง อายุ ช ายได้ รั บ การศึ ก ษาภาคทางการ
อายุวัย ๖๐ ปีขึ้นไปมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างมาก โครงสร้างประชากรจึงมี มากกว่าผู้สูงอายุหญิงในเกือบทุกกลุ่มอายุ โดยเฉพาะในกลุ่มที่ไม่ได้รับ
การเปลี่ ย นแปลงเข้ า สู่ สั ง คมสู ง อายุ จากข้ อ มู ล การสำรวจประชากร การศึกษา ผู้สูงอายุชาย มีเพียงร้อยละ ๑๐ ขณะที่ผู้สูงอายุหญิงที่ไม่ได้รับ
สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า การศึกษาสูงถึงร้อยละ ๒๒
16 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย 17
๓. การทำงาน รายได้และการออมของผู้สูงอายุ เกษตรกรรม (ร้อยละ ๖๓) รองลงมาคือภาคการบริการ (ร้อยละ ๒๖) และ
๓.๑ ภาวะการทำงานของผู้สูงอายุ ภาคการผลิต (ร้อยละ ๑๐) ตามลำดับ
ภาวะการทำงานของผู้สูงอายุ เป็นข้อมูลที่แสดงให้เห็นถึง ๓.๓ แหล่งรายได้ของผู้สูงอายุ
บทบาทของผู้สูงอายุในปัจจุบัน สะท้อนให้เห็นถึงที่มาของรายได้ การพึ่ง แม้การทำงานจะเป็นแหล่งสำคัญของรายได้สำหรับผู้สูงอายุ
ตนเองและการหาเลี้ยงครอบครัว รวมถึงแสดงให้เห็นถึงศักยภาพใน แต่ ก ารทำงานเป็ น เพี ย งแหล่ ง หนึ่ ง ของรายได้ ห ลาย ๆ แหล่ ง สำหรั บ
การดำรงชีวิต การมีชีวิตอย่างมีคุณค่าไม่เป็นภาระแก่บุตรหลานและ ผู้ สู ง อายุ แหล่ ง รายได้ ที่ ส ำคั ญ ที่ สุ ด คื อ บุ ต ร จากการสำรวจประชากร
สังคม ปัจจุบันผู้สูงอายุจำนวนมากยังคงทำงานเพื่อหารายได้เลี้ยงดู สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ พบว่า ประมาณร้อยละ ๘๓ ของ
ตนเองและครอบครัว แม้จะอายุเกินวัยเกษียณแล้วก็ตาม การที่ผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุได้รับเงินจากบุตร ส่วนการทำงานเป็นแหล่งรายได้อันดับสองของ
มีส่วนร่วมในกำลังแรงงานเป็นสิ่งที่ดี ซึ่งรัฐบาลและหน่วยงานต่างๆ ควร ผู้สูงอายุ คือร้อยละ ๓๗ อันดับสามคือรายได้จากดอกเบี้ย/เงินออม/ค่าเช่า
ให้การสนับสนุน ส่งเสริมแรงงานผู้สูงอายุให้ทำงานได้ต่อไป ตามความ ร้อยละ ๓๒ และรายได้จากคู่สมรสของผู้สูงอายุ ร้อยละ ๒๓ ซึ่งใกล้เคียง
พร้อมและศักยภาพที่เหมาะสม เพื่อผู้สูงอายุจะได้ดำรงชีวิตอย่างมีความ กับผู้สูงอายุที่ได้รับเบี้ยยังชีพจากรัฐที่มีร้อยละ ๒๔ (ในรัฐบาล ปี ๒๕๕๒
สุข มีคุณค่าทั้งต่อตนเอง ครอบครัวและสังคม ที่นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี มีนโยบายให้เบี้ยยังชีพแก่
จากการสำรวจภาวะการทำงานของประชากรในปี พ.ศ. ผู้สูงอายุทุกคนที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไปที่คนไทย คนละ ๕๐๐ บาทตั้งแต่เดือน
๒๕๕๐ พบว่า ผู้สูงอายุที่ไม่ทำงาน (ร้อยละ ๖๕) มากกว่าผู้สูงอายุที่ เมษายน ๒๕๕๒ เป็นต้นไป) ผู้สูงอายุที่ได้รับบำนาญมีเพียง ร้อยละ ๕
ทำงาน (ร้อยละ ๓๕) เมื่อพิจารณาแยกตามเพศ เขตที่อยู่อาศัยและภาค เท่านั้น ส่วนรายได้จากญาติหรือรายได้จากแหล่งอื่น ๆ นับว่าน้อยมาก
จะเห็ น ได้ ว่ า สั ด ส่ ว นการทำงานของเพศชาย (ร้ อ ยละ ๔๘) สู ง กว่ า
เพศหญิ ง (ร้ อ ยละ ๒๗) ผู้ สู ง อายุ ใ นทุ ก ภาค มี สั ด ส่ ว นการทำงาน ๔. การมีส่วนร่วมทางสังคม
โดยเฉลี่ ย ใกล้ เ คี ย งกั น ประมาณร้ อ ยละ ๔๐ ขณะที่ ผู้ สู ง อายุ ใ นเขต
กรุงเทพมหานคร มีสัดส่วนการทำงานน้อยที่สุด (ร้อยละ ๒๐) เมื่อเทียบ การส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ สู ง อายุ มี ส่ ว นร่ ว มต่ า งๆ ทางสั ง คมและชุ ม ชน
กับภาคอื่นๆ นอกจากจะทำให้ผู้สูงอายุมีโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางสังคมแล้ว
ยั ง เป็ น การส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ ผู้ สู ง อายุ มี โ อกาสนำศั ก ยภาพของ
๓.๒ ลักษณะการทำงานของผู้สูงอายุ ตนเอง ทั้ ง ที่ เ ป็ น ความรู้ ภู มิ ปั ญ ญา ประสบการณ์ ที่ ส ะสมมาให้ เ กิ ด
ข้อมูลจากการสำรวจภาวะการทำงานของประชากรในปี ประโยชน์ต่อชุมชนและสังคมได้เป็นอย่างดี
พ.ศ. ๒๕๕๐ พบว่ า ผู้ สู ง อายุ ที่ ท ำงานส่ ว นมากจะทำงานในภาค

18 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย 19


ปัจจุบันการจัดตั้งกลุ่มเพื่อรวมกลุ่มสมาชิกที่มีวัตถุประสงค์ร่วม ๕.๑ อายุคาดเฉลี่ย
กัน หรือเพื่อสิทธิประโยชน์ของสมาชิกในกลุ่มโดยเฉพาะสมาชิกที่เป็น อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของคนไทย คือความยืนยาวของ
ผู้สูงอายุ ซึ่งนอกจากจะเป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในกิจกรรม ชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย ได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง คือจาก ๗๐ ปี ใน พ.ศ.
ทางสั ง คมแล้ ว ยั ง ทำให้ ไ ด้ ใช้ เ วลาว่ า งให้ เ ป็น ประโยชน์ มี ก ารติ ด ต่ อ ๒๕๔๘ เป็น ๗๑.๖ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ และ ๗๑.๘ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๐
สื่อสาร พบปะสังสรรค์ มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางสังคม เช่น ชมรม ส่วนอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดแยกตามเพศ พบว่า เพศหญิงมีอายุยืนยาว
ผู้สูงอายุ กลุ่มสหกรณ์/ออมทรัพย์ กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มลูกเสือชาวบ้าน กว่ า ผู้ ช าย กล่ า วคื อ เพศหญิ ง มี อ ายุ ค าดเฉลี่ ย เมื่ อ แรกเกิ ด ๗๔.๑
กลุ่มอาชีพ กลุ่มฌาปนกิจ เป็นต้น จากข้อมูลการสำรวจประชากรสูงอายุ ปี , ๗๕.๑ ปี และ ๗๕.๒ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ , ๒๕๔๙ และ ๒๕๕๐
ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ พบว่าผู้สูงอายุยังให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม ตามลำดับ ส่วนเพศชายมีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดสั้นกว่า คือ ๖๖.๑ ปี ,
ค่อนข้างน้อย โดยกิจกรรมของชุมชน/หมู่บ้าน เป็นกิจกรรมที่ผู้สูงอายุมี ๖๘.๒ ปี และ ๖๘.๔ ปี ในช่วงเดียวกัน สำหรับปีปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๒
การเข้าร่วมกิจกรรมมากที่สุด (ร้อยละ ๗๓) รองลงมาเป็นกลุ่มฌาปนกิจ อายุคาดเฉลี่ยของเพศหญิง เพิ่มเป็น ๗๖.๓ และเพศชาย ๖๙.๕
(ร้อยละ ๔๐) ชมรมผู้สูงอายุ (ร้อยละ ๒๑) และกิจกรรมที่ผู้สูงอายุมี
ส่วนร่วมน้อยที่สุดคือ การทำกิจกรรมกลุ่มอาชีพ (ร้อยละ ๒) ๕.๒ การประเมินภาวะสุขภาพของตนเอง
จากการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
๕. สถานการณ์ด้านสุขภาพผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ (ร้อยละ ๔๒) ตอบว่าตนเองมีสุขภาพดี ร้อยละ
๒๙ ตอบว่ามีสุขภาพดีปานกลาง ร้อยละ ๒๒ ตอบว่ามีสุขภาพไม่ดี และ
วัยสูงอายุ เป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ร้อยละ ๓ มีสุขภาพไม่ดีมาก ๆ และมีเพียงร้อยละ ๔ ที่ตอบว่า สุขภาพ
จึงควรดูแลสุขภาพเป็นพิเศษ การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายเกิดขึ้นช้า
แข็งแรงดีมาก ซึ่งข้อมูลเหล่านี้เป็นข้อมูลที่สะท้อนมาจากมุมมองความ
หรือเร็วขึ้นอยู่กับการดูแลสุขภาพของแต่ละบุคคลตั้งแต่ก่อนที่จะเข้า
รู้สึกของผู้สูงอายุที่มีต่อสุขภาพตนเอง
สู่ วั ย สู ง อายุ ส่ ว นการเปลี่ ย นแปลงด้ า นจิ ต ใจมั ก เกิ ด จากปั ญ หาภาวะ
ทุพพลภาพของผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพาคนอื่น การหยุดทำงาน การเสีย ๕.๒.๑ โรคเรื้อรังหรือโรคประจำตัว
บทบาททางสังคมและครอบครัวรวมทั้งปัญหาอื่นๆ และจากแนวโน้ม จากการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย
ผู้สูงอายุที่มีอายุยืนยาวขึ้น จะนำมาซึ่งภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๕๐ พบว่า โรคเรื้อรังหรือโรคประจำตัว ๓
โดยเฉพาะการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ปัญหาดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึง อันดับของผู้สูงอายุ คือ โรคความดันโลหิตสูงมาก
ความจำเป็นที่ผู้สูงอายุจะต้องเตรียมความพร้อมที่จะก้าวเข้าสู่วัยสูงอายุ ที่สุด (ร้อยละ ๓๒) รองลงมาคือ เบาหวาน (ร้อยละ
อย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดี และการเตรียมความพร้อมในระบบบริการทาง ๑๓) และโรคหัวใจ (ร้อยละ ๗) ส่วนโรคอื่นๆ ที่พบ
สังคมและบริการทางสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ได้แต่ไม่มากนัก คือ อัมพาต/อัมพฤกษ์ หลอดเลือด
20 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย 21
ในสมองตีบ และมะเร็ง ผู้สูงอายุหญิงมีสัดส่วนการ มากกว่าผู้สูงอายุชาย และเป็นปัญหาผู้สูงอายุในเขต
เป็นโรคเรื้อรังสูงกว่าผู้สูงอายุชายทุกโรค ยกเว้น ชนบทมากกว่าเขตเมือง
อัมพาต/อัมพฤกษ์ ผู้สูงอายุในเขตเมืองมีสัดส่วน ๕.๒.๓ สาเหตุการตาย
การเป็นโรคเรื้อรังสูงกว่าผู้สูงอายุเขตชนบททุกโรค หากพิ จ ารณาถึ ง สาเหตุ ก ารตายที่ ส ำคั ญ ของ
ยกเว้นมะเร็งที่มีสัดส่วนใกล้เคียงกัน ผู้ สู ง อายุ จากข้ อ มู ล สถิ ติ ส าธารณสุ ข ปี ๒๕๔๙
๕.๒.๒ ปัญหาสุขภาพด้านต่างๆ ที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ (สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข)
จากการสำรวจประชากรสู ง อายุ ใ นประเทศ พบว่า สาเหตุการตายที่สำคัญและมีแนวโน้มสูงขึ้น
ไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ พบว่า ปัญหาการมองเห็นเป็น คื อ มะเร็ ง โรคหั ว ใจ หลอดลมอั ก เสบ และปอด
เรื่องที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ แม้ว่ามีผู้สูงอายุไม่มาก อักเสบ
ที่รายงานว่ามองไม่เห็นเลย แต่มีประมาณ ๑ ใน ๕ จากข้อมูลจากสถิติสาธารณสุข ปีพ.ศ.๒๕๕๐
ที่รายงานว่ามองเห็นไม่ชัด (อาจไม่มีแว่นสายตา ได้สรุปสาเหตุการตายในภาพรวมจากข้อมูลมรณบัตร
หรือแว่นที่มีไม่เหมาะกับสายตาที่เป็นอยู่) เรื่อง ปี พ.ศ.๒๕๕๐ สาเหตุการตายอันดับ ๑ ได้แก่ มะเร็ง
การได้ ยิ น เป็ น ปั ญ หาน้ อ ยกว่ า เรื่ อ งการมองเห็ น อัตราประชากรต่อแสนเท่ากับ ๘๕ ซึ่งมีแนวโน้มสูง
มีผู้สูงอายุน้อยมากที่รายงานว่าไม่ได้ยินอะไรเลย ขึ้นทุกปี ส่วนอันดับ ๒ และอันดับ ๓ ได้แก่ อุบัติเหตุ
แต่ยังมีผู้สูงอายุร้อยละ ๑๔ รายงานว่าได้ยินไม่ชัด และการเป็นพิษ อัตรา ๕๗ และโรคหัวใจ อัตรา ๒๙
(ซึ่งอาจไม่มีเครื่องช่วยฟัง) ปัญหาการมองเห็นและ สำหรับกลุ่มโรคมะเร็งพบว่า มะเร็งตับและท่อน้ำดีใน
การได้ยินเพิ่มตามอายุอย่างมาก และเป็นปัญหาที่ ตับสูงสุด อัตรา ๒๑ รองลงมา ได้แก่ มะเร็งหลอดคอ
ผู้สูงอายุ หญิงประสบมากกว่าผู้สูงอายุชาย เป็น หลอดลมใหญ่ แ ละปอด อั ต รา ๑๓ มะเร็ ง เต้ า นม
ปัญหาที่พบในเขตชนบทมากกว่าเขตเมือง ส่วน อัตรา ๗ และมะเร็งปากมดลูก อัตรา ๕ ตามลำดับ
ความสามารถในการกลั้ น ปั ส สาวะหรื อ อุ จ จาระ ๕.๒.๔ การเข้ารับบริการในโรงพยาบาล
นั บ ว่ า เป็ น ปั ญ หาเช่ น กั น โดยร้ อ ยละ ๑๗ ของ สำนักงานสถิติแห่งชาติได้ทำการสำรวจอนามัยและ
ผู้สูงอายุรายงานว่ามีปัญหา ความสามารถในการ สวัสดิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ ด้านการเข้ารับบริการใน
กลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระลดลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น โรงพยาบาลของผู้สูงอายุแบบผู้ป่วยใน พบว่า ผู้สูง
ผู้ สู ง อายุ ห ญิ ง มี ปั ญ หากลั้ น ปั ส สาวะหรื อ อุ จ จาระ อายุเข้าพักในโรงพยาบาลแบบผู้ป่วยในร้อยละ ๑๒
22 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย 23
ซึ่ ง สู ง กว่ า ประชากรทุ ก กลุ่ ม อายุ เมื่ อ พิ จ ารณา เดียวกันยังสามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับครอบครัวภายในชุมชนของตนได้
สัดส่วนการเข้าพักในโรงพยาบาลพบว่า ผู้สูงอายุ อย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
เข้าพักสูงขึ้นตามอายุที่มากขึ้น (ผู้สูงอายุ ๖๐-๖๙ นอกจากนี้มีความร่วมมือในการดำเนินโครงการอาสาสมัครดูแล
ปีร้อยละ ๙.๖, ๗๐-๗๙ ปี ร้อยละ ๑๕.๒ และ ๘๐ ผู้สูงอายุที่บ้านที่ชื่อว่า “เพื่อนช่วยเพื่อน” โดยสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศ
ปี ขึ้ น ไป ร้ อ ยละ ๑๗.๕) ผู้ สู ง อายุ ช ายเข้ า พั ก ใน ไทยในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ ข องสมเด็ จ พระศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี
โรงพยาบาล สูงกว่าผู้สูงอายุหญิงทุกกลุ่ม อายุ ที่ มี ส าขาสภาผู้ สู ง อายุ ฯ ในระดั บ จั ง หวั ด อยู่ ทั่ ว ประเทศได้ ร่ ว มมื อ กั บ
สำนั ก งานสาธารณสุ ข จั ง หวั ด คั ด เลื อ กชมรมผู้ สู ง อายุ ใ นหมู่ บ้ า นที่ อ ยู่
๖. รูปแบบการดูแลผู้สูงอายุ ห่ า งไกลเข้ า ร่ ว มโครงการ และคั ด เลื อ กโรงพยาบาลชุ ม ชนหรื อ สถานี
หน่วยงานภาครัฐทำหน้าที่เป็นกลไกหลักในการริเริ่มและจัดให้มี อนามัย ให้ทำหน้าที่เป็นหน่วยงานฝึกอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครดูแล
รู ป แบบของบริ ก ารหรื อ กิ จ กรรมเพื่ อ ให้ ก ารดู แ ลแก่ ผู้ สู ง อายุ โดยได้ ผู้สูงอายุ (อผส.) เพื่อดำเนินงานในท้องถิ่น
พยายามมุ่ ง เน้ น ความสำคั ญ ของการดำเนิ น งานที่ ใ ช้ ค รอบครั ว และ ๖.๒ การดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน (Home Health Care)
ชุมชนเป็นฐาน (Family and Community – Based Care) รวมไปจนถึง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้จัดทำโครงการนำร่อง
การดู แ ลต่ อ เนื่ อ งที่ บ้ า น ตลอดจนการรั บ ผู้ สู ง อายุ ม าดู แ ลในสถาบั น พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุที่บ้าน เพื่อบูรณาการดูแลสุขภาพ
(Residential Care) หากผู้สูงอายุอยู่ในภาวะที่ขาดผู้ดูแลช่วยเหลืออย่าง ผู้สูงอายุที่บ้าน โดยความร่วมมือของโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป
ต่อเนื่อง โดยมีรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุในปัจจุบัน พอสรุปได้ดังนี้ และโรงพยาบาลชุมชน มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้มีการพัฒนาระบบ
๖.๑ อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน (อผส.) บริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้สูงอายุ
โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน เป็นโครงการที่ ที่มีปัญหาสุขภาพ มีโรคเรื้อรัง และจำเป็นต้องได้รับการดูแลสุขภาพอย่าง
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้ดำเนินการมา ต่อเนื่อง การดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมศักยภาพของ
ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ จนถึงปัจจุบัน เพื่อสร้างระบบการดูแลและการ สถาบั น ครอบครั ว และชุ ม ชนในการดู แ ลสุ ข ภาพผู้ สู ง อายุ รวมทั้ ง การ
คุ้มครองพิทักษ์สิทธิ์ของผู้สูงอายุในชุมชนที่เป็นความร่วมมือระหว่าง ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพและป้ อ งกั น โรคในกลุ่ ม ผู้ สู ง อายุ โดยในปี ๒๕๔๘ ได้
หน่วยงานภาครัฐ ภาคท้องถิ่น และภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมใน ดำเนิ น การในโรงพยาบาลนำร่ อ ง ๒๖ แห่ ง และต่ อ มาได้ มี น โยบาย
การดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชนของตนเอง โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่ ให้ ข ยายการดำเนิ น งานการดู แ ลผู้ สู ง อายุ ที่ บ้ า นในโรงพยาบาลสั ง กั ด
ขาดผู้ดูแลและประสบปัญหาทางสังคมให้ได้รับการดูแลโดยอาสาสมัคร กระทรวงสาธารณสุ ข ทั้ ง โรงพยาบาลศู น ย์ โรงพยาบาลทั่ ว ไป และ
ดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) อย่างทั่วถึง สามารถเข้าถึงบริการของรัฐ ขณะ โรงพยาบาลชุมชนทั่วประเทศ
24 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย 25
๖.๓ วัดส่งเสริมสุขภาพ การจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุขึ้น โดยส่วนใหญ่จะจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุในบริเวณ
วัดส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข สถานีอนามัย โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลศูนย์
ได้ดำเนินการมาตั้งแต่ปี ๒๕๔๔ ด้วยหลักการ และเหตุผลที่ว่า วัดเป็น ต่อมาได้ทำการขยายการจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุออกไปในพื้นที่ชุมชนต่าง ๆ
ศูนย์กลางของชุมชน เป็นแหล่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน วัดกับ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยได้ รั บ ความร่ ว มมื อ และการสนั บ สนุ น จากกระทรวง
ชุมชนมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด เนื่องจากชีวิตของคนในชุมชน มหาดไทย องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร และสมาคมสภา
เกี่ ย วพั น อยู่ กั บ วั ด ตั้ ง แต่ เ กิ ด จนตาย วั ด จึ ง เปรี ย บเสมื อ นจิ ต ใจ และ ผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย โดยในปี ๒๕๕๐ มีการจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุแล้ว
วิญญาณของชุมชน ฉะนั้นวัดจึงควรมีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพ จำนวน ๑๓,๖๕๒ ชมรม และจากการติดตามผลการดำเนินงานชมรมผู้สูง
ทั้งสุขภาพกาย และสุขภาพจิต การดำเนินโครงการวัดส่งเสริมสุขภาพ อายุ โดยกรมอนามัย พบว่า มีจำนวนผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ
ในช่วงแรก กรมอนามัย โดยสำนักส่งเสริมสุขภาพได้สำรวจคัดเลือกวัด ไม่น้อยกว่า ๙๓๖,๐๐๐ คน
ที่มีความพร้อม ตามหลักการดังกล่าว เข้าร่วมโครงการนำร่อง ๒๗ วัด ๖.๕ คลินิกผู้สูงอายุ
ใน ๑๒ เขตสาธารณสุข เมื่อปี ๒๕๔๕ ต่อมาในปี ๒๕๔๗ กรมอนามัย คลินิกผู้สูงอายุในประเทศไทยได้มีการจัดตั้งครั้งแรก ในปี
ได้ประสานความร่วมมือกับสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ในการ พ.ศ. ๒๕๐๖ จนกระทั่งในแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๕-
ดำเนินงานโครงการวัดส่งเสริมสุขภาพกับวัดต่างๆ ในความดูแลของ ๒๕๖๔) ได้มีการบรรจุการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุไว้ในยุทธศาสตร์ที่ ๓ คือ
มหาเถรสมาคม และได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการ ยุทธศาสตร์ด้านระบบคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ โดยมาตรการที่
มหาเถรสมาคมแล้ ว เมื่ อ วั น ที่ ๑๙ มี น าคม ๒๕๔๗ โดยสำนั ก งาน ๔.๖ ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า “จัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุ หอผู้ป่วยสูงอายุ และ
พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ได้ทำหนังสือแจ้งมติของมหาเถรสมาคม ไปยัง สถานบริการสุขภาพเรื้อรัง สำหรับผู้สูงอายุที่เพียงพอแก่การให้บริการ
เจ้าคณะทั่วประเทศให้สนับสนุนการดำเนินงานวัดส่งเสริมสุขภาพ และ และสามารถรองรับปัญหาในผู้สูงอายุ” เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผน
ในแต่ละปีจะมีการมอบโล่รางวัลประกาศเกียรติคุณยกย่องวัดส่งเสริม รัฐบาลจึงมีนโยบายส่งเสริมให้มีคลินิกผู้สูงอายุในโรงพยาบาลของรัฐที่มี
สุขภาพดีเด่น จากการติดตามผลโดยกรมอนามัย จำนวนตั้งแต่ ๖๐ เตียงขึ้นไป เพื่อให้สามารถให้บริการแก่ผู้สูงอายุได้
๖.๔ ชมรมผู้สูงอายุ (The Elderly Club) ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น เป้าหมายการดำเนินงานคลินิกผู้สูงอายุ เพื่อให้การ
การจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุมีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อส่งเสริม ดู แ ลผู้ สู ง อายุ อ ย่ า งครบวงจรทั้ ง ในเชิ ง รุ ก และเชิ ง รั บ เพื่ อ ให้ ผู้ สู ง อายุ
ให้ผู้สูงอายุมีสถานที่ในการพบปะสังสรรค์เพื่อทำกิจกรรมต่างๆ ในช่วง คงความมีสุขภาพดี สามารถค้นพบโรคทั้งทางกายและใจในระยะเริ่มแรก
แรกกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขเป็นหน่วยงานหลักที่มีบทบาท ให้การรักษาได้อย่างถูกต้อง ทันเวลา และฟื้นฟูสภาพได้อย่างเหมาะสม
สำคั ญ ในการส่ ง เสริ ม ความรู้ ความเข้ า ใจ และสนั บ สนุ น แนวคิ ด ใน เพื่อให้ผู้สูงอายุได้สามารถพึ่งพาตนเองได้มากที่สุด มีคุณภาพชีวิตที่ดีแม้
26 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย 27
จะมี โ รคเรื้ อ รั ง ตลอดจนให้ ก ารดู แ ลระยะสุ ด ท้ า ยเพื่ อ การจากไปอย่ า ง
สมศักดิ์ศรี
๖.๖ สถานสงเคราะห์คนชรา
สถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแค เป็นสถานสงเคราะห์ บทที่ ๔
คนชราแห่งแรกตั้งขึ้นปี พ.ศ. ๒๔๙๖ ต่อมาได้ขยายการดำเนินงานเพิ่ม สุขภาพของผู้สูงอายุ
เป็น ๒๐ แห่ง ทั่วประเทศ เพื่อให้บริการเลี้ยงดูผู้สูงอายุที่ประสบปัญหา
ด้ ว ยปั จ จั ย ๔ ที่ จ ำเป็ น ต่ อ ชี วิ ต ต่ อ มาเมื่ อ มี พ ระราชบั ญ ญั ติ ป รั บ ปรุ ง
กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ กรมพั ฒ นาสั ง คมและสวั ส ดิ ก าร
ได้ ถ่ า ยโอนงานสงเคราะห์ ค นชราให้ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น และ
กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่วันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๔๖ จำนวน ๑๓ แห่ง และ ความเปลี่ยนแปลงของร่างกายเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ
อี ก ๗ แห่ ง ได้ ป รั บ เปลี่ ย นเป็ น ศู น ย์ พั ฒ นาการจั ด สวั ส ดิ ก ารสั ง คม
ผู้สูงอายุ ต่อมาขยายเพิ่มเป็น ๑๒ แห่งในทุกภาคทั่วประเทศ ความเปลี่ยนแปลงของร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอและ
ค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา มิใช่ว่าพออายุครบ ๖๐ ปีแล้วจึงจะ
เปลี่ยนแปลง กล่าวคือมีการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่เกิดจนตาย จะมีแตกต่าง
กั น ไปอยู่ ที่ ค วามเร็ ว หรื อ ช้ า ของการเปลี่ ย นแปลงในแต่ ล ะบุ ค คลซึ่ ง
ไม่เหมือนกัน

๑. ความเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
๑.๑ ผิวหนัง
คนสูงอายุจะมีผิวหนังแห้ง เหี่ยวย่นและตกกระเป็นแห่ง ๆ
จากการเสื่อมของต่อมไขมัน และจำนวนเนื้อเยื่อคอลลาเจน (collagen)
ลดจำนวนลง ชั้นต่าง ๆ ของผิวหนังจะบางลง ทำให้เกิดบาดแผลง่ายเวลา
ที่ได้รับการขูดข่วนหรือถูไถเพียงเล็กน้อย หรือกดทับนาน ๆ ไขมันใต้
ผิวหนังจะลดจำนวนลง ผิวหนังบางส่วน เช่น คอและแขนจะมีการเสื่อม
สลาย (atrophy) ทำให้เกิดเป็นวงสีม่วงได้เป็นหย่อม ๆ ต่อมเหงื่อจะลด

28 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพของผู้สูงอายุ 29


การทำงานหลั่งเหงื่อน้อยลง มีผลทำให้การระบายความร้อนของร่างกาย ๒. ความเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
ในคนสูงอายุลดลง ผิวหนังของคนแก่มาก ๆ อาจเกิดเป็นเนื้องอกได้ทั้ง
ชนิดเนื้องอกธรรมดาและรุนแรงถึงเป็นมะเร็งผิวหนังได้ ๒.๑ อวัยวะรับความรู้สึกต่าง ๆ มีสมรรถภาพต่ำลง
เล็บมีการเจริญเติบโตลดลงร้อยละ ๕๐ และบางแตกเปราะง่าย - อวัยวะรับรส-กลิ่น มีความสามารถในการรับรู้รสและ
กลิ่นน้อยลง
๑.๒ กล้ามเนื้อชนิดลาย (striated muscle)
- ตา มีความเปลี่ยนแปลงในการปรับตาต่อความมืดและ
จะลดจำนวนลงและมี เ ซลล์ ไ ขมั น เข้ า ไปแทรกในเซลล์
สว่ า งน้ อ ย เลนส์ ป รั บ ตั ว ได้ น้ อ ยทำให้ เ พ่ ง มองสิ่ ง ของใกล้ ไ ม่ เ ห็ น
กล้ามเนื้อมากขึ้น ทำให้ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลดลง จำนวนเซลล์
สายตาจะยาวออก เลนส์ที่แก่มาก ๆ จะมีการเปลี่ยนแปลงกลายไปเป็น
กล้ามเนื้อจะลดลงครึ่งหนึ่งในคนอายุ ๘๐ ปี
ต้อกระจก
๑.๓ กระดูก - หู ความสามารถได้ยินเสียงลดลง ผู้ชายจะเสียการได้ยิน
จะเปราะบางจากการสูญเสียของแคลเซียม ซึ่งเป็นผลจาก มากกว่าผู้หญิง บางครั้งจะมีเสียงอื้อในหู
การกินอาหารที่มีส่วนประกอบแคลเซียมน้อยลง หรือการดูดซึมน้อยลง การเสียการได้ยินมากหรือน้อยเป็นผลจากการที่หูต้องอยู่
หรือภาวะ demineralisation ของกระดูกซึ่งเกิดจากฮอร์โมนเอสโตรเจน กับเสียงดังเกินกว่าเหตุมาเมื่ออายุยังน้อยอยู่
ซึ่ ง หลั่ ง ออกมาน้ อ ยลง เป็ น ผลทำให้ ก ระดู ก บางลง (osteoporosis) ดังนั้น ผู้ที่อยู่กับเสียงดังมาก ๆ มาก่อนมักจะมีอาการหูตึง
มีโอกาสแตกหักได้ง่ายจากภยันตรายเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น หกล้ม เป็นต้น เมื่ออายุมากขึ้น
ฟันจะผุและหลุดไปตามสภาวะของแต่ละบุคคล - สมอง เซลล์ ส มองตายไปจะลดจำนวนเซลล์ ส มองลง
๑.๔ หลอดเลือด ทำให้ ข นาดสมองเล็ ก ลง สารเคมี ห ลั่ ง จากปลายประสาท (neuro-
โดยทั่วไปผนังหลอดเลือดแดงจะแข็งตัวและหนาขึ้น ทำให้ transmitter) ลดลง การรับความรู้สึก (receptor) ลดลง ใยประสาทนำส่ง
รูหลอดเลือดแดงแคบลง (arteriosclerosis) ทำให้การไหลเวียนไม่ดี ส่วน (nerve conductor) ลดลง จำนวนเลื อ ดไปเลี้ ย งสมองลดลง การใช้
หลอดเลือดดำจะมีผนังบางขึ้น เมื่อการไหลเวียนเลือดไม่ดี โดยเฉพาะ ออกซิ เ จนของสมองลดลง หลอดเลื อ ดของสมองตี บ และแข็ ง ความ
บริเวณขา มักจะเกิดมีหลอดเลือดดำโป่งพองกลายเป็นหลอดเลือดขอด เปลี่ ย นแปลงต่ า ง ๆ เหล่ า นี้ มี ผ ลทำให้ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงในระบบ
ประสาทและสมอง กล่ า วคื อ คนแก่ จ ะมี ค วามจำเสื่ อ มลง หลงลื ม
ความนึกคิดต่าง ๆ เสียไป อารมณ์แปรปรวน บางรายมีความสับสน
ซึมเศร้า ความรู้สึกต่าง ๆ ช้าลง

30 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพของผู้สูงอายุ 31


๒.๒ ระบบการไหลเวียน ขาดสารอาหารได้ในคนอายุมาก
หัวใจ เนื่องจากกล้ามเนื้อหัวใจจะมีเนื้อพังผืด (interstitial ตับของคนสูงอายุ จะมีขนาดและน้ำหนักลดลง เพราะมี
fibrosis) และมีไขมันสะสมมากขึ้น ทำให้การยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อหัวใจ การเก็บไกลโคเจนและวิตามินลดลงระบบการทำงานเอนไซม์ลดลง มีผล
ลดลง ทำให้ตับมีสมรรถภาพในการทำลายพิษต่างๆ ที่เข้าสู้ร่างกายได้น้อยลง
ลิ้ น หั ว ใจ แข็ ง ตี บ ปิ ด ไม่ ส นิ ท บางที มี ก ารเกาะติ ด ของ ๒.๕ ระบบทางเดินปัสสาวะ
แคลเซียมทำให้ลิ้นหัวใจทำงานเลวลง หลอดเลือดของหัวใจตีบเล็กลง ไต จะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพอายุ โดยทั่วไปพบว่า
จากภาวะผนังหลอดเลือดแข็งและหนาขึ้น (arteriosclerosis) ทำให้เลือด เมื่ออายุหลัง ๓๐ ปี เลือดไปเลี้ยงไตจะลดปริมาณลงประมาณร้อยละ
ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจน้อยลง ๑.๕ ต่อปีทำให้การทำงานของไตลดลง เมื่ออายุ ๖๕ ปี การทำงานของ
ความเปลี่ ย นแปลงเหล่ า นี้ มี ผ ลทำให้ หั ว ใจเต้ น ช้ า ลง และ ไตจะมีหน้าที่เหลือเพียงร้อยละ ๔๐-๕๐ เท่านั้น (เมื่อเทียบกับคนอายุ
อั ต ราการเต้ น ประมาณ ๕๐-๖๐ ครั้ ง ต่ อ นาที บางรายจะมี อ าการของ ๒๕ ปี) ดังนั้น ความสามารถที่จะกำจัดของเสียจะลดลง
การเต้นไม่สม่ำเสมอ (arrythmia) บางรายต่อมลูกหมากในกระเพาะปัสสาวะชายจะมีขนาด
ความดั น เลื อ ด การที่ ห ลอดเลื อ ดแดงมี ผ นั ง หนาตี บ ตั น โตขึ้ น ทำให้ มี ก ารขั ด ขวางทางเดิ น ปั ส สาวะ ทำให้ ปั ส สาวะลำบาก
ทำให้เลือดไหลผ่านลำบาก โดยเฉพาะในส่วนปลาย ๆ จะทำให้เกิดภาวะ หูรูดกระเพาะปัสสาวะทำงานได้ไม่ดี ทำให้ไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้ดี
แรงดันเลือดซิสโตลิกสูงขึ้น เหมือนหนุ่มสาว
๒.๓ ระบบทางเดินลมหายใจ ๒.๖ ระบบต่อมไร้ท่อ
ในคนสู ง อายุ พ บว่ า เนื้ อ ปอดและหลอดลมต่ า ง ๆ จะมี ซึ่งหลั่งฮอร์โมนจะมีการลดลงของฮอร์โมนต่างๆ มีผลทำให้
ลักษณะแข็งจากการมีเนื้อเยื่อพังผืด (fibrosis) เกิดขึ้น ทำให้การยืดหด กล้ามเนื้อลีบ กระดูกผุ เปราะ อ่อนเพลีย ซึมเศร้า ชีพจรช้า พบว่า
ของปอดเสียไป กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจหย่อนสมรรถภาพลง ทำให้ อาการเบาหวานมากขึ้นในผู้สูงอายุ
ทรวงอกขยายตั ว ได้ น้ อ ย มี ผ ลทำให้ ถุ ง ลมมี อ าการโป่ ง พองได้ ง่ า ย
ความเปลี่ ย นแปลงต่ า ง ๆ เหล่ า นี้ ท ำให้ ส มรรถภาพในการหายใจและ ๓. ความเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ
แลกเปลี่ยนออกซิเจนลดลง บางคนมีการอักเสบของหลอดลมร่วมด้วย
ความเปลี่ ย นแปลงของจิ ต ใจเกิ ด ได้ จ ากสาเหตุ ๓ กลุ่ ม ใหญ่
จะทำให้มีอาการไอหรือมีอาการหอบหืด
กล่าวคือ
๒.๔ ระบบทางเดินอาหาร ๓.๑ เกิดขึ้นจากการที่สมองของคนเสื่อมไปตามวัย
มีการเสื่อมลงของเยื่อบุทางเดินอาหาร และการหลั่งน้ำย่อย ทำให้ผู้สูงอายุสูญเสียความสามารถในการเรียนรู้และเข้าใจ
ต่างๆ ลดลง ทำให้การย่อยและดูดซึมอาหารไม่ได้ดี เป็นผลทำให้มีอาการ ความรุนแรงจะมากหรือน้อยขึ้นกับจำนวนเซลล์สมองที่ตายไป หรือจาก
32 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพของผู้สูงอายุ 33
การที่เนื้อสมองมีเลือดมาเลี้ยงไม่พอ ซึ่งเป็นเรื่องของแต่ละบุคคล ซึ่ง เนื่ อ งจากประเทศไทยเป็ น ประเทศเกษตรกรรมและ
ไม่เหมือนกัน ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางเกษตรกรรม ผู้สูงอายุคงทำงาน
๓.๒ เกิดขึ้นจากการที่จิตอารมณ์ผิดปกติไป ไปเรื่อยๆ ปัญหาเรื่องการไม่มีบทบาทหรือการไม่มีอะไรทำจึงยังไม่มี
โดยส่วนใหญ่ความผิดปกตินี้จะเกิดมาจากความเครียดทาง มากนั ก แต่ ใ นอนาคตเมื่ อ ประเทศเปลี่ ย นแปลงไปในทางพั ฒ นา
จิตใจและสังคมมากระทบ เมื่อผู้สูงอายุสามารถปรับตัวได้ก็มีสุขภาพจิตที่ อุตสาหกรรมมากขึ้น การประกอบการทางเกษตรลดลง ผู้สูงอายุอาจ
ปกติ แต่ถ้าปรับตัวไม่ได้ก็จะมีการผิดปกติในจิตใจและอารมณ์ทำให้เกิด ประสบปัญหาการไม่มีอะไรจะทำมากขึ้น
อาการเหงา วิตกกังวล หวาดระแวง ซึมเศร้า เป็นต้น ๓.๔ เกิดจากการเกษียณอายุการงาน
๓.๓ เกิดจากสังคมเปลี่ยนแปลงไป ผู้ที่เคยปฏิบัติงานประจำ เช่น ข้าราชการ หรือผู้ทำงาน
สังคมสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้สูงอายุเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยตาม ตามบริษัทห้างร้านที่มีระเบียบเวลาเกษียณอายุการงาน ส่วนใหญ่จะมี
วันเวลาที่ผ่านไป การเปลี่ยนแปลงจากคนหนุ่มสาวจนเป็นผู้ใหญ่เข้าสู่ผู้สูง กำหนดให้เกษียณอายุการงาน เมื่อเวลา ๖๐ ปีการที่อยู่ ๆ จะต้องหยุด
อายุ ในด้านสังคมผู้สูงอายุถูกมองหรือจัดเข้าไปเป็นกลุ่มคนอีกกลุ่มหนึ่ง การทำงานที่เคยทำเป็นประจำมาอยู่บ้านเฉย ๆ จะมีผลกระทบทาง
แตกต่างไปจากกลุ่มเด็ก กลุ่มผู้ใหญ่ แต่เป็นกลุ่มที่สังคมมองไปว่าเป็น จิ ต ใจค่ อ นข้ า งมาก ยิ่ ง ผู้ ที่ เ คยอยู่ ใ นตำแหน่ ง สู ง ในราชการ สมั ย ที่ ยั ง
กลุ่มที่ไม่มีประโยชน์แล้วแต่สังคมนั้น ๆ จะมองหรือบางทีแม้สังคมไม่มอง ทำงานอยู่มีอำนาจสั่งการ มีผู้ใต้บังคับบัญชาคอยรับคำสั่งตามบัญชา
ไปในแง่ ล บเช่ น นั้ น แต่เนื่องจากความเปลี่ยนแปลงในทางกายและจิ ต พอพ้ น จากหน้ า ที่ ก ารงาน (เกษี ย ณอายุ ) อำนาจต่ า งๆ ก็ ห มดไป
ทำให้สมรรถภาพการงานตกต่ำลง ผู้สูงอายุก็มองภาพตัวเองไปในเชิงลบ ทางกายและทางจิตได้
ยิ่ ง อายุ ม ากขึ้ น เพื่ อ นฝู ง รุ่ น ราวคราวเดี ย วกั น ต่ า งก็ ท ยอย ถ้าได้มีการเตรียมตัวเตรียมใจไว้ล่วงหน้า มีการปรับตัวได้ ก็ไม่มี
ตายไป แม้แต่คู่สามีภรรยาเองก็ถึงแก่กรรมไปด้วย สังคมสิ่งแวดล้อม ปัญหา ดังนั้น การเตรียมตัวก่อนเกษียณอายุการงาน จึงเป็นเรื่องสำคัญ
เช่นนี้ จะทำให้ผู้สูงอายุมีอาการโดดเดี่ยวและเหงา วิตกกังวล มีอาการ สำหรับบุคคลประเภทนี้
ใจน้อย หงุดหงิด
จากการศึกษาพบว่า สังคมไทยในปัจจุบัน ยังให้ความเคารพ
ผู้สูงอายุว่าเป็นผู้ที่ควรเคารพยกย่องเป็นอย่างดี ส่วนใหญ่ผู้สูงอายุยังมี
บทบาทมีความสำคัญและมีสถานภาพสูงในครอบครัว แต่จะมีสถานภาพ
ต่ ำ ลงในสั ง คมและประสบปั ญ หาด้ า นจิ ต วิ ท ยาสั ง คม เช่ น ไม่ ส ามารถ
ปรับตัวและใจเข้ากับสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดอาการ
หวาดกลัวและกังวล
34 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพของผู้สูงอายุ 35
สุขภาพของผู้สูงอายุตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทย การเปลี่ยนแปลงสภาวะร่างกายเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ
“ในพยัญชนะไทย ก.ไก่ – ฮ.นกฮูก ฒ.ผู้เฒ่า มีลีลาในการเขียน
บุคคลซึ่งเกิดมาในโลกนี้ ย่อมมีความชราพยาธิมรณะเปนธรรมดา สวยงามตัวหนึ่ง
ความชราแลมรณะนั้นเปนของประจำตัวสัตวโลก ถึงผู้มีวิชาความรู้วิเศษ กว่าจะมาถึง ฒ.ผู้เฒ่า ชีวิตได้ผ่านร้อนผ่านหนาวมาแล้วหลาย
ประเสริฐเพียงไรก็ไม่สามารถจะป้องกันได้ ส่วนพยาธิคือความเจ็บไข้ ฤดูกาล มีประสบการณ์สะสม มาเล่าสู่ลูก หลานฟัง เช่นในถิ่นล้านนา
นั้ น มี เ ครื่ อ งป้ อ งกั น อยู่ ถ้ า ยั ง ไม่ ถึ ง อุ ปั จ เฉทะกะกรรม คื อ กรรมซึ่ ง ตั ด ผู้เฒ่าผู้แก่มีคำกล่าวเตือนสติลูกหลานถึงสังขารของชีวิตไว้ ดังนี้
ชี วิ ติ น ทรี ย์ เ ปนแท้ แ ล้ ว ก็ อ าจเยี ย วยาให้ ห ายเปนปรกติ ไ ด้ สิ่ ง ที่ เ ปน อายุ ๑๐ ปี๋ อาบน้ำ บ่ หนาว ( ไม่สะทกสะท้าน ไม่รู้ร้อน ไม่รู้
เครื่องเยียวยารักษาโรคให้หายได้นั้นคือ “ยา” นักปราชญ์ผู้ชำนาญใน หนาว)
วิ ช าแพทย์ ไ ด้ เ รี ย บเรี ย งร้ อ ยกรองอาการโรคแลสรรพคุ ณ ยาที่ แ ก้ ไ ขให้ อายุ ๒๐ ปี๋ แอ่วสาว บ่ก้าย (ไปจีบสาว ไม่เบื่อ)
หายได้นั้น ขึ้นไว้เปนพระคัมภีร์ มีอยู่แทบทุกประเทศ ตามส่วนที่ได้เคย อายุ ๓๐ ปี๋ บ่หน่ายสงสาร (สังขาร) (ไม่เบื่อหน่าย ตัวเอง ลืมแก่)
ทดลองเห็นคุณประโยชน์มาแล้ว ในประเทศของตนนั้น แต่พึงเข้าใจว่า อายุ ๔๐ ปี๋ เยี๊ยก๋าน เหมือนฟ้าผ่า (ทำงานมีแรงเหมือนฟ้าฝ่า)
มี โ รคบางอย่ า งที่ ใ ช้ ย าประเทศอื่ น ไม่ เ หมาะดี เ ท่ า ยาในประเทศนั้ น เอง อายุ ๕๐ ปี๋ สาวด่า บ่ เจ็บใจ๋ (สาวต่อว่า ไม่เจ็บใจ ไม่ถือสา)
เหตุด้วยดินฟ้าอากาศต่างกัน เพราะฉะนั้นภูมิประเทศจึงเปนข้อสำคัญใน อายุ ๖๐ ปี๋ ไอเหมื อ นฟานโขก (ไอเหมื อ น สั ต ว์ ป่ า ชนิ ด หนึ่ ง
การรักษาไข้เจ็บอย่างหนึ่ง ................. ชื่อ ฟาน)
(จากแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์) อายุ ๗๐ ปี๋ บะโหกเต็มตัว (มีโรคเต็มตัว)
อายุ ๘๐ ปี๋ ไคร้หัวเหมือนไห้ (หัวเราะเหมือนร้องไห้)
อายุ ๙๐ ปี๋ ไข้ก็ต๋าย บ่ไข้ก็ต๋าย จะเอ่าอะไรไปบ่ได้สักอย่าง (เป็น
ไข้ก็ตาย ไม่เป็นไข้ก็ตาย จะเอาอะไรไปไม่ได้สักอย่าง)
เป็นคำกล่าวที่สอนให้คนเรารู้ว่า วัยต่าง ๆ นั้นมีคุณค่าอยู่
ในตัวตนของผู้ที่ใช้ชีวิตอย่างมีสติ และไม่ประมาทในชีวิต”

36 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพของผู้สูงอายุ 37


มนุ ษ ย์ เ มื่ อ ปฏิ ส นธิ ใ นครรภ์ ม ารดาได้ รั บ การทนุ ถ นอมด้ ว ย สังขาร วิญญาณ ซึ่งพระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตโต) ได้สรุปความ
ความรั ก และความอบอุ่ น จนกระทั่ ง คลอดนั้ น ในทางการแพทย์ ไ ทย หมายของขันธ์ ๕ ไว้ดังนี้
เรี ย กการเกิ ด ว่ า ชาติ บอกถึ ง การกำเนิ ด มาในโลก แล้ ว ต่ อ มาก็ มี รูป ได้แก่ ส่วนประกอบฝ่ายรูปธรรมทั้งหมดของร่างกาย หรือ
การเปลี่ ย นแปลงของร่ า งกายเกิ ด ขึ้ น เรี ย กว่ า จะละนะ จนถึ ง กาล สสาร และพลังงานฝ่ายวัตถุ พร้อมทั้งคุณสมบัติ และพฤติการณ์ต่าง ๆ
เปลี่ยนแปลงสุดท้ายเรียกว่า ภินนะ นั่นคือการแตกดับสลายไปในที่สุด ของสสารพลังงานเหล่านั้น
ก่ อ นที่ พระพุ ท ธเจ้ า จะทรงออกบวชนั้ น ได้ พ บคนเกิ ด คนเจ็ บ เวทนา ได้แก่ ความรู้สึกสุข ทุกข์ หรือเฉยๆ ซึ่งเกิดจากผัสสะ
คนแก่ และคนตาย ทำให้ พ ระองค์ ท รงคิ ด ที่ จ ะช่ ว ยมนุ ษ ย์ ใ ห้ ห ลุ ด พ้ น ทางประสาท ทั้ง ๕ และทางใจ
จากวั ฏ ฏะสงสาร ด้วยการให้ มนุษย์ได้อยู่ในโลกอย่ า งมี ส ติ ให้ ยึ ด ถื อ
สัญญา ได้แก่ ความกำหนดได้หรือหมายรู้ คือกำหนดรู้อาการ
ไตรสรณะ คือให้มีศีล สมาธิ ปัญญา ยึดมั่นในความดี ละเว้นความชั่ว
เครือ่ งหมาย ลักษณะต่างๆ อันเป็นเหตุให้จำอารมณ์
ทำจิตใจแจ่มใสเบิกบานอยู่เสมอ ฝึกกายใจให้อยู่กับปัจจุบันคนเราจะมี
ความสุขตลอดชีวิต สังขาร ได้แก่องค์ประกอบ หรือคุณสมบัติต่างๆของจิต ที่ปรุง
แต่งจิตให้ดีหรือชั่ว หรือเป็นกลางๆ ได้แก่ ความนึกคิดชั่วดีต่อสิ่งต่างๆ
อายุของมนุษย์จำแนกตามการแพทย์ไทยมี ๓ ช่วง ดังนี้
วิญญาณ ได้แก่ความรู้แจ้งอารมณ์ทางประสาททั้ง ๕ และทางใจ
ช่วงที่ ๑ ปฐมวัย หมายถึงวัยเด็ก นับตั้งแต่คลอดออกจากครรภ์
มารดาได้ ๑ วันไปจนถึงอายุ ๑๖ ปี
ในอภิธรรมปิฎก (๓) ได้แบ่งรูปออกเป็น ๒ อย่างคือ
ช่วงที่ ๒ มัชฌิมวัย หมายถึง ผู้ที่มีอายุ ๑๖ ปีขึ้นไปจนถึง ๓๒ ปี
๑. มหาภูตรูป คือ ธาตุทั้ง ๔ ในร่างกาย ได้แก่
ช่วงที่ ๓ ปัจฉิมวัย ๒ ช่วง หมายถึง ผู้ที่มีอายุ ๓๒ ปี จนถึง ๖๔
ธาตุดิน(ปถวีธาตุ) ธาตุน้ำ( อาโป) ธาตุลม(วาโย) ธาตุไฟ
ปี พ้นอายุ ๖๔ ปี จนถึงสิ้นอายุขัย อายุ ๓๒ ปี ขึ้นไป ถึง
(เตโช)
๖๔ ปี สมุฎฐานวาโย เมื่ออายุพ้น ๖๔ ปี ไปแล้ว สมุฎฐาน
๒. อุปาทายรูป คือ รูปอาศัย หรือรูปสืบเนื่องจากมหาภูตรูป
วาโยเป็นเจ้าเรือน อาโปธาตุแทรกพิกัดเสมหะและเหงื่อ
ได้แก่ ประสาททั้ง ๕ (ตา หู จมูก ลิ้น กาย) อารมณ์ ๔ (รูป เสียง กลิ่น
โดยมีองค์ประกอบแห่งชีวิต เรียกว่า เบญจขันธ์ หรือ ชีวิต รส) ความเป็นหญิง ความเป็นชาย ที่ตั้งของจิต แสดงความหมายด้วย
ประกอบด้วย ขันธ์ ๕ กาย การแสดงให้รู้ความหมายด้วยวาจา อากาศ (ช่องว่าง) ความเบา
ซึ่งจะเห็นว่าในที่นี้ใช้คำว่า “ชีวิต” ไม่ใช้คำว่า “ร่างกาย” เพราะว่า ของรูป ความอ่อนนุ่มของรูป ภาวะที่ควรแก่งาน ความเจริญของรูป
ร่างกายเป็นเพียงส่วนหนึ่งของชีวิต ขันธ์ ๕ ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา ความเสื่อม ความสลายอาหาร รูปอาศัยนี้เรียกว่า อุปาทายรูป

38 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพของผู้สูงอายุ 39


ปัจจัยต่างๆ ที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและเกิดโรคตามหลักการ ๕. ประเทศสมุฏฐาน คื อ ประเทศที่ เ กิ ด ที่ อ ยู่ เป็ น ที่ ตั้ ง ที่ เ กิ ด
แพทย์แผนไทย (พระคัมภีร์สมุฏฐาน วินิจฉัย) มี ๖ ประการ ดังนี้ โรคได้อย่างหนึ่ง เช่นประเทศที่ตั้งอยู่ในเขตร้อนก็จะมีโรคในเขตร้อน
๑. ความไม่สมดุลของธาตุ ๔ (ธาตุสมุฏฐาน) ประเทศที่ตั้งอยู่ในเขตหนาว ก็จะมีโรคในเขตหนาว และประเทศที่อยู่ใน
๒. การเปลี่ยนแปลงของฤดู (อุตุสมุฏฐาน) เขตอบอุ่นก็จะมีโรคในเขตอบอุ่นเป็นต้น
๓. การเปลี่ยนแปลงของช่วงอายุ (อายุสมุฏฐาน) ๖. พฤติกรรมมูลเหตุของการเกิดโรค ๘ ประการ คือ อาหาร
๔. การเปลี่ยนแปลงของเวลา (กาลสมุฏฐาน) อิริยาบถ ความร้อนและความเย็น อดนอน อดข้าว อดน้ำ กลั้นอุจจาระ
๕. ที่อยู่อาศัย (ประเทศสมุฏฐาน) ปัส สาวะ ทำการเกิ น กำลั ง กาย ความเศร้ า โศกเสี ย ใจ โทสะ ซึ่ ง เป็น
๖. พฤติกรรมมูลเหตุของการเกิดโรค เรื่ อ งของแต่ ล ะบุ ค คล ทุ ก เพศ ทุ ก วั ย ควรตระหนั ก และปรั บ ความ
ประพฤติของตนเองให้ธาตุในร่างกายสมดุลเป็นปกติ ไม่ควรจะฝ่าฝืน
๑. ธาตุ ส มุ ฏ ฐาน ความไม่ ส มดุ ล ของธาตุ ทั้ ง ๔ คื อ ดิ น น้ ำ ร่างกายให้ผิดปกติไป ดังนี้
ลม ไฟ โดยธาตุใดธาตุหนึ่งมีมากเกินไป หรือน้อยเกินไป ซึ่งเรียกว่า ๖.๑ อาหาร ผู้ที่ไม่ระวังในการบริโภค บริโภคมากเกินกว่า
กำเริบ หย่อน พิการ ปกติ โดยไม่รู้ประมาณในอาหารหรือตนเคยบริโภคเพียงไร แต่บริโภค
๒. อุตุสมุฏฐาน การเปลี่ยนแปลงของฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน น้อยกว่าที่เคย หรืออาหารนั้นเป็นของบูดของเสีย และที่ควรจะทำให้
ฤดูหนาว ได้แก่ การเปลี่ยนจากฤดูหนึ่งสู่อีกฤดูหนึ่งในระหว่างคาบเกี่ยว สุกเสียก่อน แต่ไม่ทำให้สุก หรือของที่มีรสแปลกกว่าที่ตนเคยบริโภค
ของฤดู เช่น ฤดูร้อนสู่ฤดูฝน ทำให้เกิดการเจ็บปวดด้วยไข้หวัด ไอ และมี ก็บริโภคจนเหลือเกินไม่ใช่ชิมดู แต่พอรู้รส และบริโภคอาหารไม่ตรงกับ
เสมหะเป็นต้น เวลาที่เคย เช่นตอนเช้าเคยบริโภคอาหาร ไม่ได้บริโภค ปล่อยให้ล่วงเลย
๓. อายุ ส มุ ฏ ฐาน การเปลี่ ย นแปลงของช่ ว งอายุ คื อ ปฐมวั ย ไปจนเวลาบ่าย การที่บริโภคอาหารโดยอาการต่างๆ นี้ ย่อมทำให้ปกติ
มัชฌิมวัย ปัจฉิมวัย จากวัยหนึ่งไปสู่อีกวัยหนึ่ง ก็จะทำให้ธาตุเจ้าเรือนใน ธาตุในกายแปรได้ โรคที่มีขึ้นในกาย นี่จัดได้ชื่อว่า โรคเกิดเพราะอาหาร
ร่างกายเปลี่ยนไป จากปฐมวัยมีเสมหะเป็นเจ้าเรือนคือเป็นโรคทางไข้หวัด ๖.๒ อิ ริ ย าบถ มนุ ษ ย์ ทั้ ง หลายควรใช้ อิ ริ ย าบถ ให้ ผ ลั ด
มีเสมหะมาก มาสู่ มัชฌิมวัย มีปิตตะเป็นเจ้าเรือน มีไข้ตัวร้อน เนื่องจาก เปลี่ยนกันตามปกติ ๔ อย่างคือ นั่ง นอน ยืน เดิน ถ้าอย่างใดอย่างหนึ่ง
ตับ ถุงน้ำดี และเมื่อเข้าสู่ปัจฉิมวัย มีวาตะเป็นเจ้าเรือน โรคลมก็จะเข้ามา มากไป เส้นเอ็นก็จะแปรไปจากปกติ ทำให้เกิดโรคได้ นี่จัดได้ชื่อว่า
เป็นใหญ่กว่าโรคอื่น ๆ ในร่างกาย โรคเกิดเพราะอิริยาบถ
๔. กาลสมุฏฐาน การเปลี่ยนแปลงของเวลา ได้แก่ เวลาเช้า บ่าย ๖.๓ ความร้อนและความเย็น บุ ค คลที่ เ คยอยู่ ใ นที่ ร้ อ น
เย็น จากเวลาหมุนเวียนตามนาฬิกา ได้กำหนดว่า ถ้าป่วยตอนเช้า มักจะ ไปถูกความเย็นมากไปก็ดี หรือเคยอยู่ในที่เย็นไปถูกความร้อนมากไป
ป่วยด้วยโลกเสมหะ ถ้าป่วยตอนบ่าย มักจะป่วยด้วยปิตตะ(ดี) ความร้อน ก็ดี เช่น เคยอยู่ในร่ม ต้องออกไปกลางแจ้ง เวลาแดดร้อนจัด ไม่มีอะไร
ของอากาศ และถ้าป่วยตอนเย็นมักจะป่วยด้วยโรคลม เป็นต้น กำบัง หรือไม่มีพอที่จะกำบังได้ก็ดี เคยอยู่ในที่เปิดเผย ต้องไปอยู่ในที่
40 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพของผู้สูงอายุ 41
อั บ อบอ้ า ว ร้ อ นมาก ไปก็ ดี หรื อ ผู้ ที่ ต้ อ งไปถู ก ฝน ถู ก น้ ำ ค้ า ง และ ๖.๘ โทสะ บุคคลที่มีโทสะอยู่เสมอ ไม่มีสติที่จะยึดหน่วงไว้ได้
ลงไปแช่ อ ยู่ ใ นน้ ำ นานๆ ก็ ดี เหตุ เ หล่ า นี้ ย่ อ มทำให้ เ กิ ด โรคได้ นี่ จั ด ได้ ย่อมทำกิริยาฝ่าฝืนร่างกาย ละทิ้งความบริหารร่างกายของตนเสีย จนถึง
ชื่อว่า โรคเกิดเพราะความร้อนและเย็น ทอดทิ้งร่างกาย หรือทุบตีตัวเอง เช่นนี้ก็ทำให้เกิดโรคได้ นี่ชื่อว่าโรคเกิด
๖.๔ อดนอน อดข้ า ว อดน้ ำ เมื่ อ ถึ ง เวลาไม่ น อน ต้ อ ง เพราะโทสะ
ทรมานอยู่จนเกินกว่าเวลาอันสมควร หรือ ถึงเวลากินข้าวแต่ไม่ได้กิน
โดยที่ มี เหตุ จ ำเป็ น ต้ อ ง อด อยากกิ น น้ ำ ไม่ ไ ด้ กิ น ต้ อ งอด ต้ อ งทนไป
• กายแห่งเราท่านทั้งหลายนี้ โลหิตเป็นปัจจัยให้
ย่อมเป็นเหตุ ทำให้เกิดโรคได้ นี่จัดได้ชื่อว่า โรคเกิดเพราะอดนอน อดข้าว สดชื่นมีธาตุทั้ง ๔ เป็นเหตุ มีธาตุทั้ง ๔ ก่อเกิด
อดน้ำ คื อ เวี ย นตาย แลเวี ย นเกิ ด อยู่ ใ นภพสงสาร
๖.๕ กลั้นอุจจาระ ปัสสาวะ ตามธรรมดาอุจจาระ ปัสสาวะ ถึงจะเป็นเทวดาแลมนุษย์ก็ดี จะเปนเดียรัจฉาน
เมื่อถึงคราวจะตก แต่กลั้นไว้ไม่ให้ตก ปล่อยให้ล่วงเลยเวลาไปมากกว่า ก็ดี แต่บรรดามีจิตรวิญญาณก็ย่อมมีธาตุทั้ง ๔
สมควร ก็ แ ปรปรวนไปจากความเป็ น ปกติ ย่ อ มทำให้ ธ าตุ ใ นกาย ทุก ๆ ตัวสัตว์ กายแห่งเราท่านทั้งหลายนี้ เมื่อ
แปรปรวนไปด้วย เป็นหนทางทำให้เกิดโรคได้ นี่จัดได้ชื่อว่าโรคเกิดเพราะ จะอันตระธานนั้นย่อมอันตระทานด้วยธาตุทั้ง ๔
กลั้นอุจจาระ ปัสสาวะ ธาตุทั้งหลายบังเกิดแก่มนุษย์ทั้งหลายจึงตั้งกอง
๖.๖ ทำการเกินกำลังกาย คือ ทำการยกแบกหามหิ้วฉุด รู ป ขั น ธ์ ทั้ ง กายอิ น ทรี ย์ ทั้ ง ปวง เมื่ อ จะทำลาย
ลากของที่หนักเกินกว่ากำลังของตนจะทำก็ดี หรือวิ่งกระโดดออกกำลัง เบ็ญจขันธ์ก็ทำลายด้วยธาตุทั้ง ๔ มิได้เว้นจาก
แรงมากเกินไปก็ดี ย่อมทำให้อวัยวะ น้อยใหญ่ไหวเคลื่อนผิดปกติ หรือ บุคคลใดเลย ฯ
ต้องคิดต้องทำงานต่างๆ โดยที่ต้องเหน็ดเหนื่อยเพราะต้องใช้ความคิด (พระคัมภีร์มหาโชตรัตน์)
และกำลังกายมากเกินกว่าปกติ ก็ดี เหล่านี้ชื่อว่าทำการเกินกำลังกาย
ย่อมทำให้เกิดโรคได้ นี่จัดได้ชื่อว่า โรคเกิดเพราะทำการเกินกำลัง ทุกชีวิตไม่ว่าคน สัตว์ ย่อม เกิดขึ้น เปลี่ยนแปลง
๖.๗ ความเศร้าโศกเสียใจ บุคคลที่มีความทุกข์ร้อนมาถึง และแตกดับ ด้วยเบญจขันธ์
ตัวก็เศร้าโศกเสียใจ จนถึงแก่ลืมความสุขสำราญที่เคยมี เคยเป็นมาแต่
ก่ อ นเสี ย ที่ สุ ด อาหารที่ บ ริ โ ภคเคยมี ร สก็ เ สื่ อ มถอยหรื อ ละเลยเสี ย ก็ มี
เมื่อเป็นเช่นนี้ น้ำเลี้ยงหัวใจที่ผ่องใสก็ขุ่นมัวเหือดแห้งไป ก็ย่อมจะให้เกิด
มีโรคขึ้นในกายได้ นี่ชื่อว่า โรคเกิดเพราะความเศร้าโศกเสียใจ

42 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพของผู้สูงอายุ 43


การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย เหตุแห่งโรคและการแตกดับของ
มนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย มีเหตุปัจจัยต่าง ๆ ตามที่พระคัมภีร์ทางการแพทย์
แผนไทยได้กล่าวไว้นั้น เป็นองค์ความรู้แห่งภูมิปัญญาการแพทย์ไทยที่มี
คุณค่า และได้สั่งสมถึงรุ่นลูกหลาน และต่อมาได้มีการผสมผสานความรู้
บทที่ ๕
แพทย์แผนไทยกับภูมิปัญญาตะวันตกตามความเหมาะสม เนื่องจากโดย การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ
หลักการมีความเหมือนกัน เช่นด้านจริยธรรม คุณธรรมของผู้ประกอบ
วิชาชีพรักษาเยียวยาผู้คน การทำความเข้าใจพื้นฐานด้านการวิเคราะห์
วินิจฉัย สาเหตุอาการเจ็บป่วย เป็นต้น

การแพทย์แผนไทยมีความละเอียดลึกซึ้งในเรื่องสมุฏฐานวินิจฉัย การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพผู้ สู ง อายุ ใ ห้ มี ชี วิ ต เป็ น ปกติ สุ ข สมบู ร ณ์


และมีกระบวนการรักษาที่มีความเอื้ออาทรต่อกัน กล่าวคือ เมื่อผู้ป่วย แข็งแรง ไม่เป็นภาระของลูกหลานเป็นเรื่องที่หลายฝ่ายให้ความสำคัญ
ไม่ ว่ า วั ย เด็ ก วั ย ปานกลาง วั ย ชรา หญิ ง หรื อ ชาย หมอเองวิ นิ จ ฉั ย สถานบริการด้านสาธารณสุขทั้งภาครัฐและเอกชนทั่วไป มีโครงการให้
แล้ ว ถ้ า เจ็ บ ไข้ เ ล็ ก น้ อ ย หมอแนะนำสมุ น ไพร และวิ ธี ก ารดู แ ลรั ก ษา ความรู้และกิจกรรมสำหรับผู้สูงอายุ ซึ่งส่วนใหญ่เน้นการบริหารร่างกาย
พยาบาลกันเองได้ ถ้าไข้หนักหมอรักษาแล้ว เมื่อเจ้าไข้เข้าใจในวิธีแพทย์ ตามแนวคิดสร้างเสริมสุขภาพให้แข็งแรงป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ
อยู่บ้างแล้ว ก็จะปรนนิบัติคนไข้ให้ถูกต้องตามลักษณะอันดี เป็นเครื่อง คู่มือการนวดไทยเพื่อสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ได้นำเรื่องการ
อุปการแก่หมอได้มาก ดังนี้ผู้ป่วยโดยเฉพาะวัยชราจะได้รับการดูแลรักษา บริหารร่างกายพื้นฐานสำหรับผู้สูงอายุ และการนวดตนเองเพื่อป้องกัน
พยาบาลด้วยความรัก ความอบอุ่น และกำลังใจ จากลูกหลานเป็นอย่างดี และบรรเทาอาการต่าง ๆ ในท่าที่สามารถทำได้ตามความเหมาะสมของ
สภาพร่างกาย

44 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 45


๑. การบริหารร่างกายเพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การบริหารร่างกายพื้น∞าน๕

ผู้ สู ง อายุ ที่ บ ริ ห ารร่ า งกายเป็ น ประจำ จะมี สุ ข ภาพสมบู ร ณ์ ท่าเตรียม ยืนเท้าเอว แยกขา
แข็งแรงทั้งกาย ใจ มีภูมิต้านทานโรคมากกว่าผู้สูงอายุรุ่นเดียวกันที่ ๑. ท่าบริหารคอ
ไม่ค่อยออกกำลังกาย ดังนั้นการออกกำลังกายจึงเป็นการสร้างพลัง ๑.๑ ก้มศีรษะ – หน้าตรง – เงยศีรษะ ทำ ๘ ครั้ง
ป้องกันโรค และเพิ่มชีวิตชีวาแก่ผู้สูงอายุได้อย่างดียิ่ง

หลั ก การออกกำลั ง กาย และการดั ด ตน มั ก ปฏิ บั ติ ค วบคู่ กั บ


การฝึกการหายใจเข้า หายใจออก เพื่อช่วยให้การไหลเวียนโลหิตดีขึ้น
และในขณะออกกำลังกายควรตัดภารกิจหรืออาการฟุ้งซ่านรำคาญใจ
ออกจากจิตใจ เพื่อทำให้การบริหารร่างกายสมบูรณ์ตามเป้าหมายที่
กำหนดไว้ และไม่เหนื่อยง่าย ในการบริหารร่างกายนั้น ควรบริหาร
ร่างกายโดยเริ่มต้นอย่างช้า ๆ และให้หยุดทำทันที ถ้าท่านรู้สึกว่ามี
อาการไม่สบายหรือผิดปกติ ให้กำลังใจกับตัวท่านเอง โดยการเพิ่มท่า
บริหารร่างกายทีละน้อย และหายใจลึก ๆ เสมอ หยุดพักเป็นช่วงสั้น ๆ ๑.๒ เอียงศีรษะ ซ้าย – ตรง – ขวา ทำ ๘ ครั้ง
เพื่อไม่ให้เกิดอาการวิงเวียน หรือหยุดพักในขณะเปลี่ยนท่า ข้อสำคัญ
ห้ามหักโหมหรือทำอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะท่าที่ต้องออกกำลังสู้แรง
ต้ า นทาน จะเกิ ด การบาดเจ็ บ ของเอ็ น กล้ า มเนื้ อ รวมทั้ ง มี ผ ลต่ อ การ
ทำงานของหัวใจ การอุ่นเครื่องที่ถูกต้องจะช่วยป้องกันการบาดเจ็บได้


เอกสารเผยแพร่”กีฬานามัย” โดยสมาคมกีฬาเวชศาสตร์ไทย รวบรวมโดย อาจารย์
อวย เกตุสิงห์

46 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 47


๒. ท่าบริหารแขน ท่าเตรียมเหยียดแขนตรงไปข้างหน้า ๒.๔ กำมือชกขึ้นฟ้า แขนซ้าย - แขนขวาสลับกัน ทำ ๘ ครั้ง

๒.๑ หงายฝ่ามือ – กำ – แบ ทำ ๘ ครั้ง

๒.๒ กำมือ กระดกข้อมือทั้งมือซ้ายและขวา ขึ้น - ลง มือซ้าย ๓. ท่ากังหันลม บริหารข้อมือ


และขวา ทำ ๘ ครั้ง ท่าเตรียม กางแขนออกไปข้างลำตัวทั้ง ๒ ข้าง แล้วหมุนข้อมือ
หมุนไปข้างหน้า ทำ ๘ ครั้ง หมุนไปข้างหลัง นับ ๑-๘ ครั้ง

๒.๓ กำมือชกไปข้างหน้า แขนซ้าย - แขนขวาสลับกัน ทำ ๘ ครั้ง

48 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 49


๔. ท่ากระพือปีก บริหารข้อไหล่ ๖. ท่าบริหารเอว ท่าเตรียม ยืนกางขาเล็กน้อย เท้าเอว
ท่าเตรียม ยกแขนขึ้นลงด้านข้างลำตัว ทำ ๘ ครั้ง ๖.๑ ก้มไปข้างหน้า - ท่าตรง - แอ่นตัวไปข้างหลัง ทำ ๘ ครั้ง

๕. ท่าโบกลม บริหารข้อไหล่
ท่าเตรียม ยกแขนขึ้นลงด้านหน้า ทำ ๘ ครั้ง ๖.๒ เอนตัวไปด้านข้าง ทางซ้าย - ท่าตรง - เอนไปทางขวา ทำ ๘ ครั้ง

50 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 51


๖.๓ บิดเอว ซ้าย-ขวา สลับกัน ๘. ท่าบริหารเท้า
ยกมือเท้าเอว เขย่งเท้า ขึ้น – ลง ทำ ๘ ครั้ง

๙. ท่าบริหารขา
ก้าวเท้า ซ้ายขึ้น ขวาขึ้น ซ้ายลง ขวาลง
๗. ท่าบริหารเข่า นั่งเก้าอี้
ท่ า เตรี ย ม ยกมื อ ทั้ ง ๒ ข้ า ง
ค่อย ๆ ย่อเข่าลงนัง่ หลังตรง – ยืนตรง
ขึ้นลง ทำ ๘ ครั้ง

เตรียม ๑ ๒ ๓ ๔

52 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 53


๑๐. ท่าคายพิษ – ขยายปอด ๒. การนวดไทยเพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ
ยกแขน(หุบแขน)กำมือขึ้นไว้ที่หน้าอก หายใจเข้าทางจมูก กางศอก
ให้ฉากพร้อมกับหายใจออกทางปาก ทำ ๘ ครั้ง การจัดการความรู้การนวดไทยเพื่อสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
เพื่อเป็นคู่มือให้ผู้สูงอายุใช้เป็นแนวทางดูแลตนเอง โดยได้รวบรวมความ
๑๐.๑ กำมือขึ้น (หุบแขน) ไว้ที่หน้าอก ๑๐.๒ กางศอกออกพร้อม รู้การนวดตนเองที่ผู้สูงอายุสามารถทำเองได้ตามสภาพร่างกายแต่ละคน
หายใจเข้าทางจมูก หายใจออกทางปาก อาจมีบางท่าที่ไม่เหมาะสมกับสภาพร่างกายบางคน ไม่ควรฝืนทำเพราะ
จะทำให้เกิดการบาดเจ็บได้
การนวดตนเองที่นำเสนอในคู่มือนี้ เป็นท่าที่ช่วยผ่อนคลายกล้าม
เนื้อและป้องกันอาการต่าง ๆ ที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ซึ่งสามารถปฏิบัติ
เป็นกิจวัตรประจำวันได้ ดังนี้
๒.๑ การนวดถนอมสายตา
๒.๒ การนวดตนเองเพื่อผ่อนคลายส่วน
• คอ ศีรษะ
• มือ แขน ไหล่
• หลัง เอว สะโพก
• ขา เข่า ข้อเท้า
๒.๓ การนวดตนเองเพื่อเสริมสร้างความคล่องตัว
๒.๔ การนวดตนเองเพื่อผ่อนคลายช่วยให้นอนหลับดี
๒.๕ การนวดตนเองเพื่อช่วยการขับถ่ายอุจจาระ
๒.๕ การนวดตนเองเพือ่ ป้องกันอาการจุกเสียด ท้องอิด ท้องเฟ้อ

54 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 55


๒.๑ การนวดถนอมสายตา ๒) ท่าทาแป้ง
ใช้นิ้วกลางทั้งสองกดตรงหัวตา (โคนสันจมูก) ให้แน่นพอควร
รศ.นพ.กรุงไกร เจนพาณิชย์ ได้ศึกษาศาสตร์การนวดไทย และ ดั น นิ้ ว ขึ้ น ไปจนถึ ง หน้ า ผาก แล้ ว ใช้ นิ้ ว ทั้ ง หมด (เว้ น นิ้ ว หั ว แม่ มื อ )
ร่วมพัฒนาการนวดไทยกับโครงการฟื้นฟูการนวดไทย ตั้งแต่พ.ศ. ๒๕๒๘ แตะหน้ า ผากโดยให้ ป ลายนิ้ ว จรดกั น แล้ ว ลู บ ลงไปข้ า งแก้ ม แบบ
ท่ า นได้ จั ด ทำท่ า นวดถนอมสายตาด้ ว ยตนเอง มี ทั้ ง หมด ๗ ท่ า เมื่ อ แนบสนิท ทำ ๑๐-๒๐ ครั้ง ท่านี้ช่วยให้สายตาแจ่มใสเลือดลมเดินดี
ทำครบ ๗ ท่า แล้วจะทำให้ รู้สึกสดชื่น หัวโปร่งโล่ง เบาสบาย หายง่วง สดชื่น หายง่วง
ตาสว่าง สดใส ช่วยถนอมสายตาให้เป็นปกติ ผ่อนคลายความเครียด
ควรทำทุกวันเพื่อชะลอความเสื่อมของ สมอง ตา หู จมูก ลิ้น คอ ดังนี้

๑) ท่าเสยผม
ใช้นิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง กดขอบกระบอกตาบนให้แน่นพอควร
ทำทั้ง ๒ ข้าง พร้อม ๆ กัน ค่อย ๆ ดัน นิ้วทั้ง ๓ นิ้วเรื่อยขึ้นไปบนศีรษะ
จนถึงท้ายทอยแบบเสยผม ทำ ๑๐-๒๐ ครั้ง ท่านี้ ช่วยให้สมองโปร่งใส
แก้อาการมึนศีรษะ เซื่องซึม

๓) ท่าเช็ดปาก
ใช้ฝ่ามือขวาทาบบนปาก ลากมือไปทางขวาสุด ให้ฝ่ามือกดแน่น
กับปากพอควร เปลี่ยน ใช้มือซ้ายทาบปาก แล้วทำแบบเดียวกันนับเป็น
๑ ครั้ง ทำ ๑๐-๒๐ ครั้ง ท่านี้ ช่วยกระตุ้นปลายประสาท แก้ม และ
กล้ามเนื้อ ริมฝีปาก แก้ปากเบี้ยว

56 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 57


๔) ท่าเช็ดคาง ๖) ท่าถูหน้าและหลังหู
ใช้ ห ลั ง มื อ ขวาทาบคาง แล้ ว ลากมื อ จากทางซ้ า ยไปทางขวา ใช้มือแต่ละข้างคีบหู โดยกางนิ้วกลางและนิ้วชี้ คีบอย่างหลวม ๆ
ให้หลังมือกดแน่นกับใต้คางพอควร เปลี่ยนใช้มือซ้ายทำแบบเดียวกัน วางมือให้แนบสนิทกับแก้มถูขึ้นลงแรง ๆ นับเป็น ๑ ครั้ง ทำ ๒๐-๓๐
นั บ เป็ น ๑ ครั้ ง ทำ ๑๐-๒๐ ครั้ ง ท่ า นี้ ช่ ว ยกระตุ้ น ประสาทโคนลิ้ น ครั้ง ท่านี้ ช่วยกระตุ้นกล้ามเนื้อกกหู แก้อาการหูอื้อ มึนศีรษะ ทำให้
ขากรรไกร ช่วยการเคี้ยวอาหาร กระตุ้นต่อมน้ำลาย การทรงตัวดีขึ้น

๕) ท่ากดใต้คาง
ใช้นิ้วหัวแม่มือทั้ง ๒ ข้าง กดใต้คาง โดยให้ปลายนิ้วตั้งฉากกับคาง
๗) ท่าตบท้ายทอย
ใช้ มื อ ปิ ด ใบหู ทั้ ง ๒ ข้ า ง ใช้ นิ้ ว ทั้ ง หมดอยู่ ที่ ท้ า ยทอย และ
ใช้แรงกดพอควรและนานพอควร(นาน ๑๐ วินาที หรือนับ ๑-๑๐ อย่าง
ปลายนิ้ ว กลางจรดกั น กระดกนิ้ ว ให้ ม ากที่ สุ ด แล้ ว ตบที่ ท้ า ยทอย
ช้า ๆ) เลื่อนจุดกดให้ทั่วใต้คางเฉพาะทางด้านหน้า ทำ ๕ ครั้ง ท่านี้
พร้ อ มกั น ทั้ ง ๒ มื อ ด้ ว ยความแรงพอควร โดยไม่ ย กมื อ ออกจากหู
ช่วยกระตุ้นโคนลิ้นทำให้พูดได้คล่องและชัด
เพราะทำให้การตบแรงเกินควร ซึ่งกลับทำให้เกิดผลเสียได้ ทำ ๒๐-๓๐
ครั้ง ท่านี้ ช่วยแก้อาการเซื่องซึม ทำให้สดชื่น หูตาสว่าง

58 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 59


๒.๒ การนวดตนเองเพื่อผ่อนคลาย
• คอ ศีรษะ แนวเหนือหู
• มือ แขน ไหล่ เริ่มจากเหนือใบหูทั้งสองข้าง ขึ้นไปจนถึง
• หลัง เอว สะโพก กลางกระหม่อม
• ขา เข่า ข้อเท้า จุดจอมประสาท
อยู่ตรงตำแหน่งที่ตัดกันระหว่างแนวกำด้น
กับแนวเหนือหู
จุดหัวคิ้ว อยู่ตรงหัวคิ้วทั้งสองข้าง
การนวดตนเองเพื่อผ่อนคลายส่วนคอศีรษะ
จุดอุณาโลม อยู่กึ่งกลางระหว่างหัวคิ้ว
แนวนวดและจุดนวดพื้นฐาน คอ ศีรษะ

แนวบ่า ๑ (แนวราวบ่าเกลียวคอ)
เริ่ ม จากเหนื อ หั ว ไหล่ ม าตามแนวบ่ า การนวดตนเองตามแนวนวดศีรษะ
ขึ้นไปตามแนวข้างคอ
แนวบ่า ๒ (แนวเหนือสะบักก้านคอ)
เริ่มจากเหนือหัวไหล่มาตามเหนือกระดูก ๑. ใช้นิ้วชี้ นิ้วกลาง และนิ้วนางรวมกันกด
สะบัก ขึ้นไปตามแนวชิดกระดูกคอ และคลึงบริเวณขมับทั้ง ๒ ข้าง
แนวกำด้น
เริ่มจากจุดกำด้นขึ้นไปตามแนวกึ่งกลาง
ศีรษะ จนถึงไรผมด้านหน้า
จุดกำด้น อยู่ตรงรอยบุ๋มใต้ปุ่มท้ายทอย ๒. ใช้ นิ้ ว ชี้ แ ละนิ้ ว กลางคี บ ใบหู ถู ขึ้ น ลง
จุดใต้ไรผม อยู่ ต รงรอยบุ๋ ม ใต้ ก ะโหลก บริเวณหน้าและหลังหู ด้ ว ยแรงพอ
ทางด้านข้าง ประมาณ นับเป็น ๑ ครั้ง ทำ ๑๐ - ๑๕
ครั้ง

60 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 61


ท่านวดตนเอง เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อบริเวณคอ ศีรษะ บ่า
๓. ใช้นิ้วหัวแม่มือกดบริเวณท้ายทอย
ทั้ง ๒ ข้าง อาจคลึงด้วยก็ได้
๑. ใช้ นิ้ ว ชี้ นิ้ ว กลาง และนิ้ ว นาง กดบี บ
แนวบ่า ทำสลับข้างนวดเช่นเดียวกันทั้ง
ซ้าย ขวา
๔. ใช้ นิ้ ว หั ว แม่ มื อ กดบริ เ วณกล้ า มเนื้ อ ๒ ท่านี้ช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อ แนว คอ บ่า
แนวข้ า ง ชิ ด กระดู ก สั น หลั ง ช่ ว งคอ
(ไม่ใช่กดบนกระดูกสันหลัง) ๒. ใช้ นิ้ ว ชี้ นิ้ ว กลาง และนิ้ ว นาง กดบี บ
บริ เ วณเกลี ย วคอ ทำสลั บ ข้ า งนวด
เช่นเดียวกันทั้งซ้าย ขวา
๕. แล้วเลื่อนไปกดแนวที่ ๒ ห่างจากแนวแรก ท่านี้ผ่อนคลายกล้ามเนื้อคอ
๑ นิ้วมือ

๓. ประสานมือเข้าด้วยกันบริเวณ
ท้ายทอย ใช้นวิ้ หัวแม่มอื ทัง้ สอง
๖. ใช้ฝ่ามือ กด บีบ และคลึงก้านคอตรง กดตามแนวเกลียวคอ
ท้ายทอย หรือลูบแรง ๆ จนร้อน แล้ว ท่านี้ผ่อนคลายกล้ามเนื้อคอและศีรษะ
ใช้ ฝ่ า มื อ บี บ ไหล่ ด้ า นตรงข้ า มจนร้ อ น
ทั้ง ๒ ข้าง
๔. ใช้นิ้วหัวแม่มือทั้งสองข้าง
๗. ใช้ ผ้ า ขนหนู ชุ บ น้ ำ อุ่ น บิ ด พอหมาด กดจุดใต้ไรผม ๒ จุดพร้อม ๆ กัน
ประคบบริเวณท้ายทอยและไหล่ทั้ง ด้วยแรงพอสมควร
๒ ข้าง ตลอดจนหลังส่วนบน ท่านี้ผ่อนคลายกล้ามเนื้อคอ และศีรษะ

62 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 63


๕. นั่ ง ขั ด สมาธิ มื อ ข้ า งหนึ่ ง วางยั น บนเข่ า การนวดตนเองเพื่อผ่อนคลายส่วน มือ แขน ไหล่
(ไม่ให้ตัวโยกเอน) ฝ่ามืออีกข้างวางไว้ใต้กกหู
(ไม่ปิดหู ไม่ทับกราม) หายใจเข้า-ออก มือดัน
ศีรษะ ศีรษะต้านฝ่ามือ หายใจเข้าออกปกติ การนวดตนเอง ตามจุดนวดมือ
๓-๕ ครั้ง แล้วผ่อนออกทำสลับข้าง ท่านี้ช่วย
ด้านฝ่ามือ ด้านหลังมือ
ยืดและทำให้กล้ามเนื้อบริเวณต้นคอแข็งแรง
ช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อคอ ศีรษะ

๖. นั่ ง ขั ด สมาธิ ตั ว ตรง พนมมื อ ระหว่ า งอก


หายใจเข้า ออก ออกแรงดันมือที่พนมไว้ และ
ค่ อ ย ๆ ยกมื อ ขึ้ น เหนื อ ศี ร ษะ ออกแรงดั น จุดฝ่ามือ ๑ จุดหลังมือ ๑
ฝ่ามือเข้าหากัน ยืดลำตัวหายใจเข้าออก ๓-๕ อยู่บนเนินใหญ่ อยู่ตรงง่ามระหว่าง
ครั้ง แล้วผ่อนออก ท่านี้ช่วยบริหารกล้ามเนื้อ ของฝ่ามือ นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้
คอ สะบัก
จุดฝ่ามือ ๒
อยู่กลางฝ่ามือ
๗. นั่งขัดสมาธิ ประสานฝ่ามือที่หน้าอก หายใจ
จุดฝ่ามือ ๓
เข้า - ออก เหยียดแขนไปข้างหน้าแล้วยกขึ้น จุดหลังมือ ๒
อยู่บนเนินเล็ก
เหนือศีรษะ ยืดตัวและแขนให้สุดขณะที่ชูแขน อยู่ตรงร่องระหว่างโคนนิ้ว
ของฝ่ามือ
ขึ้ น ให้ ห ายใจเข้ า จนลึ ก สุ ด ถึ ง ท้ อ งน้ อ ย แล้ ว
กลั้ น ลมหายใจไว้ หายใจออก หายใจเข้ า
ลึ ก ๆ ใช้ มื อ ข้ า งหนึ่ ง ดั ด นิ้ ว ของอี ก ข้ า งหนึ่ ง
ด้ ว ยวิ ธี ก ารกลั้ น ลมหายใจไว้ อึ ด ใจแบบ นั่งขัดสมาธิกดจุดบนฝ่ามือทั้ง ๓ จุด
เดียวกัน ท่านี้ ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ลดอาการ และ จุดหลังมือ ๑ และ จุดหลังมือ ๒
ปวดศีรษะ เนื่องจากความวิตกกังวล

64 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 65


ท่านวดตนเอง การดัดนิ้วมือ
ป้องกันอาการปวดมือ แขน ไหล่ ป้องกัน อาการปวดนิ้วมือ มือชา

นั่ ง ขั ด สมาธิ ประสานฝ่ า มื อ ไว้ ที่ ห น้ า อก หายใจเข้ า หายใจออก


เหยียดแขนไปข้างหน้า ในลักษณะหงายฝ่ามือ หายใจเข้ายกแขนขึ้นเหนือ
ศีรษะ ยืดตัวและแขนให้สุด หายใจเข้าออกปกติ ๓-๕ ครั้ง แล้วผ่อนออก
ท่ า นี้ ช่ ว ยยื ด กล้ า มเนื้ อ แขนที่ ใ ช้ ใ นการงอข้ อ มื อ และนิ้ ว มื อ และ
บริหารข้อไหล่

นั่งขัดสมาธิ ตัวตรง เหยียดแขนออกไปข้างหน้า หันหลังมือ


เข้าหากันประสานนิ้วมือเข้าหากัน จากด้านหลังมือ แล้วพลิกมือกลับ
กำมือให้แน่น นับ ๑-๑๐ จึงค่อย ๆ คลายมือออก

66 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 67


จุดและแนวนวดแขนไหล่ การนวดแนวแขน เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อแขนไหล่
แนวแขนด้านหน้า ๑ (แนวนิ้วกลาง)
เริ่มจากเหนือกึ่งกลางข้อมือทางด้านหน้า ๑. ใช้นิ้วหัวแม่มือกดจุดแนวแขนด้านหน้า
จุดใต้รากขวัญ
ขึ้นไป จนถึงใต้ พับศอก และจากเหนือ จากเหนือกึ่งกลางข้อมือ (แนวนิ้วกลาง
จุดร่องกล้ามเนื้อสามเหลี่ยม
จุดเหนือรักแร้ด้านหน้า พั บ ศอกขึ้ น ไป จนถึ ง จุ ด ร่ อ งกล้ า มเนื้ อ ห่างจากข้อมือ ๒ นิ้วมือ) ไปจนถึงร่อง
สามเหลี่ยม กล้ า มเนื้ อ สามเหลี่ ย ม ท่ า นี้ ผ่ อ นคลาย
กล้ามเนื้อแขน ป้องกันอาการปวดเมื่อย
แนวแขนด้านหน้า ๒ (แนวนิ้วก้อย) แขน (นวดเช่นเดียวกัน ทั้ง ๒ ข้าง)
เริ่ ม จากเหนื อ ข้ อ มื อ ทางด้ า นนิ้ ว ก้ อ ย
ขึ้ น ไปจนถึ ง ใต้ พั บ ศอกด้ า นใน และ
จากเหนื อ พั บ ศอกด้ า นในขึ้ น ไปจนถึ ง ๒. ใช้นิ้วหัวแม่มือกดจุดแนวแขนด้านหน้า
จุดเหนือรักแร้ทางด้านหน้า จากเหนื อ ข้ อ มื อ ทางด้ า นนิ้ ว ก้ อ ยขึ้ น ไป
จนถึงจุดเหนือรักแร้ทางด้านหน้า
จุดใต้รากขวัญ (ใต้ไหปลาร้า) ท่ า นี้ ผ่ อ นคลายกล้ า มเนื้ อ แขนป้ อ งกั น
อาการปวดเมื่อยแขน
แนวแขนด้านหลัง ๑ (แนวนิ้วกลาง)
(นวดเช่นเดียวกัน ทั้ง ๒ ข้าง)
เริ่มจากเหนือกึ่งกลางข้อมือทางด้านหลัง
ขึ้ น ไป จนถึ ง ใต้ พั บ ศอกด้ า นนอก และ
จากเหนือพับศอกด้านนอกขึ้นไป จนถึง
๓. คว่ำฝ่ามือใช้นิ้วชี้ นิ้วกลาง และนิ้วนางรวมกัน
จุดเหนือรักแร้ด้านหลัง กล้ามเนื้อสามเหลี่ยมระดับเดียวกับรักแร้
กดจุ ด แนวแขนด้ า นหลั ง เริ่ ม จากเหนื อ
แนวแขนด้านหลัง ๒ (แนวนิ้วนาง) กึ่งกลางข้อมือด้านหลัง ขึ้นไปจนถึงกล้ามเนื้อ
เริ่มจากเหนือข้อมือทางด้านหลัง ขึ้นไป สามเหลี่ ย มระดั บ รั ก แร้ ท่ า นี้ ผ่ อ นคลาย
จนถึงใต้ปมุ่ กระดูก ข้อศอก และจากเหนือ กล้ามเนื้อแขนป้องกันอาการปวดเมื่อยแขน
ปุ่ ม กระดู ก ข้ อ ศอกขึ้ น ไปจนถึ ง จุ ด เหนื อ ด้านหลัง (นวดเช่นเดียวกัน ทั้ง ๒ ข้าง)
รักแร้ทางด้านหลัง
68 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 69
๔. ใช้ สี่ นิ้ ว กำที่ หั ว ไหล่ นิ้ ว หั ว แม่ มื อ กดจุ ด ใต้ การนวดตนเองเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ไหล่
รากขวัญ (ใต้ ก ระดู ก ไหปลาร้ า ) ท่ า นี้ ผ่ อ น
คลายกล้ามเนื้อแขนป้องกันอาการปวดเมื่อย การใช้อุปกรณ์ช่วยนวด
แขน และข้อไหล่ ๑. ใช้ด้ามของที่เปิดกระปอง
(นวดเช่นเดียวกัน ทั้ง ๒ ข้าง) ส่วนที่เป็นปลายมน กดบริเวณไหล่ และ
ตามแนวชิดขอบด้านในสะบัก

๒. ใช้ผ้าขนหนู
ชุบน้ำอุ่น บิดพอหมาด ประคบ
การดัดแขนป้องกันอาการปวดเมื่อยแขน
บริเวณท้ายทอย และไหล่ทั้ง ๒ ข้าง

ท่านวดตนเองเพื่อป้องกันอาการข้อไหล่ติด
ท่านวดตนเอง
นั่งขัดสมาธิตัวตรง เหยียด
แขนซ้ายออกมา หันฝ่ามือ ๑. นั่งขัดสมาธิ งอข้อศอกข้างหนึ่ง ให้มือวางบนบ่า
อ อ ก ด้ า น น อ ก ล ำ ตั ว ด้านตรงข้าม ใช้มืออีกข้างจับที่ข้อศอกไว้ หายใจ
เหยี ย ดแขนขวาออกมา เข้าออกปกติ ๓-๕ ครั้ง แล้วผ่อนออก ทำสลับ
ไขว้แขนซ้าย แล้วประกบ ข้าง ท่านี้เป็นการยืดข้อไหล่
มือกำให้แน่ น หายใจเข้า
ช้า ๆ ดึงย้อนกลับมาที่อก ๒. นั่ ง ขั ด สมาธิ งอข้ อ ศอกข้ า งหนึ่ ง ยกขึ้ น ไว้ ท าง
นับ ๑-๑๐ หายใจออกช้าๆ ด้ า นหลั ง ศี ร ษะ มื อ อี ก ข้ า งจั บ มื อ ไว้ หายใจเข้ า
แล้วค่อยๆ คลายมือ หายใจออก พร้อม ๆ กับดึงข้อมือลงให้มากที่สุด
หายใจเข้าออกปกติ ๓ - ๕ ครั้ง แล้วผ่อนออก
ทำสลับข้าง ท่านี้เป็นการยืดข้อไหล่
70 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 71
ท่าดัดตน เพื่อป้องกันอาการข้อไหล่ติด

ปฏิบัติ ยืนแยกเท้าให้ห่างกันกว้างกว่าช่วงไหล่ลำตัวตรง มือทั้งสองจับ


ปฏิบัติ หายใจเข้าแล้วหายใจออกช้า ๆ พร้อมทั้งไถมือไปข้างหน้าจนสุด กันแบบมัดข้าวต้มอยู่ข้างหลังก้าวขวาไปข้างหน้า เท้าซ้ายอยู่ข้างหลัง
แขนก้มศีรษะลง มากที่สุดเท่าที่ทำได้ หายใจเข้าช้า ๆ พร้อมทั้งเงยหน้า เหยียดตรง หายใจเข้าลึกๆ ให้เต็มที่ก่อน แล้วหายใจออกช้า ๆ พร้อม
ขึ้นจนสุดลมหายใจแล้วกลั้นไว้ นับ ๑-๑๐ หายใจออกพร้อมทั้งก้มศีรษะลง ทั้งค่อย ๆ ย่อเข่าให้ตั้งฉากกับลำตัวโดยให้ขาที่อยู่ข้างหลังตึงจนสุด
และพยายามเหยียดแขนไปข้างหน้าอีกเล็กน้อย แล้วค่อย ๆ ผ่อนคลาย แล้วหมุนตัวไปด้านซ้าย พร้อมทั้งใช้มือซ้ายดึงมือขวามาให้เต็มที่ ค้างไว้
กลับท่าเดิม ทำสลับกันโดยเอาขาซ้ายทับขาขวาบ้าง ท่านี้หายใจเข้า-ออก ช้า ๆ ๒-๓ ครั้ง แล้วผ่อนคลายกลับสู่ท่าเริ่มต้น
ทำสลับกัน ๓-๔ ครั้ง

72 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 73


การนวดตนเองเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อส่วนหลัง การใช้อุปกรณ์ช่วยนวด

การนวดตนเองตาม จุด และแนวนวดหลัง ๑. การใช้นมไม้

วางส่ ว นปลายของนมไม้ ไว้ ที่


แนวกล้ามเนื้อข้างกระดูกสันหลัง
(ไม่ ใ ช่ บ นกระดู ก สั น หลั ง ) แล้ ว
เอียงตัวช้า ๆ นอนให้ น้ำหนักตัว
กดทั บ เอาไว้ นั บ ๑–๑๐ แล้ ว
พลิกกลับเลื่อนไปจุดถัดไป

๒. ห า ก มี ลู ก ก อ ล์ ฟ ห รื อ หิ น ที่ มี
ลั ก ษณะกลม ให้ ว างบนแนว
กล้ามเนื้อ ข้างกระดูกสันหลัง ใช้
หลั ง ดั น กั บ ผนั ง ด้ ว ยแรงพอ
สมควร นับ ๑- ๑๐ แล้วเปลี่ยน
ไปกดจุดถัดไป

๓. ใช้ผ้าขนหนูชุบน้ำอุ่น บิดพอหมาดประคบบริเวณกล้ามเนื้อสองข้าง
ของกระดูกสันหลัง
แนวหลัง ๑ อยู่ชิดกระดูกสันหลัง เริ่มจากระดับเดียวกับกลาง
สะบักลงมาจนถึงเหนือกระดูกกระเบนเหน็บ จุดท้าวสะเอว อยู่ข้าง
กระดูกสันหลังช่วงเอวชิ้นที่ ๒ ประมาณ ๓ นิ้วมือ

74 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 75


ท่านวดตนเอง ๔. นั่งขัดสมาธิ ใช้ข้อมือขัดไว้เหนือหัวเข่าด้าน
เพื่อผ่อนคลายการเกร็งตัวกล้ามเนื้อหลัง เอว สะโพก ตรงข้าม บิดลำตัว หายใจเข้า หายใจออก
บิดตัวให้มากทีส่ ดุ หายใจเข้าออกปกติ ๓-๕
๑. นั่งไขว้ห้างบนพื้น มือข้างหนึ่งจับข้อเท้า ครัง้ แล้วผ่อนออก ทำสลับข้าง
ดึงไปด้านหลัง ขณะที่มีอีกข้างดันหัวเข่า ท่านีช้ ว่ ยทำให้กระดูกสันหลังมีความยืดหยุน่
ไว้ หายใจเข้า หายใจออก ดันหัวเข่าให้ ป้องกันอาการปวดหลัง เอว สะโพก
มากที่สุด แล้วหายใจเข้าออกปกติ ๓-๕
ครัง้ แล้วผ่อนออก ทำสลับข้าง ท่านี้ช่วย
ยืดสะโพก ๕. นั่ ง คุ ก เข่ า เข่ า แยกเล็ ก น้ อ ย ให้ ห ลั ง เท้ า
ทั้งสองข้างวางราบ เหยียดแขนทั้งสองข้าง
ไปข้ า งหน้ า หงายฝ่ า มื อ วางปลายนิ้ ว บน
๒. นัง่ ขัดสมาธิ ใช้แขนสอดหน้าแข้งข้างหนึง่ หน้าตักนัง่ ลงบนส้นเท้า หายใจเข้า เงยหน้า
เตรียมยกขาขึน้ หายใจเข้าออก ยกขาขึน้ แอ่นตัว แล้วหายใจเข้าออกปกติ ๓-๕ ครั้ง
ให้ เ ข้ า หาตั ว มากที่ สุ ด หายใจเข้ า ออก แล้วผ่อนออก ท่านี้ช่วยยืดกล้ามเนื้อคอ/อก
ปกติ ๓-๕ ครัง้ แล้วผ่อนออก ทำสลับข้าง หลัง และ กล้ามเนื้อที่ใช้ในการงอข้อมือและ
ท่านีช้ ว่ ยยืดข้อสะโพก นิว้ มือ

๓. นั่งงอเข่าทั้งสอง พับขาเข้ามาให้ฝ่าเท้า
ประกบกัน ใช้มือทั้งสองข้างจับที่นิ้วเท้า ๖. นั่งคุกเข่า เข่าแยกเล็กน้อย เอามือทั้งสอง
และใช้ มื อ ดั น ให้ ส้ น เท้ า ชิ ด เข้ า หาฝี เ ย็ บ ข้างจับปลายเท้า หายใจเข้าเงยหน้า แอ่นตัว
หายใจเข้า – ออก ก้มตัวให้คางแนบปลาย ให้มากที่สุด แล้วหายใจ เข้า-ออก ปกติครั้ง
เท้า แล้วหายใจเข้าออก ปกติ ๓-๕ ครั้ง แล้วผ่อนออก ท่านี้ช่วยยืดกล้ามเนื้อคอ อก
แล้วผ่อนออก ท่านี้ช่วยยืดกล้ามเนื้อหลัง หลัง และแขน
และกล้ามเนื้อที่ใช้หุบขา ป้องกันอาการ
ปวดสะโพก ข้อเข่า หลัง บัน้ เอว
76 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 77
๗. ทำต่อเนือ่ งจากท่านัง่ คุกเข่า น่องสัมผัส ๑๐. นอนหงายเหยี ย ดขาตรง งอเข่ า
กั บ ต้ น ขาปลายเท้ า ชี้ ไ ปทางด้ า นหลั ง ทั้งสองข้างขึ้น ใช้มือทั้งสองข้างจับ
หายใจออก ค่อย ๆ เอนลำตัวลงโดยใช้ เข่าไว้ หายใจเข้า หายใจออก ดึง
ศอกยันพื้นไว้ทีละข้าง หงายศีรษะให้ เข่าให้ชิดตัวมากที่สุด หายใจเข้า
เต็มที่ วางกระหม่อมลงกับพืน้ วางแขน ออกปกติ ๓-๕ ครั้ง แล้วผ่อนออก
ข้างลำตัวแอ่นอกไว้ หายใจเข้าออกปกติ ๓-๕ ครั้ง ค่อย ๆ วางหลัง ท่านี้ ป้องกันอาการปวดหลังที่เอว
แนบกับพืน้ ตะแคงตัว และเหยียดเท้าออกทีละข้าง เป็นท่านอนหงาย แอ่นมากกว่าปกติ
ท่านี้กล้ามเนื้อหลังและคอจะถูกเหยียดออกเต็มที่ ทำให้ปอดขยายตัว
และยืดกล้ามเนือ้ บริเวณหน้าต้นขา ๑๑. นอนหงายชันเข่า หายใจเข้า หายใจ
ออก หมุนเอวให้หัวเข่าทั้งสองข้าง
๘. นอนหงายชันเข่ากำมือทั้งสองข้างไว้ใต้ แตะพื้นให้มากที่สุดโดยไม่ยกไหล่
สะโพก ให้ น้ ำ หนั ก ตั ว กดทั บ ไว้ โยกตั ว หายใจเข้าออกปกติ ๓-๕ ครัง้ แล้ว
เล็กน้อย ท่านีเ้ ป็นการนวดบริเวณสะโพก ผ่ อ นออก ทำสลั บ ข้ า ง ท่ า นี้ เ ป็ น
- จากสะโพกเลื่อนมือที่กำไว้วางที่ใต้ข้าง การบริหารกล้ามเนื้อหลัง ป้องกัน
กระดูกสันหลังช่วงบั้นเอวให้น้ำหนักตัว การปวดหลัง
กดทั บ ไว้ โ ยกตั ว เล็ ก น้ อ ย ท่ า นี้ เ ป็ น การ
นวดแนวหลังช่วงบัน้ เอว ๑๒. นอนหงายชันเข่าข้างหนึ่งขึ้น วาง
เท้าไว้ข้างเข่าของขาที่เหยียดตรง
๙. นอนหงายเหยียดขาข้างหนึ่งให้ตรง ทางด้านนอก ใช้มอื ด้านตรงข้ามจับ
งอเข่ า อี ก ข้ า งใช้ มื อ ทั้ ง สองข้ า ง หัวเข่าไว้ หายใจเข้า หายใจออก
จั บ เข่ า ไว้ หายใจเข้ า หายใจออก พร้อมกับดึงหัวเข่าให้แตะพื้น โดย
ดึงเข่าให้ชดิ อกมากทีส่ ดุ แล้วหายใจ ไม่ยกไหล่ หายใจเข้าออกปกติ ๓-๕
เข้าออกปกติ ๓-๕ ครั้ง แล้วผ่อน ครั้ ง แล้ ว ผ่ อ นออก ทำสลั บ ข้ า ง
ท่านีช้ ว่ ยให้กระดูกสันหลังช่วงเอวมี
ออก ทำสลับข้าง
ความยืดหยุ่นดีขึ้น ป้องกันอาการ
ท่านี้เป็นการยืดกล้ามเนื้อในการงอสะโพก ช่วยป้องกันอาการ
ปวดหลัง ปวดสะโพก
ปวดหลังทีเ่ อวแอ่นมากกว่าปกติ
78 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 79
๑๓. นอนแยกขา ประกบฝ่าเท้าเข้าหากัน ท่าดัดตนแก้ ยอกเอว
หายใจเข้า หายใจออก พร้อมกับใช้
มือทัง้ สองข้างกดบริเวณต้นขาทัง้ สอง
เพื่อให้หัวเข่าแตะพื้นหายใจเข้าออก นั่งชันเข่าทั้งสองข้าง เอาศอกหนีบเข่าไว้
ปกติ ๓-๕ ครัง้ แล้วผ่อนออก พนมมือ ขึ้น หายใจเข้าช้ า ๆ พร้อมทั้ง
ท่านีช้ ว่ ยยืดข้อต่อสะโพก พยายามแบะเข่าออกทั้งสองข้าง โดยมี
ศอกหนี บ ไว้ เป็ น การต่ อ สู้ กั น จนสุ ด ลม
๑๔. นอนแยกขา ประกบฝ่าเท้าเข้าหากัน หายใจ กลั้นใจนิดหนึ่ง แล้วหายใจออก
ใช้มือท้าวบริเวณสะโพก หายใจเข้า ผ่อนเข่าและศอกกลับมาในท่าเดิม
หายใจออก พร้อมกับออกแรงเหยียด
แขนให้ตรงหายใจเข้าออกปกติ ๓-๕
ครัง้ แล้วผ่อนออก
ท่านีช้ ว่ ยยืดกระดูกสันหลังช่วงเอว ท่าดัดตน บรรเทาอาการปวดหลัง “ท่านัง่ บิดตัว”
๑๕. ยื น ก้ า วเท้ า ข้ า งหนึ่ ง ไปข้ า งหน้ า พอ ท่านี้ทำโดยการบิดลำตัวไปทางด้านข้างทั้งซ้ายและขวา โดยอาศัย
ประมาณ ยกแขนไปด้ า นหน้ า มื อ การขัดกันของแขนและขาเป็นเครื่องช่วย
อี ก ข้ า งกำหมั ด ยั น ไว้ ต รงบั้ น เอว
หายใจเข้ า หายใจออก พร้ อ มกั บ ๑. นั่งราบกับพื้น ขาเหยียดตรงไป
ย่ อ เข่ า หั น หน้ า ไปข้ า งหลั ง กระดก ข้างหน้า แขนแนบลำตัว ฝ่ามือ
ข้อมือ (ซ้าย) ขึ้น หายใจเข้า ออก วางคว่ำกับพืน้ ข้างลำตัว
ปกติ ๓-๕ ครัง้ แล้วผ่อนออกทำสลับ
ข้าง ท่านี้ช่วยยืดกล้ามเนื้อน่อง คอ ๒. งอเข่าซ้าย และยกเท้าซ้ายพาด
เอว และกล้ามเนือ้ แขนทีใ่ ช้งอข้อมือ ขาขวา ฝ่ า เท้ า ซ้ า ยวางบนพื้ น
ด้านนอกของหัวเข่าขวา หายใจ
เข้า-ออก สม่ำเสมอ ๓ รอบ

80 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 81


๓. หายใจออกพร้ อ มกั บ บิ ด ลำตั ว การนวดตนเองเพือ่ ผ่อนคลายกล้ามเนือ้ ส่วน ขา เข่า
ไปทางซ้าย ยกแขนขวามาพาด
ด้านนอกของหัวเข่าซ้าย แขนขวา
เหยียดตรงมือขวาจับทีห่ วั เข่าขวา แนวนวด และจุดนวดพืน้ ฐานส่วน ขา เข่า
หันหน้าไปทางซ้ายจนสุด หายใจ
เข้าออก ๔-๖ รอบ แนวขาด้านนอก
แนวขาด้านนอก ๑
๔. หายใจเข้าพร้อมกับปล่อยมือขวา เริ่มจากเหนือข้อเท้าชิดกระดูกหน้าแข้ง
และบิดตัวพร้อมกับยกแขนกลับ ขึ้ น ไปถึ ง ใต้ หั ว เข่ า และจากเหนื อ หั ว เข่ า
มาอยู่ ใ นท่ า ตรง ฝ่ า มื อ ขวาวาง ขึน้ ไปตามต้นขา จนถึงข้อพับสะโพก
คว่ ำ บนพื้ น ข้ า งลำตั ว ศี ร ษะตั้ ง
แนวขาด้านนอก ๒
ตรง ดังท่าในภาพที่ ๒
เริ่ ม จากเหนื อ ข้ อ เท้ า ห่ า งจากกระดู ก
หน้าแข้ง ๑ นิ้วมือขึ้นไปถึงใต้หัวเข่า และ
๕. ยกเท้ า ซ้ า ยขึ้ น เหยี ย ดตรงไป
จากเหนื อ หั ว เข่ า ขึ้ น ไปตามต้ น ขาจนถึ ง
ข้างหน้าดังในภาพที่ ๑ แล้วผ่อน
ข้อพับสะโพก
คลายทำตามขั้นตอนตั้งแต่ข้อ ๒
ถึ ง ข้ อ ๕ อี ก แต่ ส ลั บ ขากั น แนวขาด้านนอก ๓
(ภาพที่ ๔ , ๕) เริ่ ม จากเหนื อ ข้ อ เท้ า ห่ า งจากกระดู ก
หน้าแข้ง ๒ นิ้วมือขึ้นไปถึงใต้หัวเข่า และ
จากเหนื อ หั ว เข่ า ขึ้ น ไปตามต้ น ขาจนถึ ง
ท่านี้กระดูกสันหลังโดยเฉพาะบริเวณเอวจะถูกบิดไปทั้งทางซ้าย ข้อพับสะโพก
และขวา ทำให้กระดูกสันหลังมีความยืดหยุ่นและแข็งแรงขึ้น ป้องกัน แนวขาด้านหลัง ๑ (แนวกึง่ กลางขาด้านหลัง)
อาการ ปวดหลัง ปวดเอว และสะโพก เริ่ ม จากเอ็ น ร้ อ ยหวายขึ้ น ไปตามแนว
กึ่งกลางน่อง จนถึงใต้พับเข่า และจากเหนือ
พับเข่าขึน้ ไปจนถึงใต้แก้มก้น
82 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 83
จุดเหนือพับเข่า ๒. การนวดด้านหน้าของข้อเข่า
อยูเ่ หนือกึง่ กลางพับเข่า ๒ นิว้ มือ

จุดพับเข่า
อยูก่ งึ่ กลางพับเข่า

แต่ละจุดจะอยูห่ า่ งกัน ๑ นิว้ หัวแม่มอื ใช้นวิ้ หัวแม่มอื กดซ้อนกัน


โดยทีจ่ ดุ แรกอยูห่ า่ งจากขอบสะบ้า แล้วเลือ่ นไปกดจุดล่าง
ด้านบน ๑ นิว้ หัวแม่มอื

การนวดตนเองเพือ่ ป้องกันอาการปวดขา เข่า และข้อเท้า การนวดต้นขา ๒ แนว

การนวดตามจุดและแนวเส้น แนวด้านนอก แนวด้านใน

๑. การนวดด้านหลังของข้อเข่าของข้อเข่า

จุดบน
จุดกลาง
จุดล่าง

แต่ละจุดอยูห่ า่ งกัน ใช้นวิ้ ชี้ นิว้ กลาง นิว้ นาง รวมกันกด


จุดกลางก่อน นิ้วหัวแม่มือพยุงไว้ ใช้นวิ้ หัวแม่มอื กดซ้อนกัน
๑ นิว้ หัวแม่มอื
บริเวณสะบ้า และจุดบนตามลำดับ
84 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 85
การนวดจากใต้ขอ้ เข่าถึงเหนือข้อเท้า ท่านวดตนเอง
มีแนวนวด ๓ แนวคือ
เพือ่ ผ่อนคลายและป้องกันอาการปวดขา เข่า และข้อเท้า
แนวที่ ๑ อยูช่ ดิ ตามกระดูกสันหน้าแข้งด้านนอก
แนวที่ ๒ อยูห่ า่ งจากแนวแรก ๑ นิว้ หัวแม่มอื ๑) นั่งขัดสมาธิ ให้ฝ่าเท้าข้างที่จะนวดหงาย
แนวที่ ๓ อยูช่ ดิ ตามแนวกระดูกสันหน้าแข้งด้านใน ขึ้ น ใช้ ศ อกด้ า นตรงข้ า มกั บ ฝ่ า เท้ า กด
จุดแนวกึ่งกลางฝ่าเท้า ๓ จุด แล้วใช้นิ้ว
หัวแม่มอื กดคลึงให้ทวั่ ฝ่าเท้าและนิว้ เท้า
ท่านี้บรรเทาอาการปวดเมื่อยฝ่าเท้า และ
กระตุน้ อวัยวะภายในให้ทำงานปกติ

ใช้นวิ้ หัวแม่มอื กดซ้อนกัน ๒) เหยียดขาข้างหนึ่งออกไป ขาอีกข้างวาง


ระดับเข่า ใช้นวิ้ หัวแม่มอื ซ้อนกันแนวนอน
กดจุดแนวชิดกระดูกหน้าแข้งด้านใน โดย
๓. การนวดขาด้านหลัง
วางนิ้วขนานกับแนวกระดูก ท่านี้ป้องกัน
ใช้นมไม้กดตามแนวกึ่งกลางด้านหลังของขา เริ่มจากเหนือข้อเท้า อาการปวดเมือ่ ยน่อง และข้อเท้า
จนถึงโคนขา (ไม่นวดตรงกลางข้อพับหัวเข่า) โดยใช้มอื ข้างหนึง่ กดทับ
ขาไว้
๓) ใช้ นิ้ ว หั ว แม่ มื อ ซ้ อ นกั น กดจุ ด แนวขา
ด้านหลัง จากเหนือเอ็นร้อยหวายขึ้นไป
ผ่านกึง่ กลางน่องถึงใต้พบั เข่า ท่านีป้ อ้ งกัน
อาการปวดเมื่อยน่อง เอ็นร้อยหวายและ
ข้อเท้า

86 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 87


๘) นั่งเหยียดขาข้างหนึ่ง ใช้มือเดียวกับขาข้าง
๔) ใช้สี่นิ้วมือทั้งสองข้างบีบแนวขาด้านนอก ที่เหยียดจับปลายเท้าไว้ มืออีกข้างกดไว้
ช่ ว งข้ า งกระดู ก หน้ า แข้ ง ท่ า นี้ ป้ อ งกั น ไม่ให้งอ หายใจเข้า หายใจออก ก้มตัวให้
อาการปวดเมือ่ ยกล้ามเนือ้ หน้าแข้ง มากทีส่ ดุ แล้วหายใจเข้าออกปกติ ๓-๕ ครัง้
แล้ ว ผ่ อ นออก ทำสลั บ ข้ า ง ท่ า นี้ ช่ ว ยยื ด
กล้ามเนื้อขาด้านหลัง บรรเทาอาการปวด
๕) นัง่ ตามสบาย ใช้มอื ข้างหนึง่ เหนีย่ วเข่าขึน้ เข่า ขา หลัง ตะคริวน่อง
ใช้ส้นมืออีกข้างกดตามแนวต้นขาด้านใน
จากเหนื อ หั ว เข่ า ขึ้ น ไปถึ ง ใต้ ข าหนี บ ๙) นัง่ เหยียดขาทัง้ ๒ ข้าง ใช้มอื ทัง้ สองข้างจับ
ท่านี้ช่วยป้องกันอาการปวดเมื่อยตันขา ปลายเท้าไว้ โดยไม่งอเข่า หายใจเข้าออก
ด้านใน ก้มตัวให้มากที่สุด แล้วหายใจเข้าออกปกติ
๓-๕ ครัง้ แล้วผ่อนออก ท่านีบ้ รรเทาอาการ
ปวดเข่า ขา หลัง
.
๖) นัง่ พับเพียบ ใช้ขอ้ ศอกกดแนวขาด้านข้าง
ช่ ว งต้ น ขา เริ่ ม จากเหนื อ หั ว เข่ า ถึ ง ข้ า ง ๑๐) นอนหงายชันเข่าข้างหนึ่งไว้ วางขาอีกข้างบนหัวเข่าเริ่มจากเหนือ
สะโพก ท่ า นี้ ป้ อ งกั น อาการปวดเมื่ อ ย เอ็นร้อยหวาย หายใจเข้า ยกก้นขึน้ หายใจเข้าออกปกติ ๓-๕ ครัง้
ต้นขาด้านนอก แล้วหย่อนก้นลง จะเกิดแรงกดบริเวณเหนือเอ็นร้อยหวายเลื่อนไป
กดตำแหน่งถัดไปตามแนวกึง่ กลางขาด้านหลัง ทำสลับข้าง
ท่านี้ ป้องกันอาการตะคริวน่อง
๗) นั่งพับเพียบ ใช้นิ้วหัวแม่มือกดจุดแนวขา
ด้านหลัง เริม่ จากเหนือเอ็นร้อยหวายผ่าน
กลางน่ อ งถึ ง ใต้ ข้ อ พั บ ทำสลั บ ข้ า ง ท่ า นี้
บรรเทาอาการปวดเมือ่ ยน่องและข้อเท้า

88 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 89


๑๑) ยืนแยกขา ปลายเท้าชีอ้ อกด้านข้าง กำมือทัง้ สองวางซ้อนกัน มือด้าน ๒.๓ การนวดตนเองเพือ่ เสริมสร้างความคล่องต้ว
บนกดลง ด้ า นล่ า งดั น ขึ้ น ต้ า น หรื อ อาจใช้ ไ ม้ ค้ ำ ไว้ บ นพื้ น ช่ ว ยใน
การยื น หายใจเข้ า หายใจออก พร้ อ มกั บ ย่ อ ตั ว ลงให้ เ ข่ า งอเป็ น การนวดตนเองเพือ่ เสริมสร้างความคล่องตัวท่าทีค่ วรทำเป็นประจำ
มุ ม ฉาก แล้ ว ค่ อ ย ๆ ขึ้ น และลงสลั บ กั น หายใจเข้ า ออกปกติ คือ
๓-๕ ครั้ ง แล้ ว ผ่ อ นออก ท่ า นี้ บ ริ ห ารกล้ า มเนื้ อ หน้ า ต้ น ขา และ ๑. การนวดถนอมสายตา (หน้า ๕๖-๕๙)
กล้ามเนือ้ ทีใ่ ช้กางขาให้มคี วามแข็งแรง ๒. การนวดตนเอง เพือ่ ผ่อนคลายกล้ามเนือ้ ส่วนคอ ศีรษะ บ่า
(หน้า ๖๓-๖๔)
๓. ท่านวดตนเองช่วยกระตุน้ ระบบไหลเวียนเลือด
โดยเฉพาะเส้นเลือดใหญ่บริเวณลำคอ ทำให้สมองตืน่ ตัว

90 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 91


การเพิ่มสมรรถะให้ร่างกายเพื่อช่วยเสริมสร้างความคล่องตัว การบริหารช่วยการทรงตัวและการเคลือ่ นไหวอย่างสมดุลย์
มีหลักการ ๓ ประการคือ
๑. ทำให้รา่ งกายมีความสมดุลและมีการเคลือ่ นไหวอย่างสมดุล
๒. ทำให้สมองมีความกระตือรือร้นและทำงานได้ดี
๓. ทำให้จติ ใจ อารมณ์เบิกบาน ผ่อนคลาย
๑) ท่ายืนกระโดดน้ำ
เพือ่ ฝึกการทรงตัว ความสมดุลให้ดขี นึ้
การบริหารร่างกายเพื่อเสริมสร้างความคล่องตัว ยืนแยกเท้าเล็กน้อย แขนแนบลำตัว เขย่ง
ปลายเท้า ยกแขนไปข้างหน้า ให้ขนานกับ
พืน้ คว่ำมือ นิง่ ในท่านีน้ บั ๑ ถึง ๑๐ ทำซ้ำ
อีกครั้ง (รูปที่ ๑) เมื่อการทรงตัวดีขึ้น ให้
นับ ๑ ถึง ๑๕ หรือมากกว่า

๒) ท่ายืนขาเดียว
1 2 3 4 ยื น แยกเท้ า เล็ ก น้ อ ย มื อ เท้ า สะเอว
ศี ร ษะตั้ ง ตรง ยกขาข้ า งหนึ่ ง ขึ้ น ช้ า ๆ ให้
ท่าก้าวตาม้า ฝ่าเท้าแนบขาข้างที่ยืนจนถึงเข่า หยุดนิ่ง
ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า เอี้ยวตัวไปทางซ้ายแล้วก้าวเท้าขวาไป นับ ๑ ถึง ๑๐ (รูปที่ ๒) ทำสลับขาอีกข้าง
ข้างหน้า เท้าซ้ายถอยไปข้างหลัง เท้าขวาถอยตามอยู่ในท่ายืนแยกขา หนึ่งเมื่อชำนาญแล้ว ให้หลับตาทำซ้ำ และ
ทำซ้ำได้หลายรอบ ท่านีเ้ พือ่ ช่วยการทรงตัวและเสริมสร้างความคล่องตัว นับให้นานขึน้

92 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 93


๓) การเดินเป็นเส้นตรง ๔. การนอนท่านอนพัก
เพือ่ เพิม่ ความสามารถในการทรงตัว ช่วย ๕. การนวดคลึงทัว่ ศีรษะ
ให้ร่างกายมีความสมดุลและมีการเคลื่อนไหว
อย่างสมดุล โดยวางเท้าข้างหนึ่งอยู่หน้าเท้า การนวดตนเองตามแนวขาชิดกระดูกหน้าแข้งด้านใน
อีกข้างหนึ่ง เริ่มเหมือนยืนอยู่บนเส้นตรง ให้ เริม่ จากเหนือข้อเท้าชิดกระดูกหน้าแข้งด้านในไปถึงใต้หวั เข่า นวด
ศีรษะตั้งตรง และมองตรงไปข้างหน้ากางแขน ทั้งขาซ้าย-ขาขวา เป็นการนวดตามแนวเส้นสหัศรังสี ทวารี ซึ่งสามารถ
ออกเพือ่ ช่วยการทรงตัว (รูปที่ ๓) เริม่ เดินโดย นวดตนเองได้ การนวดนีท้ ำให้ผอ่ นคลาย เนือ่ งจากแนวเส้นนีแ้ ล่นผ่านไป
ให้ส้นเท้าของเท้าหลังไปวางตรงปลายเท้าของ ถึงตาทำให้หลับสบาย
เท้าหน้า และก้าวต่อไปแบบนี้เรื่อย ๆ ต่อไป
เดินถอยหลัง ให้ปลายนิ้วเท้ามาแตะส้นเท้า
เช่นเดียวกัน

๒.๔ การนวดตนเองเพือ่ ผ่อนคลายช่วยให้นอนหลับดี


การนอนหลับเป็นการพักผ่อนทีด่ ที สี่ ดุ ของร่างกาย โดยทัว่ ไปร่างกาย
คนทำงานปกติในเวลากลางวัน และพักผ่อนนอนหลับในเวลากลางคืน
ประมาณ ๘ ชั่วโมง เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ พฤติกรรมการหลับนอนมีการ
เปลี่ยนแปลง อาจนอนหลับยาก หรือ หลับแล้วมักตื่นมากลางดึกแล้ว
หลับต่อยาก

การนวดตนเองเพือ่ ผ่อนคลายช่วยให้นอนหลับดี คือ


๑. การนวดถนอมสายตา (หน้า ๕๖-๕๙)
๒. การนวดตนเอง เพือ่ ผ่อนคลายกล้ามเนือ้ บริเวณคอ ศีรษะ บ่า
(หน้า ๖๓-๖๔)
๓. การนวดตนเองตามแนวขาชิดกระดูกหน้าแข้งด้านใน

94 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 95


การนอนท่านอนพัก ๕. การนวดกดคลึงทัว่ บริเวณศีรษะ
เพื่ อ ให้ ร่ า งกายได้ รั บ การผ่ อ นคลายอย่ า งเต็ ม ที่ ตำราโยคะเรี ย ก นอนท่าสบายนวดคลึงทั่วบริเวณศีรษะ
ท่านีว้ า่ ท่าศพ นวดผ่อนคลายเรือ่ ย ๆ ทำขณะทีน่ วดหายใจ
เข้า หายใจออกลึก ๆ ช้า ๆ ทำใจให้สงบ
สมองผ่อนคลายช่วยให้นอนหลับสบาย

๒.๕ การนวดตนเองเพือ่ ช่วยการขับถ่ายอุจจาระ


ผู้สูงอายุมักมีปัญหาท้องผูก มีอาการถ่ายอุจจาระแข็งหรือไม่ถ่าย
๑) นอนหงายเหยียดยาวกับพื้น ให้ส้นเท้าติดกัน ปล่อยปลายเท้า อุจจาระนานหลายวัน หรือถ่ายลำบาก ถ่ายเป็นก้อนแข็งคล้ายขีแ้ พะ เป็น
ให้แยกกันตามธรรมชาติ แขนทั้งสองข้างทอดห่างจากลำตัว พรรดึก อึดอัดในท้อง ผายลมบ่อย จุกเสียดในท้อง ร้อนใน ปากเป็นแผล
เล็กน้อย ฝ่ามือหงายขึน้ หลับตาให้สบาย ๆ ลิน้ เป็นฝ้า หายใจมีกลิน่ เหม็น เป็นสิว ผี เป็นริดสีดวง
๒) กำหนดความรู้สึกไปตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยใช้ความ สามารถช่วยการขับถ่ายอุจจาระได้โดย
รูส้ กึ สำรวจดูวา่ มีความตึงเครียด ตามร่างกายส่วนใดบ้าง ขยับ ๑. กินอาหารทีม่ กี ากมาก ๆ เช่น ผัก ผลไม้
แขนขา สะโพก ศีรษะ และ ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายให้อยู่ใน ๒. ฝึกการขับถ่ายให้เป็นเวลาเป็นประจำทุกวัน ไม่ควรกลัน้ อุจจาระ
ท่าทีส่ บายทีส่ ดุ ๓. ดืม่ น้ำสะอาดวันละมาก ๆ อย่างน้อยวันละ ๖-๘ แก้ว
๔. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
๓) ผ่อนคลายส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เริ่มตั้งแต่ปลายเท้าเรื่อย
ขึ้นมาจนถึงศีรษะ ทำความรู้สึกว่าส่วนต่าง ๆ ของร่างกายทิ้ง
ท่านวดตนเองเพือ่ ช่วยการขับถ่ายอุจจาระ
น้ำหนักลงบนพืน้ อย่างสิน้ เชิง พยายามอย่าให้กรามและใบหน้า
ขมวดตึง
๑. นอนหงายเหยียดขาข้างหนึ่งให้ตรง
๔) หายใจเข้าออกลึก ๆ และสม่ำเสมอ ค่อย ๆ ผ่อนลมหายใจ งอเข่าอีกข้างใช้มอื ทัง้ สองข้างจับเข่า
ให้ชา้ ลงจนลมหายใจเข้าออกเป็นไปอย่างแผ่วเบา ถ้าจิตฟุง้ ซ่าน ไว้ หายใจเข้าหายใจออก ดึงเข่าให้
ให้กลัน้ ลมหายใจช่วงสัน้ ๆ หลังการหายใจออกแต่ละครัง้ ชิดอกมากที่สุด หายใจเข้าออกปกติ
๓-๕ ครัง้ แล้วผ่อนออก ทำสลับข้าง

96 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 97


๒. นอนหงายเหยี ย ดขาตรง งอเข่ า ๒.๖ การนวดตนเองเพือ่ ป้องกันอาการจุกเสียด ท้องอิด ท้องเฟ้อ
ทั้งสองข้างขึ้น ใช้มือทั้งสองข้างจับ
ผู้สูงอายุเมื่อมีปัญหาระบบย่อยอาหาร ทำให้มีอาการจุกเสียดตรง
เข้าไว้ หายใจเข้า-ออก ดึงเข่าให้ชดิ
บริเวณยอดอกหรือใต้ลิ้นปี่ บริเวณชายโครง มีลมในท้อง แน่นท้อง และ
ตัวมากที่สุด หายใจเข้าออกปกติ
หายใจลำบาก
๓-๕ ครั้ง แล้วผ่อนออก ทำสลับ
ข้าง การป้องกัน
๑. กินอาหารย่อยง่าย
๓. นอนหงายชันเข่า หายใจเข้า-ออก หมุนเอวให้หัวเข่าทั้งสองข้างแตะ ๒. ออกกำลังกายเพือ่ ให้กล้ามเนือ้ ได้เคลือ่ นไหว
พื้นให้มากที่สุด โดยไม่ยกไหล่ หายใจเข้าออกปกติ ๓-๕ ครั้ง แล้ว ๓. กินยาขับลมหรือดืม่ น้ำขิง
ผ่อนออก ทำสลับข้าง ๔. หลีกเลีย่ งความเย็น ใช้นำ้ ร้อนประคบเมือ่ มีอาการ

การนวดตนเองบรรเทาอาการจุกเสียดท้อง

นวดแนวขาด้านนอก ๒ ข้าง นวดจุดแก้อาการจุกเสียดท้อง


กระดูกหน้าแข้ง จุดใต้สะบ้าหัวเข่า ห่างจาก
๔. นอนหงายชันเข่าข้างหนึ่งขึ้น มือด้านตรงข้ามจับเข่าที่ชันขึ้นโน้ม ใต้สะบ้า ๔ นิว้ มือ
เข่ า ลงมา วางเท้าไว้ข้างเข่าของขาข้างที่เหยี ย ดตรง หายใจเข้ า
ออกพร้อมกับดึงหัวเข่าให้แตะพื้น หายใจเข้าออกปกติ ๓-๕ ครั้ง
แล้วผ่อนออก ทำสลับข้าง

98 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 99


ท่านวดตนเองเพือ่ ป้องกันอาการแน่นท้อง จุกเสียด การดัดตน แก้แน่นท้อง แน่นหน้าอก

๑. ใช้ สี่ นิ้ ว มื อ ทั้ ง สองข้ า งบี บ แนวขา


ด้านนอกช่วงข้างกระดูกหน้าแข้ง

๒. นั่งคุกเข่า เข่าแยกเล็กน้อย เอามือ


ทั้งสองข้างจับปลายเท้า หายใจเข้า
เงยหน้ า แอ่ น ตั ว ให้ ม ากที่ สุ ด แล้ ว
หายใจ เข้า-ออก ปกติ ๓-๕ ครั้ ง
แล้วผ่อนออก

ท่ า เตรี ย ม ยื ม แยกเท้ า ความกว้ า งเท่ า ไหล่ มื อ เท้ า เอว


๓. นั่ ง งอเข่ า ทั้ ง สองพั บ ขาเข้ า มาให้ หัวแม่มือกดจุดท้าวสะเอว ก้าวเท้าซ้ายถอยหลังแอ่นตัวไป
ฝ่าเท้าประกบกัน ใช้มือทั้งสองข้าง ด้านหลังให้มากทีส่ ดุ โดยนิว้ โป้งกดสะโพกต้านไว้ ขาหลังตึง
จับที่นิ้วเท้า และใช้มือดันให้ส้นเท้า พร้อมหายใจเข้า นับ ๑-๑๐ หายใจออก แล้วก้าวเท้ากลับมา
ชิดเข้าหาฝีเย็บ หายใจเข้า – ออก ยืนตรงเหมือนเดิม สลับทำอีกข้างเช่นเดียวกัน
ก้ ม ตั ว ให้ ค างแนบปลายเท้ า แล้ ว
หายใจเข้าออกปกติ ๓-๕ ครั้ง แล้ว
ผ่อนออก

100 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ การนวดไทยสำหรับผู้สูงอายุ 101


การดัดตนป้องกันอาการแน่นท้อง ท้องอืด “ท่ายกเท้า” บรรณานุกรม
๑) นอนหงายราบกับพื้นขาเหยียด
กระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คงของมนุ ษ ย์ . (๒๕๔๗). พระราชบั ญ ญั ติ
ตรงแขน แนบลำตั ว ฝ่ า มื อ ผูส้ งู อายุ พ.ศ.๒๕๔๖. พิมพ์ครัง้ ที่ ๒. กรุงเทพฯ : เจ เอส การพิมพ์.
คว่ำกับพื้นจากนั้นชันเข่าข้างใด
กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
ข้างหนึง่ ขึน้ (๒๕๔๘). การศึกษาโครงสร้างและรูปแบบศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูง
อายุ. กรุงเทพฯ : บพิธการพิมพ์.
๒) หายใจเข้า พร้อมกับยกแขนขึ้น คณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานผูส้ งู อายุแห่งชาติ. (๒๕๔๕). แผนผูส้ งู อายุแห่งชาติ
เหนือศีรษะจนสุดให้แขนวางบน ฉบับที่ ๒ (พ.ศ.๒๕๔๕-๒๕๖๔). กรุงเทพฯ : คุรสุ ภาลาดพร้าว.
พืน้ ฝ่ามือหงาย จอห์น โนเดล และนภาพร ชโยวรรณ. (๒๕๕๒). การสูงอายุทางประชากรและการอยูด่ มี ี
สุขของผู้สูงอายุในประเทศไทย แนวโน้มในอดีต สถานการณ์ปัจจุบัน และความ
ท้าทายในอนาคต. กรุงเทพฯ : กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติประจำประเทศ
๓) หายใจออก พร้อมกับยกขาข้าง ไทยและสำนักงานภาคพืน้ เอเชียและแปซิฟคิ (UNFPA).
ที่เหยียดตรงขึ้นจากพื้น จนตั้ง
บุษบา ประภาสพงศ์,บรรณาธิการ. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ : ภูมิปัญญาทางการแพทย์
ฉากกับพื้น หรือยกให้สูงเท่าที่ และมรดกทางวรรณกรรมของชาติ. พิมพ์ครัง้ ที่ ๑. กรุงเทพฯ : คุรสุ ภาลาดพร้าว.
จะทำได้ หายใจเข้าออก ๓ รอบ มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (๒๕๕๑). สถานการณ์ผู้สูงอายุ พ.ศ.๒๕๕๐.
ในขณะที่หายใจออกรอบที่สาม กรุงเทพฯ : เดือนตุลา.
ให้วางขาข้างที่ยกขึ้นลงราบกับ วาทินี บุญชะลักษี. (๒๕๔๕). นโยบายและแผนการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุ :
พื้นพร้อมกับยกแขนกลับมาวาง สังเคราะห์ และศึกษาเปรียบเทียบ ๕ ประเทศ. นครปฐม : สถาบันวิจยั ประชากร
แนบลำตัว ฝ่ามือคว่ำลง และสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
ศิรพิ นั ธุ์ สาสัตย์และ เตือนใจ ภักดีพรหม. (๒๕๔๙). รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์เรือ่ ง ระบบ
๔) หายใจเข้า พร้อมกับเหยียดขาข้างทีช่ นั เข่าขึน้ มา ออกไปจนสุด แล้ว การดูแลผู้สูงอายุที่เป็นทางการของไทย. เครือข่ายวิจัยสุขภาพ สำนักกองทุน
สนับสนุนการวิจยั . แหล่งทีม่ า http://hrn.thainhf.org/ [๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๐].
ผ่อนคลาย
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (๒๕๔๙). การคาดประมาณ
ทำสลับข้างตามขัน้ ตอนตัง้ แต่ขอ้ ๑ ถึง ๔ ท่านีเ้ ป็นการบริหาร แนวโน้มการเปลีย่ นแปลงประชากรไทย.
กล้ามเนือ้ ท้อง ต้นขา และสะโพก ทำให้กล้ามเนือ้ แข็งแรง ช่วยลดไขมัน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (๒๕๔๙). กรอบยุทธศาสตร์
ส่วนเกิน และยังช่วยบรรเทาอาการท้องอืดเฟ้อแน่นอึดอัดท้อง การเตรียมความพร้อมสังคมไทยสู่สังคมผู้สูงอายุ. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ :
สำนักพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวติ .
102 คู่มือการนวดไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ
สำนั ก งานสถิ ติ แ ห่ ง ชาติ กระทรวงเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร. (๒๕๔๕).
การสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕.
สำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร. (๒๕๔๖). รายงาน
การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ.๒๕๔๖.
สำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร. (๒๕๔๗). รายงาน
การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ.๒๕๔๗. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด
โรงพิมพ์ชวนพิมพ์.
สำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร. (๒๕๔๘). รายงาน
การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ.๒๕๔๘.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (๒๕๔๘). ข้อมูล
ประชากรจำแนกตามอายุ เพศ และเขตการปกครอง.
สำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร. (๒๕๔๙). รายงาน
การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ.๒๕๔๙.
สำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร. (๒๕๔๙). รายงาน
การสำรวจการเปลีย่ นแปลงประชากร พ.ศ.๒๕๔๘–๒๕๔๙.
สำนั ก งานสถิ ติ แ ห่ ง ชาติ กระทรวงเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร. (๒๕๕๐).
การสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐.
สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๔๘). คู่มือการดำเนินงาน
การดูแลสุขภาพผูส้ งู อายุทบี่ า้ น. นนทบุรี : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.
มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา. (๒๕๕๒). ตำราการนวดไทยเล่ม ๑. พิมพ์ครั้งที่ ๔.
กรุงเทพฯ : พิมพ์ด.ี
มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา. (๒๕๕๑). ชุดความรู้ : หลักพื้นฐานการนวดไทย.
พิมพ์ครัง้ ที่ ๓. กรุงเทพฯ : อุษาการพิมพ์.
มูลนิธสิ าธารณสุขกับการพัฒนา. (๒๕๕๐). คูม่ อื การดัดตน. พิมพ์ครัง้ ที่ ๒. กรุงเทพฯ :
ห้างหุน้ ส่วนจำกัด มณัสฟิลม์ .
มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา. (๒๕๔๙). ๔๑ ท่าศิลปการนวดตนเอง กรุงเทพฯ :
ห้างหุน้ ส่วนจำกัด มณัสฟิลม์ .

You might also like