You are on page 1of 75

การรักษาโรคและอาการตามศาสตร์

การแพทย์ แผนไทยประยุกต์
Applied Thai Traditional Medicine(ATTM)
พท.ป.พีรพงศ์ องค์ ธนะสิ น
หน่ วยแพทย์ ทางเลือก ฝ่ ายการแพทย์
โรงพยาบาลรามาธิบดี
ชื่ อ นามสกุล นายพีรพงศ์ องค์ธนะสิ น
ตาแหน่ ง แพทย์แผนไทยประยุกต์
สถานทีท่ างาน หน่วยแพทย์ทางเลือก ฝ่ ายการแพทย์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
โทรศัพท์ ที่ทางาน 0483
E-mail address peera.tanasin@gmail.com
ประวัติการศึกษา
1.ปริ ญญาตรี การแพทย์แผนไทยประยุกต์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ประวัติการทางาน
4.แพทย์แผนจีนในโรงพยาบาลห้วยพลู จังหวัดนครปฐม แผนกการแพทย์ทางเลือก
5.แพทย์แผนจีนประจาหน่วยแพทย์ทางเลือก ฝ่ ายการแพทย์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
แพทย์ แผนไทย
และ
แพทย์ แผนไทยประยุกต์
ความหมาย
ประวัติความเป็ นมา
การแพทย์ แผนไทย เป็ นภูมิปัญญาของไทยที่ได้สั่งสมสื บทอดต่อกันมาเป็ นเวลา
ยาวนาน มีความพยายามรักษาภูมิปัญญามาตั้งแต่อดีต เช่น การปั้ นหุ่นฤๅษีดดั ตน หรื อ
การจารึ กภาพการนวดไว้ตามผนังวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามและวัดราชโอรสาราม
เป็ นต้น
ประวัติความเป็ นมา
เมื่อเริ่ มมีการแพทย์แผนตะวันตกเข้ามาในไทย การแพทย์แผนไทยก็ยงั มีบทบาท
ในการดูแลรักษาผูป้ ่ วย เช่น โรงพยาบาลศิริราชในยุคแรกมีแพทย์แผนไทย
ปฏิบตั ิงานรักษาและปรุ งยาสมุนไพรให้ผปู ้ ่ วย และในหลักสู ตรวิชาแพทย์กม็ ีวิชา
แพทย์แผนโบราณด้วย
พ.ศ.2458 มีการปรับปรุ งการเรี ยนการสอนวิชาแพทย์ ที่ตอ้ งการเน้นวิชา
วิทยาศาสตร์ มากขึ้น แพทย์แผนไทยจึงได้ถูกยกเลิกจากหลักสู ตร
ประวัติความเป็ นมา(ต่ อ)

พ.ศ. 2523 ศาสตราจารย์นายแพทย์อวย เกตุสิงห์ ได้


จัดตั้งมูลนิธิฟ้ื นฟูส่งเสริ มการแพทย์ไทยเดิมในพระ-
ราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรม
ราชกุมารี และในพระสังฆราชูปถัมภ์สมเด็จพระญาณ
สังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริ ณายก และ
ได้วางปรัชญาในการพัฒนาการแพทย์แผนไทยยุคใหม่
เรียกว่ า “การแพทย์ แผนไทยประยุกต์ ”
การแพทย์ แผนไทยประยุกต์
เวชกรรมแผนไทย
หัตถเวชกรรมแผนไทย (แบบราชสานัก)
เภสัชกรรมแผนไทย
การผดุงครรภ์แผนไทย
เวชกรรมแผนไทย
หลักการสาคัญ
ธาตุ - ความสัมพันธ์ของมนุษย์กบั สิ่ งแวดล้อม โลก และจักรวาล
- ความเป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์
- สมุฏฐานของโรค
- การรักษาโรคและยาสมุนไพร
- คุณสมบัติที่ดีของแพทย์ผรู ้ ักษา
เวชกรรมแผนไทย
ธาตุ : ความหมาย
- สิ่ งที่เป็ นมูลเดิม สภาวะที่เป็ นต้นเดิม
- สิ่ งซึ่งเป็ นส่ วนสาคัญที่ทาให้ร่างกายเป็ นปกติอยูไ่ ด้ คือ ธาตุดิน ธาตุน้ า
ธาตุลม ธาตุไฟ เรี ยกว่า “มหาภูตรูป 4”
- นอกจากนั้นยังมี อากาศธาตุ (ความว่างเปล่าหรื อช่องว่าง)
- ในทางการแพทย์แผนไทย ธาตุยงั รวมถึงองค์ประกอบของพืช สัตว์
สรรพสิ่ งทั้งหลายในสิ่ งแวดล้อม โลก และจักรวาล
เวชกรรมแผนไทย
เวชกรรมแผนไทย
ธาตุดนิ - ปถวีธาตุ
“แข็งกระด้าง หยาบ จับต้ องได้ ”
ธาตุแห่ งโครงสร้ าง เป็ นที่อยู่ของธาตุนา้ ลม ไฟ และอากาศธาตุ
ส่ วนทีม่ ลี กั ษณะของธาตุดนิ
 ในร่ างกายมนุษย์ เช่น ผม ขน เล็บ ฟัน ผิวหนัง สมอง กล้ามเนื้อ เอ็น กระดูก
ไข-กระดูก ม้าม หัวใจ ตับ ปอด ไต พังพืด ลาไส้(ใหญ่-น้อย) อาหารที่เพิง่ ย่อยใหม่ๆ
อาหารที่ดูดซึ มแล้ว รวมทั้งของเสี ย
 ในธรรมชาติ เช่น ก้อนหิ น ก้อนดิน ภูเขา อิฐ หิ น ทราย และแผ่นดิน เป็ นต้น
ธาตุนา้ - อาโปธาตุ
“ซึมซาบ อาบเอิบไปในปถวีธาตุ”
ส่ วนทีม่ ลี กั ษณะของธาตุนา้
 ในร่ างกายมนุษย์ ได้แก่ ของเหลวต่าง ๆ และสารกึ่งของแข็ง เช่น เลือด น้ าดี เสลด
หนอง เหงื่อ มัน ไขมัน น้ าตา น้ าลาย น้ าในจมูก ปั สสาวะ และน้ าไขข้อ
 ในธรรมชาติ เช่น น้ าในห้วย หนอง คลองบึง แม่น้ า ทะเล เป็ นต้น
ธาตุลม - วาโยธาตุ
“กระทาให้ ไหว ให้ เกิดอิริยาบถ นั่ง นอน ยืน คา้ ชูอวัยวะน้ อยใหญ่ ให้ สาเร็จกิจ
เปลีย่ นแปลง พัดขึ้น ๆ ลง ๆ ซ่ านไปในองคาพยพแห่ งสรรพสัตว์ ตลอดเวลา”
ส่ วนทีม่ ลี กั ษณะของธาตุลม
 ในร่ างกายมนุษย์ ได้แก่ พลังงานที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของร่ างกาย เช่น ลมพัด
ขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องล่าง ลมพัดในท้อง ลมพัดในลาไส้ ลมพัดทัว่ ร่ างกาย ลม
หายใจ เป็ นต้น
 ในธรรมชาติ ได้แก่ พลังที่เคลื่อนไหวอยูใ่ นธรรมชาติ เช่น ลมพัด ลมพายุ ลมที่ทา
ให้โลกและจักรวาลหมุนและเคลื่อนไป
ธาตุไฟ - เตโชธาตุ
“กระทาให้ อบอ่ นุ เป็ นไอเป็ นควัน บารุง รั กษาปถวีธาตุ
มิให้ เปื่ อยมิให้ เน่ า เผาอาหารให้ ย่อย”
ส่ วนทีม่ ลี กั ษณะของธาตุไฟ
 ในร่ างกายมนุษย์ เป็ นความร้อนแห่งชีวติ และการเผาไหม้ เช่น ไฟที่ทาให้ร่างกาย
อบอุ่น ไฟที่ทาให้เกิดความวิตก ไฟที่ทาให้แก่ และไฟย่อยอาหาร เป็ นต้น
 ในธรรมชาติ เช่น แสงอาทิตย์ ไฟจากการหุ งต้ม ภูเขาไฟ ความร้อนที่อยูใ่ นโลก
เป็ นต้น
ความสั มพันธ์ ของธาตุ (ในภาวะปกติ)
ธาตุน้า

อุปถัมภ์
อุปถัมภ์
ธาตุลม ธาตุไฟ
อุปถัมภ์
ที่ต้ งั

ธาตุดิน
ธาตุประจาดวงดาว
ดวงจันทร์ และดาวพฤหัสบดี ธาตุดนิ
ดาวพุธและศุกร์ ธาตุนา้
ดาวอังคาร ธาตุลม
ดวงอาทิตย์ และดาวเสาร์ ธาตุไฟ
ธาตุประจาหม่ ูดาว
หมู่ดาวราศีเมษ สิ งห์ ธนู ธาตุไฟ
หมู่ดาวราศีพฤษภ กันย์ มังกร ธาตุดนิ
หมู่ดาวราศีเมถุน ตุลย์ กุมภ์ ธาตุลม
หมู่ดาวราศีกรกฎ พิจกิ มีน ธาตุนา้
แนวคิดเกีย่ วกับความเจ็บป่ วยของมนุษย์
(สมุฏฐานของโรค)
มนุษย์ เจ็บป่ วย เพราะวิถีการดาเนินชีวิตที่ขาดสมดุลและการเสี ยสมดุลของธาตุใน
ร่ างกายที่เปลี่ยนแปลงตามอิทธิ พลของปั จจัยต่างๆ เช่น
 อายุสมุฏฐาน อายุ
 อุตุสมุฏฐาน ฤดูกาล
 กาลสมุฏฐาน เวลา
 ประเทศสมุฏฐาน ภูมิประเทศ-ถิ่นที่อยู่
 มูลเหตุหรื อพฤติกรรม
อดนอน อดข้าว อดน้ า การกิน เศร้าโศก เสี ยใจ
กลั้นอุจจาระ ปั สสาวะ อิริยาบถ โทสะ
ทางานหนักเกินกาลัง ความร้อน ความเย็น
หัตถเวชกรรมแผนไทยเวชกรรมแผนไทย
การนวดไทย เป็ นหัตถการทางการแพทย์แผนไทยมีมาแต่โบราณเป็ นทั้ง
ศาสตร์ และศิลป์ ผูน้ วดจะใช้มือหรื อส่ วนต่างๆของร่ างกาย กด คลึง บีบ ดึง บิด ดัด เพื่อ
ช่วยบรรเทาอาการเจ็บหรื อแก้ไขภาวะต่างๆ
การนวด ที่พบเห็นในสังคมไทยในปัจจุบนั มีหลายรู ปแบบ สามารถ
แบ่งเป็ น 2 แบบ คือ

 การนวดไทยแบบเชลยศักดิ์
 การนวดไทยแบบราชสานัก
หัตถเวชกรรมแผนไทยเวชกรรมแผนไทย
การนวดไทยแบบเชลยศักดิ์
หมายถึง การนวดแบบสามัญชนทัว่ ไป มีการสื บทอดฝึ กฝนจนเป็ นแบบ
แผน การนวดตามวัฒนธรรมท้องถิ่น ซึ่ งเหมาะสาหรับชาวบ้านจะนวดกันเอง ใช้
สองมือและอวัยวะส่ วนอื่นโดยไม่ตอ้ งใช้ยา ในปัจจุบนั จึงเป็ นที่รู้จกั และแพร่ หลาย
ในสังคมไทย
หัตถเวชกรรมแผนไทยเวชกรรมแผนไทย
การนวดไทยแบบราชสานัก
หมายถึง การกระทาต่อร่ างกายมนุษย์โดยการนวดด้วยนิ้วมือและมือตาม
ศาสตร์ และศิลป์ ที่สืบทอดกันมาจากการแพทย์แผนไทยที่เคยปฏิบตั ิงานอยูใ่ นราช
สานัก มีจุดประสงค์เพื่อบาบักรักษาโรคและฟื้ นฟูสภาพของผูป้ ่ วย
หัตถเวชกรรมแผนไทยเวชกรรมแผนไทย

ภาพการฝึ กฝนการยกกระดาน
หัตถเวชกรรมแผนไทยเวชกรรมแผนไทย
หัตถเวชกรรมแผนไทยเวชกรรมแผนไทย
ความรู้และทักษะพืน้ ฐานสาหรับการนวดไทยแบบราชสานัก

การนวดพืน้ ฐาน หมายถึง การนวดตามแนวเส้นและตาแหน่ง


ต่างๆของร่ างกายเพื่อกระตุน้ ระบบต่างๆในร่ างกาย เป็ นการเตรี ยมความ
พร้อมก่อนการนวดจุดสัญญาณ
การนวดจดุ สัญญาณ หมายถึง การนวดที่จุดสัญญาณ เพื่อกระตุน้
พลังประสาท และเพื่อจ่ายหรื อบังคับเลือดและความร้อนไปยังตาแหน่ง
ต่างๆของร่ างกาย
หัตถเวชกรรมแผนไทยเวชกรรมแผนไทย

การแต่ งรสมือ หมายถึง วิธีการลงน้ าหนักในการนวดแต่ละจุด กล่าวคือ


ขนาดของน้ าหนักจะต้องพอเหมาะกับโรคและรู ้รับการบาบัด และช่วงของการลง
น้ าหนักแบ่งได้เป็ น 3 ช่วง
หน่ วง คือ ช่วงที่เริ่ มวางนิ้วมือลงที่ตาแหน่งจะนวด แล้วค่อยๆเพิ่มน้ าหนักช้า
เน้ น คือ ช่วงที่เพิม่ น้ าหนักที่กดให้มากขึ้นจนถึงขนาดที่ตอ้ งการ
นิ่ง คือ ช่วงที่กดนวดด้วยแรงที่มีน้ าหนักและที่ทิศที่ตอ้ งการต่อจนหมด
ระยะเวลาที่กาหนด
หัตถเวชกรรมแผนไทยเวชกรรมแผนไทย
แรง

นิ่ง
เน้ น

เวลา หน่ วง
การประคบสมุนไพร
ช่ วยกระตุ้น การไหลเวียนเลือด ช่วยลด
อาการบวม บรรเทาอาการอักเสบของกล้ามเนื้อ
บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่ างกาย ในหญิงหลัง
คลอดช่วยลดอาการคัดตึงของเต้านม
การอบไอนา้ สมุนไพร

ช่ วยกระตุ้น การไหลเวียนเลือด บรรเทาอาการ


ปวดเมื่อยตามร่ างกาย ช่วยให้หลอดลมขยายหายใจ
สะดวก ในหญิงหลังคลอดช่วยขับน้ าคาวปลาที่
ตกค้าง
เภสั ชกรรมแผนไทย
แพทย์ แผนไทย ในสมัยโบราณจะเตรี ยมยาให้ผปู้ ่ วยด้วยตนเอง โดยใช้
ความรู ้ที่เป็ นหลักสาคัญ คือ หลักเภสั ช 4 ได้แก่
 เภสัชวัตถุ
 สรรพคุณเภสัช
 คณาเภสัช
 เภสัชกรรม
เภสั ชกรรมแผนไทย
เภสั ชวัตถุ หมายถึง สิ่ งที่นามาใช้ปรุ งยาหรื อประกอบเป็ นยา ต้องรู้จกั
รู ปลักษณะ รส กลิ่น สี และชื่อของเภสัชวัตถุน้ นั ๆ เป็ นอย่างดี แบ่งเป็ น 3 ประเภท
 พืชวัตถุ
 สัตว์วตั ถุ
 ธาตุวตั ถุ
หลักการใช้ ยาสมุนไพร
ถูกส่ วน ถูกขนาด

ถูกต้ น
ถูกกับโรค
ถูกต้ น

ใบชะพลู ใบพลู
ถูกส่ วน

นา้ ยางสี เหลือง


ถูกขนาด
ชุมเห็ดเทศ

ฟ้าทะลายโจร
ถูกวิธี

สะตุน้ าประสานทอง
เภสั ชกรรมแผนไทย
สรรพคุณเภสั ช
หมายถึง ความรู ้เกี่ยวกับสมุนไพรแต่ละตัวมีรสเป็ นอย่างไร เพราะรส
ของยาแสดงถึงสรรพคุณในการรักษา นิยมแบ่งเป็ น 9 รส ได้แก่
ฝาด หวาน เมาเบื่อ ขม
เผ็ดร้ อน มัน หอมเย็น เค็ม เปรี้ ยว
รสฝาด

สรรพคุณ : สมานธาตุดนิ
รักษาแผลภายนอกและ
ภายใน, รักษาแผลในกระเพาะ
อาหาร, ท้องเสี ย
แสลงกับ : ท้องผูก, ท้องอืด, ไอ
รสหวาน
สรรพคุณ : เพิม่ ธาตุน้ า
ให้ ความชุ่มชื้น แก่ ธาตุดิน
รากชะเอมเทศ บารุ งผิวหนังและร่ างกาย
รักษาอาการไอแห้งๆ
แสลงกับ : แผลแฉะ, มีหนอง
เบาหวาน, คลื่นไส้อาเจียน,
น้ าผึ้ง ไอมีเสมหะ

อ้อย
รสมัน

สรรพคุณ : บารุ งธาตุดิน


กระดูก, ข้อต่อ, กล้ามเนื้อ,
เส้นเอ็น บารุ งกาลัง รักษา
งา
อาการฝื ดขัดตามข้อ
แสลงกับ : ไอ, หอบหืด, ไข้

ถัว่ ลิสง

ถัว่ เขียว
รสเมาเบื่อ

สรรพคุณ : แก้พิษและฟอก
ธาตุนา้ ที่เน่าเสี ย; เลือด, น้ าเหลือง
รักษาแมลงสัตว์กดั ต่อย, โรค
ผิวหนัง / น้ าเหลืองเสี ย
แสลงกับ : โรคหัวใจ, ไอ
รสขม
สรรพคุณ : รักษาสมดุล ธาตุไฟ
และ ธาตุนา้
บารุ งเลือดและน้ าดี, รักษาไข้,
มะระขี้นก ตัวร้อน, ร้อนใน, กระหายน้ า เพิม่
ความอยากอาหาร
แสลงกับ : โรคหัวใจ, ท้องอืดเฟ้อ

มะระจีน
รสเผ็ดร้ อน
สรรพคุณ : เพิม่ อิทธิพล
ธาตุไฟ กระตุน้ การไหลเวียน
ธาตุลม รักษาอาการปวดท้อง,
พริ กไทย ประจาเดือน, ท้องอืดเฟ้อ, อาหาร
ไม่ยอ่ ย, แขนขาชาหรื ออ่อนแรง
แสลงกับ : ไข้, อาการอักเสบ
กระเทียม บวม แดง, ความดันโลหิ ตสู ง,
ประจาเดือนมามาก

ขิง
รสหอมเย็น

สรรพคุณ : ลด อิทธิพล
ธาตุไฟ กระจาย ธาตุลม ให้
เดินได้สะดวก บารุ งหัวใจ
ดอกมะลิ ตับ ปอด รักษาอาการปวด
ศีรษะ วิงเวียน อ่อนเพลีย
ใบเตยหอม กระหายน้ า
แสลงกับ : ท้องอืดเฟ้อ

หญ้าฝรั่น
รสเค็ม
สรรพคุณ :
รักษา ธาตุดิน ไม่ให้เน่าเสี ย
กัดฟอกและขับ ธาตุน้ า ออกจาก
ร่ างกาย รักษาอาการท้องผูก, ไอมี
เกลือ (Sodium chloride) เสมหะ, โรคผิวหนัง
แสลงกับ : แผลในกระเพาะอาหาร,
ไอแห้งๆ, ท้องเสี ย, บิด

ดีเกลือ (Magnesium sulfate)


รสเปรี้ยว
สรรพคุณ :
ฟอกและขับ ธาตุน้ า ออกจาก
ร่ างกาย; เลือด, เสมหะ, รักษา
มะขาม (ใบ, ลูก) อาการท้องผูก, ไอมีเสมหะ,
กระหายน้ า
แสลงกับ : โรคน้ าเหลืองเสี ย,
มะนาว ท้องเสี ย, ไข้

มะขามป้อม
เภสั ชกรรมแผนไทย
คณาเภสัช หมายถึง ความรู ้ในการจัดหมวดหมู่ของสมุนไพรชนิดต่างๆมา
รวมเรี ยกเป็ นชื่อเดียว เพื่อให้ง่ายต่อการจดจาและการปรุ งยา โดยสมุนไพร
เหล่านั้นมักจะมีสรรพคุณไปในทางเดียวกัน
เภสัชกรรม หมายถึง ความรู ้ในการนาสมุนไพรตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป มา
ปรุ งเป็ นยาตาหรับ ในยาตาหรับหนึ่งๆจะมีส่วนประกอบ 4 ส่ วน คือ
ยาหลัก
ยารอง
ยาคมุ /ยาประกอบ
ยาชูกลิ่น ชูรส และแต่ งสีของยา
ผดุงครรภ์ แผนไทย
 การตรวจ การบาบัด การแนะนา

 การส่ งเสริ มสุ ขภาพหญิงมีครรภ์

 การป้องกันความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์และระยะคลอด

 การทาคลอด

 การดูแลส่ งเสริ มสุ ขภาพมารดาและทารกในระยะหลังคลอด


ด้ วยกรรมวิธีการแพทย์ แผนไทย
ผดุงครรภ์ แผนไทย
ขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอด
สุ ขภาพทัว่ ไป ด้ านจิตใจ
การปฏิบตั ิตน  การให้กาลังใจ
การนวด  ความต้องการเพื่อน
 การกลัวการคลอด
การประคบสมุนไพร
ด้านร่ างกาย
การบริ หารร่ างกาย  ลดความเจ็บปวด
อาหาร  การดูแลความสะดวกสบาย
ยาสมุนไพร
ผดุงครรภ์ แผนไทย
หลังคลอด
ด้ านร่ างกาย
แผลฝี เย็บ น้ าคาวปลา
มดลูก
เต้านม
หน้าท้อง
การขับถ่าย
การปฏิบัติตัว
การอยู่ไฟ
ผดุงครรภ์ แผนไทย
วิธีการดูแลหญิงหลังคลอด
การนวด
การประคบสมุนไพร
การทับหม้อเกลือ
การอบสมุนไพร
การนัง่ ถ่าน
การพันผ้าหน้าท้อง
การบารุ งผิวพรรณ
การให้คาแนะนาเรื่ องการปฏิบตั ิตน เช่น อาหารหญิงหลังคลอด
การนวด
การใช้มือบีบหรื อกดลงบนกล้ามเนื้อตามส่ วนต่างๆของร่ างกาย
เพื่อกระตุน้ ระบบการไหลเวียนเลือด น้ าเหลืองและระบบบประสาท
ทาให้กล้ามเนื้อคลายตัว
การประคบสมุนไพร
การนาลูกประคบที่ทาจากสมุนไพรมา
นึ่งให้ร้อนแล้วนาบหรื อกดคลึงตามบริ เวณ
ร่ างกาย สามารถใช้กบั หญิงตั้งครรภ์และ
หญิงหลังคลอด ส่ วนใหญ่นิยมประคบ
สมุนไพรหลังจากการนวด
การเข้ ากระโจม
การนาสมุนไพรสดหรื อแห้งหลายๆ
ชนิดมาต้มเพื่อให้เกิดไอน้ าภายในกระโจม
และใช้อบตัว นิยมทาในหญิงหลังคลอด
ผดุงครรภ์ แผนไทย
การทับหม้ อเกลือ
การนาเอา หม้อดินหรื อหม้อทะนนใส่ เกลือและนาไปตั้งไฟให้
ร้อน แล้วนามาวางบนสมุนไพรห่อด้วยผ้าจากนั้นทาการทับหม้อเกลือ
ให้กบั หญิงคลอดบุตร
การทับหม้ อเกลือ
การนั่งถ่ าน
การพันผ้ าหน้ าท้ อง
การดูแลผิวพรรณ
ผดุงครรภ์ แผนไทย
คาแนะนาการรับประทานอาหารสาหรับหญิงหลังคลอด

อาหารที่ส่งเสริ ม อาหารแสลงที่หา้ ม
แนวทางเวชปฏิบัติการแพทย์ แผนไทย
การสอบถามประวัติ
ครอบคลุมสมุฏฐาน
ทุกปัจจัย การวินิจฉัยโรค หลักการรักษา
สังเคราะห์จากข้อมูลซึ่ ง เพื่อแก้เหตุปัจจัย/
การตรวจร่ างกาย
ได้จากการสอบถาม ป้องกันผลกระทบ/
หารอยโรค ดูความ ประวัติและตรวจ ปรับสมดุล
ผิดปกติของธาตุใน ร่ างกาย
ร่ างกาย
การติดตามประเมิน เลือกวิธีการรักษา
ผลการรักษา สอดคล้องกับ
แสดงการดาเนิน หลักการ จาเป็ น
ของโรค เหมาะสม
แนวทางเวชปฏิบัติการแพทย์ แผนไทย
การใช้ยาสมุนไพร
การใช้หตั ถการ/วิธีการทางการแพทย์แผนไทย
การให้คาแนะนาเรื่ องต่างๆที่เกี่ยวข้องกับอาการเจ็บป่ วยและ
การส่ งเสริ มสุ ขภาพ
บุคคลลักษณะเสมหะ(ธาตุนา้ )
ลักษณะทัว่ ไป : เป็ นคนมีศีลตั้งมัน่ ผิวเนื้ออ่อน น่ารัก ผมละเอียด มัก
ฝันเห็นน้ าและข้าว

อาการที่พบได้ บ่อย : อ้วน น้ าหนักตัวมาก อาจมีอาการท้องผูก(ธาตุ


น้ าน้อยลง) หรื ออาการท้องเสี ยได้ง่าย(ธาตุน้ ามากขึ้น) และคนธาตุน้ า
จะมีโอกาสเป็ นน้ าเหลืองเสี ยได้มากกว่าคนธาตุอื่น
บุคคลลักษณะเสมหะ(ธาตุนา้ )
การดูแลสุ ขภาพ : หากมีธาตุน้ ามากเกินไป จะลดได้ดว้ ยหลักการเพิ่ม
ธาตุไฟหรื อลม เช่น รับประทานอาการที่มีรสเผ็ดร้ อนหรื อขม ให้ถ่ม
น้ าลาย เดินก็ดี ปล้ ากันก็ดี อดนอนก็ดี รมควันไฟก็ดี ประคบก็ดี ทา
การกระโดดก็ดี เป็ นวิธีการระงับเสมหะ
เมื่อเกิดอาการเจ็บป่ วย ให้ กิน “ยาสมุนไพร” ที่มรี สเปรี ้ยว
(มะขาม มะนาว มะเฟื อง) รสขม(มะระขีน้ ก สะเดา) และรสเมาเบื่อ
บุคคลลักษณะวาตะ(ธาตุลม)
ลักษณะทัว่ ไป : เป็ นคนร่ างกายผอม ผิวเนื้อหยาบ ผมบาง ใจกลับ
กลอก พูดมากมิได้หยุด มักให้ฝันว่าเหาะไปในอากาศ

อาการที่พบได้ บ่อย : ท้องอืดท้องเฟ้อหรื อท้องผูก มีอาการปวดเสี ยว


ตามร่ างกาย โรคเกี่ยวกับความดันโลหิ ต ปวดศีรษะ วิงเวียน แขนขา
อ่อนแรงหรื ออ่อนเพลีย มีโอกาสเป็ นลมอัมพฤกษ์อมั พาต
บุคคลลักษณะวาตะ(ธาตุลม)
การดูแลสุ ขภาพ : หากมีธาตุลมมากหรื อผิดปกติ จะปรับให้สมดุลได้
เช่น รับประทานอาการที่มีรสร้ อน ของหวาน ของเปรี้ยว ให้กิน
น้ ามันงาให้ตอ้ งแดดก็ดี อาบน้ าก็ดี ให้ทาน้ ามางา ทาของหอม กินน้ า
แลดื่มเมรัยก็ดี นวดแลสี ตวั เอาน้ าสวนทวารหนักก็ดี เป็ นวิธีระงับ
วาตะ
เมื่อเกิดอาการเจ็บป่ วย ให้ กิน “ยาสมุนไพร” ที่มรี สสุขมุ รส
เผ็ดและรสร้ อน เช่ น โกศ เทียน อบเชย กระวาน กานพลู พริ กไทย
เป็ นต้ น
บุคคลลักษณะปิ ตตะ(ธาตุไฟ)
ลักษณะทัว่ ไป : เป็ นคนผมหงอกในใช่กาล (ก่อนวัย) ผิวตัวขาวเหลือง
มักโกรธร้าย มีปัญญามาก มักฝันเห็นแสงสว่าง

อาการที่พบได้ บ่อย : ท้องผูกง่าย ปกติร่างกายจะร้อนอยูแ่ ล้วจึงอาจทา


ให้เป็ นร้อนในได้ง่าย หน้าจะมันทาให้เป็ นสิ วง่าย เสี่ ยงต่อภาวะผืน่
ภูมิแพ้ตามร่ างกาย เนื่องจากร่ างกายมีความร้อนอยูแ่ ล้ว
บุคคลลักษณะปิ ตตะ(ธาตุไฟ)
การดูแลสุ ขภาพ : ถ้าธาตุไฟผิดปกติ มีหลักปรับสมดุล เช่น
รับประทานอาการที่มีรสขม รสฝาด รสหวาน รสเย็น ให้ตอ้ งลม ให้
อยูใ่ นเงาไม้ ให้พดั ด้วยใบตาล ให้ตอ้ งรัศมีจนั ทร์ อาบน้ าเย็น ทาน้ าอบ
ทาเครื่ องหอม สวมกอดหญิงสาว การเอาโลหิ ตออก เป็ นวิธีการระงับ
ปิ ตตะ
เมื่อเกิดอาการเจ็บป่ วย ให้ กิน “ยาสมุนไพร” ที่มรี สจื ดและรส
เย็น เช่ น ตาลึง ฟั ก บวบ สายบัว เป็ นต้ น
โทรติ ดต่ อนั ด หมาย 064-5850938-9

You might also like