You are on page 1of 118

 

คู่มือ “การดูแลสุขภาพผูส้ ูงอายุด้วยภูมิปัญญาพืน้ บ้านด้านสุขภาพ”

ที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.นพ.ธวัชชัย กมลธรรม
นพ.ปภัสสร เจียมบุญศรี
นายประสาท ตราดธารทิพย์

ผู้เขียน
รุจินาถ อรรถสิษฐ
กมลทิพย์ สุวรรณเดช

บรรณาธิการ
เสาวณีย์ กุลสมบูรณ์
กมลทิพย์ สุวรรณเดช
กฤษณะ คตสุข
วราภรณ์ ด่อนแก้ว

จัดพิมพ์โดย
สํานักการแพทย์พื้นบ้านไทย
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี
โทรศัพท์/โทรสาร : 0 2591 7808, 0 2149 5693
เว็บไซต์ : http://www.dtam.moph.go.th
พิมพ์ครั้งที่ 1 กันยายน 2558
จํานวน 500 เล่ม
พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด

 

คํานํา

จากข้อมูลสํานักงานสถิติแห่งชาติ ระบุว่า ประเทศไทยได้ถูกจัดให้เป็นประเทศที่อยู่ในสังคมผู้สูงอายุ


ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 และมีการคาดการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2573 สังคมไทยจะเข้าสู่สังคมสูงวัยระดับสุดยอด
หมายถึง อัตราส่วนผู้สูงอายุจะเป็นร้อยละ 25 ของประชากรทั้งหมด สังคมไทยกําลังเผชิญสถานการณ์ความท้า
ทาย เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับผู้สูงอายุในทุกด้าน โดยเฉพาะด้านสุขภาพ เนื่องจากภาวะร่างกายเสื่อมถอย
ตามธรรมชาติ และเข้าสู่ภาวะพึ่งพาและต้องการการดูแลด้านสุขภาพ
สํานักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้จัดทํา คู่มือ “แนว
ทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ” เกิดจากการสังเคราะห์ความรู้และวิเคราะห์
พื้นที่ตัวอย่าง 9 กรณี โดย อาจารย์รุจินาถ อรรถสิษฐ ผู้เชี่ยวชาญ ดําเนินงานภายใต้โครงการส่งเสริม
การใช้ประโยชน์ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านเพื่อการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ ประเด็นสําคัญประกอบด้วย ภูมิ
ปัญญาพื้นบ้านสําหรับดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (Indigenous Health)
ด้านการรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกาย (Indigenous Medicine) และแนวคิด กระบวนการเรียนรู้และ
พัฒนาภูมิปัญญาพื้นบ้านสําหรับผู้สูงอายุ เพื่อเป็นแนวทางส่งเสริมการใช้ประโยชน์ ให้เกิดการบูรณาการ
การแพทย์พื้นบ้านในระบบบริการสุขภาพในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุต่อไป

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.นพ.ธวัชชัย กมลธรรม


อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กันยายน 2558

 

บทคัดยอสําหรับผูบ
 ริหาร

สังคมไทยมีจํานวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และในปี พ.ศ. 2548 ประเทศไทยได้ก้าวสู่ “สังคม


ผู้สูงอายุ (Aging Society) และมีการคาดการณ์ว่า ในปี พ.ศ. 2573 สังคมไทยจะเข้าสู่สังคมสูงวัยระดับสุด
ยอด อันหมายถึง อัตราส่วนของผู้สูงอายุจะเป็นร้อยละ 25 ของประชากรทั้งหมด ผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีภาวะ
ร่างกายเสื่อมถอยตามธรรมชาติ และเข้าสู่ภาวะพึ่งพาและต้องการการดูแลเมื่ออายุมากขึ้น ผู้สูงอายุมัก
ประสบกับปัญหาโรคเรื้อรังที่สําคัญคือ โรคความดันโลหิตสูง ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ โรคเบาหวาน โรค
โลหิตจาง โรคข้อเข่าเสื่อม/อักเสบ โรคกระดูกพรุน กลุ่มอาการอัมพฤกษ์-อัมพาต และอาการป่วยที่เกิดจาก
ความเสื่อมของร่างกาย
ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพที่สามารถใช้ประโยชน์กับการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ มี 2 ด้าน คือ (1)
ภูมิปัญญาพื้นบ้านเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (Indigenous Health) และ (2) ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
เพื่อการดูแลรักษาโรคและฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกาย (Indigenous Medicine) จากการวิเคราะห์พื้นที่
ตัวอย่าง 8 กรณี พบว่า ในทุกพื้นที่มีผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด และมีการรวมตัว
เป็น ชมรมผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุสามารถจําแนกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้สูงอายุที่สุขภาพดี กลุ่มผู้สูงอายุที่เป็น
โรคเรื้อรัง และกลุ่มผู้สูงอายุที่ทุพพลภาพและต้องพึ่งพาผู้อื่น พื้นที่ตัวอย่าง 5 กรณี มีการจัดการความรู้ภูมิ
ปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ โดยการศึกษาและเก็บข้อมูลจากผู้สูงอายุต้นแบบและหมอพื้นบ้านในพื้นที่ ส่วน
พื้นที่ตัวอย่าง 3 กรณี มีทั้งการจัดการความรู้ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพและมีบทเรียนการใช้ประโยชน์
จากภูมิปัญญาหมอพื้นบ้าน
สําหรับแนวคิดและกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาภูมิปัญญาพื้นบ้านสําหรับผู้สูงอายุ ควรใช้แนวคิด
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ภายใต้การทํางานแบบบูรณาการและแบบมีส่วนร่วมระหว่าง องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรภาครัฐในท้องถิ่นและชมรม / กลุ่มผู้สูงอายุในชุมชน สําหรับกระบวนการเรียนรู้/
พัฒนาภูมิปัญญาพื้นบ้านสําหรับสุขภาพผู้สูงอายุ มีรูปแบบ / กระบวนการทํางาน 3 ลักษณะ คือ (1) การ
จัดการความรู้ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพเพื่อผู้สูงอายุ (2) การส่งเสริมและการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญา
การแพทย์พื้นบ้านในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ และ (3) การสืบทอดภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ อย่างไรก็
ตาม แนวคิดและกระบวนการดังกล่าวยังต้องศึกษาและพัฒนารูปแบบการทํางานให้มีความชัดเจนมากกว่า
ปัจจุบัน เพื่อให้มีบทเรียนและเน้นถึงผลต่อสุขภาพผู้สูงอายุที่ชัดเจน

 

สารบัญ

คํานํา ก
บทคัดย่อสําหรับผู้บริหาร ข
บทที่ 1 ความหมายและสถานการณ์ของผู้สูงอายุไทย 1
บทที่ 2 นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้สูงอายุแบบบูรณาการ 3
สถานการณ์ด้านคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุไทย 3
สถานการณ์ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุไทย 5
แนวคิด นโยบาย และยุทธศาสตร์ของแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ 8
สถานการณ์การเคลื่อนไหวและการสนับสนุนการทํางานด้านผู้สูงอายุไทย 15
บทที่ 3 ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพเพื่อสุขภาวะของผู้สูงอายุ 17
แนวคิดการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพด้านภูมิปัญญาพื้นบ้าน 17
ด้านสุขภาพเพื่อผู้สูงอายุ
ภูมิปัญญาพื้นบ้านเพื่อการดูแลสุขภาพกายของผู้สูงอายุ 22
ภูมิปัญญาพื้นบ้านเพื่อการดูแลสุขภาพใจและอารมณ์ของผู้สูงอายุ 43
ภูมิปัญญาพื้นบ้านเพื่อการดูแลและฟื้นฟูภาวะโรคของผู้สูงอายุ 44
บทที่ 4 การเคลื่อนไหวและพื้นที่ตัวอย่างด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 56
ด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
(1) แนวคิดและรูปแบบการจัดการความรู้ด้านภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ 56
เพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
• ตัวอย่างที่ 1 ตําบลนาไหม อําเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี 56
• ตัวอย่างที่ 2 ตําบลทุ่งคลอง อําเภอคําม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ 64
• ตัวอย่างที่ 3 ตําบลสมอพลือ อําเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี 67
• ตัวอย่างที่ 4 ตําบลนาท่ามใต้ อําเภอเมือง จังหวัดตรัง 72
• ตัวอย่างที่ 5 การจัดการองค์ความรู้ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน 78
เพื่อการดูแลผู้สูงอายุ โดย ศ. (พิเศษ) พญ.สมบูรณ์
เกียรตินันทน์ และคณะ คณะแพทย์ศาสตร์ (สาขา
แพทย์แผนไทยประยุกต์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

 
(2) แนวคิดและรูปแบบการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ
• ตัวอย่างที่ 6 ตําบลนาแก้ว อําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง 80
• ตัวอย่างที่ 7 ตําบลหัวรอ อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 85
• ตัวอย่างที่ 8 ตําบลน้ําไคร้ อําเภอน้ําปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ 91
(3) ผู้สูงอายุต้นแบบการดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน 94
บทที่ 5 แนวคิด กระบวนการและบทเรียนการทํางานด้านดูแลผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาพื้นบ้าน 100
ด้านสุขภาพ
บรรณานุกรม 108
-1-
 

บทที่ 1
ความหหมายและสถานการรณของผูส งู อายุไท
ทย

ความ มหมายของงผูสูงอายุไทย ท
สังคมไทยเรียกขานผู้ที่มีมีอายุมากกว่าว่ า า “คนแก่” หรืออาจเปป็น “ผู้เฒ่า” “คนชรา” “ผู้สูงอายุ”
“ผู้สูงวัย” หรืออาจเรียกเป็นภาาพรวมว่าเป็น “กลุ่มวัยไม้ใกล้ ใ ฝั่ง” หรือ “กลุ่มวัยทอง” อันเป็นคําสะท้อนถึง
บุคคลลที่อยู่ในวงจรชีวิตช่วงปลายย ที่หมายถึง ความชรา ความเสื่อมทรรุดทางร่างกายและจิตใจ ก่กอให้เกิดการร
พึ่งพาาผู้อื่น หรือเป็ เ นช่วงชีวิตที่ต้องมีผู้ดูแ ล สําหรับคําเรียกและนิยามที ย ่เป็นทางงการตามพระราชบัญญั ติติ
ผู้สูงอายุ พ.ศ. 25446 คือ “ผู้สูสูงอายุ หมายถึง บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์ขขึึ้นไป และมีสัญชาติไทย”
และในนปี พ.ศ. 2525 สมัชชาโลลกว่าด้วยผู้สูงอายุ ง มีการกกําหนดเป็นมาาตรฐานทั่วโลกว่า “ผู้สูงอายุ เป็นผู้ที่มีมี
อายุตัต้ังแต่ 60 ปีขึขึ้นไป” นอกจากนี
น ้ยังแบ่
แ งผู้สูงอายุเป็นผู้สูงอายุวัยต้
ย น อายุ 660-69 ปี แลละผู้สูงอายุวัย
ปลายย มีอายุตั้งแต่ 70 ปีขึ้นไป น ผู้สูงอายุยุ
นับเป็ปนทรัพยากรมมนุษย์ที่มีคุณค่คาของชาติ มี
วั ย วุ ฒิ
ฒ คุ ณ วุ ฒิ และศั ก ดิ์ ศ รี สามารถถ
ถ่ายททอดความรู้และประสบกา
ล ารณ์ และยัง
เป็นผู้ทําประโยชน์น์ต่อสังคม หากผู ห ้สูงอายุมีมี
สุ ข ภาาพร่ า งกายแ ข็ ง แรงและสุสุ ข ภาพจิ ต ที่ ดีดี
จะเป็ป็ น มิ่ ง ขวั ญ ข องครอบครัรั ว และเป็ น ผู้
ถ่ายททอดมรดกทางงวัฒนธรรมให้้คนรุ่นหลัง

สถานนการณของงผูสูงอายุไทย ท
ปี พ.ศ. 2548
2 เป็นปีทีท่สี ังคมไทยถูกกล่
ก าวขานจากนักประชากรศาสตร์ว่าเป็ปน “สังคมสูงวั ง ย” (Agingg
Socieety) เพราะมีมีประชากรอาายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเเทศ (ปี พ.ศ..
25488 ผู้สูงอายุมีอัอัตราส่วนร้อยละ 10.17 ของประชากร
ข รทั้งหมด) ในนช่วงห้าทศวรรรษที่ผ่านมา ผู้สูงอายุของง
สังคมมไทยมีแนวโน้น้มเพิ่มขึ้นอย่างต่
า อเนื่องแลละจะเพิ่มขึ้นต่ตอไปในอนาคคต จากการสํารวจของสํานักงานสถิติติ
แห่งชาติ
ช ปี พ.ศ. 25552 รายงานว่า สังคมไททยมีผู้สูงอายุจํจานวนทั้งหมดด 8.63 ล้านนคน คิดเป็นร้รอยละ 12.77
ของจํํานวนประชากกรทั้งหมด โดดยแต่ละปีประเทศไทยจะมี
ร มีผู้ที่เข้าสู่วัยสูงอายุประมาณ ห้าแสนคน และมีการร
คาดกการณ์ว่า ในปีปี พ.ศ. 2573 สังคมไทยจะเข้าสู่สังคมสสูงวัยระดับสุดยอด ด หมายยถึง อัตราส่วนผู
ว ้สูงอายุจะ
เป็นร้อยละ
อ 25 ของประชากรท
ข ทั้งหมด
ความชราของชีวิตเป็นกระบวนการเ
ก เสื่อมถอยตามมธรรมชาติ ความเสื ค ่อมถออยของร่างกายยจะเริ่มตั้งแต่ต่
อายุมากกว่
ม า 20 ปีขึ้นไป แลละเกิดอย่างตต่อเนื่องเป็นลํําดับจนกระททั่งอายุราว 775-80 ปี สมรรถนะของง
ร่างกายจะถดถอยยเข้าสู่ภาวะพึพึ่งพา โรคแลละอุบัติเหตุจะนํ ะ าเข้าสู่ภาววะพึ่งพาเร็วขึ้น ในขณะทีที่การส่งเสริม
สุขภาาพและวิถีชีวิตที
ต ่ดีต่อสุขภาพจะช่วยให้ชีวิตเข้าสู่ภาวะะพึ่งพาช้าลง ขณะนี้ผู้สูงอายุไทยสามารรถแบ่งได้เป็น
-2-
 
3 กลลุ่มหลักคือ กลุ่มแรกเป็นกลุน ่มที่ดูแลตนเองได้ ประะมาณร้อยละ 85.3 กลุ่มที่สองเป็นกลุมที ่ม ่เริ่มมีภาวะะ
พึ่งพาาและต้องการผผู้ดูแลบางส่วน ประมาณร้ร้อยละ 13.8 และกลุ่มที่สามเป็ ส นกลุ่มที่ต้องพึ่งพาผู้อือ่ืน ประมาณ ณ
ร้อยลละ 0.9 ข้อมูลจากการสํารวจ ร ผู้สูงอายุไทยเพิ
ไ ่มขึ้นทัั้งจํานวนและสสัดส่วน ผู้สูงอายุวัยปลายหหรือผู้ที่มีอายุยุ
80 ปีขึ้นไปยังเพิ่มขึ
ม ้นอย่างรวดเร็วด้วย อันหมายถึห ง ผู้สูสูงอายุวัยปลายที่อาจต้องพึพึ่งพาผู้อื่นทั้งด้านเศรษฐกิจ
ด้านสัสังคม และกาารทํากิจวัตรประจําวันมีแนววโน้มเพิ่มมากกขึ้นด้วย
จากการศึศึ ก ษาการเปลีลี่ ย นแปลงรู ปแบบที
ป ่ พั ก อ าศั ย ของผู้ สู งอายุ
ง ตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึ ง ปั จจุ บั น พบว่ า
ผู้สูงอายุ
อ ที่อยู่คนเดียวและผู้สูงอายุที่อยู่เพียงลําพังกับคู่สมรสเท่
ส านั้น มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อัน
ส่งผลลกระทบต่อคุณภาพของกา
ณ รดูแลผู้สูงอายุในครอบครััว นอกจากนีนี้การย้ายถิ่นขของบุตรส่งผลให้มีบุตรที่ให้
การดูแลผู้สูงอายุลดลงแล้ว ยังเกิดปรากฏกาารณ์ “ครัวเรืรือนข้ามรุ่น” ของผู้สูงออายุ หมายถึง ครัวเรือนทีที่
ประกกอบด้วยผู้สูงอายุ
อ และหลานนอย่างน้อย 1 คน โดยไม่มีมีบุตร / บุตรเเขย / บุตรสะะใภ้ ของผู้สูงอายุพักอาศัย
อยู่ดวยกั
ว้ น สถานกการณ์นี้กลายเเป็นการเพิ่มภาระการดู
ภ แลหหลานให้ผู้สูงอายุอ ส่งผลให้ห้เกิดความเปรราะบาง และะ
ภาวะะเสี่ยงหรือบั่นทอนคุ
น ณภาพชีวิตของผู้สูสูงอายุโดยทั่วไป ว จากสถถานการณ์ดังกกล่าวข้างต้น กล่าวได้ว่า
สังคมมไทยกําลังเผชิชิญสถานการณ ณ์ที่ท้าทาย เพื เ ่อเตรียมความพร้อมให้กับผู้สูงอายุ แและให้กับสังคม ทั้งภาครัฐ
ภาคเออกชน และภาาคชุมชน ที่จะร่ ะ วมดูแลคุณภาพชีภ วิตและสสุขภาวะของผู้สูงอายุในหลาายมิติและต่อเนนื่องระยะยาวว
-3-
 

บทที่ 2
นโยบาย และยุทธศาสตรการพัฒนาผูส ูงอายุแบบบูรณาการ
สถานการณดานคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุไทย
ความเข้าใจต่อสถานการณ์ผู้สูงอายุอย่างรอบด้านจะก่อให้เกิดนโยบายและยุทธศาสตร์การขับเคลื่อน
งานผู้สูงอายุที่สอดคล้องกับความต้องการผู้สูงอายุ และยังเหมาะสมกับลักษณะทางสังคมวัฒนธรรมในแต่ละ
ภูมิภาคอีกด้วย ในปัจจุบัน ประเทศไทยมีผู้สูงอายุทั้งหมด 8.63 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 12.7 ของ
ประชากรทั้งหมด และคาดการณ์ว่า ภายในระยะเวลา 15-20 ปีข้างหน้า ผู้สูงอายุไทยจะเพิ่มกว่าเท่าตัว
ของจํานวนผู้สูงอายุ ในปัจจุบัน และสัดส่วนของผู้สูงอายุจะเพิ่มเป็นร้อยละ 25 ของประชากรทั้งหมด
ดังนั้น สังคมไทยจําเป็นต้องพิจารณาสถานะปัจจุบันของผู้สูงอายุ เพื่อให้เข้าใจถึงภาวะคุณภาพชีวิต ความ
ต้องการ ศักยภาพและปัญหาที่มีความเฉพาะ จําแนกเป็นรายละเอียดดังนี้
¾ ขอมูลทั่วไปและการศึกษา
จากการศึกษาพบว่า จํานวนผู้สูงอายุไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และผู้สูงอายุวัยปลาย (อายุตั้งแต่
80 ปีขึ้นไป) เพิ่มขึ้นมากกว่าผู้สูงอายุวัยต้น (อายุ 60-69 ปี) และผู้สูงอายุวัยกลาง (อายุ 70-79 ปี)
อย่างชัดเจน และจํานวนผู้สูงอายุหญิงมากกว่าผู้สูงอายุชายอย่างชัดเจน จึงมีการกล่าวว่า “เรื่องของผู้สูงอายุ
เป็นเรื่องของผู้หญิง” (Feminization of Elderly)
ส่ ว นระดั บ การศึ ก ษา ในปี พ.ศ. 2550 ผู้ สู ง อายุ ส่ ว นใหญ่ มี ก ารศึ ก ษาค่ อ นข้ า งน้ อ ย (ระดั บ
ประถมศึกษา) ผู้สูงอายุมีการศึกษาน้อยกว่าประชากรกลุ่มอายุอื่นอย่างชัดเจน และพบว่าร้อยละ 25 ของ
ผู้สูงอายุไม่รู้หนังสือ และหญิงสูงอายุมีสัดส่วนที่ไม่รู้หนังสือสูงกว่าชายสูงอายุอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม ใน
อนาคตผู้ สู ง อายุ จ ะมี สั ด ส่ ว นที่ มี ร ะดั บ การศึ ก ษาเพิ่ ม มากกว่ า ผู้ สู ง อายุ ใ นปั จ จุ บั น อั น เป็ น แนวโน้ ม ที่ อ าจ
คาดการณ์ถึง การปรับตัว ทัศนคติ และความต้องการด้านคุณภาพชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป
¾ ดานครอบครัว
ในสั ง คมไทยแบบประเพณี บุ ต รจะให้ ก ารดู แ ลช่ ว ยเหลือ และเกื้ อ กูล พ่อ แม่ ย ามสู งอายุ นั บ เป็ น
หลักประกันของผู้สูงอายุยามชราภาพ ในปี พ.ศ. 2544 ผู้สูงอายุไทยมีจํานวนบุตรโดยเฉลี่ย 5 คน ใน
อนาคตผู้สูงอายุไทยจะมีจํานวนบุตรโดยเฉลี่ย 2 คน และจํานวนผู้สูงอายุที่เป็นคนโสด หย่า และแยกจะ
เพิ่มมากขึ้น จากข้อมูลในปี พ.ศ. 2550 พบว่า ผู้สูงอายุร้อยละ 87 ได้รับความช่วยเหลือด้านการเงินจาก
บุตร และร้อยละ 55 มีบุตรเป็นแหล่งรายได้หลัก อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่รวดเร็ว
ความเป็นเมืองขยายตัว ครอบครัวมีขนาดเล็กลง และบุตรย้ายไปทํางานต่างถิ่น ทําให้ผู้สูงอายุในชนบทที่พัก
อาศัยอยู่ในบ้านเดียวกับบุตรลดลง นอกจากนี้ ยังเกิดปรากฏการณ์ “ครัวเรือนข้ามรุ่น” (Skip Generation
Household) หมายถึง ครัวเรือนที่ประกอบด้วยผู้สูงอายุและหลานอย่างน้อยหนึ่งคน แต่ไม่มีบุตร / บุตรเขย
/ บุตรสะใภ้ พักอาศัยอยู่ด้วยกันในครัวเรือน แนวโน้มที่ผู้สูงอายุต้องอาศัยอยู่และเลี้ยงหลานที่ลูกมาฝากดูแล
มีแนวโน้มสูงขึ้น โดยจากปี พ.ศ. 2537 มีร้อยละ 10.5 เพิ่มเป็นร้อยละ 14.3 ในปี พ.ศ. 2550 โดย
ผู้สูงอายุจะมีบทบาทช่วยดูแลหลาน อันเป็นการเพิ่มภาระด้านเศรษฐกิจ การดูแลด้านกายภาพ และมีผลต่อ
-4-
 
การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอาายุ สําหรับในนกรณีที่ผู้สูงอายุอยู่ร่วมบ้านกั
น บครอบครัรัวของลูก ผู้สูงอายุ ง ต้องการร
จะช่วยเหลือกิจกรรมในบ้านอย่างเต็ า มใจ เพื่อแบ่
อ งเบาภารระของครอบคครัว เช่น เลี้ยงหลาน ปรระกอบอาหารร
ซักผ้า กวาดบ้าน ถูบ้าน และเเฝ้าบ้าน เป็นต้ นน
สําหรับทัศนะของผู
ศ ง ต่อบทบาทที่เหมาะสสมของตนเองงในครอบครัว คือ การออบรมสั่งสอนน
้สูงอายุ
เพื่อใหห้ลูกหลานเป็นคนดี
น ขยันศึกษาเล่าเรียน ซื่อสัตย์สุจริต ปฏิบัติตนใในสิ่งดีงามเพื่ออเป็นคนดีในออนาคต ส่วน
บทบาาทรอง คือ การช่วยเหลืองานในบ้าน แต่ในความมเป็นจริง พบบว่า บทบาททการเป็นที่ปรึกษาแก่บุตร
หลานนในครอบครัวลดลงมาก ลูกหลานไม่เคยยนําเรื่องใดมาาปรึกษา เป็นเพราะสั น งคมมีการเปลี่ยนแแปลง บุตรมีมี
การศึึกษาสูงขึ้น มีรายได้สูงขึ้น อีกทั้งทัศนคคติต่อผู้สูงอายยุและต่อชีวิตเปลี่ยนแปลงไไป แตกต่างจจากคนรุ่นพ่อ
แม่ จากการศึ
จ กษาาพบว่า คนไททยที่มีอายุระหหว่าง 18-59 ปี ประมาณ ณหนึ่งในสามมีมีทัศนคติเชิงลบต่อผู้สูงอายุยุ
เห็นว่าผู้สูงอายุตามโลกไม่ทัน เป็นภาระบุตรหลาน
ต น่าเบื่อ ขี้บ่น และเป็นประโโยชน์น้อย อย่ อ างไรก็ตามม
ผู้สูงอายุ
อ จํานวนไมม่น้อยยังมีบทบาทสําคัญในนการเป็นที่ปรึกษา และเเกื้อกูลทางคววามคิด และะทางจิตใจแก่ก่
บุคคลลในครอบครัวและในชุ
ว มชนน
¾ ดานเศรษฐกิจ
จากการสํสํารวจข้อมูลในนปี พ.ศ. 25550 ผู้สูงอายุร้อยละ 35 ของผู้สูงอายุยุทั้งหมด ยังคงทํ ค างานเชิง
เศรษฐฐกิจ และตลอดทศวรรษทีที่ผ่านมา อัตราส่ ร วนการทํางานเชิ
ง งเศรษฐฐกิจของผู้สูงออายุเปลี่ยนแปปลงไม่มากนัก
และสสั ด ส่ ว นผู้ สู ง อายุ
อ ที่ ทํ า งานน
ล ด ล ง ต า ม อ า ยุย ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น
ผู้สูงออายุในเขตชนนบทมีสัดส่วน
การททํางานสูงกว่า ผู้สูงอายุใน
เขตเมมือง อาชีพที่ทํางานมีทั้ ง
ในภาาคเกษตรกรรรม และนอกก
ภาคเเกษตกรรม เช่ น ธุ ร กิ จ
ส่ ว น ตั ว ธุ ร กิ จ ค ร อ บ ค รั ว
ลู ก จ้ าง เป็ น ต้ น ผู้ สู ง อายุยุ
ประ มาณ หนึ่ ง ในสามของง
ผู้ สู ง ออายุ ทั้ ง หมด มี ร ายได้ ต่ํ า
กว่า 20,000 บาททต่อปี และผูผู้สูงอายุจํานววนประมาณหหนึ่งในห้า ที่ระบุ ร ว่ามีรายไดด้ไม่เพียงพอ อาจกล่าวได้ด้
ว่าผู้สงอายุ
สู ส่วนใหญ่ไม่ได้ทํางานน และมีรายยได้หลักจากบุบุตร ขาดหลักประกั ก นในรูปเงินบํานาญ ญหรือเงินออมม
อย่า งไรก็
ง ต าม ผู้ สูส ง อายุป ระม าณร้ อ ยละ 69 มีก ารออมหรือ สะสมมทรั พย์ ทั้ง ในนรูป สัง หาริม ทรั พย์ และะ
อสังหาริ
ห มทรัพย์ อันเป็นหลักปรระกันรายได้ และช่วยบรรเทาปัญหาทางเศรษฐกิจได้ด้
¾ ดานที่อยูอาศัย และสิ่งแวดดลอม
ระยะที่ผ่านมา
า สถานทีที่อยู่อาศัย และสิ
แ ่งแวดล้อมที อ ่เหมาะสมมกับผู้สูงอายุไไม่ได้รับความสนใจมากนัก
ต่อมาาในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ที่อยู่อาศัยขอองผู้สูงอายุได้รับความสนใใจมากขึ้น ผู้สสูงอายุส่วนใหหญ่อยู่ในบ้าน
หรือที่อยู่อาศัยที่แตกต่างกันตามสภาวะเศรษษฐกิจ นับตั้งแต่ ง เพิงพัก กระท่
ก อม บ้านนไม้ยกพื้นสูง เรือนไม้แถวว
-5-
 
ทาวเฮฮ้าส์ และบ้านเดี
น ่ยว สําหรัับผู้สูงอายุในชชนบทส่วนใหญ่มีที่พักอาศัยในลั ย กษณะยยกพื้นสูง รูปแบบห้
แ องส้วม
แบบนนั่งยอง ห้องนนอน และสิ่งแวดล้ แ อมในชีวิวิตประจําวัน ยังมีความเสี่ยง และไม่เหหมาะสมสําหรัรับการดําเนิน
ชีวิตของผู
ข ้สูงอายุ อาจเกิอ ดอุบัตเหตุ เิ และนําไปสู
ไ ่การบาดเจ็จ็บหรือพิการไได้ นอกจากนนี้ยังมีสภาวะแแวดล้อมนอกก
บ้าน เช่น ถนน เส้ เ นทางเดินเทท้า ทางข้ามถถนน หรือพาหหนะสัญจรสําหรั า บผู้สูงอายุยุ สวนหรือสถถานที่พักผ่อน
เป็นต้้น เหล่านี้ยังมีมความจํากัดและไม่แ เอื้อต่อการใช้ชีวิตอยย่างอิสระของผผู้สูงอายุ
สําหรับผู้สูสูงอายุในเมืองยั
ง งมีการสะท้ท้อนถึงบ้านที่อยู่อาศัยที่แออั
อ ดและมีเสียยงดัง มีการททะเลาะกันกับ
เพื่อนบ้
น านหรือคนใในบ้าน หรือมี อ เสียงทะเลาาะของเพื่อนบบ้าน อันแสดดงให้เห็นความสัมพันธ์ทางงสังคมในเขตต
เมืองทีที่ไม่เหมาะสมมกับการอยู่อาศัยของผู้สูงอาายุ

สถานนการณดานสุ
า ขภาพขของผูสูงอาายุไทย
ภาวะสุขภาพ
ภ และปัญหาสุ ญ ขภาพขอองผู้สูงอายุจะมีปรากฏการณ์เพิ่มขึ้นตามมอายุของผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น
หากพิพิจารณาภาวะะสุขภาพหรือสุสขภาวะของผูผู้สูงอายุ ภาววะสุขภาพดีของผู อ ้สูงอายุ หหมายถึง ภาววะที่มีสุขภาพพ
ดีทั้งกายและใจ
ก มีชีวิตที่พึ่งพาาตนเองได้ สามารถใช้
ส ชีวิวิตอย่างอิสระะและพึ่งพาตตนเองในชีวิตประจําวันได้ด้
สามารถทํางานและะให้การเกื้อกูลบุตรหลานหหรือครอบครัวได้ ว และอยู่ภายใต้ ภ ครอบคครัว สังคมแลละสิ่งแวดล้อม
ที่เอื้ออํานวยต่อคุณภาพชี
ณ วิต สถถานการณ์ด้านสุ น ขภาพของผู้สูงอายุไทยจจําแนกเป็น 3 ด้าน คือ
¾ ภาวะะสุขภาพขอองผูสูงอายุ
ในปี พ.ศ. 2551 สถาบบันเวชศาสตร์ร์ผู้สูงอายุ กรรมการแพทย์ มีการสํารวจจภาวะสุขภาพพผู้สูงอายุและะ
จากกการประเมิ นสุ น ข ภาพตนเเองของผู้ สู ง อายุ พบว่ า ภาวะสุ ข ภาพของผู ภ ้ สู งงอายุ แ บ่ ง เป็ปน 3 กลุ่ ม
ประกกอบด้วย กลุมที ม่ ่หนึ่ง เป็นกลุ ก ่มที่ดูแลตนนเองได้ สามาารถทํากิจวัตรประจํ ร าวันได้เเองไม่ต้องมีคนช่ น วย และมีมี
สุขภาาพดี มีสัดส่วนประมาณร้
น อยละ 85.3 กลุ ก ่มที่สอง เป็ป็นกลุ่มที่เริ่มมีภาวะพึ่งพาแและต้องการผูผู้ดูแลบางส่วน
มีสัดส่สวนร้อยละ 13.81 และกลุ่มที่สาม เป็นกลุ น ่มที่ต้องพึงพาผู
ง่ ้อื่นมีสัดส่สวนร้อยละ 0.9 และจากกการศึกษาในน
ประเด็นนี้ พบว่า สัดส่วนผู้สูงอายุ ง ที่มีภาวะะสุขภาพดีมี
ความแตกต่างกันบ้าง อย่างไรก็ก็ตาม ภาพรววมอาจกล่าว
ได้ว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่
ว ประเมิมินว่า ตนเองงมีสุขภาพดี
รองลงมาคือ ปานนกลาง ไม่ดีและไม่ แ ดีมาก ๆ เป็นลําดับ
นอกจจากนี้ ยั ง พบบว่ า ผู้ สู ง อาายุ จํ า นวน 1 ใน 5 มี
ปัญหาการกลั้นปัสสาวะ ส / อุจจาระ ได้บางครัา ้ง และ
กลั้นไม่
ไ ได้เลย และะจากการสํารวจสถานะสุ
ร ขภาพอนามัย
ของปประชาชน พบว่ พ า ผู้ สู ง อายุอ ทั้ ง ชายแและหญิ ง มี
ปัญหาโภชนาการ และมีแนวโน้น้มมากขึ้นเมื่ออายุ อ มากขึ้น
ทั้ง นี้ อาจสั
อ ม พั น ธ์ กักั บ พฤติ ก รรมมการรั บ ประ ทานอาหาร
เช่น การรับประททานอาหารคนนเดียวเป็นปรระจํา การรับประทานอาห บ หารไม่ครบมื้อ และการรับประทานผับ ก
ผลไม้้ในปริมาณน้อยกว่อ ามาตรฐฐาน เป็นต้น นอกจากนี้สถาบันเวชศาสสตร์ผู้สูงอายุยยัังพบว่า ผู้สูงอายุ ง มากกว่า
-6-
 
ร้อยลละ 10 ยังคงงสูบบุหรี่ และผู้ที่สูบบุหรี่ทุทกวันลดลงตามอายุที่มากกขึ้น ส่วนพฤติกรรมการดื่มสุ ม รา พบว่า
ผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ อ 20 ยังดื่มสุรา แลละผู้สูงอายุทดี่ ืม่ สุราทุกวันลดลงตามอายุ
ล ทที่มากขึ้น
ในปี พ.ศ..2551 สํานักงานสถิ ก ติแห่งชาติ ร่วมกักับ กรมสุขภาพจิต และสสถาบันวิจัยประชากรและ
ป ะ
สังคมม มหาวิทยาลัลัยมหิดล ได้สํสารวจสุขภาพพจิตของคนไททยและผู้สูงอาายุ พบว่า ผู้สูงอายุประมาาณหนึ่งในสี่มีมี
คะแนนนสุขภาพจิตสูงกว่าคนทั่วไป ว และผู้สูงอายุ
ง ประมาณ ณครึ่งหนึ่งมีคะแนนสุขภาพพจิตเท่ากับคนนทั่วไป และะ
ผู้สูงอายุ
อ ประมาณหหนึ่งในห้ามีคะแนนสุขภาพพจิตต่ํากว่าเกกณฑ์มาตรฐานน ผู้สูงอายุชชายมีคะแนนสสุขภาพจิตสูง
กว่าผู้สูงอายุหญิง และผู้สูงอายุในเขตเมื ใ องมีคะแนนสุ
ค ขภาพจิตดีกว่าในเขตชนบท แแสดงถึง ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ญ่
มีสุขภาพจิ
ภ ตดี สุขภาพจิ ภ ตของผู้สูสงอายุมีความมสัมพันธ์ในทิศทางเดี
ศ ยวกับระดั
บ บการศึกกษา และยังมีผู้สูงอายุร้อย
ละ 32.8 3 ดูแลสุขภาพจิ ข ตและปปฏิบัติตามหลัลักคําสอนของงศาสนา โดยยนําหลักคําสออนศาสนามาแแก้ปัญหาชีวิต
และกการงาน ทําใหห้สุขภาพจิตดีขึ้น
¾ ปญหาสุขภาพขของผูสูงอายุ ยุ
จากรายงาานการสํารวจจสถานะสุขภาาพอนามัยของงประชาชนไททย ครั้งที่ 1 (พ.ศ. 25344 – 2535))
พบว่า ปัญหาปวดดข้อและปวดหลังเรื้อรังเป็ปนปัญหาสุขภาพที ภ ่สําคัญของผูข ้สูงอายุททัั้งชายและหญ ญิง และจากก
ฐานข้ข้อมูลของกระะทรวงสาธารณสุข พบว่า โรคที่เป็นสาเหตุ ส ให้ผู้สูงอายุอ เข้ารับกาารรักษาในโรงงพยาบาล 6
อันดับแรก
บ คือ (11) ความดันโลลหิตสูง (2) ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ ภาวะโภชนาาการและการรเมตาบอลิซึ่ม
(3) โรคเบาหวาน
โ (4) โรคโลหิตจาง (5) โรคเจ็บป่วยอื ย ่น ๆ และะ (6) ไตวายย นอกจากนีนี้ยีงมีโรคและะ
ความมเจ็บป่วยที่พบบ่ บ อยของผู้สูงอายุง ไทย คือ การกลั้นปัสสาวะไม่ได้ อุบัติเหตุและการบาดเจ็บ โรคข้อเข่า
เสื่อม / ปวดเข่า โรคกระดู โ กพรุรน อาการสมมองเสื่อม กลุมอาการอั
่ มพฤกษ์ – อัมพาาต ภาวะซึมเศร้า อาการร
ท้องผูผูก โรคต้อกระจกและต้อหิน อาการหูหนวก ห – หูตึง และอาการติติดเชื้อซิฟิลิส
¾ ภาวะะพิการของผ ผูสูงอายุ
ในภาพรวม ผู้สูงอายุไทยมี ท อายุยืนยาวขึ
ย ้น แต่มิได้ ไ หมายความมว่าผู้สูงอายุททัั้งหมดจะมีสุขภาพดี
ข และะ
ไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่น ระยะที่ผ่านมมา จํานวนผู้สูสูงอายุวัยปลาายที่อายุ 80 ปีขึ้นไป และมีชีวิตอยู่อย่ยางพึ่งพาผู้อื่น
มี จํ า นวนเพิ
น ่ ม ขึ้ น อย่
อ า งต่ อ เนื่ อ ง และยั ง มี ปัปั ญ หา
สุขภาาพที่ก่อให้เกิดความพิ ด การ หรือภาวะททุพพล
ภาพ หรือภาวะติติดเตียง กลาายเป็นผู้สูงอ ายุที่มี
ภาวะพิการ “ผู้สูงอายุ ง ที่พิการ”” คือ ผู้ทีท่ีมีอายุ
ตั้ ง แตต่ 60 ปี ขึ้ น ไปที ไ ่ มี ค วามลลํ า บากหรื อ ปั ญ หา
สุ ข ภาาพต่ อ เนื่ อ ง ตั้ ง แต่ 6 เดื อ นขึ้ น ไป และ
ผู้สูงอายุที่มีความลํลําบากในการดูดูแลตนเอง รวมทั ร ้ง
ผู้ที่มลัลี ักษณะความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจหรื ใ อ
สติ ปั ญญา
ญ ในปี พ.ศ. 25500 สํ า นั ก งานนสถิ ติ
แห่งชาติ
ช มีการสํารวจความพิการ พบว่า จํานวน
ของผู้สูงอายุที่พิการมีประมาณ 1.06 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ อ 15.3 ของผู้สูงอายุททั้งหมด จํานวนผู
น ้สูงอายุทีท่ี
พิการรจะเพิ่มขึ้นตาามอายุที่เพิ่มขึ้น นั่นหมายถึง ความพิการมี ก ความสัมพันธ์เชิงบวกกับอายุของผู้สูงอายุ กลุ่ม
-7-
 
ผู้สูงอายุ
อ ที่มีความพิพิการมากที่สุด คือ กลุ่มอายุ อ ตั้งแต่ 75
7 ปีขึ้นไป ผู้สูงอายุนอกเขตเทศบาลมมีสัดส่วนของง
ผู้สูงอายุ
อ พิการมากกกว่าในเขตเททศบาลเกือบเท่าตัว และภาคเหนือมีจํจํานวนผู้สูงอาายุที่พิการ สูงกว่าภาคอื่น
ผู้สูงอายุ
อ ที่พิการจะะมีความลําบากในการดูแลตนเองในกิจวั จ ตรประจําวัวน และมีลักกษณะความบบกพร่องหรือ
ปัญหาสุขภาพ 1 ลักษณะ
ผู้สูงอายุทีท่ีพิการจําเป็นต้องมี “ผู้ดูแล
แ (Caretakker)” ผู้ดูแลอาจเป็แ นสมาชิกภายในครอบครัวที่อยู่
ร่วมกักับผู้สูงอายุ โดยดู
โ แลครอบบคลุมทุกด้าน ทั้งด้านสุขภาพ ด้านเศศรษฐกิจ และะด้านที่อยู่อาศั า ย ปัจจุบัน
ครอบบครัวไทยส่วนใหญ่ น ยังคงมีบุบตรหรือคนในนครอบครัวดูแลผู้สูงอายุ หรืออาจเป็นนผู้ดูแลที่มาจากสถาบันทั้ง
ภาครัรัฐ ภาคเอกชชน หรือองค์กรสาธารณป ก ระโยชน์ โดยยเป็นการดูแลและให้ล บริกาารช่วยเหลือตามที
ต ่กําหนดด
ผู้สูงอายุจะได้รับกาารดูแลโดยเสียค่ ย าบริการบาางส่วน หรือเปป็นไปแบบสงเคราะห์ ปี พ.ศ. 2551 สํสานักส่งเสริม
และพิทักษ์ษผู้สูงอายุ กระทรวงพัฒนาสั น งคมและะ
ความมั่ น คงของมนุ
ค ษ ย์์ มี น โยบาย ส่ ง เสริ ม และะ
พัฒนาอาสสาสมัครดูแลผูผู้สูงอายุ (อผสส.) มีจํานวนน
6,800 คนน ใน 75 จังงหวัดทั่วประเทศ สามารถ
ให้การดูแลผู ล ้สูงอายุได้จจํํานวน 75,5597 คน แต่ต่
หากเทียบเเคียงกับความมต้องการการดูแลผู้สูงอายุยุ
ที่พิการ จะเห็
จ นได้ว่า สถานการณ์ยัยงขาดแคลนน
ทั้งจํานวน และคุณภาพพอีกมาก ขณะนี้ ผู้สูงอายุยุ
ที่ พิ ก า ร เ กื อ บ ทั้ ง ห ม ด ไ ด้ รั บ ส วั ส ดิ ก า ร ค่ า
รั ก ษาพยาาบาลจากสววั ส ดิ ก ารภา ครั ฐ ได้ แ ก่
กองทุนหลัลักประกันสุขภาพแห่งชาติติ สวัสดิการร
ข้า ราชการร / ข้า ราชก ารบํ า นาญ / รั ฐ วิ ส าหกิ จ
และกองทุนประกัน นสังคมม และยังคงตต้องการความ
ช่วยเหหลือ ผู้ดูแลจจากภาครัฐ อีกหลายด้าน ได้แก่ ความมต้องการเงินสนั ส บสนุน คววามต้องการพพยาบาลเยี่ยม
บ้านเป็นครั้งคราวหหรือยามจําเป็ป็น ความต้องการรายได้
อ ความต้องกาารเข้ารับการรรักษาในโรงพพยาบาลอย่าง
สะดววก การบริการรถรับส่ง กาารฟื้นฟูสมรรถถภาพของผู้สงอายุ งู ที่บ้าน หรือชุมชน ผู้ดูแลและช่วยเหลื ย อการทํา
กิจวัตรประจํ
ต าวันทีมี่ มาตรฐานแลละถูกต้อง แลละการดัดแปลลงที่พักให้เหมมาะสมต่อการรดูแลผู้สูงอายุยุ เป็นต้น
-8-
 
แนวคิคิด นโยบ
บาย และยุ
ยทธศาสตรรของแผนผ
ผูสูงอายุแหหงชาติ
ประเทศไททยก้าวสู่ “สัังคมสูงวัย (AAging Socieety)” นับตั้งแต่ แ ปี พ.ศ. 25548 สังคมไททยและรัฐบาลล
ไทยมีมี ภ ารกิ จ คุ้ ม ครองและช่
ค ว ยเหลื อ ผู้ สู ง อายุ
อ อ ย่ า งต่ อเนื
อ ่ อ ง เริ่ ม จากปี
จ พ.ศ. 2540 รั ฐ ธ รรมนู ญ แห่ ง
ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 ได้ระบุถึงสิทธิของผู้สูงอายุยุที่ได้รับการช่วยเหลื ว อและสสงเคราะห์จากกภาครัฐอย่าง
ชัด เจ น และต่ อ มารั ม ฐ ธรรมนู ญแห่ญ ง ราชอาาณาจัก รไทย พ.ศ. 25500 ได้ข ยายสิสิ ท ธิ ด้ า นสงเคคราะห์ ด้ า น
สวัสดิการ และการออมเพื่อดํารงชี ร พยามชราาของผู้สูงอายุทีท่ชัดเจนมากขึขึ้น จากนั้นในนปี พ.ศ. 25442 รัฐบาลได้ด้
จัดทําและประกาศ
า ศ “ปฏิญญาผูผู้สูงอายุไทย” ณ ตึกสันติ น ไมตรี ทําเนี
เ ยบรัฐบาล มีจํานวน 9 ข้อ ระบุถึง
คุณค่า ศักดิ์ศรี และสิแ ทธิของผู้สูงอายุที่ต้องไได้รับการพิทกษ์ กั และคุ้มครออง ตลอดจนควรได้รับโอกกาสจากสังคมม
ในกาารเรี ย นรู้ พั ฒนาศั ก ยภาาพตนเอง ค วรได้ ทํ า งานนตามความส มั ค รใจ แล ะได้ ถ่ า ยทอดดความรู้ แ ละะ
ประสสบการณ์ให้สังคม นอกจากนี้ ยังให้ภาครั ภ ฐและองงค์กรทางสังคม ค กําหนดนนโยบาย แผนหลัก และะ
กฎหมมายว่าด้วยผูสูส้ ูงอายุ ตลอดดจนรณรงค์ปลูกฝังค่านิยมใให้ตระหนักถึงคุ ง ณค่าผู้สูงอาายุตามวัฒนธรรรมไทย
ต่อมาในปีป พ.ศ. 2546 รัฐบาล
ไทย โดยกระทรรวงพั ฒ นาสั งคมและ ง
ความมั่นคงของมนุนุษย์ จึงมีการรตราและ
ประกกาศใช้ “พระะราชบัญญัติผู้สูงอายุ
พ.ศ. 2546” ขึ้น สาระสําคัญ คือ
การกกํ า หนดให้ มีมี “คณะกรรรมการ
ผู้สูงอายุ
อ แห่งชาติ” ขึ้น ภาระะกิจ คือ
การกํําหนดนโยบาย แผนหลัก และจัด
ส วั ส ดิ ก า ร ใ ห้ ผู้ สู ง อ า ยุ โ ด ย มี
นายกกรั ฐ มนตรี เ ป็ น ประธานน และมี
สํ า นั กงานส่
ก ง เสริ มและพิ
ม ทั ก ษ์ ผูผ้ สู ง อายุ
สํานักงานส่
ก งเสริม สวัสดิภาพและ

พิ ทั ก ษ์ เ ด็ ก เยาววชน ผู้ ด้ อ ยโอกาส

แ ล ะ ผู้ สู ง อ า ยุ เ ป็ น เ ล ข า นุ ก า ร
นอกจจากนี้ ภายใใน พ.ร.บ. ผูผ้ สู ง อายุ
ยังกําหนดสิทธิผู้สูงอายุที่ได้รับคุ้มครอง ส่งเสริ ง มและสนนับสนุนไว้อย่างชัดเจน คครอบคลุมด้านบริการทางง
การแแพทย์ การศึกษา ก การประกอบอาชีพ การพัฒนาตตนเอง การอํอํานวยความสสะดวกด้านคมมนาคม และะ
สถานนที่ การช่วยเหหลือ การสงเคราะห์และสสนับสนุนเบี้ยยัยงชีพ และยัังมีการจัดตั้ง “กองทุนผู้สงอายุ ู ” เพื่อ
เป็นทุนใช้จ่ายในงาานตามพระราชบัญญติน้ี
สําหรับแผผนงานและยุทธศาสตร์
ท ด้านผู้สูงอายุปรากฎอยู
ร ่ใน 2 แผนงานหหลัก คือ แผผนงานพัฒนาา
เศรษษฐกิ จ และสั งคมแห่ ง ง ชาติติ ฉบั บ ที่ 100 (พ.ศ. 25550–2554) และแผนผู แ ้ สู งงอายุ แ ห่ ง ชาาติ ฉบั บ ที่ 2
(พ.ศ. 2545 - 2564) โดยมีรายยละเอียดดังนี้
-9-
 
¾ แผนพั พัฒนาเศรษ ษฐกิจและสังคมแห ง งชาติติ ฉบับที่ 10 1
แผนพัฒนาเศรษฐกิ
น จแลละสังคมแห่งชาติ ช ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 2 – 2554) นับเป็นแผนงานฉบั
แ บ
แรกทีที่มีการบูรณากการประเด็นผู้สูงอายุเข้าสู่แผนพั
แ ฒนาปรระเทศ มีการรให้ความสําคััญและเตรียมความพร้อมสูสู่
สังคมมสูงวัย และพัพัฒนาคุณภาพพชีวิตของผู้สูงอายุ ง ง บูรณาการในยุทธศาสสตร์ 3 ด้าน
มีสาระะเกี่ยวกับผู้สูงอายุ
คือ
™ ยุทธศาาสตร์การปรับโครงสร้
บ างททางเศรษฐกิจให้ จ สมดุลและะยั่งยืน เป็นกการเตรียมคววามพร้อมเพื่อ
สังคมมสูงวัยด้วยกาารส่งเสริมการรออม เพื่อสร้ ส างหลักประะกันในชีวิตให้ห้ประชาชน การพัฒนาระะบบการออมม
เช่ น พั ฒ นากองททุ น การออมใให้ เ ป็ น ระบบ การออมเพื่อยามชราภา อ พสํ า หรั บ แร งงานนอกระะบบ เพื่ อ ให้ห้
ครอบบคลุมแรงงานทั้งภาคในระบบบและนอกรระบบ นอกจากนี้ยังให้ควาามสําคัญกับกการขยายโครงงสร้างพื้นฐานน
และโโครงข่ า ยการรให้ บ ริ ก ารด้้ า นเทคโนโลลยี ส ารสนเทศศและการสื่ อสาร อ เพื่ อ สสร้ า งโอกาสใให้ ป ระชาชนน
โดยเฉฉพาะผู้สูงอายุยุสามารถเรียนรู
น ้และเข้าถึงข้อมูลข่าวสารไได้มากขึ้น
™ ยุทธศาาสตร์ด้านการรพัฒนาคุณภาพคนและสัภ ังคมไทยสู่สังคมภูมิปัญญาาและการเรียนรู้ อาทิเช่น
การส่งเสริมให้ผู้สูงอายุถ่ายทอดดภูมิปัญญาให้้กับคนรุ่นหลัง โดยผ่านศูนย์ น เรียนรู้ในชุมมชน การส่งเสริมคุณภาพพ
ชีวิตผู้สูงอายุด้วยการขยายโอกาาสให้ผู้สูงอายุสามารถเข้
ส าถึงบริการทางสัสังคมต่าง ๆ ได้อย่างทั่วถึง ไม่ว่าจะเป็น
ด้านกการพัฒนาศักยภาพในการเรี
ย รียนรู้ต่อเนื่องตลอดชี
ง วิต การทํ
ก างานการส่งเสริมสุขภภาพ
™ ยุทธศาาสตร์การสร้างความเข้
า มแข็
แ งของชุมชนนและสังคมใหห้เป็นรากฐานนที่มั่นคงของงประเทศไทยย
การส่งเสริมศักยภาาพของชุมชนแและองค์กรปกกครองส่วนท้องถิ อ ่น มีความมสามารถในกการจัดบริการทางคมนาคมม
ขั้นพื้นฐานได้
น อย่างมี
ง ประสิทธิภาพและเหมาะ
า ะสมกับประชชากรแต่ละช่วงวั ว ย เช่น กการจัดบริการดูแลผู้สูงอายุยุ
โดยชุมชน
ม การดูแลด้ แ านสิทธิมนุนษยชน และการให้การคุมครองและช่ ้ม วยเหลือผู้สูงอาายุที่ถูกกระทํา
ต่อมาในปีปี พ.ศ. 25522 สํานักงานคคณะกรรมกาารพัฒนาการเศรษฐกิจและะสังคมแห่งชาติ ได้จัดทํา
แนวททางการขับเคคลื่อนยุทธศาสสตร์การพัฒนาผู น ้สูงอายุอย่ยางบูรณาการร เพื่อให้เกิดดการทํางานเเชิงรุก โดยมีมี
แนวคิคิดที่ให้ความสสําคัญกับการรพัฒนาคน และระบบคุแ ้มครองทางสั
ม งคมที่เน้นทุกภภาคส่วนมีส่วนร่ว วมในการร
พัฒ นาสั
น งคมสวัส ดิการ เพื่อใหห้ประชากรไททยทุกกลุ่มวัยมีห ลักประกกันยามชราภภาพอย่างทั่วถึงและมั่นคงง
รวมมทั้งได้เสนอกรอบทิศทางใในการขับเคลื่อนการพัฒนาผู้สูงอายุ 4
ด้าน ประกอบด้วย ว (1) การสสร้าง หลักประะกันความมั่นคงทางรายได้ด้
ด้วยการส่
ย งเสริมการออมของป ก ประชากรทุกววัน ส่งเสริมการทํ ก างานในน
กลุ่ มผู
ม ้ สู ง อายุ ทั้ งภาคในระบ
ง บและนอกรระบบ ส่ ง เส ริ ม ศั ก ยภาพพ
ง ในฐานะะภูมิปัญญาทางสังคม (2 ) การพัฒนาาระบบสังคมม
ผู้สูงอายุ
สวัสดิ
ส การที่เน้นทุทกภาคส่วนเข้ข้ามาร่วมช่วยยกันเพื่อให้ทั่วถึ ว งและยั่งยืน
เช่ น การพั ฒ นาาระบบการดูดู แ ลระยะยา ว การพั ฒ นาบุ น ค ลากรทีที่
เชี่ยวชาญด้านกาารดูแลผู้สูงอายุ อ (3) การพัฒนาสภาพแวดล้อมทีที่
เหมาะสมและเอื้อต่ อ อการดําเนินินชีวิตผู้สูงอาายุ (4) พัฒนากลไกการ
ฒ ร
บริหารจั
า ดการผู้สูงอายุ
ง ในระดับภู บ มิภาคและะท้องถิ่น รวมมทั้งการพัฒนาและเชื น ่อมโโยงฐานข้อมูลและองค์
ล กร
ความรู้เพื่อพัฒนาศัศักยภาพผู้สูงอายุ

- 10 -
 
¾ แผนผูสูงอายุแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545 - 2564)
ปรัชญา
ผู้สูงอายุไม่ใช่บุคคลด้อยโอกาสหรือเป็นภาระต่อสังคม ผู้สูงอายุสามารถมีส่วนร่วมและเป็นพลังพัฒนา
สังคม จึงควรได้รับการส่งเสริมและเกื้อกูลจากครอบครัว ชุมชน และภาครัฐให้ดํารงชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่า
มีศักดิ์ศรี และคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีให้นานที่สุด การสร้างหลักประกันของวัยสูงอายุเป็น
กระบวนการสร้างความมั่นคงของสังคม ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคสังคม และภาคประชาชน
สําหรับผู้สูงอายุที่ประสบความทุกข์ยาก ต้องได้รับการเกื้อกูลจากครอบครัว ชุมชน สังคมและภาครัฐอย่าง
ทั่วถึงและเป็นธรรม
วิสัยทัศน์
“ผูสูงอายุเปนหลักชัยของสังคม”
1. ผู้สูงอายุที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี คือ
- มีสุขภาพที่ดีทั้งกายและจิต
- ครอบครัวมีสุข สังคมเอื้ออาทร อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม ปลอดภัย
- มีหลักประกันที่มั่นคง ได้รับสวัสดิการและการบริการที่เหมาะสม
- อยู่อย่างมี คุณ ค่า มี ศักดิ์ศ รี พึ่งตนเองได้ เป็นที่ยึ ดเหนี่ยวทางจิตใจ และมีส่วนร่วมใน
ครอบครัว ชุมชน และสังคม
- มีโอกาสเข้าถึงข้อมูลและข่าวสารอย่างต่อเนื่อง
2. ครอบครัวและชุมชนเป็นสถาบันหลักที่มีความเข้มแข็ง สามารถให้การเกื้อหนุนแก่ผู้สูงอายุได้อย่าง
มีคุณภาพ
3. ระบบสวัสดิการและบริการจะต้องสามารถรองรับผู้สูงอายุให้สามารถดํารงอยู่กับครอบครัวและ
ชุมชนได้อย่างมีคุณภาพและมีมาตรฐาน
4. ทุกภาคส่วนจะต้องมีส่วนร่วมในระบบสวัสดิการและบริการให้แก่ผู้สูงอายุ โดยมีการกํากับดูแล
เพื่อการคุ้มครองผู้สูงอายุในฐานะผู้บริโภค
5. ต้องการดําเนินการเหมาะสมเพื่อช่วยให้ผู้สูงอายุที่ทุกข์ยากและต้องการการเกื้อกูลให้ดํารงชีวิตอยู่
ในชุมชนได้อย่างดีและต่อเนื่อง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี ด้วยการดํารงชีวิตอย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี พึ่งตนเองได้
และมีหลักประกันที่มั่นคง
2. เพื่อสร้างจิตสํานึกให้สังคมไทยตระหนักถึงผู้สูงอายุในฐานะบุคคลที่มีประโยชน์ต่อส่วนรวม และ
ส่งเสริมให้คงคุณค่าไว้ให้นานที่สุด
3. เพื่อให้ประชากรทุกคนตระหนักถึงความสําคัญของการเตรียมการ และมีการเตรียมความพร้อม
เพื่อการเป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ
- 11 -
 
4. เพื่อให้ประชาชน ครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่น องค์กรภาครัฐ และเอกชน ตระหนักและมีส่วน
ร่วมในภารกิจด้านผู้สูงอายุ
5. เพื่อให้มีกรอบและแนวทางการปฏิบัติงานเกี่ยวกับผู้สูงอายุสําหรับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง อันจะ
นําไปสู่การบูรณาการงานด้านผู้สูงอายุ

ยุทธศาสตร์และมาตรการ ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์ ดังนี้

ยุทธศาสตร์ที่ 1  ยุทธศาสตร์ด้านการเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ

มาตรการ 1 หลักประกันด้านรายได้เพื่อวัยสูงอายุ
(1) ขยายหลักประกันชราภาพให้ครอบคลุมถ้วนหน้า
(2) ส่งเสริมและสร้างวินัยการออมทุกช่วงวัย
มาตรการ 2 การให้การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
(1) ส่งเสริมการเข้าถึงและพัฒนาการจัดบริการการศึกษา และการเรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต ทั้ง
การศึกษาในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อความเข้าใจชีวิตและพัฒนาการในแต่ละวัย
และเพื่อเตรียมตัวเข้าสู่วัยสูงอายุที่เหมาะสม
(2) รณรงค์ให้สังคมตระหนักถึงความจําเป็นของการเตรียมการเข้าสู่การเป็นผู้สูงอายุ
มาตรการ 3 การปลูกจิตสํานึกให้คนในสังคมตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุ
(1) ส่งเสริมให้ประชาชนทุกวัยเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการดูแลรับผิดชอบผู้สูงอายุในครอบครัวและ
ชุมชน
(2) ส่ ง เสริ ม ให้ มี กิ จ กรรมสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งผู้ สู ง อายุ กั บ คนทุ ก วั ย โดยเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของกิ จ กรรม
การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และการกีฬา
(3) รณรงค์ให้สังคมมีจิตสํานึกและตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุ

ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุ

มาตรการ 1 ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันการเจ็บป่วยและดูแลตนเองเบื้องต้น


(1) จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในรูปแบบที่หลากหลายและเหมาะสมแก่ผู้สูงอายุและครอบครัว
มาตรการ 2 ส่งเสริมการรวมกลุ่มและสร้างความเข้มแข็งขององค์กรผู้สูงอายุ
(1) ส่งเสริมการจัดตั้งและดําเนินงานชมรมผู้สูงอายุและเครือข่าย
(2) สนับสนุนกิจกรรมขององค์กรเครือข่ายผู้สูงอายุ
มาตรการ 3 ส่งเสริมด้านการทํางานและการหารายได้ของผู้สูงอายุ
(1) ส่งเสริมการทํางานทั้งเต็มเวลาและไม่เต็มเวลา ทั้งในระบบและนอกระบบ
- 12 -
 
(2) ส่งเสริมการฝึกอาชีพและจัดหางานให้เหมาะสมกับวัย และความสามารถ
(3) ส่งเสริมการรวมกลุ่มในชุมชนเพื่อจัดกิจกรรมเสริมรายได้ โดยให้ผู้สูงอายุสามารถมีส่วนร่วม

มาตรการ 4 สนับสนุนผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ
(1) ประกาศเกียรติคุณผู้สูงอายุที่เป็นตัวอย่างที่ดีของสังคม
(2) ส่งเสริมให้เกิดคลังปัญญากลางของผู้สูงอายุ เพื่อรวบรวมภูมิปัญญาในสังคม
(3) ส่งเสริมและเปิดโอกาสให้มีเผยแพร่ภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ และให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านต่าง ๆ ในสังคม
มาตรการ 5 ส่งเสริมสนับสนุนสื่อทุกประเภทให้มีรายการเพื่อผู้สูงอายุ และสนับสนุนให้ผู้สูงอายุ
ได้รับความรู้และสามารถเข้าถึงข่าวสารและสื่อ
(1) ส่งเสริมสนับสนุนสื่อทุกประเภทให้มีรายการเกี่ยวกับผู้สูงอายุ
(2) ส่งเสริมการผลิต การเข้าถึงสื่อ และการเผยแพร่ข่าวสารสําหรับผู้สูงอายุ
(3) ดําเนินการให้ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่าง ๆ ได้อย่างต่อเนื่อง
มาตรการ 6 ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
(1) สนับสนุนส่งเสริมให้ความรู้แก่ครอบครัวและผู้สูงอายุในการปรับปรุงที่อยู่อาศัยเพื่อรองรับความต้องการใน
วัยสูงอายุ
(2) กําหนดมาตรการแหล่งเงินกู้ดอกเบี้ยต่ําเพื่อสร้าง / ปรับปรุงที่อยู่อาศัย และระบบสาธารณูปโภคสําหรับ
ผู้สูงอายุ
(3) มีการออกกฎหมายให้สิทธิพิเศษแก่ภาคเอกชนที่จัดบริการด้านที่พักอาศัยที่ได้มาตรฐานสําหรับผู้สูงอายุ

ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ด้านระบบคุ้มครองทางสังคมสําหรับผู้สูงอายุ

มาตรการ 1 คุ้มครองด้านรายได้
(1) ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุทุกคนได้รับสวัสดิการด้านรายได้พื้นฐานที่รัฐจัดให้
(2) ส่งเสริมการจัดตั้งกองทุนในชุมชนสําหรับผู้สูงอายุ
มาตรการ 2 หลักประกันด้านสุขภาพ
(1) พัฒนาและส่งเสริมระบบประกันสุขภาพที่มีคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุทุกคน
(2) ส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางสุขภาพ และการตรวจสุขภาพประจําปีอย่างทั่วถึง
(3) ให้วัคซีนที่จําเป็นตามมาตรฐานการป้องกัน และส่งเสริมสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ
(4) รัฐต้องให้อุปกรณ์ช่วยในการดํารงชีวิตประจําวันตามที่จําเป็น เช่น แว่นตา ไม้เท้า รถเข็น
ฟันเทียม แก่ผู้สูงอายุ
มาตรการ 3 ด้านครอบครัว ผู้ดูแล และการคุ้มครอง
(1) ส่งเสริมให้ ผู้สูงอายุได้อยู่กั บครอบครัวให้นานที่สุด โดยการส่งเสริมค่านิยมในการอยู่ร่วมกับ
ผู้สูงอายุ
- 13 -
 
(2) ส่งเสริมสมาชิกในครอบครัวและผู้ดูแลให้มีศักยภาพในการดูแลผู้สูงอายุ โดยการให้ความรู้และ
ข้อมูลแก่สมาชิกในครอบครัวและผู้ดูแลเกี่ยวกับการบริการต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
มาตรการ 4 ระบบบริการและเครือข่ายการเกื้อหนุน
4.1 ปรับปรุงบริการสาธารณะทุกระบบให้สามารถอํานวยความสะดวกแก่ผู้สูงอายุในการดํารงชีวิต
และติดต่อสัมพันธ์กับสังคม กลุ่ม และบุคคล
(1) ดําเนินการประชาสัมพันธ์ให้ผู้สูงอายุทราบถึงอัตราค่าโดยสารของระบบขนส่งสาธารณะ และ
ระบบขนส่งมวลชนต่าง ๆ ที่ลดหย่อนให้แก่ผู้สูงอายุ
(2) ส่งเสริมให้มีการปรับปรุงบริการระบบขนส่งสาธารณะทุกประเภทให้ผู้สูงอายุเข้าถึง และใช้ได้
อย่างสะดวก เหมาะสมกับผู้สูงอายุตลอดระยะเวลาให้บริการ โดยมีการประกาศเกียรติคุณแก่หน่วยงาน
บริการที่มีผลงานดีเด่น
(3) ส่งเสริมให้ภาครัฐและเอกชนที่รับผิดชอบสถานที่สาธารณะปฏิบัติตามมาตรฐานสถานที่สาธารณะ
สําหรับผู้สูงอายุ
(4) จัดสิ่งอํานวยความสะดวกที่ใ ช้ ได้จริงในสถานที่ส าธารณะแก่ผู้สู งอายุ เช่น ถนน ทางเดิน
สาธารณะในเขตชุมชน สะดวก เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
(5) จัดให้มีสวนสาธารณะและพื้นที่ออกกําลังกายที่เพียงพอและเหมาะสมปลอดภัยสําหรับผู้สูงอายุ
4.2 จัดตั้งและพัฒนาบริการทางสุขภาพและทางสังคม รวมทั้งระบบการดูแลผู้สูงอายุในระยะยาวใน
ชุมชนที่สามารถเข้าถึงผู้สูงอายุมากที่สุด โดยเน้นบริการถึงบ้านและมีสอดประสานกันระหว่างบริการทาง
สุขภาพและทางสังคม โดยควรครอบคลุมบริการดังต่อไปนี้
(1) สนับสนุนการดูแลระยะยาว
(2) ระบบประคับประคอง
(3) ดูแลโรคเรื้อรังที่สําคัญ ได้แก่ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และโรคหลอดเลือดในสมอง
(4) อาสาสมัครในชุมชน
(5) สนับสนุนให้ผู้ดูแลมีความรู้ความสามารถในการดูแลผู้สูงอายุ
4.3 ส่ ง เสริ ม ให้ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น องค์ ก รทางศาสนา องค์ ก รเอกชน และองค์ ก ร
สาธารณประโยชน์มีส่วนร่วมในการดูแลจัดสวัสดิการเพื่อผู้สูงอายุ โดยกระบวนการประชาคม
4.4 เกื้ อหนุนให้เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นจัดบริการด้านสุขภาพและสังคมให้แ ก่
ผู้สูงอายุที่สามารถซื้อบริการได้ โดยมีการดูแลและกํากับมาตรฐานและค่าบริการที่เป็นธรรมร่วมด้วย
4.5 รัฐมีระบบและแผนเพื่อการให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุเมื่อเกิดภัยพิบัติ
4.6 ส่งเสริมให้โรงพยาบาลของรัฐ และเอกชนมีบริการแพทย์ทางเลือก
4.7 จัดตั้งคลินิคผู้สูงอายุในโรงพยาบาลของรัฐที่มีจํานวนเตียงตั้งแต่ 120 เตียงขึ้นไป
- 14 -
 
ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการเพื่อการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุอย่างบูรณา
ยุทธศาสตร์ที่ 4
การระดับชาติ และการพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ
มาตรการ 1 การบริหารจัดการเพื่อการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุอย่างบูรณาการระดับชาติ
(1) เสริมสร้างความเข้มแข็งคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ ให้สามารถผลักดันนโยบายและภารกิจที่สําคัญ
ด้านผู้สูงอายุสู่การปฏิบัติ
(2) ให้คณะอนุกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมด้านผู้สูงอายุจังหวัด ในคณะกรรมการส่งเสริมการจัด
สวัสดิการสังคมจังหวัด เป็นเครือข่ายการบริหารและพัฒนาผู้สูงอายุในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
(3) พัฒนาศักยภาพของเครือข่ายในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
(4) คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ วางแผนและดําเนินการให้มีการติดตามประเมินผล แผนผู้สูงอายุ
แห่งชาติ ปรับแผนและแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติที่ทันกําหนดเวลา
มาตรการ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ
(1) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตหรือฝึกอบรมบุคลากรด้านผู้สูงอายุในระดับวิชาชีพอย่างเพียงพอและมี
มาตรฐาน
(2) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตหรือฝึกอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ อย่างเพียงพอ และมีมาตรฐาน
(3) กําหนดแผนการผลิตบุคลากรด้านผู้สูงอายุให้เหมาะสมและเพียงพอต่อความต้องการของประเทศ และ
ดําเนินการติดตามอย่างต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ด้านการประมวล พัฒนา และเผยแพร่องค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุ และ
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การติดตามประเมินผลการดําเนินการตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ
มาตรการ 1 สนับสนุนและส่งเสริมการวิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุสําหรับการกําหนด
นโยบาย และการพัฒนาการบริการหรือการดําเนินการที่เป็นประโยชน์แก่ผู้สูงอายุ
มาตรการ 2 ดําเนินการให้มีการติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติที่มี
มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง
มาตรการ 3 พัฒนาระบบข้อมูลทางด้านผู้สูงอายุให้ถูกต้องและทันสมัย โดยมีระบบฐานข้อมูลที่
สําคัญด้านผู้สูงอายุที่ง่ายต่อการเข้าถึงและสืบค้น
- 15 -
 
สถานนการณการเคลื่อนไหหวและการสสนับสนุนการทํ
ก างานดานผูสูงออายุไทย
¾ โครงงสรางและกกลไกการเคลืลื่อนไหวเกียวกั ย
่ บผูสูงอายุอ
การเคลื่อนไหวและการ
น รทํางานผู้สูงอายุมีพัฒนากาารอย่างต่อเนื่อง โครงสร้าางและกลไกกาารเคลื่อนไหวว
เกี่ยวกกับผู้สูงอายุ แบ่
แ งเป็น ระดัดับส่วนกลาง และระดับพืนที ้น ่
ระดับส่วนกลาง
น หน่วยงานด้
ย านผู้สูงอายุ ง ระดับชาาติ ประกอบด้วย สํานักสส่งเสริมและพิทัทกษ์ผู้สูงอายุยุ
(สทสส.) กระทรว งพั ฒ นาสั ง ค มและความมมั่ น คงของมนนุ ษ ย์ และสถถาบั น เวชศา สตร์ ผู้ สู ง อายยุ กระทรวงง
สาธารรณสุข เป็นหน่ ห วยงานหลัก
โ ด ย ททํ า ง า น ภ า ย ใ ต้ ก ล ไ ก
“ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ผู้ สู ง อ า ยุ
แห่งชาติ” และเชชื่อมโยงไปยัง
กลไก จังหวัด คือ “สํานักงานน
พั ฒ นนาสั ง คมและ ความมั่ น คงง
ของมนุษย์จังหวัด” (พมจ.))
ร ะ ย ะ ที่ ผ่ า น ม า ก า ร ใ ห้
ความมสํ า คั ญ จากฝ่ฝายการเมื อ ง
และคคณะกรรมกการผู้ สู ง อายุยุ
แห่งชาติค่อนข้างน้อย ส่งผลต่อ
ความสําเร็จของงาานผู้สูงอายุใน
ภาพรรวม และยังขาดการบูรณาา
การ ขาดความต่อเนื อ ่อง และขาดประสิทธิภาพงานผู้สูงอาายุใน ภาพรววม นอกจากกนี้ หน่วยงานนส่วนราชการร
หลายยแห่งยังมีบทบบาทสนับสนุนสวั น สดิการและสุขภาพผู้สงอายุ ูง ตัวอย่างเช่
า น กรมส่งงเสริมการปกกครองท้องถิ่น
กระททรวงมหาดไทย (ด้านจ่ายเบี้ยยังชีพให้ผูผู้สูงอายุ และะบริการสถานนสงเคราะห์คคนชรา), กรมอนามัย
กระททรวงสาธารณ ณสุข (ด้านส่ส่ งเสริม สุข ภาาพและคุณ ภาาพชีวิต และะส่งเสริม / สสนับ สนุนชมรรมผู้สูงอายุ) ,
สถาบับันเวชศาสตร์ผูผ้สูงอายุ กรมมการแพทย์ (ด้านเวชศาสสตร์ผู้สูงอายุ) กรุงเทพมหาานคร (ด้านส่ น งเสริมและะ
บริการทางสั
า งคมสําหรับผู้สูงอายยุ), สถาบับันพัฒนาองค์กรชุมชน (สนับสนุนกองททุนสวัสดิการชชุมชนสําหรับ
อ ) และยังมี กระทรวงมมหาดไทย กระทรวงคมนาคม ฯลฯ (ดด้านบริการสาาธารณะและนันทนาการ))
ผู้สูงอายุ
ด้วย
ระดับพื้นที่ ผู้สูงอายุในทุ
ใ กพื้นที่ทั่วประเทศไท
ว ย มีการรวมมตัวและพัฒนนางานผู้สูงอาายุในรูปแบบบ
เครือข่ขายและชมรมมผู้สูงอายุ บาางแห่งจัดเป็นรูปแบบองค์กรสาธารณปร
ก ะโยชน์ (สมาาคมหรือมูลนิธิธิ) ในปี พ.ศ..
25544 สมาคมสภาาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย
ง รายงานว่า ทั่วประเทศมีมีชมรมผู้สูงอาายุจํานวนทั้งหมดห 23,0400
ชมรมม เป็นการรวมมตัวและศูนย์กลางของผู้สูงอายุ ง และมีการพัฒนาตนนเองและสังคมมร่วมกัน ชมมรมผู้สูงอายุมีมี
คณะกกรรมการบริหารงานชมรม
ห ม มีการจัดกิจกรรมสํ
จ าหรับสมาชิ
บ กหลายด้าน ได้แก่ ด้านสุขภาพพ ด้านอาชีพ
ด้านเยี่ยมสมาชิก ด้านประเพณีวัฒนธรรม งานชมรมผูผู้สูงอายุยังมีปัปัญหาหลายดด้าน มีด้านบบริหาร ด้าน
บุคลาากรที่มีความรูรู้ความสามารถถเกี่ยวกับงานนผู้สูงอายุ ด้านสถานที
า ่และะวัสดุอุปกรณ์
ณ์ และยังมีความจํ
ว ากัดด้าน
- 16 -
 
นโยบบายและการปประสานงานระะหว่างกลไกสส่วนกลาง (คคณะกรรมการรผู้สูงอายุแห่งงชาติ) และชชมรมผู้สูงอายุยุ
ด้วย นอกจากนี้ ระดับพื้นที่ทุกตําบล / เทศบาลยังมีกลไกขององค์ ล กรปกครองท้อองถิ่น ซึ่งมีบทบาทใกล้
ท ชิด
ประชชาชน และมีภารกิจดูแลคคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในทุกพื ก ้นที่ อย่างไรก็
ง ตาม องงค์กรปกครองงส่วนท้องถิ่น
(อบต. / เทศบาล) ยังให้ความสสนใจต่อคุณภาาพชีวิตผู้สูงอาายุค่อนข้างน้อย อ ประเด็นที่ทํางานต่อเนือง ่ คือ การร
จัดสวัวัสดิการด้านเเบี้ยยังชีพ และ อบต./เททศบาล ยังขาดข้อมูลพื้นฐานเกี ฐ ่ยวกับผู้สูงอายุ เช่น รายได้ การร
พึ่งพาา การดูแลแลละภาระสุขภาาพ เป็นต้น และยั แ งคงขาดดบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถด้านผู้สูงอายุที่จะ
ทํางานนได้อย่างต่อเนื่อง
¾ การสสนับสนุนกาารทํางานดานผูสูงอายุ
ปัจจุบัน การสนับสนุนและส่น งเสริมคุ ม ณภาพชีวิตและสุ
ต ขภาพผู้สูงอายุมีหลลายมิติ ทั้งจากหน่วยงานน
ภาครัรัฐ และองค์กรเอกชนสาธาารณประโยชน์น์ที่สําคัญ คือ
(1) กระททรวงการพัฒนาและความม
น มั่นคงของมนุนุษย์ มีหน่วยงานรับผิดชอบ คือ สํานักส่ ก งเสริมและะ
พิ ทั ก ษ์ษ ผู้ สู ง อายุ สนั
ส บ สนุ น แลละมี ภ ารกิ จ ส นั บ สนุ น งาน ผู้ สู ง อายุ ภ ายใต้ พ.ร.บบ. ผู้ สู ง อายุ พ.ศ. 25466
ประกกอบด้วย ส่งเสสริมคุณภาพชีชีวิตผู้สูงอายุ สนับสนุนให้มีมอี าสาสมัครดดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) การรจัดสวัสดิการร
สังคมม และการดูแลช่ แ วยเหลือผูสูส้ งอายุที่ด้อยโโอกาส
(2) กระททรวงสาธารณ ณสุข รับผิดชออบโดย กรมออนามัย, สถาาบันเวชศาสตตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ย์
และกกรมสุขภาพจิต มีการสนับสนุ บ นการดูแลและบริล การดด้านสุขภาพผู้สูงอายุ ส่งเสสริมสุขภาพผู้สูงอายุ และะ
สนับสนุส นชมรมผู้สูงอายุ ง การสนันับสนุนการดูแลสุ แ ขภาพจิต
(3) กระททรวงมหาดไทย รับผิดชอบบโดย กรมส่งเสริ ง มการปกคครองท้องถิ่น มีการสนับสนนุนเงินเบี้ยยัง
ชีพผู้สูสูงอายุ สถานนสงเคราะห์ / สถานบริการรดูแลผู้สูงอายุ และบริการสสาธารณะ
นอกจากนนี้ ยั ง มี ห น่ ว ยงานรั ฐ อื่ น คื อ กระทรรวงคมนาคมม กระทรวง ทรั พ ยากรธรรรมชาติ แ ละะ
สิ่งแวดล้อม และกกระทรวงการท่องเที่ยวและะกีฬา ร่วมกัันมีบริการสาธธารณะและนันันทนาการสําหรั า บผู้สูงอายุยุ
และยัยังมีองค์กรสาธธารณประโยชชน์ ได้แก่ สมาคมสภาผูสู้สูงอายุแห่งประะเทศไทย, สสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนน
และมูมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู น ้สูงอายุ โดดย (มส.ผส.)) มีการสนับสนุ ส นด้านนโยบบายผู้สูงอายุ และส่งเสริม
งานผู้สูงอายุ
- 17 -
 

บทที่ 3
ภูมป
ิ ญญาพืน้ บานดานสุขภาพเพือ่ สุขภาวะผูส งู อายุ

แนวคิดการเรียนรูและพัฒนาศักยภาพดานภูมิปญญาพื้นบานดานสุขภาพเพื่อผูสูงอายุ
¾ ภูมิปญญาไทยกับผูสูงอายุ
เมื่อกล่าวถึงคุณค่าของผู้สูงอายุทั้งเขตเมืองและเขตชนบท คุณค่าและประสบการณ์ของผู้สูงอายุ ใน
ด้านภูมิปัญญาไทยมีความโดดเด่น หลากหลายและมีความเป็นอัตลักษณ์ของท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย หมายถึง
ความรู้ ความเชื่อ และความสามารถของมนุษย์ที่มีการเรียนรู้ กลั่นกรอง ปรุงแต่ง สะสมและสืบทอดใน
สังคมมนุษย์มาเป็นเวลายาวนาน อันเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์และสร้างความสมดุลระหว่างมนุษย์กับมนุษย์
มนุษย์กับธรรมชาติ และมนุษย์กับสิ่งเหนือธรรมชาติ ในสังคมไทยอาจมีชื่อเรียก ทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิ
ปัญญาพื้นบ้านหรือภูมิปัญญาชาวบ้าน ประกอบด้วยหลายด้าน เช่น ด้านประเพณี ด้านความเชื่อและ
พิธีกรรม ด้านศิลปะพื้นบ้าน ด้านอาหารพื้นบ้าน ด้านสมุนไพรพื้นบ้าน ด้านเกษตรพื้นบ้าน เป็นต้น ภูมิ
ปั ญ ญาไทยเหล่ า นี้ มั ก จะสะสมอยู่ ใ นบุ ค คลที่ เ ป็ น ผู้ รู้ ห รื อ ปราชญ์ ช าวบ้ า น ส่ ว นใหญ่ มั ก เป็ น ผู้ สู ง อายุ ที่ มี
ประสบการณ์ใช้ภูมิปัญญาเหล่านี้ เป็นประโยชน์อยู่ในชุมชนนั้นมายาวนาน
หน่วยงานภาครัฐที่มีภารกิจ และมีการเคลื่อนไหวเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยในผู้สูงอายุ มี 2 หน่วยงาน คือ
(1) สํานักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มี
ภารกิจคุ้มครองและส่งเสริมกิจกรรมของผู้สูงอายุ และมีความตระหนักว่าภาคชนบทมีผู้สูงอายุที่มีภูมิปัญญา
ไทยอยู่เป็นจํานวนมาก จึงดําเนินงาน “โครงการคลังปัญญาผู้สูงอายุ” เริ่มงานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 มี
วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการนําศักยภาพด้านความรู้ ทักษะ ความชํานาญ และภูมิปัญญาของผู้สูงอายุมา
ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม ด้วยการถ่ายทอดภูมิปัญญาให้แก่ผู้สนใจ อันส่งผลต่อการสืบสานของ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น และก่อให้เกิดความภาคภูมิใจในคุณค่าตนเองของผู้สูงอายุ อีกทั้งยังส่งเสริมการพัฒนา
ตนเองและการมีส่วนร่วมทางสังคมของผู้สูงอายุด้วย โดยมีการรวบรวมภูมิปัญญาผู้สูงอายุ 23 สาขา เช่น
ด้านพัฒนาสังคม ด้านสาธารณสุข/การแพทย์ ด้านเกษตรกรรม ด้านอาชีพ ด้านศิลปหัตถกรรม ด้าน
ศาสนา ด้านวัฒนธรรม ด้านภูมิศาสตร์/ประวัติศาสตร์ เป็นต้น และจัดระบบขึ้นทะเบียนกลางของพื้นที่ อัน
จะนําไปสู่การถ่ายทอด อนุรักษ์ และฟื้นฟูความชํานาญสู่คนรุ่นต่อไป
(2) กระทรวงวัฒนธรรม มีการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยจากแต่ละภูมิภาค โดยผ่าน
สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัด และจัดทําเป็น “ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม” เป็นเว็บไซต์ชุมชน สําหรับ
รวบรวมข้อมูลทางวัฒนธรรมของชาติ มีรายละเอียดข้อมูลบุคคลหรือองค์กรที่มีภูมิปัญญา ในจํานวนนี้มีด้านที่
เกี่ยวข้องกับสุขภาพ เช่น หมอรักษางูกัด / เริม ด้วยยาสมุนไพรพื้นบ้าน ลูกประคบสมุนไพร พิธีกรรมผีฟ้า
รักษาโรค เป็นต้น นอกจากนี้ยังมี กรมส่งเสริมวัฒนธรรม มีกิจกรรมการศึกษาค้นคว้า อนุรักษ์ ส่งเสริม
เผยแพร่ และพัฒนาวัฒนธรรม ในปี พ.ศ. 2548 – 2552 กรมส่งเสริมวัฒนธรรมมีการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล
และจัดทําฐานข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมจํานวนหลายร้อยเรื่อง และในอนาคตจะมีการปกป้อง
คุ้มครองมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมต่อไป
- 18 -
 
กล่าวโดยสรุปได้ว่า ผู้สูงอายุนับเป็นบุคคลที่มีคุณค่าและศักยภาพด้านภูมิปัญญาไทย เป็นบุคคลที่
สะสม ใช้ประโยชน์ และถ่ายทอดภูมิปัญญาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในชนบท และมีหน่วยงานภาครัฐ 2
หน่วยงานที่ใ ห้ความสํ าคัญ คื อ กระทรวงการพั ฒนาสั งคมและความมั่นคงของมนุ ษ ย์ และ กระทรวง
วัฒนธรรม มีการศึกษาและรวบรวมขึ้นทะเบียนภูมิปัญญาไทย และเผยแพร่สู่สาธารณะ อย่างไรก็ตาม
บทบาทอื่น เช่น การพัฒนา การต่อยอด หรือการสืบทอดอย่างเป็นระบบยังไม่มีความชัดเจนมากนัก

ภูมิปญญาพื้นบานดานสุขภาพเพื่อสุขภาพผูสูงอายุ
ความหมายและลักษณะของภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ
สังคมไทยมีแนวคิดเรียนรู้และประยุกต์ให้วัฒนธรรมที่เป็นรากฐานเดิมของชุมชนมาราวสามทศวรรษ
เรียกกันทั่วไปว่า “ภูมิปัญญาพื้นบ้าน” หรือ “ภูมิปัญญาชาวบ้าน” ภูมิปัญญาพื้นบ้าน เป็นศาสตร์และศิลป์
ที่ตกผลึกจากการสังเกต ทดลองใช้ คัดเลือก ดัดแปลง กลั่นกรอง สะสม และสืบทอดจากคนรุ่นก่อนสู่คน
รุ่ น หลั ง ภายใต้ บ ริ บ ททางสั ง คม วั ฒ นธรรม และระบบนิ เ วศน์ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงให้ เ ข้ า กั บ ยุ ค สมั ย
กลายเป็นสิ่งสะท้ อนระบบคิ ด ความเชื่อ และแบบแผนปฏิบัติที่เรี ยบง่าย ใช้ประโยชน์พึ่งตนเองได้ และ
เหมาะสมกับท้องถิ่นนั้น
สําหรับภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ นับเป็นส่วนย่อยของภูมิปัญญาไทย หรือภูมิปัญญาพื้นบ้าน
เป็นวัฒนธรรมการดูแลสุขภาพของประชาชน เป็นระบบคิด ความเชื่อและแบบแผนปฏิบัติ เพื่อดูแลชีวิตและ
สุขภาพ ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพมีการก่อรูป ใช้ประโยชน์ ปรับเปลี่ยน และถ่ายทอด ภายใต้บริบท
วัฒนธรรมและระบบนิเวศน์ เป็นภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ อาจจําแนกลักษณะภูมิปัญญาพื้นบ้านด้าน
สุขภาพ เป็น 2 ด้าน คือ
(1) ภูมิปัญญาพื้นบ้านเพื่อการสร้างเสริมและดูแลสุขภาพ (Indigenous Health) เป็นระบบคิด
ความรู้ และแนวทางปฏิบัติการ เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ และดูแลสุขภาพให้ดําเนินได้อย่างปกติ และสมดุล
ความรู้เหล่านี้มีขอบเขตกว้างขวางและมีการศึกษาใช้ประโยชน์อย่างต่อเนื่องในภาคประชาชน นอกจากนี้
ยังมีการนําความรู้และเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์มาศึกษาต่อยอด เพื่อให้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความชัดเจน
และใช้ประโยชน์ได้กว้างขวางมากขึ้น ตัวอย่างเช่น ภูมิปัญญาด้านผักพื้นบ้าน อาหารพื้นบ้าน การบํารุง
ร่างกาย การดูแลจิตใจด้วยหลักศาสนา พิธีกรรมของท้องถิ่น การนวด ยาสมุนไพรพื้นบ้าน เป็นต้น
(2) ภูมิปัญญาพื้นบ้านเพื่อการรักษาโรคและฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายแบบพื้นบ้าน หรือการแพทย์
พื้นบ้าน (Indigenous Medicine หรือ Folk Medicine) เป็นองค์ความรู้และวิถีปฏิบัติเพื่อการดูแลรักษา
โรค และฟื้นฟูสุขภาพของท้องถิ่น เป็นภูมิปัญญาที่สะสม เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ และสืบทอดในชุมชน มี
ปฏิสัมพันธ์กับสังคมวัฒนธรรมและระบบนิเวศน์แวดล้อม อีกทั้งมีการผสมผสานกับการแพทย์อื่นอยู่ตลอดเวลา
เช่น การแพทย์แผนปัจจุบัน การแพทย์แผนไทย เป็นต้น
“หมอพื้นบาน (Folk Healer)” เป็นผู้ปฏิบัติการสําคัญของการแพทย์พื้นบ้าน การเรียนรู้
การแพทย์พื้นบ้าน สามารถทําได้โดยการศึกษาหมอพื้นบ้าน ภายใต้บริบทการรักษาโรคและบริบทของชุมชน
การแพทย์ พื้นบ้ า นสามารถจํ า แนกได้ 2 ประเภทย่ อย คือ (1) การแพทย์พื้ นบ้ า นแบบประสบการณ์
(Secular Subsector) เป็นภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านที่สะสมและสืบทอดผ่านประสบการณ์ตรง เช่น
- 19 -
 
การนนวด การใช้สมุ ส นไพร การรักษากระดูดูกแบบพื้นบ้าน า เป็นต้น (2) การแพพทย์พื้นบ้านแแบบพิธีกรรมม
และศศาสนธรรม เป็ เ น ภูมิปัญญาการแพทยย์พื้นบ้านที่เรียนรู้และปฏิบับติอยู่บนฐานนระบบคิดขอองศาสนธรรมม
และคความเชื่อเฉพพาะบรรพชนน
หรือชชาติพันธุ์ เช่น การรักษาา
โรคด้ด้ ว ยพิ ธี ก รรมมผี ฟ้ า การร
รั ก ษษาโรคผ่ า นคคนทรงหรื อ
วิญญ ญาณศักดิ์สิทธิ์ การใช้คาถาา
หรื อ เเวทมนต์ ใ นกการรั ก ษาโรคค
เป็ น ตต้ น อย่ า งไ รก็ ต าม ในน
หลายยกรณี ห มอพืพื้ น บ้ า นอาจมีมี
การผผสมผสานวิธีการรั ก กษาโรคค
ประ กอบกั น เพืพื่ อ ให้ ผู้ ป่ ว ย
บรรเททาหรือได้รับการดู
ก แลรักษาาโรคทั้งด้านร่างกายและจิ
า ตใจ

ธรรมชาติติและการเรียนรู น ้ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสสุขภาพ
การศึกษาและฟื้นฟูภูมิปัปญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพพ สําหรับบุคลากรสาธารณ ณสุข หรือนักพั ก ฒนาชุมชนน
ที่ต้องการนํ
ง าเอาภูมิปัญญามาใชช้ประโยชน์ต่อเนื อ ่อง จําเป็ปนต้องเรียนรู้จากผู้รู้ ปราชญ์ชาวบ้าน หรือ หมออ
พื้นบ้านที
า ่มีความรู้เฉพาะในเรื่องนั้น การทําความรูา ้จักแลละเรียนรู้จากปปราชญ์ชาวบ้้าน หรือหมออพื้นบ้านควรร
เป็นไปปด้วยความเคคารพผู้ที่มีภูมิมิปัญญาพื้นบ้้าน ไม่ควรมีมีลักษณะหลออกลวงหรือฉกกฉวยผลประโโยชน์จากภูมิมิ
ปัญญาเหล่
ญ านั้น เนืนื่องจากสังคมมทุนนิยมความมคิดที่มีการเออาเปรียบและมีการเรียนรู้ภภููมิปัญญาดั้งเดดิมของชุมชนน
และนํนํามาใช้ประโยยชน์เสมือนเป็ป็นของตนเองอยู่ตลอดเวลา ดังนั้น ในนเบื้องต้นผู้เรียยนควรตั้งคําถามกั ถ บตนเองง
ว่า “การศึกษาแลละเรียนรู้ภูมิปัญญาเป็นไปเพพื่อใคร ? และเพื แ ่ออะไร ? เพื่อวางเเป้าหมายของการเรียนรู้ให้
ชัดเจนน และให้เจ้าของความรู
า ้ คือ ปราชญ์ชาวบ้าน หรืรอหมอพื้นบ้าน มีส่วนร่วมมในการตัดสินใจเพื ใ ่อการให้ห้
ข้อมูล ที่ชัดเจน
เ และการรนําข้อมูลภูมิมิปัญญาไปใช้ประโยชน์ป หรือต่
อ อยอดให้สมบูรณ์ในอนาาคต สําหรับ
เป้าหมายของการเเรียนรู้และพัฒนาภู ฒ มิปัญญาพืญ ้นบ้านด้านสุ น ขภาพ อาาจจําแนกได้ 3 ด้าน คือ (1) เพื่อให้ห้
ชุมชนนเรียนรู้ เชื่อมโยงและแลก
ม กเปลี่ยนความมรู้ของตนเอง และนํามาแก้ไขปัญหาด้าานสุขภาพชุมชน ช (2) เพื่อ
สร้างแนวคิดและอองค์ความรู้ของภู อ มิปัญญาด้ด้านสุขภาพ ให้เป็นระบบแและอาจต่อยออดเป็นการสร้ร้างนวัตกรรมม
หรือผลิ
ผ ตภัณฑ์สุขภาพต่
ภ อไป และ แ (3) เพื่อสร้
อ างและพัฒนามาตรฐา
ฒ นความรู้ แนนวปฏิบัติ แลละส่งเสริมภูมิมิ
ปัญญาพื
ญ ้นบ้านด้านสุ น ขภาพเพื่อประยุ
ป กต์ใช้ประโยชน์
ร ในวงกกว้างต่อไป
นอกจากนีนี้ ผู้เรียนรู้ควรเข้
ว าใจว่า ความรู
ค ้ที่เป็นภูมิปัญญาพื้นบ้บานด้านสุขภภาพ เป็น “อองค์ความรู้ใน
บริบทสั
ท งคมและสิ่งแวดล้
ง อม” ซึ่งได้รับการส่งผ่านความมรู้ ทักษะ และความเชี
แ ่ยววชาญมาเป็นเวลายาวนานน
ความมรู้มีความเป็นพลวัต คือเปปลี่ยนแปลงตลลอดเวลา ผู้เรี เ ยนรู้ต้องเข้าใจถึ
า งธรรมชาาติความรู้ที่ฝังลึ ง กหรือซ่อน
เร้นอยยู่ในตัวหมอพื้นบ้าน / ผู้รู้ (Tacit Knnowledge) ดังนั้น การศึกษาหรือเรียยนรู้ภูมิปัญญาาพื้นบ้านด้าน
สุขภาาพ ควรมีกระะบวนการเรียนรู ย ้แบบปฏิสัสัมพันธ์ และเรียนรู้อย่างไมม่เป็นทางการร วิธีการอาจจเป็นแบบเล่า
เรื่อง การสนทนาา การสาธิตหรือการปฏิบับติจากของจจริง / เรื่องจริริง ผสมผสาานกัน อาจใชช้ศาสตร์ของง
- 20 -
 
มานุษยวิทยาการแพทย์ หรือ มานุษยวิทยาสุขภาพ (Medicine Anthropology หรือ Health
Anthropology) จะมีความเหมาะสม ซึ่งการเรียนรู้ลักษณะนี้จําเป็นต้องอาศัยความสัมพันธ์ที่ดี และอาศัย
ระยะเวลานานช่วงหนึ่ง
แนวคิดและกระบวนการพัฒนาภูมิปญญาพื้นบานดานสุขภาพ
(1) การจัดการความรู้ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ
ปัจจุบันการจัดการความรู้ (Knowledge Management) เป็นแนวปฏิบัติที่องค์กรร่วมสมัยนํามาใช้
ประโยชน์อย่างกว้างขวาง เนื่องจากสถานะความรู้ในโลกปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และยังมี
ความรู้ที่ยังแฝงในคนและในระบบงานปกติอยู่จํานวนมาก ดังนั้น การจัดการความรู้จึงเป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุ
เป้าหมายการพัฒนาคนและการพัฒนางาน อันนําไปสู่องค์กรการเรียนรู้สําหรับการจัดการความรู้ภูมิปัญญา
พื้นบ้านด้านสุขภาพ อาจมีกระบวนการทํางาน 5 ขั้นตอน ดังนี้
™ การกําหนด “ประเด็นความรู้” ที่เป็นหลักหรือสําคัญ กําหนดขอบเขตอาจทําโดย “สร้างแผนที่
ความรู้” (Knowledge Mapping) ทําให้เห็นประเด็นหลักและประเด็นย่อยทั้งหมด ทบทวนว่า
ความรู้นั้นประกอบด้วยอะไรบ้าง ? และจะหาความรู้ได้จากแหล่งใด ? ประเด็นสําหรับองค์กร / กลุ่ม
ที่กําลังทํางานอยู่
™ การเสาะหาและแสวงหาความรู้ที่ต้องการ คือ กระบวนการศึกษาและเรียนรู้ความรู้นั้นจะได้จาก
ใคร ? (กําหนดบุคคล/จํานวนของผู้รู้ หรือหมอพื้นบ้าน หรือผู้ที่มีประสบการณ์ใช้ประโยชน์จากภูมิ
ปัญญานั้น) และกระบวนการหาความรู้จะทําอย่างไรบ้าง ? อาจเป็นการวิจัย การสนทนากลุ่ม การ
เล่าเรื่อง หรือหลายวิธีการผสมผสานกัน
™ การสร้าง ประมวล กลั่นกรอง และตีความองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ กระบวนการนี้จําเป็นต้อง
ทํางานเป็นกลุ่ม และเป็นหมู่คณะที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น เพื่อให้ได้เป็น “ชุดความรู้” ที่เป็นระบบ
น่าเชื่อถือ และมีประโยชน์ในการใช้งานจริง สามารถจัดเวทีตามประเด็นความรู้ที่ต้องการให้มีการ
แลกเปลี่ยน ตีความและประเมินคุณค่าความรู้นั้นจากภาคีที่เกี่ยวข้องอย่างกว้างขวางจริงจัง
™ การประยุกต์ใช้ความรู้และถ่ายทอดความรู้สู่กลุ่มคน หรือองค์กรที่ต้องการใช้ความรู้นั้นในงานต่อไป
อาจจําเป็นต้องวิเคราะห์ถึงขอบเขตความรู้ กระบวนการถ่ายทอด / เผยแพร่สู่การใช้ประโยชน์วง
กว้าง กลุ่มเป้าหมายและกระบวนการแลกเปลี่ยนเพื่อการเรียนรู้ต่อเนื่อง
™ การประเมินและถอดเป็นบทเรียน หรือบันทึกเป็น “แก่นความรู้” เพื่อให้ได้ชุดความรู้ที่ตกผลึก
ครบถ้วนและลุ่มลึก อันผ่านจากการปฏิบัติงาน และเหมาะสมกับการใช้งานมากยิ่งขึ้น
สําหรับโครงการฯนี้ เป็นการให้ความสําคัญกับภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพเพื่อสุขภาพผู้สูงอายุ
ดังนั้น ประเด็นหลักคือ “ภูมิปัญญาด้านสุขภาพผู้สูงอายุ” และสามารถดําเนินงานตามขั้นตอนทั้ง 5
ขั้นตอน ซึ่งแนวคิดและบทเรียนการจัดการความรู้ภูมิปัญญาด้านสุขภาพจะมีตัวอย่างในเนื้อหา บทที่ 4
(2) การส่งเสริมและการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ
ปัจจุบัน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โดย สํานักการแพทย์พื้นบ้านไทย
มี ก ารศึก ษาและพั ฒ นาภู มิ ปัญ ญาพื้น บ้ า นด้ า นสุ ข ภาพอย่ า งต่อ เนื่ อ ง ประกอบด้ ว ยประเด็ น ผั กพื้ นบ้ า น
- 21 -
 
ไ ้นบ้าน การแพทย์ พืพ้ืนบ้าน ทั้งนี้โดยร่วมมือกับองค์กรแลละเครือข่ายดด้านสุขภาพใในภูมิภาคทั่ว
สมุนไพรพื
ประเททศ นอกจากกนี้ ยังมีแนวคิคิดและรูปแบบบการพัฒนาแและใช้ประโยชชน์จากภูมิปญ ัญญาพื้นบ้านด้านสุ
า ขภาพ 2
แบบแแผน คือ กาารใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาพื้นบ้านด้้านสุขภาพในนชุมชน และ การใช้ประโโยชน์จากภูมิมิ
ปัญญาพื
ญ ้นบ้านด้านสุน ขภาพในระะบบสุขภาพ โดยเฉพาะระะบบสุขภาพปฐมภูมิ ระหวว่างปี พ.ศ. 25551 – 25566
สํานักการแพทย์
ก พนบ้
นื้ านไทย มีการส่งเสริมและพั แ ฒนาการรใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์พืพ้นื บ้านในการร
ดูแลแแม่และเด็ก สมุ
ส นไพรและออาหารพื้นบ้าน การรักษาผูผู้ป่วยกระดูกหัหก การรักษาสัตว์พิษกัดและงู แ กัด การร
รักษาาโรคมะเร็ง การรักษากลุ่มอาการอั อ มพฤกกษ์ – อัมพาตต
กระบวนกการส่งเสริมและการใช้
แ ประโยชน์จากการแพทย์พื้นบ้บาน เป็นกาารทํางานร่วมกั ม น 4 ภาคีคี
องค์กรเอกชนสาธา
ก ารณประโยชน์น์ (มูลนิธิสุขภาพไทย)
ภ คือ ภาคีภาคชุมชน
ม ภาคีภาคครัฐ (องค์กรปกครองส่
ร วน
ท้องถิถิ่น โรงพยาบาลชุมชน หรืรือโรงพยาบาลลส่งเสริมสุขภาพตําบล) และภาคีภาครััฐส่วนกลาง มีรูปแบบการร
ทํางานและพัฒนาาแบบมีส่วนร่วม ประกอบบด้วยขั้นตอนนหลัก 3 ขั้นตอน น คือ (1) ศึกษาแและเรียนรู้กับ
หมอพืพื้นบ้านและกการแพทย์พื้นบ้บานเฉพาะปรระเด็น พร้อมกั ม บสร้างควาามสัมพันธ์แลละก่อรูปการทํทํางานร่วมกัน
ระหว่ว่างหมอพื้นบ้านและบุ
า คลากรทางการแพพทย์และสุขภาพในพืภ ้นที่ (2) พัฒนากกระบวนการทํทํางานร่วมกัน
ระหว่ว่างหมอพื้นบ้าน า / ผู้รู้ด้านภภูมิปัญญาด้านสุ
น ขภาพ โดดยการส่งเสริมการรั
ม กษาโรรคในสถานพยยาบาลของรัฐ
หรือในชุมชน และะเก็บข้อมูลผู้ป่วยเพื่อประเมินและปรับปรุงกระบวนนการรักษาโรคคด้วยภูมิปัญญาการแพทย์ ญ ย์
พื้นบ้าน
า (3) ประะเมินผลและสสรุปบทเรียนกการจัดการควาามรู้และพัฒนากระบวนกา น ารรักษาโรคด้้วยการแพทย์ย์
พื้นบ้าน

(3) การสืสืบทอดภูมิปญญาพื

ั ้นบ้านด้
น านสุขภาพ
จากการททบทวนวรรณกรรม พบว่า การสืบทออดภูมิปัญญาพืพื้นบ้านด้านสสุขภาพไปสู่คนรุ่นใหม่ยังมี
ความมจํากัด อย่างไรก็
ง ตาม หมมอพื้นบ้านที่มีความชํานาญ ญและมีชื่อเสียงเป็
ย นที่รู้จักในนและนอกชุมชน
ม มักมีลูก
ศิษย์มาเรี
ม ยนวิชาอยยู่บ้าง แต่จํานวนไม่น มากนัก และขณะนีนีม้ ีแพทย์แผนไไทยรุ่นใหม่มีคความตั้งใจและได้เรียนวิชา
จากหหมอพื้นบ้านบบางพื้นที่ ซึ่งสํสานักการแพพทย์พื้นบ้านไททย มีความสสนใจปรากฎกการณ์ดังกล่าว และกําลัง
พัฒนาเป็นโครงการรเฉพาะในอนนาคต
- 22 -
 
ภูมิปปญญาพื้นบานเพื่อการดูดูแลสุขภาพ พกายของผูสูสงู อายุ
¾ ผักพื้นบานและอาาหารพื้นบาน
ภาวะสุ ข ภาพของผู
ภ ้ สู งอายุ
ง ทั้ ง ชายแและหญิ ง มีปั ญ หาทุ พ โภภชนาการ สสาเหตุ สํ า คั ญ มาจากได้
ม รั บ
สารออาหารไม่ครบถ้วน และรับประทานผั บ ก
กและผลไม้ น้อยกว่
อ ามาตรฐฐานที่แนะนํา นั่นคือ ปรระมาณวันละะ
400 – 500 กรัม/คน/วั / น ซึ่งสอดคล้ ส องกับการสํ
ก ารวจการรบริโภคอาหาารของคนไทยย ปี พ.ศ. 25548 รายงานน
ว่า คนไทยอายุ
ค ระหว่
ะ าง 15 – 75 ปี บริ บ โภคผักและะผลไม้เฉลี่ยจํานวน 276 กรัม/คน/วัน นอกจากนีนี้
อ ยังมีภาวะเสื่อมของร่างกายและมีปัญหาโรคเรื
ผู้สูงอายุ ญ ้อรัง เช่น ความมดันโลหิตสูง โรคเบาหวานน โรคมะเร็ง
เป็นต้น ดังนั้น การส่งเสริมให้ ม ผู้สูงอายุบริ
บ โภคผักพื้นบ้บานและผลไมม้ท้องถิ่นจึงเป็ป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์
ป และะ
สอดคคล้องกับภาวะะสุขภาพของผูผู้สูงอายุ
ผักพื้นบ้าน หมายถึง พรรณพืชหรือไม้ อ ที่เจริญเติบโตในธรรมช
บ ชาติ เป็นภูมิปปััญญาที่ชาวบ้บ้านรู้จัก เก็บ
หาแลละนํามาปรุงเป็ป็นอาหารพื้นบ้ น านตามวัฒนธรรมบริ
น โภคคของท้องถิ่น ผักพื้นบ้านมัมักเกิดตามแหหล่งธรรมชาติติ
และหหลายพันธุ์เป็นทีน ่นิยม ก็จะพพบว่ามีการปลลูกและจําหน่ายในตลาดท้องถิ อ ่น จากการศึกษาพบว่ว่า ผักพื้นบ้าน
ไทยมีมีจํานวน 2000 – 300 ชนินิด คนท้องถิ่นจะนิยมบริโภคผักพื้นบ้านตามฤดู น กาลแและตามภาวะะสุขภาพ ผัก
า นแหล่งที่อุดมด้วยสารอาหารที่จําเป็นต่อร่างกาาย ร่างกายจะเจริญเติบโตตและทํางานไได้อย่างสมดุล
พื้นบ้านเป็
เมื่อร่างกายได้รับสารอาหาร
ส ทั้ง “มหธาตตุอาหาร (Macronutriennts)” และ “จุลธาตุอาหารร
(Micrronutrients) นอกจากนี้ในผั น กพื้นบ้านยัยังมีเส้นใย แลละ “สารผักหรืห อสารพฤกษษเคมี” (Phyytonutrientss
หรือ Bioactive Phytonutrieents) ที่ถูกค้้นพบมากกว่า 10,000 ชนิ ช ด สารเหล่านี้มีคุณสมบััติป้องกันและะ
ลดคววามเสี่ ย งโรค เรื้อ รัง เช่ น โรคมะเร็ง โรคอ้ วน โรคเบาหวาน โ น โรคหัว ใจแและหลอดเลืลื อ ด เป็น ต้ น
นอกจจากนี้ผักพื้นบ้้านหลายชนิดยั ด งมีคุณสมบััติต้านอนุมูลอิสระ ช่วยชลลอความชรา เพิ่มภูมิคุ้มกันและปกป้น อง
ร่างกาายไม่ให้เป็นโรรคเรื้อรังด้วย
- 23 -
 
ตัวอยาง ผักพื้นบานที่มีสรรพคุณปองกันโรคและบํารุงรางกาย
¾ ผักพื้นบานที่ชวยบํารุงกระดูก ผู้สูงอายุมีการสูญเสียแคลเซียมในกระดูก ทําให้ความ
แข็งแรงของกระดูกลดลง โดยเฉพาะผู้สูงอายุเพศหญิงเกิดปัญหากระดูกเปราะบางและแตกหักง่าย ผักพื้นบ้าน
เป็นแหล่งของแคลเซียมราคาถูกที่สําคัญ ผักพื้นบ้านบางชนิดแม้จะมีปริมาณแคลเซียมสูง แต่พบว่ามีปริมาณ
สารออกซาเลตสู ง เช่ น กั น สารออกซาเลตที่ ม ากเกิ น ไปจะตกผลึ ก เป็ น นิ่ ว ในไตหรื อ กระเพาะปั ส สาวะ
เพราะฉะนั้นผู้สูงอายุควรรับประทานผักพื้นบ้านที่มีปริมาณแคลเซียมสูงแต่มีปริมาณสารออกซาเลตต่ํา เช่น
ถั่วพู ตําลึง ขี้เหล็ก บัวบก คะน้า และ กวางตุ้ง เป็นต้น

ถั่วพู ตําลึง

บัวบก ขี้เหล็ก

กวางตุง คะนา
- 24 -
 
¾ ผั ผกพื้นบานที ที่ชวยใหนอนหลั อ บดี ผู้สูงอายุมักมีอาการนอนหหลับยาก หลับๆ บ ตื่นๆ หรือ
ตื่ น ขึ้ นมากลางถึ
น ง แล้ ว หลั บ ต่ อไม่ ไ ด้ ซึ่ ง เกิกิ ด ได้ จ ากหลลายปั จ จั ย เชช่ น เสี ย งดั ง บบรรยากาศกการนอนไม่ ดีดี
ความเครียด ความมวิตกกังวล ภาาวะจากโรคประจําตัว เป็นต้ น น ผักพื้นบ้านที
า ่มีฤทธิ์ในกการช่วยให้นอนหลั
อ บดี เช่น
ขี้เหล็ก ชุมเห็ดไทยย แมงลัก กล้วยน้
ว ําว้า เป็นต้น

กลวยน้้าํ วา แมงลััก

ก วยน้า้ํ วา...เคล็ดลับอาายุยนื
กล

นางนวล จันธิ
น มา อาย
ยุ 94 ป
ผูสงอายุ
ู ตนแบ
บบตําบลนาแกว อําเภออเกาะคา
จังหวั
ห ดลําปาง

ยายนวลมีสุขภาพดีดี แข็งแรง ไม ไ มีโรค


ปรระจํ า ตั ว เคคล็ ด ลั บ อา ยุ ยื น ของ ท า นคื อ
รับประทานกลลวยน้ําวากับ บขาวเหนียวทุ
ว กวัน
- 25 -
 
¾ ผักพื้นบานที่ชวยใหเจริญอาหาร บํารุงรางกาย
สูงอายุมักมีปัญหาการเบื่ออาหาร เกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ เช่น มีปัญหาสุขภาพปากและฟัน การ
รับประทานยาบางชนิดทําให้การรับรู้กลิ่นและรสอาหารผิดเพี้ยนไป หรือปัญหาด้านจิตใจจนทําให้ไม่อยาก
รับประทานอาหาร ผักพื้นบ้านที่ช่วยเจริญอาหารมักจะมีรสขมและรสเผ็ดร้อน ซึ่งจะช่วยกระตุ้นให้มีการหลั่ง
ของน้ําลายและน้ําย่อยออกมามาก ทําให้อาหารไม่ค้างอยู่ในระบบทางเดินอาหารนานจนเกิดอาการท้องอืด
ท้องเฟ้อ ผั กพื้ นบ้านที่มี รสร้อนยังสามารถรักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ซึ่งพบได้บ่อยให้ผู้สูงอายุอี กด้วย
ตัวอย่างผักพื้นบ้านที่ช่วยให้เจริญอาหาร ได้แก่ สะเดา มะระขี้นก ขิง ตะไคร้ กระชาย ขมิ้นชัน พริกไทย เป็นต้น

มะระขี้นก กระชาย

ขมิ้นชัน ขิง
- 26 -
 
¾ ผักพื้นบานที่ชวยแกอาการทองผูก
ผู้สูงอายุมักมีอาการท้องผูก คือ มีการขับถ่ายยากต้องใช้เวลานานกว่าปกติ ลักษณะถ่ายเป็น
ก้อนแข็ง และต้องออกแรงเบ่งมาก การใช้พืชสมุนไพรที่มีปริมาณเส้นใยในปริมาณสูง จะช่วยกระตุ้นการ
เคลื่อนไหวของลําไส้ให้มีการขับถ่ายอุจจาระอย่างสม่ําเสมอ หรือการรับประทานผักพื้นบ้านที่มีฤทธิ์เป็นยา
ระบาย จะช่วยการขับถ่ ายง่ายขึ้ น ผักพื้นบ้านที่มีปริมาณเส้นใยสูงได้แก่ ดอกสะเดา ผักเหลียง ขนุนอ่อน
มะขาม มะขามแขก ใบชุมเห็ดเทศ ขี้เหล็ก และมะละกอสุก เป็นต้น

ผักเหลียง ขนุนออน

ขี้เหล็ก ชุมเห็ดเทศ

ขอควรระวัง
ไมควรรับประทานผักหรือสมุนไพรทีช่ ว ยในการขับถายติดตอกันเปน
เวลานาน โดยเฉพาะชุมเห็ดเทศเพราะลําไสจะเกิดความเคยชินกับการใชยา
สมุนไพร หากใชไปตอเนือ่ งเปนเวลานานๆ เมือ่ หยุดยาสมุนไพรลําไสจะไมบบ
ี ตัว
สงผลใหเกิดอาการทองผูกได
- 27 -
 
¾ ผักพื้นบานที่มีฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระสูง สารอนุมูลอิสระที่สําคัญและพบได้ใน
ผักพื้นบ้าน ได้แก่ วิตามินซี วิตามินอี และเบต้า-แคโรทีนสูง ซึ่งช่วยป้องกันความชรา เพิ่มภูมิต้านทานและ
ป้องกันโรคเรื้อรัง คือ กระโดนบก ผักเม็ก หอมแย้ กระถิน ผักกระเฉด ใบชะอม ใบยอ ใบขี้เหล็ก ยอด
สะเดา ใบย่านาง ใบช้าพลู ยอดมันปู ยอดจิก กระชาย ข่า ยอดมะม่วงหิมพานต์ ยอดมะกอก ผักเชียง
ดา ผักฮ้วน ดอกฟักทอง มะระขี้นก ผักหวานบ้าน ผักติ้ว ขมิ้น ยอดหมุย เป็นต้น

ถั่วพู ตําลึง

บัวบก ขี้เหล็ก

กวางตุง คะนา
- 28 -
 
¾ ผักพื้นบานที่มีฤทธิ์ตานการกอกลายพันธุ ป้องกันโรคมะเร็งและเนื้องอก คือ
ยอดมันปู ทํามัง ผักไผ่ ยอดมะม่วง ยอดหมุย กระโดน กระชาย ข่า ฟักทอง ผักโขม ใบมะม่วง ฝัก
เพกา ยอดมะระ ตะไคร้ ใบชะมวง ใบโหระพา ใบแมงลัก ผักแว่น ใบชะพลู ใบยอ ใบบัวบก ผักชีฝรั่ง
มะกรูด ผักแขยง ดีปลี กะเพรา หอมแดง หอมใหญ่ กระเทียม ถั่วหลายชนิด

ทํามัง หมุย

ใบชะมวง ผักชีฝรั่ง

ใบชาพลู

¾ ผักพื้นบานที่มีฤทธิ์ลดน้ําตาลในเลือด คือ กระเพรา ช้าพลู ตําลึง ใบมะตูม


มะระขี้นก และการรับประทานข้างกล้อง / ข้าวซ้อมมือจะช่วยลดน้ําตาลในเลือดได้
- 29 -
 
อาหารพื
พื้นบานหรืรืออาหารท
ทองถิ่น มีความหลากห
ค หลายตามวัฒนธรรมของท้ท้องถิ่น มีทั้ง
อาหาารคาว อาหาารหวาน อาหารถนอมแลละแปรรูป และอาหารว่ แ า มีการศึกษษาพบว่า อาาหารพื้นบ้าน
าง
ภาคเเหนือมี 6499 ชนิด อาหหารพื้นบ้านภภาคใต้มี 509 ชนิด แลละน้ําพริกทั่ว ประเทศมีหลายร้ ล อยชนิด
อาหารพื้นบ้านเหล่านี้ ประกอบบด้วย ผักพื้นบ้บาน เครื่องเทศ และเนื้อสัตว์ จากการศึกษาอาหารพื้นบ้านไทยย
ของสสถาบันค้นคว้าและพั
า ฒนาผลิลิตภัณฑ์อาหาาร มหาวิทยาาลัยเกษตรศาาสตร์ พบว่า อาหารพื้นบ้้านมีฤทธิ์ต้าน
สารอนุมูลอิสระ ช่ชวยชลอความมชราและป้องกันโรคเรื้อรังได้ไ ? นอกจาากนี้ยังมีการศึศึกษาน้ําพริกแกง
แ 5 ชนิด
คือ น้นําพริกแกงป่า แกงเลียง แกงส้ม แลละน้ําต้มยํา พบว่า มีฤทธิธิ์ทําลายเซลมมะเร็งได้ ซึ่งเป็
เ นสรรพคุณ
ของเคครื่องเทศและสมุนไพรที่อยูใ่ นพริกแกงเหหล่านั้น
- 30 -
 
การออกกําลังกายแบบพื้นบาน
การออกกําลังกายเป็นสิ่งจําเป็นสําหรับผู้สูงอายุ ช่วยให้ระบบไหลเวียนของเลือด ระบบภูมิต้านทาน
และป้องกันโรค ช่วยในการควบคุมน้ําหนัก การทรงตัวและทําให้เคลื่อนไหวคล่องแคล่ว ช่วยระบบขับถ่าย
ช่วยลดความเครียดและทําให้นอนหลับพักผ่อนได้ดีขึ้น การออกกําลังควรประเมินตนเองตามความเหมาะสม
ควรทําอย่างสม่ําเสมอและต่อเนื่อง เป็นไปตามภาวะร่างกายในแต่ละช่วงวัยและเหมาะสมกับภาวะปัญหาของ
ร่างกาย จากหลักฐานทางการแพทย์ รายงานว่า การออกกําลังกายเพิ่มความทนของระบบหัวใจและหลอด
เลือด การออกกําลังกายช่วยเพิ่มความแข็งแกร่งของกล้ามเนื้อ เพิ่มความยืดหยุ่นและการเคลื่อนไหวของข้อ
และส่งเสริมศักยภาพการดูแลรักษาตนเอง
โดยปกติ การออกกําลังกายควรเริ่มจากการเตรียมร่างกายให้อบอุ่นและออกกําลังกาย จนจบด้วย
การผ่อนคลายในช่วงท้าย ควรออกกําลังกายอย่าง
สม่ํ า เสมอ อย่ า งน้ อ ยสั ป ดาห์ ล ะ 3-5 วั น
ระยะเวลาออกกํ าลั งกายประมาณ 30-40 นาที
และในกรณี ผู้ ป่วยโรคเรื้อรั ง เช่ น โรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง โรคปวดเข่า โรคเข่าอักเสบ
โรคข้อเข่าเสื่อม เป็นต้น ไม่ควรออกกําลังกายที่
รุนแรง จะเป็นผลเสียกับร่างกาย และควรทําตาม
คําแนะนําจากแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข
สํ า หรั บ การออกกํ า ลั ง กายสํ า หรั บ ผู้ สู ง อายุ สามารถเลื อ กได้ ต ามความสนใจ ความถนั ด และ
ความชอบของแต่ละบุคคล มีตั้งแต่ การเดิน การแกว่งแขน โยคะ การรํามวยจีน การรําไม้พลอง การว่าย
น้ํา การรําวงมาตรฐาน ลีลาศ และการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ ในพื้นที่หลายภูมิภาคมีการนําภูมิปัญญาท้องถิ่น
มาประยุกต์ใช้กับการออกกําลังกายในกลุ่มผู้สูงอายุ ตัวอย่างเช่น ภาคเหนือ มีพื้นที่ในจังหวัดเชียงใหม่
พิษณุโลกและน่าน นําเอา “รําวงย้อนยุค” หรือ “รําวงพื้นบ้าน” มาใช้ในการออกกําลังกายของผู้สูงอายุ
และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีการประสานงานและเชิญครูนาฏศิลป์มาช่วยสอน เลือกเพลงที่ชอบและคุ้นเคยกับ
ชาวบ้าน และมีการจัดประกวดรําวงระหว่างหมู่บ้าน เพราะการออกกําลังกายแบบแอโรบิกไม่เหมาะสมกับ
ผู้สูงอายุ การรําวง ทําให้สุขภาพของผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรังดีขึ้น มีรอบเอวลดลง น้ําตาลในเลือดลดลง
การรําวงเหมาะกับผู้สูงอายุ เห็นคุณค่าและความสามัคคีภายในกลุ่ม ทําให้ผู้รําวงสุขภาพดี มีความสุข มี
อารมณ์และรู้สึกแจ่มใส กิจกรรมการรําวงเป็นที่ชื่นชอบและบางชุมชนมีการออกกําลังกายแบบรําวงยาวนาน
และต่อเนื่อง หากเปรียบเทียบกับการออกกําลังกายแบบอื่น นอกจากนี้ การรําไม้พลองก็เป็นการออกกําลัง
ในกลุ่มผู้สูงอายุที่เป็นที่นิยมหลายพื้นที่ มีกลุ่มรําไม้พลองเพื่อสุขภาพในจังหวัดจันทบุรี และจังหวัดเชียงราย
และในพื้นที่จังหวัดสตูล มีการนําภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในการออกกําลังกายของผู้สูงอายุ เป็นต้น
อาจกล่าวได้ว่า การนําภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในการออกกําลังกายเพื่อผู้สูงอายุ ทําให้ผู้สูงอายุมี
สุขภาพกายและสุขภาพจิตใจที่ดี ทั้งยังเป็นการอนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาให้อยู่ในท้องถิ่น อย่างไรก็ตาม
บทเรียนและกระบวนการทํางานลักษณะนี้ ยังขาดการรวบรวมและจัดระบบให้เป็นองค์ความรู้เพื่อเผยแพร่สู่
สังคมวงกว้างต่อไป
- 31 -
 

แทงปลาไหล ทาออกกําลังกายอายุยืน
ผูคิดคน นายฝอย อิ่มสะอาด ผูสูงอายุอําเภอคํามวง จังหวัดกาฬสินธุ

ท่าที่ 1 ท่ายืดเอว
เป็นการยืดเหยียดกล้ามเนื้อเอว สะโพก ลดอาการปวดเอว ปวดสะโพก โดยการนั่งสมาธิ กําหนดลม
หายใจเข้าลึกๆ และกําหนดลมหายใจออกช้าๆ ยกแขนกางออกระดับตัว และบิดเอวไปข้างซายสลับด้านขวา
ทํา 5-10 ครั้ง

ท่าที่ 2 ท่าผายปอด
ยืนตรงยกแขนแนบหู สูดลมหายใจลึกๆ และผ่อนลมหายใจออกช้าๆ แล้วก้มลงมือแตะปลายเท้า ขาตึง
นับ 1-10 ในใจแล้วกลับมาท่าเดิม ทํา 5-10 ครั้ง

ท่าที่ 3 ท่าคลําตุ่มหม่อง
ยืนตรงแล้วกางมือออกก้มลงมือแตะสลับข้อเท้า ทํา 5-10 ครั้ง
- 32 -
 
ท่าที่ 4 ท่าแทงเอียน
ยืนตรงมือเท้าสะเอว หายใจเข้าลึกๆ ยกมือเหยียดไปข้างหน้ามือประกบกันนิ้วชี้ทั้งสองชี้ไปช้างหน้า
และชี้ก้มลงแตะพื้นพร้อมกับหายใจออกช้าๆ ทํา 5-10 ครั้ง

ท่าที่ 5 ท่ายิงธนู
ยืนตรงกํามือทั้งสองข้าง ยกขึ้นระหว่างอก กําหนดลมหายใจเข้าลึกๆ ขกแขนดึงแยกออกจากกันแขน
ตึง พร้อมกับหายใจออกช้าๆ ทํา 5-10 ครั้ง
- 33 -
 
รูปแบบ
บการออกกกําลังกายที
ทีเ่ หมาะสําหรั
ห บผูส งู อายุ

การยืดเหหยียดท่าประะกอบเพลง

รําไม้พลอง

- 34 -
 

ออกกําลังกายด้ด้วยยางยืด

รํามวยจีจีน
- 35 -
 

ฤาษีดดั ตน

- 36 -
 
ยาบํารุงรางกาย
ร่างกายของผู้สูงอายุเป็นการเสื่อมโทรมตามธรรมชาติ ภูมิปัญญาโดยมีการใช้อาหารบางชนิด หรือยา
สมุนไพรตํารับบํารุงและส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ตัวอย่างเช่น การรับประทานกล้วยน้ําว้า หรือกล้วย
น้ํ า ว้ า ดองน้ํ า ผึ้ ง เป็ น ยาอายุ วั ฒ นะ การรั บ ประทานยาสมุ น ไพรตํ า รั บ อายุ วั ฒ นะ (ตํ า รั บ ยาบํ า รุ ง ธาตุ
ประกอบด้วย บอระเพ็ด ทิ้งถ่อน ตะโกนา หรือตํารับยาตรีผลา ประกอบด้วย สมอไทย สมอพิเภก และ
มะขามป้อม) เป็นประจํา เพื่อบํารุงธาตุในร่างกาย เป็นต้น

ตัวอยางตํารับยาพืน้ บาน : ยาอายุวฒ


ั นะ

ตํารับที่ 1 ตํารับยาลูกมะกรูด 9 ลูก

ภูมป
ิ ญ
 ญาหมอพืน้ บานภาคใต นายจิต คงสม จังหวัดสงขลา

ส่ วนประกอบ
1. น้ําผึ้งป่า
2. กระเทียมโทน หนัก 1 บาท
3. รากเจตมูลเพลิง หนัก 1 บาท
4. ยาดํา เล็กน้อย
5. พริกไทยดํา หนัก 1 บาท
6. เกลือ จํานวน 1 ช้อนโต๊ะ
7. ขมิ้นอ้อย หนัก 1 บาท
8. ดอกช้าพลู หนัก 1 บาท
9. ดีปลี หนัก 1 บาท
10. ลูกมะกรูด จํานวน 9 ลูก
สรรพคุณ เป็นยาอายุวัฒนะ สุภาพสตรีรับประทานแก้ประจําเดือนมาไม่ปรกติ สตรีหลังคลอดอยู่ไฟ ขับ
น้ําคาวปลา สุภาพบุรุษรับประทานแก้อาการปวดเมื่อย
วิธีทาํ นําลูกมะกรูดล้างสะอาดแล้วปาดหัวออกใส่ส่วนประกอบทั้งหมด ยัดเข้าในลูก แล้วเอาไปนึ่งประมาณ 1
ชั่วโมง จนสุกแล้วนํามาตําให้ละเอียด ผสมน้ําผึ้งป่าปั้นให้เป็นลูกกลอน เม็ดเล็กๆ ใส่ขวดฝาปิดมิดชิด
รับประทานครั้งละ 1-3 เม็ด ก่อนอาหาร 3 เวลา รับประทานได้ตลอดปี
- 37 -
 

ตํารับที่ 2 ตํารับยาอายุวฒ
ั นะ
น เหงือกป
ปลาหมอ

ญ ส้ ูงอายุ นายจิตร-นางเผือน สมทิพย์


ภูมิปัญญาผู พ
หมออพื้นบานตําบลนาท
บ ามใใต อําเภอเมื
มือง จังหวัดตรัง

ส่ วนปประกอบ
1 พริกไทยดํดํา
1.
2 เหงือกปลาหมอ
2.
วิธีปรุงยา
1. นําเหงือกปลาหหมอทั้ง 5 มา
ล้างให้สะอาด แล้วสับบางๆๆ
2. นําไปตากแดดจนแห้งเกรียม แล้วตําให้ละเอี
ะ ยด
3. นํามาใส่ในกระะชอนร่อนเอาส่วนที่ละเอียดที
ด ่สุด ร่อนปรระมาณ 3 ครัรั้ง
4. ตําพริกไทยให้ละเอี
ล ยด เอาใใส่กระชอนร่อนเอาส่วนที่ละเอี
ะ ยดที่สุด ร่รอนประมาณ 3 ครั้ง
5. นําผงเหงือกปลลาหมอ 2 ส่วน ผสมกับพริกไทยป่น 1 ส่สวน คลุกเค้ากับน้ําผึ้งจํานววนตามความ
เหหมาะสม ปั้นเป็
เ นลูกกลอน ขนาดเท่าปลลายนิ้วก้อย
- 38 -
 

ตํารับที่ 3 ตํารับยาอายุ
บ วฒนะ

ั สูตร 3-5-7
3 ชวยใหเจริญ
ญอาหาร

สงูอายาย ุหมอประกกอบ อุบลขาวว


มูิป ญั ญ าผ ู้
ผูทรงคุ
ร ณวุฒิดานภูมิปญญาการแพทย
ญ ยแผนไทย

ส่ วนปประกอบ
1 เกลือแกง
1. 3 ถ้วย
2 บอระเพ็ดสดหั่น
2. 5 ถ้วย
3 ใบมะขาม
3. 7 ถ้วย

วิธีปรุ งยา
นําสมุนไพพรทั้งสามใส่หม้มอต้ม ใส่น้ําท่ทวมยา ต้มให้เดื
เ อด
วิธีการรับประทานน
รับปรระทานครั้งละะ 1 ถ้วยกาแฟฟ ก่อนอาหารร เช้า-เย็น

ข้ อควรระวัง ผูส้ ูงอายุทีมีปัญหาโรคต


ญ ตับ ไม่ควรรรับประททาน และ
ไม่ควรรับประะทาน ติดต่อกัน
นานนต่อเนืองมมากกว่า 7 วัน
- 39 -
 

ตํารับที่ 4 ตํารับ
ั กลวยน้า้ํ วาดองน้าํ ผึง้

ส่ วนปประกอบ
1. กล้วยน้ําว้าสุ
า ก โบราณท่านว่าให้ใช้จํานวนเท่าอายุผูผ้กู ิน แต่บางสูสูตรให้ใช้กล้วยยน้ําว้า หวีที่มี 15 ผล
2. น้ําผึ้ง 1 ขวดกลม
วิธีการ
1 ปลอกกล้วยน้
1. ว ําว้าสุก ใสส่ขวดโหล
ใ ทว่ ม ปิดฝาหรือใช้ผ้าขาาวปิด เก็บไว้นาน
2 เติมน้ําผึ้งให้
2. น 1 เดือน
3 รับประทาานวันละ 1 ลูก
3.
- 40 -
 

ตํารับที่ 5 ตํารั
า บบอระเเพ็ดดองน้า้ํ ผึง้

วิธีการ
1 หั่นบอระเเพ็ดเป็นชิ้นบาางๆ แล้วนําไปปล้าง 1 ครั้ง ด้วยน้ําซาวข้าวผสมเกลือ
1.
2 ต้มในน้ําเดืดือด ประมาณ
2. ณ 15 นาที แล้ล้วช้อนบอระเเพ็ดขึ้นมาผึ่งใหห้สะเด็ดน้ํา แแล้วนํามาเทลงงในขวดโหล
3 นําน้ําผึ้งเคีคี่ยวไฟอ่อนๆ ใช้เวลา 15-330 นาที เคี่ยวจนน้ําผึ้งหนืด แล้วรอจนน้ําาผึ้งเย็นค่อยนํนํามาเทใน
3.
ขวดโหลทีทีใ่ ส่บอระเพ็ดที่เตรียมไว้
4 เทน้ําผึ้งให้ห้ท่วมบอระเพ็พ็ด ดองไว้ 3 เดื
4. เ อน

วิธีการรั
า บประทานน
นําน้ํายา 1 ช้อนโต๊ะ ผสสมน้ํา 1 แก้ว ดืม่ วันละ 2-33 ครั้ง ก่อนหรืรือหลังอาหารร หรือผสมน้าแข็
าํ งก็ได้
- 41 -
 

ตํารัรบที่ 6 ตํารับยาดอองมะกรูด

ส่ วนปประกอบ
• กําแพงเจ็ดชั
ด ้น เถาวัลย์เปรี
เ ยง โคลานน แห้วหมู เปรราะหอม กระะชาย อย่างละะ 20 กรัม
• ดอกคําฝออย 45 กรัม
• เกลือ 1000 กรัม
• ม ะกร ู
ด 33
3 ล กู
วิธีทาํ
1 นําสมุนไพพรทั้งหมดห่อผ้าขาวบาง ต้มน้
1. ม ํา 3 เอา 1 เติมเกลือ
2 นํามะกรูดผ่
2. ด าซีก วางในโโหลแก้ว เทนน้ําสมุนไพรกําลั
า งเดือดลงในนโหล ปิดฝาใหห้สนิท วางไว้กลางแจ้
ก ง3
วัน
3 ดองทิ้งไว้จนมะกรู
3. จ ดเปื่อย
อ จึงรับประะทานครั้งละ 1 ช้อนโต๊ะ วันละ
น 2 ครั้ง เชช้า-เย็น
- 42 -
 

ตํารับ
ั ที่ 7 กรระเทียมโทนนดองน้าํ ผึง้

ญ ส้ ูงอายุ นางศรี แก้ว แก้


ภูมิปัญญาผู แ วนารี
ผู้สูงอายุตําบลนาแก้ว อําเภอเกาาะคา จังหวัดลํลาปาง

ส่ วนปประกอบ
1 กระเทียมโโทน ½
1. กิโลกรัม 
2 น้ําผึ้ง
2.
3 เม็ดพริกไททย 100 กรัม
3.
วิธีการ
1. น้ํากระเทียมโทนปอกเป
ย ปลือกล้างในสสะอาด
2 ใส่ในขวดแแก้วสะอาด ใส่
2. ใ พริกไทย เททน้ําผึ้งให้พอ
ท่วม
3 ดองไว้ 1 เดื
3. เ อน
วิธีการรับประทานน
รับประทาานกระเทียมโททน ครัง้ ละ 1 หัว โดยตักให้ห้ติดน้ําผึ้งและะพริกไทย รับปประทานวันละ 1 ครั้ง
ก่อนนนอน

……………………………………………………………………….
- 43 -
 
ภูมิปปญญาพื้นบานเพื่อการดูดูแลสุขภาพ พใจและอารม มณของผูสงอายุ
งู
ผู้สูงอายุ ควรรใส่ใจด้านสุขภาพจิ
ภ ต และฝึกึ ฝนจิตใจใหห้มีสุขภาพใจทที่ดี พึงพอใจจตนเอง ปรับ
ตนเองและแก้ปัญหาของตนเอง
ห งได้ อีกทั้งมีความสุ
ค ขและคความสัมพันธ์ที่ดีกับครอบครัว ญาติและเพื ล ่อนสนิท
อย่างไไรก็ตาม ผู้สูงอายุ ญ ขภาพที่พบบ่อย คือ ความรู้สึกวิตกกังวล (ทั้งงเรื่องกังวลเกีกี่ยวกับตนเองง
ง มักมีปัญหาสุ
หรือผู้อื่น และเรื่องที
อ ่ไม่น่ากังวล) ความรู้สึกเหงา หวาดระแวง ซึมเศศร้า น้อยใจ เบืบื่อโลก และบบางครั้งอาจมีมี
อาการทางกาย เชช่น นอนไม่หลัลบ เบื่ออาหาาร เป็นต้น

แนวทางการดู ดูแลสุขภาพจิตของผู
ต ้สูงอายยุ คือ การสร้างความเข้าใใจ และการยอมรับความม
จริงของชีวิต ฝึกฝนและการคว
ฝ วบคุมสติและออารมณ์ของตตนเอง มองโลลกแง่ดี และทําตนให้เป็นประโยชน์น ต่อ
ตนเอง ต่อครรอบครัวและตต่อชุมชน สําหรั ห บภูมิปัญญาท้
ญ องถิ่นและะภูมิปัญญาพื้นนบ้านที่มีประะโยชน์และถูก
นํามาาประยุกต์ใช้กับสุขภาพจิตใจ ใ และอารมมณ์ของผู้สูงอาายุ คือ ธรรมมะ หรือ คําสสอนของศาสนนา ในชุมชนน
ของสัสังคมไทย ชมมรมผู้สูงอายุหลายแห่งมีการจั ก ดทําโครรงการส่งเสริมและนํ ม าพุทธธธรรมมาพัฒนาจิตใจและะ
คุณ ภาพชีวิต ของผูผู้สูง อายุโดยกการจั ดกิจ กร รมให้ผู้สูงอาายุไ ปไหว้พระะ ฟังธรรม และยังมีห ลายพื้นที่ที่จั ด
ประเพณีสงกรานตต์ อันถือเป็นวั น นผู้สูงอายุของไทย
ข มีการจั
ก ดกิจกรรรมการรดน้ําดําหัวผู้สูงอายยุ ขอพรจากก
ผู้สูงอายุ และส่งเสสริมให้ครอบคครัวดูแล และะรดน้ําให้ผู้สูงอายุ
อ อันเป็นการแสดงควาามกตัญญูต่อผู้สูงอายุ

การฟัฟังธรรม ฝึ กสมาธิ

- 44 -
 
ภมป
ภู ิ ญญาพื
ญ น้ บานเพื
น อ่ การดูดูแลสุขภาาพและฟน ฟู
ฟภาวะโรคคของผูส งอายุ

X การดูแลรักษาโโรคกระดูก ขอ และอาการปวดดเมือ่ ยกลา มเนือ้

ปัญหากระดู
ห กบาง เปราะ พรุน หักง่าย สาเหหตุจากการสลายตัวของแคลลเซียมออกจาากกระดูก
ม ้น มีอากการปวด เจ็บกระดู
มากขึ บ กบ่อย และหมอนรอองกระดูกหลังจะกร่
ง อนและะแบนลงมาก ส่งผลให้
ห งโก่งงอ หััวเข่าและสะโพพกงอเล็กน้อย ทําให้ส่วนสูสูงลดลง บริริเวณข้อมีน้ําไไขข้อลดลง เกิกิดอาการ
หลั
ป ข้อยึดติด การเคลื่อนไหวลํ
ปวด น าบาก เกิดภาวะข้อเสื่อม ส่วนขอองกล้ามเนื้อมีคความเสื่อมสมมรรถภาพ
เ ดขึ้น มีการรใช้งานน้อยลงง กล้ามเนื้อของผู
เกิ ข ้สูงอายุ ขาดโปแตสเซี
ข ซียมร่วมกับคววามเสื่อมของโโปรตีนใน
ก ามเนื้อและะการขาดน้ํา กําลังการหดดหัวสูงสุดของงกล้ามเนื้อลดลง อ่อนกําลังทํางานออกกแรงมาก
กล้

สมุนไพรเดี
น ย
ยว่
สําหรัรับรับประทานน
• เถาวัลั ย์ เปรียง รับประทานในรู
บ รูปชาชง หรือแบบแคปซู
อ ล ครั้ง 2-4 แคคปซูล/มื้อ วันละ
น 3 ครั้ง
เช้า-กกลางวัน-เย็น หลังอาหารทัทันที ใช้สําหรัรับผู้ป่วยข้ออักเสบ
ก บรรเทาอาการปวดเเมื่อย ปวดกล้ามเนื
า ้อ ลด
การอัักเสบของกล้ามเนื
า ้อ
ข้อควรรระวัง อาจทําให้า เกิดการระะคายเคืองระบบบทางเดินอาหาร

สําหรัรับใช้ภายนอกก
• ไพล ใช้ภายนอกใในรูปแบบน้าํ มัมนไพล หรือครีมไพล ทาและถูเบาๆ บบริเวณที่มีอากการวันละ 2-33
ครั้ง ใช้
ใ บรรเทาอากการบวม ฟกช้ช้ํา เคล็ดยก แลละอักเสบ
- 45 -
 
ข้อควรรระวัง ห้ามทาบบริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน หรือบริเวณผิวหนังที่มมีบาดแผลหรืรอมีแผลเปิด
ตํารับยาสมุนไพรรพืน้ บาน แกอาการปววดเขา ปวดดกลามเนือ้ ปวดขอ
¾ ตํารับยาหหมอประกอบ อุบลขาว จังหวัดสงขลาา
ตํารับที่ 1 ขิงแก่สด แลละพริกไทยดํา ส่วนเท่ากัน ตําให้แหลกหห่อผ้าทําเป็นลูกประคบ นํามาจุ
ม ่ม
น้ําส้มสายชู
ม ประคบบตรงที่ปวด เมื่อรู้สึกว่าร้อน
อ ให้เอาเหล้านวดทาที
า ่แผลปวดเข่า ประคบเช้า - เย็น
ตํารับที่ 2 ขิงแก่สด มากน้
ม อยตามต้ต้องการ หั่นเป็ปนชิ้น โขลกพอแหลก ผสมกับเหล้าโรงพพอเปียก ผสม
ด้วยข้ข้าวที่หุงสุก 2 ส่วน ขิง 1 ส่วน
ว คลุกให้เข้ากั
า นดี ห่อผ้าทํทาเป็นลูกประะคบ หรือพอกกไว้ตรงที่ขัดยออก เอาผ้าห่อ
พันไว้้ ถ้ามีอาการปปวด หรือร้อน แกะออกจุ่มเหล้เ าโรง ใช้ประคบปวดเมื่อย อ ชามือ ชาเเท้า
ตํารับที่ 3 ขิงแก่สด หั่นเป็นชิ้นบางงๆ ผสมกับน้ําตาลทราย อัตราส่
ต วน ขิง 4 ส่วน น้ําตาลลทราย 1
ส่วน ตํตาเข้ากันให้แหลก
แ ใช้พอกตตรงที่ปวด เอาผ้าพันไว้จะหหายปวด
ตํารับที่ 4 ใบข่าสด (กกลางแก่กลางออ่อน) มากน้อยตามต้
อ องการ หั่นเป็นฝอยย ตําให้แหลก ผสมเหล้า
โรงคลลุกเข้ากันพอเปียี ก พอกตรงงที่ปวด เอาผ้้าพันไว้เปลี่ยนยาวั ค ้ง ทําติดต่อกัน จะหายเป็ปนปกติ
น นละ 1 ครั
ตํารับที่ 5 เหง้าข่าแก่ หั่นเป็นชิ้นบาางๆ มากน้อยตามต้
ย องการตตําให้แหลก เออาน้ํามันมะพพร้าวทาตรงที่
ปวดให้ทั่ว (ป้องกันผิ
น วหนังไหม้) เอาข่าที่ตําแหหลกพอกเอาผ้ผ้าพันไว้ เปลียนยาวั
ย่ นละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 2-3 ครั้ง
จะหาายเป็นปกติ ทุกครั้งที่เปลี่ยนยา
น ควรทาน้้ํามันมะพร้าวททุกครั้ง จะหาายเร็ว
อ มกินน้ําครัรั้งละ 1 ถ้วยกาแฟ วันละ 3 เวลาก่อนอาหาร แก้
ตํารับที่ 6 โหระพาทั้งต้น สับใส่หม้อต้
อาการปวดเข่า

¾ ยาตํตํารับผสมโคคคลาน สมุนไพรในตํ
น ารับประกอบด้
ป วย โคคลาน โด่ไไม่รู้ล้ม ทองพัันชั่ง และ
มะตูมรู
ม ปแบบยาชงงและยาต้ม ชนนิดชงรับประททานครั้งละ 1/2
1 ช้อนชา ชงน้
ช ําร้อนประมมาณ 120-2000 มิลลิลิตร
วันละะ 3 ครั้ง ก่อนออาหาร ส่วนชชนิดต้ม มีสรรพคุ
ร ณรักษาออาการปวดเมือยกล้
่ ามเนื้อ มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ
- 46 -
 
¾ ตํารับยาพืน้ บาน ยาพอกกเขา
(ตํารับ หมอเบญญจมาศ อุยยาหาญ
ย จังหวั
ห ดสมุทรสสาคร)
สรรพพคุณ 1 แก้อาการปปวดเข่า ขาพลิลิกแพลง รักษาอาการปวด
1. ษ เข่า
ปวดกกระดูกหลังจากประสบอุบติตั เิ หตุ
2 ลดการอักเสบ
2. เ บวมช้ํา ดูดเลือดช้ําคั่งที่เข่า หรือ บริเิ วณที่
เข่าปววดบวม
ส่ วนปประกอบของตตํารับยา
1. ลูกพุด (แห้ง) 1 ส่สวน
2. แป้งหมีมี่/แป้งมี่ (แป้งสํ
ง าหรับทําขนนมปัง)
3 ส่วน
3. สุราขาวว
4. ผ้าก๊อซ (Gauze) พัันแผล
วิธีการเตรียมยา
1 ตําลูกพุดให้
1. ใ ละเอียด
2 ใส่แป้งหมีลงไปผสม
2. ่ แล้ล้วค่อยๆ เติมสุสราขาวลงไปเเป็นระยะๆ
แล้วตําจนนยาเข้ากันดี เป็ป็นเนื้อเหนียวๆว จนยกสากกไม่ขึ้นจึงจะถือว่อ าใช้ได้
วิธีการพอกเข่ า
นํามาพอกกเข่าบริเวณทีปวด ป่ แล้วพันด้ดวยผ้าก๊อซ ควรทํ
ค าวันละ 1 ครั้ง ก่อนนนอน พอกทิ้งไว้ข้ามคืน ตื่น
เช้าค่อยเอายาออก
อ ทําแบบนี้ 3 วัน ติดต่อกัน ควรเก็บรักษายาไว้
ษ ในตู้เย็น
- 47 -
 
¾ ตํารับยาพืน้ บาน ยาพอกกเขา
(ตํารับ หมอสง่ า พันธุ์สายศรี จังหวััดพระนครศศรีอยุธยา)
สรรพพคุณ แก้อาการปวดเข่
า าในผู
ใ ้สูงอายุ
ส่ วนปประกอบ
1 แป้งข้าวเจ้จ้า
1. 1 ถุง (ครึ่งกิโล)
2 ลูกแป้งข้าวหมาก
2. 1 ก้อน
3 หัวดองดึง
3. 1 ขีด
4 ขิง หรือ ข่ขา
4. 2 ขีด
(สัดส่วนอาจมีการเปลี่ยนแปลงไได้ตามความเหหมาะสม)
วิธีการเตรี
า ยมยา
1 นําหัวดองงดึงมาโขลกให้ห้ละเอียด ใช้ได้ทั้งหัวสดและแห้ง
1.
(หากเป็นหัหวดองดึงสดยิยิ่งดี) หรือนําหัวดองดึงมาแแช่
น้ําอุ่นแล้วคั
ว ้นน้ํา
2 นําขิงมาคัั้นน้ําเอามาผสสมกับหัวดองดึดึงที่โขลกละเอีอียดหรือคั้นน้าํ ไว้แล้ว
2.
3 บดลูกแป้งข้
3. ง าวหมากให้ห้เป็นผงละเอียด ย
4 นําส่วนผสสมทั้งหมดมานนวดกับแป้งข้าวจ้
4. า าว ผสมน้้าํ อุ่นลงไปเพือให้
อ่ แป้งเหลวแและเหนียวพออที่จะพอก
ได้ นวดให้ห้ส่วนผสมทั้งหมดเข้
ห ากันดี หากท่านใดทีที่มีอาการปวดดและร้อนอาจจนําพิมเสนแททรก
วิธีการพอกเข่
า า
พอกที่บริเวณเข่าที่มีอากการปวด ครั้งละ 15-20 นาาที เช้า-เย็น
ข้ อควรระวัง
หากมีอาการแพ้
า คัน ให้
ใ เอาแป้งทีพ่ อกออกทันที (เนื่องจากบาางท่านอาจแพ้พ้หัวดองดึง) โดยให้ทดลอง
พอกกักับเข่าข้างใดข้ข้างหนึ่งก่อน เพื่อทดสอบอาการแพ้
ผู้สูงอายุทีท่มี ีอาการปวดเข่า ห้ามรับประทานข้าวเหหนียว
หน่อไม้
ไ เครื่องในสัตว์
ต และแอลกออฮอล์ทกุ ชนิด
- 48 -
 
¾ การฝกบริ
บ หารขอเข
เ า บรรเท
ทาอาการเขขาเสือ่ มในผ
ผูส งู อายุ

หมอพืพืนบ้าน นางงทองเลือน วิเศษสิ งห์


จังหวัดกาญจนบุ
ด รรีี

การฝึฝกให้ผู้สงู อายุยุยืดเหยียดข้อเข่
อ าเพื่อบรรเเทาอาการเข่าาเสื่อม
วิธีการ
11) ให้ผู้สูงอายยุนอนหงาน
2
2) ยกขาซ้ายขึ้นทํามุม 45 องศา ขาให้เหยี ห ยดตรง
3
3) พับเข่าลงใให้สน้ เท้าชิดขาด้
ข านใน ลักษณะเข่
ษ าตั้งตรรง
4
4) ยกเข่าขึ้นแนบชิดหน้าอก อ ค้างไว้ นับ 1-2-3
5
5) ลดเข่าลงมมาท่าที่ 2 แล้ล้วเหยียดเข่ากลั
ก บ ทํามุม 455 องศา เหมือนท่
อ าที่ 1

ท่าที่ 1 ท่าที่ 3

ท่าที่ 2 ท่าที่ 4
- 49 -
 
ผู้สูงอายุสามารถยืดเหยียียดเข่าเพื่อป้องกั
อ นรักษาอาาการเข่าเสื่อมได้
ม ปฏิบัติตาามท่าดังกล่าวในตอนเช้
ว า
หลังตื่นนอน ก่อนลลุกขึ้นจากที่นอน
อ ดังนี้
1 นอนหงายยขาเหยียดตรงง ดึงเข่าซ้ายขึขึ้นเข้าหาตัว ลักษณะเข่าพับ
1)
2 ค่อยๆ ยกปลายเท้าขึ้น
2)
3 ยกขาขึ้นในอากาศ
3)
4 ขาตั้งตรง 90 องศา ปลลายเท้าชี้มาทาางด้านหน้า นับ 1-2-3
4)
5 เอาขาลง พัพบเข่า
5)
6 เอามือโน้มเข่
6) ม าเข้าหาตัว เหยียดกลับในท่ใ าปกติ ทําซ้ํา 10 ครั้ง แล้วสลับยกเข่า

ท่าที่ 1 ท่าที่ 4

ท่าที
า ่2 ท่าที่ 5

ท่าที่ 3 ท่าที่ 6
- 50 -
 
Y การดูแลรักษาโรคลม วิงเวียนและออนเพลีย
ผู้สูงอายุมักมีอาการวิงเวียน อ่อนเพลีย หน้ามืด อาจเกิดเส้นเลือดสมองมีภาวะไม่คล่องตัว หรือตัน
บางส่วน คนโบราณมักใช้ ยาหอม บรรเทาอาการเหล่านี้ ยาหอมของไทยมีหลายชนิด เช่น ยาหอมนวโกฐ
ยาหอมเจดีย์ ยาหอมอินทจักร์ หรือในท้องถิ่นก็มียาหอมที่เป็นที่นิยม เช่น ยาผงแดงพม่า (จังหวัดเชียงใหม่)
ยาหอมราชรถ (จังหวัดพิจิตร) เป็นต้น สรรพคุณของยาหอมระบุว่า แก้ลมวิงเวียน ใจสั่นคลื่นเหียน อาเจียน
(ลมจุกแน่นในอก) บํารุงหัวใจในผูส้ ูงอายุ และแก้ลมปลายไข้ จากการวิเคราะห์ส่วนประกอบสมุนไพร
พบว่า ยาหอมมีสมุนไพรจํานวน 40-50 ชนิด เป็นเครื่องยาที่มีผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบ
ทางเดินอาหารและระบบประสาทส่วนกลาง จากการศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและพิษวิทยาของยาหอม 3
ตํารับ พบว่า ยาหอมช่วยเพิ่มความดันโลหิต เพิม่ การทํางานของหัวใจและหลอดเลือด และเพิ่มการ
ไหลเวียนเลือด นอกจากนี้ยังช่วยลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร และช่วยให้นอนหลับได้ยาวนานขึ้น ไม่
พบความเป็นพิษเฉียบพลัน

ตํารับยาพืน้ บาน แกอาการวิงเวียน (ตํารับ หมอประกอบ อุบลขาว จังหวัดสงขลา)


ตํารับที่ 1 ขิงทั้งเหง้า ต้มเอาน้ํายาดื่มแทนน้ํา อาการวิงเวียนศีรษะค่อยๆ หายไป เวลาดื่มน้ําขิงแทรกน้ําตาล
ทรายพอหวาน
ตํารับที่ 2 ลูกมะตูมอ่อนแห้งปิ้งไฟพอหอม 1 ชิ้น ชงกับน้ําร้อน 1 แก้ว เติมเกลือเล็กน้อย กินครั้งละ ½ ถ้วย
กาแฟ เวลามีอาการ

ประกอบด้วยตัวยา 58 ชนิด มียารสสุขมุ เช่น โกฐทั้ง 9


เทียนทั้ง 9 กฤษณา กระลําพัก ขอนดอก ตัวยารสร้อนเช่น
ลูกจันทน์ ดอกจันทร์ ลูกกระวาน กานพลู แก่นสน เกสรทัง้
5 ยารสขม ได้แก่ ลูกราชดัด จันทน์แดง จันทร์เทศ บอระเพ็ด
ลูกกระดอม ยาหอมนวโกศแก้ลมวิงเวียน คลื่นเหียน
ยาหอมนวโกฐ อาเจียน (ลมจุกแน่นในอก) ในผู้สูงอายุ

ข้อแนะนําสําหรับการใช้ยาหอม

การใช้ยาหอมให้ได้ผล แม้จะเป็นชนิดเม็ด ควรนํามาละลายน้ํากระสายยา หรือน้ําอุ่น


รับประทานขณะกําลังอุ่น เหมือนกับวิธีการเดิม เพราะการออกฤทธิ์ของน้ํามันหอมระเหยที่มีใน
ยาหอมจะช่วยทําให้ยาออกฤทธิ์ได้เร็วขึ้น และออกฤทธิ์ผ่านประสาทรับกลิ่น และการดูดซึมผ่าน
- 51 -
 
Z การดูแลรักษากลุมอาการวัยทอง
วัยสูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงด้านฮอร์โมนเพศ ในสตรีสูงอายุอาจมีอาการในช่วงหมดประจําเดือน
เช่น อาการร้อนวูบวาบและคัน อักเสบตามผิวหนัง ผิวหนังแห้งเหี่ยวย่น ช่องคลอดแห้ง เป็นต้น และอาจ
ส่งผลต่อภาวะกระดูกพรุน และความเสี่ยงต่อมะเร็งเต้านม ส่วนผู้สูงอายุเพศชาย ก็มีอาการเช่นกัน อาจมี
ความหงุดหงิด และมีความเสี่ยงต่อการเกิดต่อมลูกหมากโตและมะเร็งต่อมลูกหมาก อาการเหล่านี้สามารถ
บรรเทาได้โดยการดื่มนมถั่วเหลือง หรือใช้สมุนไพร เช่น กวาวเครือขาว ว่านชักมดลูก เป็นต้น และยังมี
สมุนไพรกลุ่ม ขิง ข่า ตะไคร้ ไพล กะทือ ขมิ้น ดีปลี พริกไทย เจตมูลเพลิง สมุนไพรเหล่านี้มีกลุ่มสาร
Phytoestrogen ช่วยรักษาและบรรเทาอาการวัยทองเหล่านี้ได้
- 52 -
 
[ การดูแลรักษาโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน เป็นปัญหาสุขภาพสําคัญของผู้สูงอายุ และคนไทยมีแนวโน้มเป็นโรคเบาหวานเพิ่มขึ้น
อย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันการดูแลผู้ป่วยเบาหวานจะได้รับการดูแลโดยทีมสหวิชาชีพ ทั้งระบบการแพทย์แผน
ปั จ จุ บั น และการแพทย์ แ ผนไทย โดยทั่ ว ไปผู้ ป่ ว ยจะได้ รั บ ยาแผนปั จ จุ บั น และคํ า แนะนํ า เพื่ อ เปลี่ ย น
พฤติกรรมการดูแลตนเอง 4 ด้าน คือ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการใช้ยาและติดตามการ
รักษาโรคด้วยตนเอง และพฤติกรรมการป้องกันและแก้ไขภาวะแทรกซ้อน อย่างไรก็ตาม พบว่า ผู้ป่วยที่
สามารถควบคุ มโรคเบาหวานได้ ดีมี ประมาณ ร้อ ยละ 12 และจากการทบทวนวรรณกรรม พบว่ า ผู้ป่ว ย
เบาหวานประมาณร้อยละ 40 มีการใช้สมุนไพรทั้งยาสมุนไพรเดี่ยวและยาสมุนไพรแบบตํารับ ผลิตภัณฑ์
เสริมอาหารยาจีน และการแพทย์ทางเลือกแบบอื่น ควบคู่ไปกับการรักษาโรคด้วยการแพทย์แผนปัจจุบัน
การใช้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์พื้นบ้านเพื่อดูแลรักษาโรคเบาหวานมี 3 รูปแบบ คือ
รูปแบบที่ 1 การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / พื้นบ้านเพื่อการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน คือ การ
นําสมุนไพรตัวเดี่ยวและการใช้ยาสมุนไพรตํารับรักษาเบาหวานด้วยตนเอง จากการทบทวนวรรณกรรม พบว่า
ยาสมุนไพรเดี่ยวที่มีสรรพคุณรักษาภาวะเบาหวานมีหลายชนิด สําหรับสมุนไพรที่มีสรรพคุณชัดเจน คือ
กะเพรา ช้าพลู ตําลึง บอระเพ็ด มะตูม มะระขี้นก อินทนิลน้ํา อบเชย แฮ่ม และมะเขือพวง นอกจากนี้
ยั ง มี ย าสมุ น ไพรตํ า รั บ หลายตํ า รั บ ของหมอพื้ น บ้ า น และหมอยาแผนไทยที่ มี ป ระสบการณ์ ก ารรั ก ษา
โรคเบาหวานอีกด้วย
สําหรับการใช้ยาสมุนไพรดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยตนเอง จําเป็นต้องมีการติดตามและตรวจระดับ
น้ําตาลในเลือดอย่างสม่ําเสมอ เพื่อไม่ให้ระดับน้ําตาลสูงหรือต่ําเกินไปจนเป็นผลเสียต่อสุขภาพ และไม่ควรใช้
สมุนไพรเพียงชนิดเดียวเป็นเวลานานเกินไป อาจใช้สมุนไพรที่เป็นพืชผัก เช่น มะระขี้นก ตําลึง มะเขือพวง
เป็นต้น ในลักษณะสลับสับเปลี่ยนกัน หรือรับประทานในรูปแบบอาหารจะมีความปลอดภัยและดีต่อสุขภาพ
นอกจากนี้ ผู้ป่วยควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารด้วยการรับประทานข้าวกล้อง (ข้าวที่มีเส้นใยสูง
และช่วยป้องกันโรคเบาหวาน เช่น ข้าวสินเหล็ก ข้าวสังข์หยด (ใต้) ข้าวก่ํา (เหนือ) เป็นต้น และบริโภค
ผัก/ผลไม้ที่มีเส้นใยสูงและไม่หวาน 500 – 600 กรัม/วัน พร้อมทั้งดูแลจิตใจและออกกําลังกายสม่ําเสมอไป
พร้อมกัน
รูปแบบที่ 2 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น/พื้นบ้านในระบบสุขภาพปฐมภูมิ
เครือข่ายการบริการสุขภาพปฐมภูมิ อันประกอบด้วยโรงพยาบาลชุมชนและสถานีอนามัย โรงพยาบาลชุมชน
มีบทบาทการคัดกรองและบําบัดเบาหวานระดับพื้นฐาน โดยทีมสหวิชาชีพ และสถานีอนามัย มีบทบาทคัด
กรองการป้องกันและการเยี่ยมบ้าน นอกจากนี้ ยังมีการประสานงาน การร่วมงาน และส่งต่อผู้ป่วยระหว่าง
โรงพยาบาลชุมชนและสถานีอนามัย เพื่อให้งานต่อเนื่องและมีคุณภาพ การดูแลผู้ป่วยเบาหวานใช้
แนวทางเวชปฏิบัติของการแพทย์แผนปัจจุบันเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม ยังมีความแตกต่างที่ขึ้นกับความพร้อม
และศักยภาพของโรงพยาบาล ศักยภาพของทีมสหวิชาชีพ และแนวทาง / นโยบายเฉพาะของแต่ละพื้นที่
จากการสํารวจพบว่า สถานบริการสาธารณสุขภาครัฐจํานวน 30 – 60 แห่ง มีการใช้ยาสมุนไพรเดี่ยวและ
ตํารับรักษาเบาหวาน และจากการสํารวจภาคสนาม พบว่า โรงพยาบาลชุมชน 4 แห่ง (โรงพยาบาลเทิง
- 53 -
 
จังหวัดเชียงราย โรงพยาบาลวังน้ําเย็น จังหวัดสระแก้ว โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร และโรงพยาบาล
ห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา) มีการผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่น (การแพทย์แผนไทย / การแพทย์พื้นบ้าน
/ การแพทย์แบบอื่น) ในการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวาน 2 ลักษณะ คือ (1) การดูแลรักษาผู้ป่วยด้วยภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ การแนะนําความรู้และทักษะของภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการดูแลตนเองของผู้ป่วย
เบาหวาน (อาหารพื้นบ้าน อาหารตามธาตุ การทําสมาธิ การสวดมนต์ โยคะ ชี่กง ดนตรีพื้นเมือง) การใช้
สมุนไพรแบบเดี่ยวและแบบตํารับเพื่อเสริมการรักษา และรักษาภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยเบาหวาน การใช้
สมุนไพรและการนวดในการดูแลเท้า และ (2) การส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงต่อเบาหวาน มีการแนะนํา
และฝึกอบรมความรู้และทักษะในการปรับสมดุลของชีวิต มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ข้าวกล้อง อาหารสมุนไพร
อาหารตามธาตุ ผักพื้นบ้าน สมาธิ โยคะ การออกกําลังกาย สําหรับวิธีการรักษาโรคแบบเสริมในผู้ป่วย
เบาหวานยังไม่มีการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ จึงยังไม่สามารถยืนยันผลได้อย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม การ
ดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานด้วยการใช้แพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ทําให้ผู้ป่วยมีทางเลือกในการรักษา
เบาหวาน ทําให้ผู้ป่วยมีความพึงพอใจส่งผลดีต่อร่างกายและจิตใจ และส่งเสริมการดูแลตนเองของผู้ป่วย
รู ปแบบที่ 3 การดู แ ลรั ก ษาโรคเบาหวานด้ ว ยหมอพื้ น บ้ า น จากการสํ า รวจของกรมพั ฒ นา
การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปี พ.ศ. 2549 พบว่า หมอยาพื้นบ้านที่รักษาโรคเบาหวานมี
จํานวน 52 คน กระจายตัวอยู่ใน ภาคเหนือ 27 คน ภาคอีสาน 24 คน และภาคกลาง 1 คน จาก
การทบทวนวรรณกรรมและศึกษาภาคสนาม พบว่า หมอพื้นบ้านส่วนใหญ่ที่รักษาผู้ป่วยเบาหวานเป็นหมอ
สมุนไพร เป็นผู้ที่มีประสบการณ์การรักษาโรคเบาหวานจากบรรพบุรุษหรือจากตําราใบลานของครูหมอ
พื้น บ้ า น หมอพื้ น บ้ า นจะมี ก ารเตรี ย มยาสมุ น ไพรไว้ที่ บ้ า นเพื่ อ พร้ อ มให้ บริ ก ารหรื อจํ า หน่ า ยให้ กั บ ผู้ ป่ ว ย
เบาหวาน หมอพื้นบ้านไม่มีการอธิบายโรคตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทย ส่วนใหญ่จะเรียกชื่อโรคเบาหวาน
และรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่ผ่านการวินิจฉัยโรคและรักษาโรคโดยแพทย์แผนปัจจุบันมาแล้ว หมอพื้นบ้านแต่ละ
คนมีการอธิบายสาเหตุของเบาหวานแตกต่างกัน อันเป็นคําอธิบายที่มีมาจากบรรพบุรุษ การเรียนรู้ด้วยตนเอง
และผสมผสานกับความรู้การแพทย์แผนปัจจุบัน หมอพื้นบ้านใช้พืชสมุนไพรรักษาโรคเบาหวาน และประกอบ
เป็นตํารับยาสมุนไพรรักษาเบาหวาน แต่ละตํารับยาสมุนไพรมีสมุนไพรหลายชนิด และมี 2 ลักษณะ คือ
ตํารับยารักษาเบาหวาน และตํารับยารักษาแผลเบาหวาน รูปแบบยามี ยาต้ม ยาผง ยาฝน ยาแคปซูล
และยาลูกกลอน และยังมีข้อห้าม ข้อปฏิบัติสําหรับผู้ป่วยเบาหวานด้วย หมอพื้นบ้านมีการติดตามแบบไม่
เป็นทางการ โดยอาจสอบถามจากผู้ป่วยหรือญาติ ผู้ป่วยเบาหวานที่มารักษากับหมอพื้นบ้านเป็นผู้ป่วยที่
รักษาด้วยยาแผนปัจจุบันแล้ว แต่ระดับน้ําตาลในเลือดยังไม่สามารถควบคุมได้ในระดับปกติ
- 54 -
 
\ การดูแลรักษาโรคอัมพฤกษ อัมพาต
ภาวะโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต มีเหตุที่อนุมานได้ว่ามาจากภาวะหลอดเลือดสมองตีบตันหรือแตก อัน
เป็นผลสืบเนื่องมาจากโรคความดันโลหิตสูง เมื่อผู้ป่วยเป็นภาวะอัมพาต หมายถึง เกิดอาการอ่อนแรงของ
แขนขา หรืออวัยวะของร่างกาย ทําให้ร่างกายส่วนนั้นเคลื่อนไหวไม่ได้ หรือได้น้อยกว่าปกติ อาจมีอาการชา
ร่ ว มด้ ว ย ส่ ว นอั ม พฤกษ์ เป็ น ภาวะที่ ไ ม่ ส ามารถควบคุ ม การเคลื่ อ นไหวของร่ า งกายได้ บ างส่ ว น ทํ า ให้
เคลื่อนไหวได้ไม่ตรงตามความต้องการ
ในระหว่าง พ.ศ. 2546 – 2548 สํานักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและ
การแพทย์ทางเลือก พบว่า ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต สามารถเข้าถึงและเข้ารับการดูแลรักษาอัมพฤถษ์
อัมพาต จากแพทย์แผนไทย และหมอพื้นบ้านในท้องถิ่น หลายแห่งแสดงให้เห็นถึง แนวคิดและวิธีการรักษา
ด้วยการแพทย์พื้นบ้านมีศักยภาพและช่วยดูแลฟื้นฟูสุขภาพของผู้ป่วย ทําให้ผู้ป่วยสุขภาพกายดีขึ้น ได้อย่าง
ประหยั ดและสอดคล้องกับสังคมวัฒนธรรมท้องถิ่น สํานักการแพทย์พื้นบ้านไทย มีการศึกษาและ สรุป
ประสบการณ์การดูแลรักษาอัมพฤษ์ อัมพาต 4 แห่ง คือ วัดหนองหญ้านาง จังหวัดอุทัยธานี, หมอสง่า
พันธุ์สายศรี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, หมอพื้นบ้าน 4 คน ในตําบลวังชัย อําเภอน้ําพอง จังหวัด
ขอนแก่น และหมอพื้นบ้าน 2 คน จังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่า ภาพรวมหมอพื้นบ้านมีบทบาทการ
ดูแลรักษาผู้ป่วย อัมพฤกษ์ อัมพาต อย่างต่อเนื่อง มีวิธีการรักษาแบบหลายวิธีผสมผสาน ประกอบด้วย
ตํารับยาสมุนไพร การนวดและประคบสมุนไพร การอบสมุนไพร การเหยียบเหล็กแดง การจัดกระดูก การ
ใช้น้ํามนต์และคาถา พิธีกรรมเฉพาะ และการบริหาร / ฟื้นฟูสภาพร่างกาย กระบวนการรักษาโรคจะมีอัต
ลักษณ์ของแต่ละบุคคลขึ้นอยู่กับพื้นฐานประสบการณ์และการเรียนรู้จากบรรพบุรุษ และของตนเองเป็นระยะ
เวลานาน นอกจากนี้ ยังให้ความสําคัญกับของแสลงและการปฏิบัติตนเองของผู้ป่วย และยังมีการฝึกฝนให้
ญาติหรือคนในครอบครัวสามารถดูแลและช่วยเหลือผู้ป่วยด้วย
- 55 -
 
] การดูแลรักษาโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง เป็นภาวะที่บุคคลมีความดันโลหิตมากกว่า 160 / 95 mmHg สาเหตุมาจาก
ความสูงอายุ การบริโภคอาหาร ความอ้วน การเกิดจากโรคเรื้อรัง พฤติกรรมการสูบบุหรี่และความเครียด
ภูมิปัญญาท้องถิ่น/พื้นบ้าน ที่ใช้ประโยชน์กับโรคความดันโลหิตสูง คือ การบริโภคผักพื้นบ้านและสมุนไพรที่
มีสรรพคุ ณลดไขมันในเส้นเลื อด ช่วยลดความดันโลหิตสูง ช่วยขยายหลอดเลือด หลอดเลือดไม่ตีบตัน
ตัวอย่างเช่น คื่นฉ่าย กระเจี๊ยบ กระเทียม บัวบก ย่านาง ผักเหมียง คําฝอย หอมแดง มะขามป้อม เป็นต้น
- 56 -
 

บทที่ 4
การเคลือ่ นไหวและพืน้ ทีต่ วั อยางดานการดูแลสุขภาพผูส งู อายุดว ยภูมป
ิ ญ
 ญาพืน้ บาน

ระหว่างปี พ.ศ. 2555 – 2556 สํานักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและ


การแพทย์ทางเลือก มีภารกิจในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีการแพทย์
พื้นบ้านไทย และส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านในระบบสุขภาพภาคประชาชนและระบบสุขภาพ
ปฐมภูมิ และได้ดําเนินการจัดทํา “โครงการส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านเพื่อการดูแลสุขภาพ
ผู้สูงอายุในชุมชน” มีวัตถุประสงค์เพื่อ จัดการองค์ความรู้และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญา
การแพทย์พื้นบ้านเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ และพัฒนารูปแบบการส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านในการ
ดูแลผู้สูงอายุ พื้นที่เป้าหมาย 9 พื้นที่ต้นแบบ ใน 5 ภูมิภาค วิธีการดําเนินงาน คือ (1) การส่งเสริมการ
ใช้ประโยชน์ ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านเพื่อผู้สูงอายุ โดย การคัดเลือกพื้นที่เป้าหมาย สนับสนุน
แนวคิดและแนวทางปฏิบัติงานสําหรับพื้นที่ สนับสนุนงบประมาณ และสรุปประเมินผล และ (2) มีภารกิจ
จัดจ้างผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์พื้นบ้าน เพื่อจัดการความรู้ด้านภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านเพื่อดูแลสุขภาพ
ผู้สูงอายุ ปัจจุบันโครงการดังกล่าวดําเนินงานสําเร็จและมีรายงานสรุปงานแล้ว สําหรับบทเรียนของโครงการ
สรุปได้เป็น 2 รูปแบบหลัก คือ
(1) แนวคิดและรูปแบบการจัดการความรูด า นภูมป ิ ญ  ญาพืน้ บานดานสุขภาพเพือ่ การดูแล
สุขภาพผูสูงอายุ

ตัวอยางที่ 1
ตําบลนาไหม อําเภอบานดุง จังหวัดอุดรธานี

1. บริบททางสั งคม
ตําบลนาไหม เป็นชุมชนที่มีประวัติศาสตร์กว่า 100 ปี ในอดีตชาวไทยอีสานได้อพยพมาจากจังหวัด
ใกล้เคียง ได้แก่ จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดร้อยเอ็ด และตั้งหลักแหล่งบริเวณบ้านนา
ไหมในปัจจุบัน ต่อมาชุมชนขยายตัวและก่อรูปเป็นตําบลนาไหม ในปี พ.ศ. 2537 ตําบลนาไหมมีพื้นที่
115.47 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่บนที่ราบสูงและที่ราบลุ่มแม่น้ํา เหมาะกับการทําการเกษตร ชุมชนจะสร้าง
บ้านอยู่อาศัยบริเวณสองข้างทาง เป็นบ้านไม้มีใต้ถุนและบ้านปูนสองชั้น บ้านสร้างอยู่เป็นกลุ่มและกระจายอยู่
ในบริเวณพื้นที่ภายในชุมชน
ภายในชุมชนตําบลนาไหม มีประชากรประมาณ 10,826 คน และประกอบด้วยบ้านเรือนจํานวน
2,197 หลังคาเรือน (13 หมู่บ้าน) ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพหลัก คือ ทํานา ทําไร่ (ไร่อ้อย ยางพารา)
ทําสวน (สวนผลไม้) และเลี้ยงสัตว์ ส่วนอาชีพรอง คือ การรับจ้างทั้งในและนอกพื้นที่ ประชาชนบางส่วน
จะไปทํางานต่างประเทศ ทําให้มีรายได้และช่วยเหลือครอบครัวได้มาก ภายในชุมชนมีวิถีวัฒนธรรมแบบไทย
อีสาน ตามแนว “ฮีต 12 คอง 14” ชาวตําบลนาไหมมีการสืบทอดและจัดงานบุญประเพณี 12 เดือน
- 57 -
 
อย่างต่อเนื่องทุกปี ตัวอย่างเช่น บุญสงกรานต์ บุญบั้งไฟ บุญเบิกบ้าน บุญข้าวประดับดิน และบุญข้าวสาก
เป็นต้น
ตําบลนาไหม มี 13 หมู่บ้าน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรับผิดชอบ โดยองค์การบริหารส่วนตําบล
นาไหม (อบต.นาไหม) ส่วนด้านสุขภาพรับผิดชอบโดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลนาไหม (รพ.สต.นา
ไหม) รพ.สต.นาไหม ร่วมกับสมาชิก อบต.นาไหม ผู้นําชุมชน และผู้นํากลุ่ม/ชมรมในชุมชน ร่วมกัน
วิเคราะห์ชุมชนเพื่อศึกษาปัญหาและทางออกของชุมชน พบว่า ชาวตําบลนาไหมมีปัญหาหลายด้าน ได้แก่
ด้านเศรษฐกิจ ด้านครอบครัว / สังคม และด้านสิ่งแวดล้อม สําหรับปัญหาด้านเศรษฐกิจ คือ ครอบครัวมี
รายได้น้อย รายจ่ายมาก และทํามาหากินลําบาก และไม่มีงานทําทั้งผู้ใหญ่และเยาวชน ด้านครอบครัว/
สังคม พบว่า ชุมชนและครอบครัวมีความขัดแย้ง ขาดความสามัคคี หลงวัตถุ หลงอบายมุข (การพนัน
สุรา บุหรี่ ยาเสพติด) เด็กไม่เชื่อฟังพ่อแม่ เหงา ขาดความอบอุ่น และครอบครัวต้องเลี้ยงลูกหลานเยอะ
ด้านสิ่งแวดล้อม ชุมชนมีปัญหามลพิษทางเสียง และมีปัญหาน้ําเสียในชุมชน นอกจากนี้ยังได้มีการประชุม
เพื่อกําหนดความคาดหวังของชุมชน ที่สําคัญ คือ ประชาชนมีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ และใช้ชีวิต
อย่างพอเพียง ภาคีเครือข่ายมีอํานาจตัดสินใจและมีความเข้มแข็ง อบต. กระจายอํานาจและส่งเสริมการ
ทํางานของทุกภาคส่วน ตลอดจนสืบสานวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ อย่างไรก็ตาม การ
วิเคราะห์ชุมชนครั้งนี้ยังขาดข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์และวิถีชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชน จากข้อมูลเกี่ยวกับ
ปัญหาในชุมชนคาดว่า ผู้สูงอายุอาจมีบทบาทดูแลสุขภาพและหลานที่พ่อแม่ไปทํางานต่างถิ่น อันเป็นบทบาท
สําคัญของผู้สูงอายุในชนบทปัจจุบัน

2. สถานการณ์ ด้านสุ ขภาพของผู้สูงอายุ


รพ.สต.นาไหม รายงานว่า ในตําบลนาไหม 13 หมู่บ้าน มีจํานวนผู้สูงอายุทั้งหมด 1,166 คน แต่
ผู้สูงอายุที่อยู่จริงมีจํานวน 805 คน จําแนกเป็น กลุ่มสุขภาพดี 387 คน กลุ่มสุขภาพมีความเสี่ยง 193
คน กลุ่มมีโรค 196 คน กลุ่มที่พิการ 44 คน สําหรับแนวคิดในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุเป็นไปตามพันธ
กิจหลักของการบริการสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล คือ “การให้บริการเชิงรุก เชื่อมต่อกับภาคี
สุขภาพ และเชื่อมโยงกับทุกภาคส่วนในชุมชน” หัวใจการบริการผู้สูงอายุ คือ การประสานความร่วมมือ
การบริการสุขภาพผู้สูงอายุ ระหว่างภาคีบริการชุมชน/ท้องถิ่น ภาคีบริการสุขภาพและภาคีบริการสังคม
สําหรับ รพ.สต.นาไหม ให้ความสําคัญกับผู้บริการ มีเจตคติที่ดีต่อผู้สูงอายุและความสูงอายุ มีความรู้และ
ทักษะการดูแลผู้สูงอายุ ระบบบริการและสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรต่อผู้สูงอายุสําหรับการจัดบริการผู้สูงอายุ
เป้าหมายการบริการผู้สูงอายุ คือ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันภาวะทุพพลภาพและส่งเสริมความเป็น
อิสระ/ความพึ่งพาตนเองของผู้สูงอายุ รพ.สต.นาไหม มีการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุอย่างเหมาะสมสําหรับ
ผู้สูงอายุ 3 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้สูงอายุที่เจ็บป่วย กลุ่มผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ และกลุ่มผู้สูงอายุสุขภาพดี
ตามแนวทางการบริการสุขภาพแบบผสมผสาน และสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ
ตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข
- 58 -
 
3. แนนวคิดและแนววทางการพัฒนาคุ ฒ ณภาพชีชวิตของผู้สูงอายุอ
ภายในตําบลนาไหม มีกลไก “ชมรรมผู้สูงอายุ ตํตาบลนาไหม”” เพื่อสร้างงความมั่นคงททางสังคมเพื่อ
ผู้สูงอายุ มีจํานวนนสมาชิก 1655 คน คิดเป็นร้ น อยละ 20.5 ของผู้สูงอายุทั้งหมดขอองตําบลนาไหมม มีประธานน
ชมรมมและคณะกรรรมการดําเนินนงานชมรมผูผู้สูงอายุมีบทบาทพัฒนาคุคุณภาพชีวิตแและความมั่นคงทางสังคมม
สํ า หรัรั บ ผู้ สู ง อายุ โดยมี อ งค์ ก ร/หน่ ว ยงานนภายในพื้ น ที่ ใ ห้ ก ารสนั บสนุบ น คื อ อบต.นาไหมม สนั บ สนุ น
งบปรระมาณด้านกิจกรรมของชม จ มรม รพ.สต. สนับสนุนด้านบริ
า การและะด้านคําปรึกษษา ด้านสุขภาาพ และกลุ่ม
ธรรมรัฐชุมชน อําเภอบ้านดุง สนั ส บสนุนการรจัดการความรูรู้และการบริหารของชมรม

ระยะที่ผ่านมา า ชมรมมผู้สูงอายุ ตําบลนาไหมมีมีกิ จ กรรมสํ าคั
า ญ 3 ด้าน คือ (1) การจัดการร
สวัสดิการ มีการจจัดกองทุนอออมเงิน การจััดสวัสดิการฌ ฌาปนกิจ การช่วยเหลือค่าารักษาพยาบาล และการร
บริจาคเงิ
า นช่วยเหลืลือสังคม เพืพื่อเป็นการส่งเสริมการออมมและช่วยเหลืลือสมาชิกชมมรมเมื่อจําเป็น (2) การร
ส่ ง เสสริ ม อาชี พ แ ละรายได้ โดยส่ ง เสริ มการ ม
รวมกกลุ่มด้านอาชีพ เช่น การททอผ้า การทอเสื่อ
และกการจักสาน เป็นต้น และะนําไปจําหน่ายใน
งานเททศกาลเพื่อใหห้สมาชิกชมรรมมีรายได้ อีกทั้ง
จั ด กาารศึ ก ษาดู ง า นเพื่ อ ให้ มี ก ารพั า ฒ นางานนฝี มื อ
(3) การเพิ่ ม ศั ก ยภาพของผู ย ้ สู ง อายุ เป็ นการ

ส่ ง เส ริิ ม ให้ ผู้ สู ง อาายุ ที่ มี ภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น และ
ทักษะะการทําหัตถกกรรม (จักสานน ทอผ้า ทออเสื่อ)
ถ่ายททอดภูมิปัญญาให้กับลูกหลลานหรือสมาชิชิกใน
ครอบบครั ว เพื่ อเป็ อ น การส่ ง เสริ ม คุ ณ ค่ าของ า
ผู้สูงอายุ
อ และสืบทออดภูมิปัญญาทท้องถิ่นให้คงออยู่กับ
ชุมชนนต่อไป

4. บททเรียนการจัดการความรู
ด ้ และส่
ล งเสริมภูมิมปิ ัญญาการแแพทย์ พนบ้ ื าน
รพ.สต.นาาไหม มีการดดําเนินงานใน “โครงการสส่งเสริมการใช้ช้ประโยชน์ภูมมิิปัญญาการแแพทย์พื้นบ้าน
เพื่อดูแลสุขภาพในนชุมชน” ในนปี พ.ศ. 25566 เป็นการศึกษาภู ก มิปัญญาาการแพทย์พ้ืนบ้านเพื่อการดูแลสุขภาพพ
ผู้สูงอายุ และการสสรุปบทเรียนกการส่งเสริมกาารแพทย์พื้นบ้านของพื้นที่ มีรายละเอียยดดังนี้
4.1 ผลกการศึ ก ษาภู มิมิ ปั ญ ญาการดูดู แ ลสุ ข ภาพ ของผู้ สู ง อายยุ ต้ น แบบ ผู้ ศึ ก ษาได้ กํ า หนดเกณฑ์ /
คุณลักษณะของผู
ก ้สูสูงอายุต้นแบบบ หมายถึง ผูผ้สูงอายุที่มีอายุ
า 80 ปีขึ้นไป น สุขภาพดีดี ไม่มีโรคปรระจําตัวหรือมี
โรคประจําตัวแต่ควบคุ ว มดูแลโรคคได้ ช่วยเหลืลือตนเองได้ มีสุขภาพจิตดี และชุมชนนยอมรับนับถือ และมีการร
สัมภาาษณ์ผู้สูงอายุต้นแบบจํานววน 16 คน พบว่า ผู้สูงอายุ ง ต้นแบบ 16 คน ประกอบด้วย เพศหญิง 9
คน เพศชาย
เ 7 คน
ค อายุระหว่าง 81 – 92 ปี พบว่า ปัจจัยที่ทําให้ ใ ผู้สูงอายุมีออายุยืนเป็นการดูแลสุขภาพพ
แบบอองค์รวม ครออบคลุมทั้งสุขภาพกาย ภ สุขภาพจิ
ภ ตใจ/อาารมณ์ สุขภาพพสังคม และะสุขภาพจิตวิญญาณ ญ
- 59 -
 
™ ด้านกการดูแลสุ ขภาาพกาย ผู้สูงอายุ อ ส่วนใหญ่มีมสุขภาพกายแข็งแรง ช่วยเหลื ย อตนเองง
ในกิจวัจ ตรประจําวัันได้ มีการดูดูแลสุขภาพแลละดําเนินชีวิตแบบเรีต ยบง่าย
า พออยู่พออกินตามวิถีชีวิตชาวอีสานน
สําหรัรับการรับประทานอาหาร ส่วนใหญ่ลูกหลานจะเตรี ห ย อซื้ออาหหารให้ผู้สูงอายุ อาหารส่วนใหญ่จะเป็น
ยมหรื
ผัก แลละปลา เป็ นอาหารอ่
น อน รสจื ดหรือ รสไม่
ร จั ด ผั กอาจมาจาก
ก สวนผั ก ในบ้าาน หรือ ตลาาดในท้ อ งถิ่ น
ผู้สูงอายุบางคนจะงงดหรือเลี่ยงการรับประทานนเนื้อสัตว์ กบบ ปลาไหล ไก่ ไ บางคนรับบประทานอาหหารเสริมเพื่อ
บํารุงร่างกาย และะเมื่อเจ็บป่วย ผู้สูงอายุบางคนมี า การใช้้สมุนไพรเพื่อดูแลตนเอง เช่น ขมิ้น ฟ้าทะลายโจรร
ข่อย กวาวเครือขาว – แดงง กระชายดํา เหงือกปลาาหมอ เสลดพังพอน และะหญ้าหนวดแแมว เป็นต้น
ผู้สูงอายุ
อ ส่วนใหญ่ไม่ ไ ดื่มสุราและะไม่สูบบุหรี่ ส่สวนการออกกําลังกาย ผู้สูงอายุส่วนใหหญ่มีการออกกกําลังกายทั้ง
เป็นแบบแผน
แ และะไม่เป็นแบบแแผน การออกกกําลังกายที่เป็นแบบแผนมมีการยืดเหยียยด การเดิน การวิ่งเบา ๆ
ประมมาณ 15 – 200 นาทีหลังตื่นนอนทุกวัน ส่วนการออกกําลังกายที่ไม่ ไ เป็นแบบแผผน มีการปลูลูกต้นไม้ การร
ปลูกสมุส นไพร การรปลูกผักสวนคครัว การทํทํางานบ้าน การปั่นจักรยานน เป็นต้น
™ ด้านกการดูแลจิตใจจ / อารมณ์ ผู้สูงอายุทุกคนนจะมีสุขภาพจิจิตดี แจ่มใส และจัดการร
กับคววามเครียดและปัญหาที่เข้ามากระทบจิ
า ต
ตใจได้ หลายยคนกล่าวถึง การปล่อยวาาง การไม่คิดมาก ด การไม่ม่
พูด / เฉย ๆ การไไม่เก็บเรื่องที่ไม่ ไ สบายใจมาาคิดมาก / หรืรือใส่ใจ ปล่อยให้ อ เรื่องราววผ่านไป การรดูแลจิตใจให้ห้
สงบ ปราศจากคววามโกรธ บางงคนอาจใช้วิธีธีระบายความรู้สึกด้วยการบบ่น/การพูด ไม่นานก็หาย อย่ อ างไรก็ตามม
ผู้สูงอายุ
อ หลายคนมีมีการสวดมนต์ต์เป็นประจําทุกวัน และยังมี ง การดูแลสุขภาพจิ
ข ตใจตนนเองด้วยการไไปทําบุญและะ
ฟังธรรมเป็นประจํา
™ การดดู แ ลด้ า นจิ ตวิ ต ญ ญาณ
ชุ ม ชนนนาไหมเป็ นชุ น ม ชนชาวพุ ทธ มี ศ าสนนาพุ ท ธเป็ น
หลัก คํค าสอนการใชช้ชีวิตและมี วัวัฒนธรรมไท ยลาว คือ
“ฮีตสิบสอง คองสิสิบสี่” เป็นสิ น ่งที่ยังถืออยย่างต่อเนื่อง
ผู้สูงอายุ
อ ส่วนใหญ่เข้ เ าร่วมประเพพณีของชุมชนน และยังมี
พิ ธี ก รรมการสู
ร ่ ข วัั ญ การผู ก ข้ อ ต่ อ แขน เ ป็ น การยึ ด
เหนี่ยวจิตใจระหว่างคนในชุ
า มชนน
™ การดูดูแลด้านสังคมม ผู้สูงอายุทุกคนได้รับการดูแลเอาใจใส่จากครอบคครัวและสังคมม
อบต.นาไหม มีการสนับสนุนเบี เ ้ยยังชีพผู้สูงอายุ
ง และสนนับสนุนกิจกรรรมของชมรมมผู้สูงอายุ แลละยังส่งเสริม
ด้านอาชีพ/รายได้
พ แลละ รพ.สต.นาไหม ยังดูแล
ด้านสุข ภาพและรั
ภ กษษาโรค ทําให้ห้ ผู้สูงอายุเข้า
ร่วมกิจกรรรมชมรมผู้สูงอายุ เช่น การทําบุญในน
งานประ เพณี การอออกกํ า ลั ง กา ย การรํ า วงง
งานวันผู้สูงอายุ เป็นนต้น ทําให้ผู้สูงอายุได้รับ
การดูแล มีการรวมกลลุ่มและมีสังคมผู้สูงอายุที่ดีดี
ร่วมกัน
- 60 -
 

4.2 ผลการศึกษาภูมิปัญญาด้ านสุ ขภาพของหมอพืนบ้ าน ผู้ศึกษาของ รพ.สต.นาไหม มีการรวบรวมข้อมูล


หมอพื้นบ้านในพื้นที่ตําบลนาไหม โดยการเสาะหาหมอพื้นบ้านและกําหนดประเด็นการสัมภาษณ์เชิงลึก
สําหรับหมอพื้นบ้าน จากนั้นจึงสัมภาษณ์และเรียบเรียงข้อมูลเกี่ยวกับประวัติและองค์ความรู้หมอพื้นบ้านเป็น
รายบุคคล (แบบสังเขป) และสุดท้ายมีการสรุปภาพรวมของหมอพื้นบ้านของตําบลนาไหม
จากการศึกษาภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้านของตําบลนาไหม ผู้ศึกษามีการจําแนกเป็นหมอพื้นบ้าน 23
คน และหมอยาน้อย 9 คน (หมายถึงหมอยาสมุนไพรที่เป็นลูกศิษย์หมอพื้นบ้านรุ่นเก่า หรือบางที่เรียกว่า
“หมอยาใหญ่” เป็นบุคคลที่สนใจเรียนวิชากับหมอยาใหญ่) หมอพื้นบ้าน เป็นกลไกหนึ่งของวัฒนธรรม
สุขภาพชุมชนมาช้านาน เป็นผู้
ที่ มี พื้ น เ พ ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม
เดี ย วกั บ ผู้ ป่ ว ย และเป็ น ที่ พึ่ ง
ทางกายและทางจิ ต ใจสํ าหรั บ
ชุมชน หมอพื้นบ้านมีการเรียน
วิ ช าจากบรรพบุ รุ ษ หรื อ ญาติ
ผสมผสานกั บ การเรี ย นรู้ ด้ ว ย
ตนเอง (จากตํ า รา/หนั ง สื อ )
และเรี ย นรู้ จ ากประสบการณ์
การรักษาผู้ป่วย หมอพื้นบ้าน
ประกอบด้วย หมอยาสมุนไพร
หมอเป่า หมอกระดูก หมอนวด/หมอตําแย มีความสามารถในการรักษาอาการกระดูกหัก โรคกระเพาะ
อาหาร กาง (ปากเปื่อยในเด็กแรกเกิด) กําเริด อาการกินผิด ไข้หมากไม้ (อาการไข้ ออกตุ่มตามร่างกาย)
งูสวัด ดีซ่าน ตับ ตาแดง ท้องร่วง การทําคลอด อาการปวดเมื่อย นิ่ว สัตว์มีพิษกัด วิธีการรักษาคือ การ
เป่า การนวด และการใช้ยาสมุนไพร ผู้ศึกษาได้ศึกษาและจดบันทึกโรคที่ชํานาญ อาการป่วยและตํารับยา
สมุนไพรเพื่อการรักษาผู้ป่วยเพียง 1 โรคโดยสังเขป หมอพื้นบ้านติดตามผู้ป่วยโดยการดูอาการหรือตรวจจาก
ผู้ป่วย โดยที่ก่อนการรักษาโรคของหมอพื้นบ้านจะมี “การตั้งคาย” และเมื่อผู้ป่วยหายจะมี “การปลงคาย”
ด้วย
สําหรับหมอพื้นบ้านที่เป็น หมอยาน้อย 9 คน ทั้งหมดเป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 40 – ราว 60
ปี ส่วนใหญ่มีบรรพบุรุษเป็นหมอพื้นบ้าน หรือเป็นผู้ที่สนใจและได้รับการชักชวนเข้ากลุ่มหมอพื้นบ้านในปี
พ.ศ. 2554 มีทั้งหมอยาสมุนไพร และหมอนวด หมอยาน้อยเหล่านี้มีการศึกษาวิชาจากบรรพบุรุษที่เป็นหมอ
พื้นบ้าน และยังมีบทบาทบันทึกข้อมูลผู้ป่วยของหมอพื้นบ้าน ตลอดจนร่วมกิจกรรมและเรียนรู้ยาสมุนไพรไป
พร้ อ มกั บ กลุ่ ม หมอพื้ น บ้ า น อํ า เภอบ้ า นดุ ง นอกจากนี้ เป็ น ที่ น่ า สั ง เกตุ ว่ า กลุ่ ม หมอยาน้ อ ยมี พื้ น ฐาน
การศึกษาทั้ง ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา (ระดับมัธยมศึกษา 3 – 6 จํานวน 3 คน จาก
กศน.) อาจมีความเป็นไปได้ในการสร้างโอกาสให้ผู้สนใจได้เรียนรู้วิชาเภสัชกรรมแผนไทยที่เป็นทางการอย่าง
ต่อเนื่อง
- 61 -
 
นอกจากการศึกษาภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้านแล้ว ผู้ศึกษายังได้มีการศึกษาภูมิปัญญาจากปราชญ์
ชาวบ้านที่เป็นผู้สูงอายุที่มีความชํานาญ 3 สาขา สาขาที่ 1 ปราชญ์ชาวบ้านสาขาศาสนา ประเพณี และ
พิธีกรรม มีจํานวน 4 คน สืบทอดวิชาจากบรรพบุรุษ เรียนรู้ด้วยการจดจําและสังเกตุด้วยตนเอง และมี
การเรียนรู้เพิ่มเติมจากหนังสือด้านศาสนา มีความสามารถในการทําพิธีสู่ขวัญ การสะเดาะเคราะห์ การแต่ง
แก้ชะตา การร้องสรภัญญะ การแต่งกลอนอีสาน และมีการสืบทอดประเพณีให้ลูกหลานที่สนใจ สาขาที่ 2
ปราชญ์ชาวบ้าน สาขาการแพทย์แผนไทย มีจํานวน 4 คน อายุระหว่าง 60 – 70 ปี เป็นเพศชายและ
เป็นหมอยาสมุนไพรและหมอเป่า มีการเรียนวิชาจากบรรพบุรุษและหมอพื้นบ้านรุ่นเก่า ใช้วิธีการเป่าและการ
ใช้ยาต้มสมุนไพรรักษาโรคในชุมชน ยาสมุนไพรมาจากการปลูกในบริเวณบ้านและจากป่าธรรมชาติ สาขาที่
3 ปราชญ์ชาวบ้าน สาขาการเกษตรและการทํามาหากิน มีจํานวน 29 คน จําแนกเป็น การทอเสื่อกก 9
คน การจักสาน 10 คน การเกษตรพอเพียง 3 คน การทอผ้าไหม 1 คน หมอแคน 1 คน การร้อง
สรภัญญะ 1 คน การทําปลาร้า 1 คน การทําบั้งไฟ 1 คน และการทํายาตั้ง (ลูกประคบสมุนไพร 3
ตํ า รั บ ) 1 คน ภู มิ
ปัญญาเหล่านี้เป็นประสบการณ์
และทั กษะที่ อยู่ ใ นผู้ สู งอายุ
อบต.นาไหมและผู้ นํ า ท้ อ งถิ่ น มี
การส่ ง เสริ ม ภู มิ ปั ญ ญาเพื่ อ เป็ น
การส่ ง เสริ ม งานหั ต ถกรรม
พื้ น บ้ า นเป็ น แหล่ ง รายได้ ข อง
ชุ ม ชน และยั ง มี ก ารสนั บ สนุ น
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนความรู้
การศึ ก ษาดู ง าน การอบรม
เพิ่ ม เติ ม เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ค่ า และ
คุ ณ ภา พข อ งงาน ใ ห้ มี ความ
หลากหลาย และยั ง มี ก าร
ถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับลูกหลานและประชาชนที่สนใจ โดยการสาธิตและฝึกปฏิบัตเิ พื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาของ
ชุมชนต่อไป
4.3 การสรุ ปบทเรียนการส่ งเสริมการแพทย์ พนบ้
ื าน อําเภอบ้านดุงเป็นพื้นที่ที่มีบทเรียนการทํางาน
การอนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน ริเริ่มโดย “กลุ่มใบชะโนด” เป็นการรวมตัวของ หมอ
พื้นบ้านในพื้นที่ 3 ตําบล คือ ตําบลบ้านชัย ตําบลนาไหม และตําบลบ้านม่วง ในปี พ.ศ. 2549 และยังมี
การตั้งคํานิยมร่วมกันว่า “ซอกหาคน ค้นหายา สร้างศรัทธา หาแนวทํา” ระยะแรกจึงเป็นการค้นหา
หมอพื้นบ้าน โดยตําบลนาไหมมีการขึ้นทะเบียนหมอพื้นบ้านที่มีบทบาทในชุมชน จํานวน 24 คน ปัจจุบันมี
หมอพื้นบ้านจํานวน 21 คน บางส่วนได้เสียชีวิตแล้ว ประกอบด้วย หมอยาสมุนไพร หมอเป่า หมอนวด
หมอกระดูก และหมอตําแย รวมตัวเป็น “ชมรมหมอพื้นบ้านตําบลนาไหม”
- 62 -
 
สําหรับ “การค้นหายา” เป็นกิจกรรมของชมรมหมอยาพื้นบ้านที่มุ่งศึกษาอนุรักษ์และสร้างแหล่ง
เรียนรู้สมุนไพรสําหรับชุมชน หมอยาพื้นบ้านตําบลนาไหมร่วมกับ อบต.นาไหมและผู้นําชุมชนปรึกษาหารือ
เกี่ยวกับสมุนไพรและศึกษาแนวทางการเรียนรู้และหาแนวทางดูแลรักษาสมุนไพรในท้องถิ่น ในช่วงเวลา พ.ศ.
2554 – 2555 ชมรมหมอพื้นบ้านมีการเคลื่อนไหว 3 กิจกรรม ประกอบด้วย (1) การสํารวจพื้นที่ป่า
ธรรมชาติในพื้นที่ตําบลนาไหม ชมรม / เครือข่ายหมอยาพื้นบ้านของอําเภอบ้านดุง ร่วมกันค้นหาและบันทึก
สมุนไพรในป่าธรรมชาติ พบว่า ป่าธรรมชาติยังคงเป็นแหล่งสมุนไพรและมีสมุนไพรมากกว่า 70 ชนิด ซึ่ง
สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้สมุนไพรของชุมชนได้ (2) การทําสวนสมุนไพรของชุมชน ชมรมฯ ต้องการให้เกิด
แหล่งสมุนไพรเพื่ออนุรักษ์และกลายเป็นแหล่งเรียนรู้สมุนไพร จึงได้จัดกิจกรรมระดมความร่วมมือจากชุมชน
เพื่อทํา “สวนสมุนไพร” ในชุมชน โดย อบต.นาไหม ได้มอบพื้นที่ว่างของ อบต.ให้เป็นสวนสมุนไพร
ชมรมฯ จึงร่วมมือกับ อบต.นาไหม อสม. และสมาชิกชุมชน ระดมพันธุ์สมุนไพรคนละ 1 – 2 ต้น และ
ร่วมกันปลูกสมุนไพร มีสมุนไพรทั้งหมดประมาณ 30 ชนิด (3) การทําสวนสมุนไพรในวัดป่าทาน
เจ้าอาวาสวัดป่าทานสนใจพืชสมุนไพรและได้จัดทําสวนสมุนไพรไว้ในบริเวณวัดเพื่อเป็นแหล่งยาสมุนไพรและ
แหล่งเรียนรู้ของชุมชน ชมรมฯ มีการประสานและร่วมมือกับเจ้าอาวาสวัดป่าทานปลูกสมุนไพรเพิ่มเติมและ
จัดเป็นสวนสมุนไพร โดยระดมความร่วมมือและการจัดหาพันธุ์สมุนไพรจากชาวบ้านในชุมชน และนํามา
ช่วยกันปลูกในบริเวณวัด จึงทําให้ชุมชนมีสวนสมุนไพรเป็นแหล่งเรียนรู้ในวัด และหากชาวบ้านต้องการใช้
สมุนไพร ก็สามารถขอจากทางวัดได้
ส่วน “การสร้างศรัทธาและการหาแนวทํา” หมายถึงการที่ชมรมหมอพื้นบ้านตําบลนาไหม มี
ความประสงค์เพื่อสร้างกระแสความสนใจต่อการแพทย์พื้นบ้านและกระตุ้นเสริมสร้างให้ประชาชนมีความรู้
ความเข้าใจและนําไปพัฒนาพฤติกรรมตนเองให้แข็งแรง เมื่อหมอพื้นบ้านในตําบลนาไหมขึ้นทะเบียนและ
รวมกันเป็น “ชมรมหมอพื้นบ้านตําบลนาไหม” แล้วมีการทํางานร่วมกันและจัดให้มีคณะกรรมการชมรมหมอ
พื้นบ้านตําบลนาไหม ประชุมและปรึกษาแนวทางการอนุรักษ์และฟื้นฟูความรู้การแพทย์พื้นบ้านสู่ชุมชน มี
การเขียน “โครงการคืนความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่ชุมชน” โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนการทํางานทั้งหมด
จํานวน 40,000 บาท จาก อบต.นาไหม จํานวน 20,000 บาท และจากกองทุนสุขภาพตําบลนาไหม
จํานวน 20,000 บาท การทํางานรับผิดชอบโดยชมรมหมอพื้นบ้านตําบลนาไหม และชมรมหมอพื้นบ้าน
อําเภอบ้านดุง ร่วมกันทํางาน มีกิจกรรมการศึกษาสมุนไพรในป่าธรรมชาติ กลุ่มเป้าหมาย คือ เด็กนักเรียน
ในโรงเรียนเขตตําบลนาไหม ชมรมฯ ร่วมมือกับโรงเรียนโดยให้นักเรียนได้เรียนรู้สมุนไพรและการนําสมุนไพร
ไปใช้ประโยชน์ และมีหมอพื้นบ้านเป็นวิทยากรแนะนําสมุนไพร และนําศึกษาสมุนไพรในป่าธรรมชาติ และ
ยังมีกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการบันทึกข้อมูลการรักษาโรคของหมอพื้นบ้าน กิจกรรมนี้เกิดจากการ
ประชุมแลกเปลี่ยนระหว่างหมอพื้นบ้าน มีการจัดทําป้ายชื่อ – ที่อยู่หมอพื้นบ้าน และชื่อของ “ศูนย์เรียนรู้
หมอยาพื้นบ้านสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น” ไว้หน้าบ้านของหมอพื้นบ้าน เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งดูแล
รักษาโรคแบบพื้นบ้านในชุมชน และยังวิเคราะห์ร่วมกันถึงการรักษาโรคของหมอพื้นบ้านได้มีการบันทึก จึงไม่
สามารถแสดงได้ถึงจํานวนผู้ป่วย รักษาอย่างไร? รักษาด้วยยาสมุนไพรอะไรบ้าง? และผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น
หรือไม่? อย่างไร? ในปี พ.ศ. 2553 กลุ่มหมอพื้นบ้านในตําบลนาไหม จึงมีแนวคิดการบันทึกผู้ป่วยและการ
- 63 -
 
รักษาโรคของหมอพื้นบ้านขึ้น เพื่อให้มีข้อมูลการให้บริการการรักษาโรคของหมอพื้นบ้าน และเป็นข้อมูล/
แหล่งเรียนรู้ของคนรุ่นหลังและผู้สนใจในชุมชน
นอกเหนือจากการทํางานการแพทย์พื้นบ้านอีสานในชุมชนแล้ว ชมรมหมอพื้นบ้านตําบลนาไหมยังมี
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ภูมิปัญญาระหว่างชมรมและเครือข่ายหมอพื้นบ้านทั้งในอําเภอบ้านดุงและนอกอําเภอบ้านดุง
ซึ่งหมายถึง ชมรมหมอยาพื้นบ้านสืบสานภูมิปัญญาตําบลบ้านดุงและจังหวัดอุดรธานี และยังเชื่อมโยงและ
ร่วมเรียนรู้/ทํางานร่วมกับเครือข่ายหมอพื้นบ้าน จังหวัดสกลนคร จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดแพร่ และ
จังหวัดพะเยา สําหรับในจังหวัดอุดรธานีมีเครือข่ายหมอพื้นบ้านทั้งหมด 6 อําเภอ คือ อําเภอบ้านดุง
อําเภอทุ่งฝน อําเภอเพ็ญ อําเภอกุมภวาปี อําเภอหนองแสง และอําเภอประจักษ์ศิลปาคม ในปี พ.ศ.
2554 เครือข่าย หมอพื้นบ้านจังหวัดอุดรธานีจํานวน 49 คน ได้เดินทางด้วยการปั่นจักรยานในกิจกรรม
“ปั่นจักรยาน สานพลัง ฟังปราชญ์ชาวบ้าน สื่อสารสุขภาพ” ไปเรียนรู้และเยี่ยมเยือนหมอพื้นบ้านในจังหวัด
สกลนคร และจังหวัดนครพนม เกิดความคิดและการเรียนรู้ระหว่างกันในภูมิปัญญาท้องถิ่น อีกทั้งสื่อสารด้าน
สุขภาพให้กับประชาชนด้วย นอกจากนี้ ระหว่างการประชุมปรึกษาระหว่างหมอพื้นบ้านเกิดเป็นแนวคิดและ
แนวทางการทํางานอนุรักษ์และฟื้นฟูสมุนไพรในชุมชนด้วย และในปลายปี พ.ศ.2554 เครือข่ายหมอพื้นบ้าน
ของจังหวัดแพร่ จังหวัดลําปาง และจังหวัดเชียงราย ได้มาดูงานและเยื่อมเยือนยังพื้นที่ทํางานของชมรม/
เครือข่ายหมอพื้นบ้านจังหวัดอุดรธานี เช่นกัน ในการส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านที่ผ่านมา ได้พบ
ปัญหาที่สําคัญคือ ประสบการณ์และ ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านเป็นการบอกเล่าของผู้สูงอายุ ไม่เคย
จดบันทึกเป็นตัวอักษร ข้อมูลอาจมีความไม่สมบูรณ์และคลาดเคลื่อนจากความจริงบ้างหรือบางครั้ง ผู้สูงอายุ
ก็ลืมบอกเล่าสาระสําคัญและช่วงเวลาที่เก็บข้อมูลมีความจํากัด ทําให้การทํางานล่าช้าและอาจไม่ครบถ้วน
สมบูรณ์
จากการจัดการความรู้ด้านภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพของ รพ.สต.นาไหม พบว่า ตําบลนาไหมได้
เรียนรู้และประมวลภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ อันเป็นทุนทางภูมิปัญญาและทุนทางสังคมที่สําคัญ ความรู้
สํ า คั ญ คื อ วิ ถี ชี วิ ต และการดู แ ลสุ ข ภาพเพื่ อ อายุ ยื น ชนิ ด และการใช้ ป ระโยชน์ ส มุ น ไพรในท้ อ งถิ่ น
ประสบการณ์การรักษาโรคแบบพื้นบ้านของหมอพื้นบ้าน ความรู้เหล่านี้สามารถนํามาใช้ประโยชน์และต่อยอด
เพื่อเศรษฐกิจของชุมชน และสร้างให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ และสืบทอดภูมิปัญญาพื้นบ้านด้าน
สุขภาพสู่คนรุ่นหลังและประชาชนต่อไป
- 64 -
 

ตัวอย
ยางที่ 2
ตําบลทุงคลอง
ง อําเภอคําม
มวง จังหวั
ห ดกาฬสิสินธุ

1. บริริ บททางสังคมม
ตําบลทุ่งคลอง
ค เป็นพื้นที
น ่รับผิดชอบบของ “โรงพยาบาลคําม่วง” อําเภอคําม่วง จังหวั
ห ดกาฬสินธุ์
และมีมีเทศบาลคําม่มวงเป็นองค์กรปกครอง

ส่ ว น ท้ อ งถิ่ น รั บผิ
บ ด ชอบกาารพั ฒ นา
คุ ณ ภาพชี
ภ วิ ต ปรระชาชนเป็ นชาวไทย- น
อี ส านน และสื บ ท อดความเชื่ อและแนว

ปฏิ บั ติ ป ระเพณี ฮี ต สิ บ สอง คองสิ บ สี่
ตํ า บ ลทุ่ ง คลอง ประกอบดด้ ว ย 13
หมู่บ้าน
า มีประชาากร 8,837 คน และ
2,6500 หลังคาเรือน

2. สถถานการณ์ดา้ นสุ น ขภาพของงผูส้ ูงอายุ


ตําบลทุ่งคลอง
ค มีผู้สูงอายุ
อ จํานวน 896
8 คน คิดเป็ ด นร้อยละ 10.14 จําแแนกเป็นผู้สูงอายุ
อ ชาย 4122
คน และผู แ ้สูงอายุหญิง 484 คน และจากการรายงานน
ภาวะะสุขภาพของ ผู้สูงอายุปี พ.ศ. พ 2546 เป็ เ น 3 กลุ่ม
คือ กลุ ก ่มที่ 1 กลุลุ่มผู้สูงอายุติดสังคม (สุขภาาพดี) จํานวนน
761 คน (ร้อยละ 84.9) กลุ่มที่ 2 กลุลุ่มผู้สูงอายุติด
บ้าน จํานวน 1155 คน (ร้อยลละ 12.83) และกลุ่มที่ 3
กลุ่มผู้สูงอายุติดเตีตียง จํานวน 20 คน (ร้ร้อยละ 2.233)
และเมืมื่อสํารวจภาววะการป่วยขอองผู้สูงอายุโรคคเรื้อรัง พบว่า
ผู้ สู ง อายุ
อ เ ป็ น โรคเ บาหวานจํ า นวน น 122 คน และโรคค
ความดันโลหิตสูง 136 คน

3. แนนวคิดและระบบบการบริ การรสุ ขภาพผูส้ ู งอายุ



โรงพยาบบาลคํ า ม่ ว ง มี แ นวคิ ด กา รดู แ ลและสรร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพผู
ภ ้ สู ง อายยุ แ บบครบวงงจร และให้ห้
ความมสําคัญกับการรพัฒนาแบบยยั่งยืน และอาศัยชุมชนเป็นฐาน โรงพยยาบาลคําม่วงงมีการทํางานนผู้สูงอายุด้วย
การเชืชื่อมโยงกับหน่วยงานในพืพื้นที่ คือ เทศบาลคําม่วง อบต.ทุ่งคลลอง ร่วมกันดูแลคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุยุ
ตลอดดจนสร้างการมีส่วนร่วม สนั ส บสนุนให้เกิดการรวมตัวและเครือข่ายของผู ย ้สูงอายุยุ เพื่อให้เกิดความเข้
ค มแข็ง
และตต่อยอดทุนทางงสังคมของผูสูส้ ูงอายุ
- 65 -
 
การจั ด ระะบบดู แ ลและะบริ ก ารด้ า นสุ
น ข ภาพ
ผู้ สู ง อายุ
อ มี ก าร จํ า แนกตาม สถานะสุ ข ภาพของภ
ผู้สูงอายุ คือ “กลลุ่มสุขภาพปกติ” จะให้ความสําคัญ
กับกาารให้ความรู้สขภาพตามหลั
ขุ ัก 8 อ. และะ 3 อ. 2
ส. “กลุ่มสุขภาพทีที่มีความเสี่ยงจจะเกิดโรค” มีการให้
ความมรู้เพื่อการปรับเปลี
บ ่ยนพฤติติกรรมการดูแลสุขภาพ
และฝึฝึ ก สอนการอออกกํ าลัง กายย การตรวจ คัด กรอง
และดูดูแลอย่างต่อเนืนื่อง และ “กกลุ่มที่มีการป่วย”
ว มี
การตตรวจสุขภาพปประจําปี กาารดูแ ลรักษาาและการ
เยี่ยมบบ้านโดยทีมสหหวิชาชีพ

4. แนนวคิดและการรขับเคลือนกาารพัฒนาคุณภาพชี ภ วิตของผผูส้ ูงอายุ


ด้ ว ยแนวคิคิ ด การสร้ า ง การมี ส่ ว นร่ วมและพั
ว ฒ น าเครื อ ข่ า ย เพื่ อ พั ฒ นาคคุ ณ ภาพชี วิ ต ของผู
ข ้ สู ง อายุยุ
โรงพยยาบาลคําม่วงมีง การจัดตั้งแลละส่งเสริมการรวมตัวของผูผู้สูงอายุ ภายยใต้ชื่อ “ชมรรมผู้สูงอายุตําบลทุ่งคลอง”
มีสมาชิกผู้สูงอายุจํานววน 200 คนน มีกิจกรรมม
การประชชุมสมาชิกชมมรมผู้สูงอายุ การจัดการร
เรียนเพื่อถ่
อ ายทอด ภูมิปัญญาสู่เด็กนั ก กเรียน 2
เรื่อง คือ การทําบายยศรีสู่ขวัญและการสอนขับ
ร้องสรภั ญญะญ การทัทั ศนศึกษาเพื่อทําบุญ และะ
ไหว้ พ ระทที่ วั ด พระธาตตุ พ นม จั ง ห วั ด นครพนมม
การเชิดชูผู้สูงอายุต้นแแบบที่มีสุขภาาพดี การจัด
งานประเเพณี เช่น งานพิธีไหว้ปู่ตาและทํ ต าบุญ
บ้ า นตามม ฮี ต สิ บ สออง คองสิ บสี บ ่ งานวั น
เข้าพรรษษา งานวันผู้สสููงอายุ เป็นต้ตน กิจกรรมม
เหล่ า นี้ ขั บ เคลื่ อ นร่ วมกั น ระหว่ าง แกนนํ า
อ และภาครรัฐในท้องถิ่น นอกจากนี้ เทศบาลแลละ อบต. ยังเป็นหน่วยสนนับสนุนงบปรระมาณอย่าง
ผู้สูงอายุ
ต่อเนื่อง และสนับสนุ
บ นเบี้ยยังชีพให้ผู้สูงอายยุในพื้นที่ด้วย อย่างไรก็ตาม จากการททบทวนสถานนการณ์ชมรมม
ผู้สูงอายุ พบว่า ชมรมผู
ช ้สูงอายุยังไม่เข้มแข็ง เนื่องจากปรระธานชมรมมีมีการเปลี่ยนแแปลงบ่อย แลละยังขาดการร
เชื่อมโโยงและแลกเปปลี่ยนเรียนรู้เพื เ ่อทํางานผูสูส้ ูงอายุร่วมกัน

5. กาารจัดการภูมิปัปัญญาการแพทย์พืนบ้าน
ในปี พ.ศ.. 2556 โรงพพยาบาลคําม่วง
ว มีการสํารวจผู
ร ้สูงอายุทีท่ีมีบทบาทกาารดูแลรักษาสสุขภาพชุมชนน
ด้วยภูภูมิปัญญาการรแพทย์พื้นบ้านหรื
า อหมอพื้นบ้าน พบว่า ตําบลทุ่งคลอง
ค มีหมอพื้นบ้าน จํานวน
น 62 คนน
จําแนนกเป็น หมอพิพิธีกรรม/ศาสสนา (หมอขวัวัญ หมอดู หมอเหยา
ห หมมอสะเดาะเครราะห์ เฒ่าจ้าํ หมอธรรม))
- 66 -
 
21 คน ค หมอเป่า (รักษาตาแดง คางทูม ไฟไหม้ ไ
น้ํ า ร้ อนลวก
อ พิ ษงู
ษ ฝี ห นอง ก้ า งติ ด คอ เริ ม
งู ส วั ด เด็ ก ร้ อ งไไห้ ) จํ า นวนน 18 คน หมอ
สมุนไพร ไ 14 คน หมอนวด/ตตําแย 4 คน และ
หมอกกระดูก 5 คน ค และภายใในชุมชนผู้สูงอายุที่
สุขภาาพดีและไม่มีความเจ็
ค บป่วย จํานวน 122 คน
และผูผู้สูงอายุจํานวน 22 คน มีทักษะความมรู้และ
ทัก ษะะด้ า นภู มิ ปั ญญาท้
ญ อ งถิ่ น เช่ น การจัั ก สาน
การทํทําขนมพื้นบ้ าน า การทําข้ า วทิพย์ แลละการ
ออกกํกําลังกาย
นอกจากกนี้ ผู้ ศึ ก ษาได้
ษ มี ก ารศึศึ ก ษา
ประสสบการณ์การรัรักษาโรคของหหมอพื้นบ้านจจํานวน 5 คน ค (หมอพิธีกรรม
ก หมอเปป่า หมอสมุนไพร)
น โดยให้ห้
หมอพืพื้นบ้านเล่าราายละเอียดเกี่ยวกั ย บ ความเชื่อ พิธีกรรม สาเหตุและวิธีการวิเครราะห์โรค สมุมุนไพร คาถาา
ผลกาารรักษา และะการปฏิบัติตนเอง ต โดยสัสังเขป ข้อมูลและประสบ
ล บการณ์ของหมอพื้นบ้าน 1 คน ที่ใช้
วิธีการรเป่า โดยจะะใช้น้ํามนต์และสมุล นไพรชื่อ “ช้างงาเดียว” ย รักษาผู้ป่ปวยงูกัดมาเป็นเวลา 40 ปี รักษาและะ
ช่วยผูผู้ป่วยประมาณ ณ 300 คน และไม่มีผู้เสียชีวิต หมออพื้นบ้านคนนีนี้ได้รักษาผู้ป่ววยคนหนึ่งที่ถูถูกงูเห่าน้ํากัด
และสส่งผู้ป่วยไปรักษาที่โรงพยาบบาลกาฬสินธุ์ ญาติของผู้ป่ปวยต้องการใให้หมอพื้นบ้าานรักษา เขาจึงแอบรักษาา
ผู้ป่วยในห้
ย องฉุกเฉินและย้ายผู้ปวยมารัป่ กษาทีที่บ้าน กระบววนการรักษามมีพิธีบูชาครู การเป่า การอาบและกิน
น้ํามนนต์ การใช้ยาสมุ า นไพร (วิวิธีฝน-อาบ-ทาา) ใช้ระยะเววลา 2 อาทิิตย์ ผู้ป่วยจึงงหายเป็นปกติติ และหมออ
พื้นบ้านอี
า ก 1 คนน ใช้ ฮว่านง็ง็อก (ว่านง็อก) ก หรือพญาาวานร ประสสบการณ์การใใช้สมุนไพรว่านง็อก รักษาา
เบาหวาน ทําให้ระดั ะ บน้ําตาลในนเลือดลดลงจจาก 160 – 200 มก.//ดล. เป็น 90 มก./ดล. โดยระยะ 2
เดือนแรก ระดับน้าํ ตาลในเลือดเริ ด ่มลดลง
อาจกล่าวได้ว่า ข้อมูลที่ถูกรวบรวมมและศึกษาจาากประสบการรณ์การรักษาโโรคของหมอพื้นบ้านยังไม่ม่
เป็น ระบบมากนั
ร ก แต่มีข้อมู ลที
ล ่น่า สนใจแ ละเป็นประสสบการณ์การรรักษาโรคที่ ยยาวนานของหหมอพื้นบ้า น
นอกจจากนี้ภายในชุชุมชนมีหมอพืพื้นบ้านเกี่ยวกักับความเชื่อ ศาสนา และะพิธีกรรม หมมอเป่า และหหมอสมุนไพรร
จํานวนมาก จึงอาจเป็นต้นทุนทางวั ท ฒนธรรมมที่ถ่ายทอดเพืือ่ ประโยชน์สําหรับผู้สูงอายยุและคนรุ่นหลังได้
- 67 -
 

ตัวอยางที่ 3 ตําบลสมอพลือ อําเภอบานลาด จังหวัดเพชรบุรี

1. บริ บททางสังคม
ตําบลสมอพลือ ประกอบด้วย 6 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่บ้านสมอพลือ หมู่บ้านท่าไทร หมู่บ้านไร่คา
หมู่บ้านนาพนัง หมู่บ้านห้วยเสือ และหมู่บ้านดอนพลับ จํานวนประชากรทั้งหมด 2,257 คน และมี 677
หลังคาเรือน ในพื้นที่มีองค์การบริหารส่วนตําบลสมอพลือ (อบต.สมอพลือ) เป็นหน่วยงานรับผิดชอบด้าน
ปกครองท้องถิ่น พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ําเพชรบุรีไหลผ่านทางทิศตะวันตกของตําบล และมีคลอง
ชลประทานตัดผ่านหมู่ที่ 1, 3 และ 6 ทําให้เป็นพื้นที่เหมาะกับการทําการเกษตร ประชาชนมีอาชีพ ทํา
นา ทําไร่ และมีการรวมกลุ่มการแปรรูปน้ําตาลโตนด ภายใต้ชื่อ “กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปน้ําตาลโตนด
สมอพลือ”

2. สถานการณ์และการบริ การสุ ขภาพผูส้ ูงอายุ


ตําบลสมอพลือ มีผู้สูงอายุทั้งหมด 448 คน ผู้สูงอายุจํานวน 273 คน ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง ได้แก่
โรคความดันโลหิตสูง 104 คน โรคเบาหวาน 58 คน โรคเก๊าต์/ข้อเสื่อม 57 คน โรคต้อหิน/ต้อกระจก
19 คน โรคหัวใจ/โรคหลอดเลือดสมอง และอัมพาต 24 คน และที่เหลือเป็นโรคเรื้อรังอื่น ๆ นอกจากนี้
ผู้สูงอายุยังมีปัญหาสุขภาพช่องปากและโรคซึมเศร้าด้วย
สําหรับการบริการสุขภาพผู้สูงอายุ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลสมอพลือ (รพ.สต.สมอพลือ) มี
การบริการด้านการดูแลสุขภาพและบริการสุขภาพที่บ้านสําหรับผู้สูงอายุ การบริการด้านส่งเสริมสุขภาพมีการ
จัดกิจกรรมสุขภาพใน “ชมรมรวมน้ําใจผู้สูงอายุตําบลสมอพลือ” อย่างต่อเนื่อง มีการส่งเสริมสุขภาพกาย
(อาหารและการออกกํ าลั งกาย) สุ ขภาพจิต และเรี ยนรู้ภูมิปัญ ญาพื้นบ้านร่ วมกัน และยังมี การจั ดค่ าย
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยที่มีโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน ค่ายชีววิถีบําบัดสําหรับผู้ป่วยเบาหวาน และ
ในปี พ.ศ. 2557 รพ.สต.สมอพลือ ยังร่วมกับ อบต.สมอพลือ จัดทํา “โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ภูมิปัญญา
ท้องถิ่นในการใช้ลูกประคบ” เพื่ออนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาพื้นบ้าน เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้
ความสามารถในการทําลูกประคบสมุนไพร/น้ํามันไพล และนําไปใช้ดูแลญาติ/ผู้ป่วยติดเตียง และประชาชน
ในชุมชน สําหรับการบริการสุขภาพผู้สูงอายุได้รับการดูแลแบบบูรณาการร่วมกันกับโรงพยาบาลบ้านลาด
และโรงพยาบาลพระจอมเกล้า ส่วน รพ.สต.สมอพลือ มีการจัดบริการสุขภาพที่บ้าน (Home Health
Care) ทีมสุขภาพประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ของ รพ.สต.สมอพลือ อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) สมาชิก อบต. และทีมฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์มีการร่วมกันเยี่ยม
บ้าน และประสานส่งต่อไปสู่โรงพยาบาลอย่างเหมาะสม
ในระยะเวลาที่ผ่านมา รพ.สต.สมอพลือ เป็นพื้นที่ที่ได้รับรางวัลเกี่ยวกับผู้สูงอายุ คือ ในปี พ.ศ.
2554 – 2555 เป็นตําบลต้นแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวดีเด่น และในปี พ.ศ. 2552 เป็นตําบลนํา
- 68 -
 
ร่องต้นแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว และในปี พ.ศ. 2550 ชมรมรวมน้ําใจผู้สูงอายุตําบลสมอพลือ
ได้รับรางวัลเป็นชมรมผู้สูงอายุดีเด่นด้านภูมิปัญญาพื้นบ้าน เนื่องจาก รพ.สต.สมอพลือ ร่วมกับประธานชมรม
ฯ มีการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ การบําบัดผู้ป่วยเบาหวานด้วยลานกะลา การ
บริหารร่างกายด้วยท่ารําที่ดัดแปลงมาจากการประกอบอาชีพ เช่น รําวงเคียวตาล เต้นกํารําเคียว และรําเคี่ยว
เกี่ยวข้าว และยังมีการนําภูมิปัญญาพื้นบ้าน (การทําบายศรี กลองยาว เพลงพื้นบ้าน การจักสาน) มา
เรียนรู้และเผยแพร่ในชมรมด้วย

3. แนวคิดและแนวทางการสร้างความมันคงทางสังคมเพือผูส้ ูงอายุ
ภายในตําบลสมอพลือ อบต.สมอพลือ และรพ.สต.สมอพลือ มีนโยบายและการทํางานเพื่อสร้าง
ความมั่นคงทางสังคมเพื่อผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง กิจกรรมสําคัญ คือ (1) การสนับสนุนเบี้ยยังชีพสําหรับ
ผู้สูงอายุตามนโยบายของรัฐบาล (2) การสนับสนุนการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุ มีการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการ
เพื่อผู้สูงอายุ การเยี่ยมบ้านเมื่อเจ็บป่วยและมีการช่วยเหลือกรณีญาติหรือผู้สูงอายุเสียชีวิต (3) การส่งเสริม
อาชีพและรายได้ มีหน่วยงานรัฐในพื้นที่สนับสนุนการอบรมฝึกอาชีพเสริม เช่น การนําขนมทองม้วน ผลไม้
กวน ผลิตภัณฑ์จักสานใบตาล การทําพานบายศรี เป็นต้น และจัดหาแหล่งจําหน่ายให้สมาชิก (4) การเพิ่ม
ศักยภาพของผู้สูงอายุและครอบครัว อบต. สมอพลือ มีนโยบายสนับสนุนและเพิ่มศักยภาพด้านดูแลสุขภาพ
ชี วิ ต ของผู้ สู ง อายุ แ ละครอบครั ว อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ในปี ที่ ผ่ า นมา อบต.สมอพลื อ ร่ ว มกั บ หน่ ว ยงานด้ า น
สาธารณสุข อบรมความรู้และทักษะด้านดูแลสุขภาพ คือ ด้านอาหารและโภชนาการ ด้านป้องกันและแก้ไข
ปัญหาโรคเอดส์ ด้านภูมิปัญญาพื้นบ้าน ด้านยาเสพติด ด้านสุขภาพจิตในชุมชน
แนวทางการสร้างความมั่นคงทางสังคมเพื่อผู้สูงอายุ มีการสนับสนุนผ่านกลไกของผู้สูงอายุ ที่สําคัญ
คือ “ชมรมรวมน้ําใจผู้สูงอายุตําบลสมอพลือ” ชมรมฯ ก่อตั้งขึ้นภายใต้การหนุนเสริมจาก รพ.สต.สมอพลือ
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 ต่อมาทางจังหวัดเพชรบุรีเห็นถึงความสําคัญอย่างต่อเนื่อง และได้สนับสนุนงบประมาณ
ของจังหวัด ก่อสร้างเป็น “อาคารศูนย์ดูแลผู้สูงอายุครบวงจร” (ปี พ.ศ. 2551) และ “อาคาร
เอนกประสงค์” (ปี พ.ศ. 2552) ซึ่งอยู่ในบริเวณของ รพ.สต.สมอพลือ
ปัจจุบัน ชมรมรวมน้ําใจผู้สูงอายุตําบลสมอพลือ มีสมาชิกผู้สูงอายุจํานวน 431 คน และมี ร.ต.ต.
บุญลาภ สะอาดจิตต์ เป็นประธานชมรม และมีคณะกรรมการบริหารชมรมฯ จํานวน 15 คน ผู้สูงอายุ
ของชมรมฯ จะได้รับการดูแลสุขภาพแบบครบวงจร ภายในอาคาร 4 หลัง คือ (อาคาร รพ.สต.สมอพลือ
เป็นสถานที่ตรวจวินิจฉัย รักษาโรค และให้บริการสุขภาพผู้สูงอายุ (2) อาคารศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแพทย์แผน
ไทย ใช้ดูแลรักษาและฟื้นฟูร่างกาย ด้วยการนวด อบ ประคบสมุนไพร ตลอดจนการถ่ายทอดภูมิปัญญา
ท้องถิ่น (3) อาคารศูนย์ดูแลผู้สูงอายุครบวงจร เป็นสถานที่ทํางานของชมรมรวมน้ําใจ ผู้สูงอายุตําบล
สมอพลือ มีกิจกรรมการตรวจ บําบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพทางกาย เครื่องออกกําลังกายสําหรับผู้สูงอายุและ
ห้องครัว (4) อาคารเอนกประสงค์ เป็นสถานที่สําหรับการจัดกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุ
ชมรมรวมน้ํ าใจผู้ สู ง อายุ ตํ า บลสมอพลือ เป็ น ชมรมที่ มีค วามเข้ ม แข็ง ดํ า เนิ น งานอย่ า งต่อ เนื่ อ ง
บริหารจั ดการโดยคณะกรรมการชมรมฯ ภายใต้ การสนับสนุนและการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและชุมชน
องค์กรหลักที่ให้การสนับสนุน ประกอบด้วย อบต.สมอพลือ สนับสนุนด้านงบประมาณ รพ.สต.สมอพลือ
- 69 -
 
สนับสนุนด้านบริการสุขภาพ การศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย สนับสนุนด้านการศึกษาและนันทนาการ
ศูนย์พัฒนาสังคมหน่วยที่ 37 จังหวัดเพชรบุรี สนับสนุนด้านฝึกอาชีพเสริมรายได้ กิจกรรมของชมรมฯ ที่
สําคัญ คือ การตรวจสุขภาพทั่วไป การตรวจสุขภาพประจําปี การจัดค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน การบําบัดฟื้นฟูร่างกายด้านการออกกําลังกาย (การเดินกะลา
โยคะ ฤาษีดัดตน การนวด อบ และประคบสมุนไพร) และการบริการสุขภาพผู้สูงอายุโดย รพ.สต.สมอพ
ลือ ร่วมกับ โรงพยาบาลบ้านลาด
ระยะที่ผ่านมา รพ.สต.สมอพลือ ร่วมกับ สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ มีการเรียนรู้
และพัฒนารูปแบบที่เหมาะสมในการดูแลฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุ โดยมีแนวคิดการจัดตั้งและพัฒนา “ศูนย์ดูแล
ฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน” หมายถึง เป็นศูนย์ที่ดําเนินงานด้านผู้สูงอายุแบบเบ็ดเสร็จ ได้แก่ ศูนย์ให้
ความรู้ ศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศูนย์การฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน ดําเนินการโดยบุคลากรใน
ชุมชน ที่มุ่งหมายให้คนในชุมชนดํารงชีวิตอย่างมีคุณภาพ ด้วยความรู้ความเข้าใจและพอเพียง ในปี พ.ศ.
2552 และตําบลสมอพลือ มี “ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุครบวงจร” (ปี พ.ศ. 2551) จึงได้มีการเรียนรู้และร่วม
แลกเปลี่ยนประสบการณ์การทํางาน ตลอดจนพัฒนาศักยภาพของการบริหารจัดการเพื่อดูแลผู้สูงอายุร่วมกับ
3 พื้นที่ คือ ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุวัดห้วยเกี๋ยง จังหวัดเชียงใหม่, ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุตําบลบางสีทอง จังหวัด
นนทบุรี, และ ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุตําบลหนองรี จังหวัดชลบุรี ต่อมา ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุครบวงจรตําบลสมอพ
ลือ กลายเป็นแหล่งเรียนรู้และสึกษาดูงานด้านผู้สูงอายุ อันเป็นต้นแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว

4. การจัดการความรู ้ภูมิปัญญาพืนบ้านด้านสุ ขภาพ : หมอพืนบ้านและอาหารพืนบ้าน


รพ.สต.สมอพลือ อําเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี มีการศึกษาภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ โดย
วิธีการสํารวจ สัมภาษณ์ และถ่ายรูปประกอบ ในพื้นที่ 6 หมู่บ้าน ในช่วงเดือน เมษายน พ.ศ. 2556 –
เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2556 ผลสรุปของภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ มีรายละเอียดดังนี้
4.1 ภูมิปัญญาพืนบ้านของหมอพืนบ้าน หมอพื้นบ้านมีจํานวน 11 คน จําแนกเป็น ชาย 10 คน
หญิง 1 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 70 – 86 ปี และปัจจุบันหมอพื้นบ้านเกือบทั้งหมดไม่ได้มีบทบาทหมอ
พื้ น บ้ า น เพราะอายุ ม าก นอกจากนี้ ห มอพื้ น บ้ า นบางคนมี ก ารนวดและการตั้ ง ศาลพระภู มิ ใ นบางครั้ ง
หมอพื้นบ้านส่วนใหญ่ดํารงชีวิตอยู่ด้วยเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ และมีลูกหลานดูแลช่วยเหลือด้านการเงิน หมอ
พื้นบ้านกลุ่มนี้เป็นหมอเป่า บางคนเป็นหมอกวาดยาเด็กและหมอนวด โรคที่ให้การรักษา คือ โรคเริม คาง
ทูม ตาแดง หมากัด ดับพิษไฟ ปัดรังควาน ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ และตานซาง เมื่อมีผู้ป่วยมาพบ หมอ
พื้นบ้านจะสังเกตุ สอบถาม และตรวจอาการของผู้ป่วย วิธีการรักษาโรคที่สําคัญ คือ การเป่าประกอบกับ
คาถา บางคนอาจให้น้ํามนต์ น้ํามันสมุนไพร และยาสมุนไพรร่วมด้วย หมอพื้นบ้านบางคนเคยมีการส่งต่อ
ผู้ป่วยที่มีอาการมากไปยัง รพ.สต.สมอพลือ หรือบอกให้ผู้ป่วยไปรักษากับหมอแผนปัจจุบัน ผู้ป่วยที่มารับ
การรักษา มาจากในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียง เหตุผลที่มารักษากับหมอพื้นบ้าน คือ ความศรัทธา เชื่อถือ
และการบอกต่อของผู้ป่วยที่เคยมารักษาจากหมอพื้นบ้าน
จากการวิเคราะห์ข้อมูลภูมิปัญญาพื้นบ้านของหมอพื้นบ้านในตําบลสมอพลือ จะเห็นได้ว่า หมอ
พื้นบ้านมีบทบาทการรักษาโรคลดลง และหลายคนเลิกรักษาโรคแล้ว นอกจากนี้ โรคที่หมอพื้นบ้านรักษา
- 70 -
 
และวิวิธีการรักษาโรรคอาจมีความมจํากัดและขาาดความน่าเชืชื่อถือ เพราะะปัจจุบัน โรคคเหล่านี้มีวิธีการรั ก กษาโรคค
แบบแแผนปัจจุบันที่เหมาะสม อีอกทั้งอาจใช้ยาสมุ ย นไพรที่ได้ ไ รับการพิสูจน์ว่า มีฤทธิธิ์ที่ชัดเจน เชช่น สมุนไพรร
พญายยอ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม หมอพื้นบ้านบางคน (หมอนวด ( ห ธีกรรม)) อาจยังคงมีมีบทบาทดูแล
หมอพิ
สุขภาาพในชุมชนแลละอาจเป็นแหหล่งความรู้ที่สามารถสืบต่อวิชาไปยังคนรุรุ่นหลังได้
4.2 ภูมิปั ญญาพืนบ้านด้ น านอาหารพืพืนบ้าน ผู้สูงอายุ ง ที่มีความมชํานาญด้านนอาหารพื้นบ้าน า มีจํานวนน
ประมมาณ 10 คนน ทุกคนเป็นเพศหญิ น ง การศึ
ก กษาอยู่ในระดั ใ บประถถมศึกษา ในนอดีตมีอาชีพทํานา ทําไร่ร่
หรือทํทาสวน แต่ปัจจุบัน บางสส่วนมีงานที่ทําอย่างเหมาะะสมตามวัย เช่ เ น การปลูกกผัก การค้าขาย การทํา
แกงเพพื่อขายในชุมชน ม การทําไม้เสียบผลไม้ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมี ง เงินช่วยเหหลือจากกองททุนฌาปนกิจ
สงเครราะห์ จากกกองทุนชมรมผผู้สูงอายุและการช่วยเหลือจากลู อ กหลาานของตนเอง ผู้สูงอายุกลุล่มนี้มีอายุอยู่
ระหว่าง 60 – 70 ปี บุคลิกเป็ เ นคนใจดี เอื เ ้อเฟื้อเผื่อแผผ่ มีชีวิตเรียบง่ บ าย และเป็ปนที่ยอมรับแลละเคารพจากก
ชุมชนน ผู้สูงอายุจะอยู ะ ่ในบ้านทีี่มีสภาพแวดลล้อมที่สะอาดด เป็นระเบียบ และรอบบบ้านมักจะปลูลูกผักพื้นบ้าน
หรือสมุส นไพรไว้ใช้้สอย เช่น กระชาย ก กะเพรา ขมิ้น ตะไคร้ ข่า พริก ไพล ยอ หญ้าหนนวดแมว ฟ้า
ทะลาายโจร เป็นต้น
ผู้สูงอายุที่มีความชํานาญด้านอาหารพื้นบ้านกลุ่มนี้ดูแลสุขภาพกายและใจขอองตนเองค่อนข้ น างดี มีการร
รับปรระทานอาหารที่มีประโยชน์์ ตํารับอาหารที่ทานประจํํา คือ ต้มจืด ผัดผัก แกงส้ม แกงป่า น้ําพริก/ผัก
ชอบททานรสจืด หวาน เปรี้ยว บางคนหลีกเลี ก ่ยงการรับประทานเนื
ป ้อสัตว์ หน่อไม้ ปลาหมึก กุก้ง ส่วนใหญ่
ญ่
รับปรระทานอาหารร 3 มื้อ/วัน ปรุงอาหารรรับประทานนเองหรือลูกหลานปรุ ห งอาหหารให้รับประะทาน มีการร
เคลื่อนไหวร่างกายยทุกวัน เช่น การยืดเหยียดกล้ ย ามเนื้อ การเดิน การทํางานบ้าน บางคนปั่นจักรยานไปส่ง
ผักทีตลาด
ต่ เป็นต้น การดูแลสุขภาพจิ
ข ตและคคลายเครียดมีมีการฟังเพลง//เพลงพื้นบ้าน (หนังตะลุง ลิเก ละครร
ชาตรีรี) การคุยหรืรือระบายกับญาติ ญ หรือเพื่อนบ้ อ าน และะบางคนมี
การใสส่บาตรทุกวันหรือการสวดมนต์ไหว้พระะทุกคืน ผู้สูงอายุ อ มีการ
พักผ่อนแต่
อ หัวค่ํา และตื แ ่นแต่เช้า/เช้า ามืด
ผู้สูงอายุกลุ
ก ่มนี้มีประสสบการณ์การททําอาหารพื้นบ้ น านโดย
การเรีรียน การฝึกฝนและสะสมป
ฝ ประสบการณ์ ณ์ตั้งแต่วัยเด็ก เมื่ออายุ
ราว 10 กว่าปี จะเรี จ ยนจากยาาย/แม่/ป้า จากนั จ ้นก็ฝึกฝนนด้วยการ
ทําข้าวแกงขายในช
า ชุมชน หรือฝึกฝนด้วยการรเป็นแม่ครัวในงานบุ ใ ญ
ประเพพณีของชุมชนน เป็นเวลายยาวนานกว่า 30 ปี ทําให้ ใ มีความ
ชํานาาญในการทําอาหารและขน
อ นมพื้นบ้านหลลายตํารับ ผู้ศึศึกษาของ
รพ.ส ต.สมอพลื อ ได้ สั ม ภาษณ ณ์ แ ละรวบรววมตํ า รั บ อาหหาร/ขนม
พื้นบ้าน า ทั้งหมด 35 ตํารับ จําแนกเป็น อาหารพื้นบ้าน 26
ตํารับ ได้แก่ ยําดอกขี ด ้เหล็ก แกงขี แ ้เหล็ก ยําใหญ่ แกงลูลูกสามสิบ
ต้มกะะทิสายบัว แกงใบมะขาม
แ แกงหัวตาลลใส่กุ้ง/ไข่แมงงดา แกง
ตะลิ งปลิง ง ใส่ ป ลาริริ ว กิ ว หมี่ ก รอบเพชรบุ
ร รีรี ยํ า ส้ ม โอ น้ํ า พริ ก /
น้ํ า พริริ ก มะขาม/น้น้ํ า พริ ก มะม่ ว ง/น้
ง ํ า พริ ก กะะปิ ลาบหมู ต้ ม กะทิ
- 71 -
 
หน่อไม้
ไ ดอง ต้มไก่สามรส แกงคั่วลูกตําลึง แกงป่
แ าหมู ผััดผักรวม แกกงส้มถั่วฝักยาว แกงส้มผักปลัง แกงป่า
แกงคัคั่วใบมะขามอ่อน และขนมมพื้นบ้าน 9 ตํารับ ได้แก่ก ขนมตาล ขนมเบื้อง ขข้าวเหนียวเหลืองหน้าปลาา
ถั่วกวน ตะโหนดททอด (ลูกตาล)) ลูกตาลลอยยแก้ว ขนมหม้อแกง ข้าวเหนียวห่อ โดดยแต่ละตํารับมี บ การบันทึก
ข้อมูลส่
ล วนผสม วิธีทํา และเททคนิคการทําของทุ ข กตํารับ อาจกล่าวไดด้ว่า ตํารับหหมอพื้นบ้านเป็ป็นภูมิปัญญาา
พื้นบ้านด้
า านสุขภาพพของตําบลสสมอพลือ ที่มีการบันทึกอยย่างดีเป็นประโโยชน์ต่อการจจัดการความรูรู้เบื้องต้น ในน
อนาคคต รพ.สต.สมอพลือ อาจจร่วมกับชุมชนในการจัดระะบบประมวลลความรู้ภูมิปัญ ญญาอาหารพืพื้นบ้าน และะ
พัฒนาเป็นโครงการ/กิจกรรมหลักสูตรการอบบรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ห้เยาวชนรุ่นหหลัง/ผู้ที่สนใจไได้เรียนรู้และะ
สืบต่อภู
อ มิปัญญาสู่คนรุ
ค ่นหลัง องค์ อ ความรู้ภูมิมิปัญญาอาหาารพื้นบ้านเหลล่านี้ใช้วัตถุดิบบในท้องถิ่น (ลูกตาล ลูก
ตําลึง ตะลิงปลิง ขี้เหล็ก และเครื่องเทศ) และมีการใช้ประโยชน์ต่ต่อคนท้องถิ่น ทั้งในครอบบครัว ในงานน
ประเพพณี และในเเศรษฐกิจท้องถิ ง ่น การจัดการการเรี
ก ยนรูรู้สามารถทําไดด้ทั้งในและนออกห้องเรียน ส่งผลให้เกิด
การอนุรักษ์พัฒนาแและสืบทอดตต่อไป
นอกจากภูภูมิปัญญาด้านสุ
น ขภาพแล้ว ชุมชนตําบลสสมอพลือ ยังมี ง ภูมิปัญญาด้ด้านวัฒนธรรมมอีก 7 ด้าน
คือ การจั
ก กสาน การทํ
ก าบายศรี ด้านเพลงพื้นบ้าน งานปีปีผีมด ด้านดนนตรีไทย การรเกษตรพื้นบ้าน และด้าน
พิธีกรรม
ร รพ.สต.สสมอพลือ ได้รวบรวมข้
ร อมูลบุ
ล คคลที่มีภมิูมปิ ัญญาเหล่านีน้ในชุมชน โดดยมีข้อมูลทัวไป ่ว การดูแล
สุขภาาพตนเอง ประวัติการเรียนนรูย ้ วิธีเตรีรียม/ทําแต่ละเรื่อง ภูมิปัญญาเหล่านี้มีคุณค่าและปประโยชน์ต่อ
สุขภาาพของชุมชน สร้างความสามัคคีและส่งเสริมให้เกิดคววามสุขและคุณภาพชี ณ วิตที่ดดีีต่อคนในชุมชน
ช สมควรทีที่
ชุมชนนจะร่วมกันทํางานเพื
า ่อประมมวล ส่งเสริม และฟื้นฟูภูภมู ิปัญญาด้านวัฒนธรรมเพื่ออให้อยู่คู่ชุมชนต่อไป
- 72 -
 

ตััวอยางที่ 4 ตําบลลนาทามใใต อําเภออเมือง จังหวัดตรัรัง

1. บริริ บททางสังคมม
ง านภายยในพื้นที่ และมีคลองย่อย
ตําบลนาทท่ามใต้ เป็นพื้นที่ลักษณะทีที่ราบลุ่ม แลละมีแม่น้ําตรังไหลผ่
และสสระน้ําสาธารรณะด้วย ในนอดีตพื้นที่ส่วนใหญ่
ว เป็นพื้นที่นา และะเป็นชุมชนที่ มีอาชีพทํานามายาวนานน
นอกจากนี้ ภายในตํ
ภ า บลล
นาท่ า มใต้ ยัยั ง มี พื้ น ที่ ป่ า
สงวนแห่งชาาติ ประมาณ ณ
787 ไร่ และมี แ ส ภาพพ
อากาศร้อนชืชื้น ฝนตกชุก
ตลอดปี ปัจจุ จ บัน ตําบลล
นาท่ามใต้ มี 8 หมู่บ้าน
มี อบต.นาทท่ามใต้ เป็น
อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น
ท้องถิ่นที่รับผิ
บ ดชอบด้าน
การปกคร องและการร
พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น
ประชชาชนส่วนใหญ ญ่เป็นคนท้องถิถิ่น มีลักษณะะตัวบ้านเรือนกระจายในบ
น ริเวณสวนยางงพารา นับถือพุ อ ทธศาสนาา
เป็นส่วนใหญ่ และะพูดภาษาใต้้เป็นภาษาถิ่น อาชีพหลัก คือ การทําสวนยางพาร า รา การทํานาา การรับจ้าง
และค้ค้าขาย
ในตําบลนนาท่ามใต้ มีประชากรทั
ป ้งหมด 17,018 คน และจํานวนหลั า งคาเรืรือน 3,752 หลังคาเรือน
และมีมีความสะดวกกในการเดินทางทุ
ท กหมู่บ้าน มีโรงพยาบบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล 2 แห่ง ศูนย์ น พัฒนาเด็ก
เล็ก 1 แห่ง และะโรงเรียน 2 แห่ง สําหรับโครงการนี
บ ้มี “โรงพยาบาาลส่งเสริมสุขภภาพตําบลนาทท่ามใต้” เข้า
ร่วมการจัดการภูมปัปิ ญญาการแพพทย์พื้นบ้านเพืพื่อผู้สูงอายุ

2. สถถานการณ์และการบริ การสสุ ขภาพ


ภายในตําบลนาท่
า ามใต้ต้ มีผู้สูงอายุทั้งหมด จํานวน
น 2,229 คน และสําาหรับโรงพยาาบาลส่งเสริม
สุขภาาพตําบลนาท่ามใต้
า (รพ.สตต.นาท่ามใต้) มีความรับผิดชอบในพื้นที่ 4 หมู่บ้าน มมีประชากรทัั้งหมด 2,6866
คน และในปี พ.ศศ. 2555 พื้ นทีน ่ 4 หมู่บ้บ้านมีผู้สูง อายุทั้งหมด 436
4 คน คิ ดดเป็นร้อ ยละ 13.7 ของง
ประชชากรทั้งหมด จําแนกเป็น เพศชาย 1779 คน และะเพศหญิง 2557 คน ผู้สูงงอายุส่วนใหญ ญ่มีสถานภาพพ
สมรสสเป็นแบบคู่และหม้
แ าย กลลุ่มผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่มีภาวะร่างกายมีมีความเสื่อมตตามอายุที่มากขึ
า ้น และมีมี
ปัญหาสุขภาพที่สําคัญ คือ โรคคความดันโหลิลิตสูง โรคเบาาหวาน และภภาวะอัมพฤกษษ์ อัมพาต
- 73 -
 
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลนนาท่ามใต้ (รรพ.สต.นาท่ามใต้ า ) มีภารรกิจการจัดบริริการสุขภาพพ
ผู้สูงอายุ
อ ตามมาตรรฐานและเกณ ณฑ์คุณภาพเคครือข่ายบริการปฐมภูมิและมี ล เป้าหมายยให้ผู้สูงอายุมีมีสุขภาวะที่ดีดี
และได้รับความเอื้ออาทรภายใต้
อ ต้การเข้าถึงบริริการสุขภาพออย่างทั่วถึงแลละเท่าเทียม ปประกอบด้วย 2 ลักษณะะ
คือ (1) การบริการสุ ก ขภาพผู้สูสงอายุที่ รพ.สสต.นาท่ามใต้ต้ มีการบริการแบบจุดเดียว (One Stoop Service))
และมีมีคลินิคโรคเรื้อรัง ทุกวันพุธที่สามของทุทุกเดือน โดยยทีมสหวิชาชีพของโรงพยา
พ าบาลตรัง (2)) การบริการร
สุขภาาพ ที่บ้าน รพพ.สต.นาท่ามใใต้ มีแผนกาารออกเยี่ยมบ้้านทุกวันจันทร์ ท โดยออกเเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ง ร่วมกับ
อาสาสมัครสาธารณ ณสุขและอาสาาสมัครดูแลผู้สูสงอายุ และมีมีการกําหนดคความถี่ คือ ผู้สูงอายุติดสังคม/ติดบ้าน
เยี่ยม 1 ครั้ง/เดือน
อ ส่วนผู้สูงอายุ
อ ติดเตียง เยี่ยม 1 ครัง/สัง้ ปดาห์
ระยะที่ผ่านมา
า รพ.สตต.นาท่ามใต้ มีกิจกรรมกาารส่งเสริมสุขภาพสํ ข าหรับผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง ที่
สําคัญคื
ญ อ การตรววจสุขภาพปรระจําปี การตตรวจสุขภาพชช่องปาก การตรวจสุขภาพสายตา/ต้อกระจก การร
สนับสนุส นฟันเทียม//แว่นสายตา การคัดกรองง
ภาวะ ซึ ม เศร้ า ก ารเยี่ ย มบ้ า นตามปั น ญ หาา
สุข ภาพผู้สู งอายุ นนอกจากนี้ยังจั ง ดกิ จ กรรมม
ร่วมกับชมรมผู
บ ้สูงอาายุนาท่ามใต้ และองค์กร//
หน่ ว ยงานภายในแ
ย และนอกตํ า บลนาท่บ า มใต้ต้
อีกด้วย นอกจากนีน้้ ผู้สูงอายุต้องการให้ รพ..
ส ต . เ ปิ ด บ ริ ก า ร ก า ร แ พ ท ย์ แ ผ น ไ ท ย
โดยเฉฉพาะการนวดด ในปี พ.ศ.. 2557 รพ..
สต.น าท่ า มใต้ ไได้ เ ปิ ด บริ ก ารนวดไทยย
เพิ่ ม เติติ ม จากเดิ ม ที่ มี ก ารบริ ก ารรยาสมุ น ไพรร
โดยการนํา “ทุนทางสัท งคม” คือ ผู้สูงอายุ
อ ที่มีความสสามารถการนนวดมาให้บริกการการนวดไทยที่ รพ.สต..
นาท่ามใต้
า อันเป็นการสร้
น างขวัญกํ
ญ าลังใจและความรู้สึกภาคคภูมิใจของผูสูส้ ูงอายุที่มีศักยยภาพในชุมชนน

3. แนนวคิดและแนวปฏิบตั ิเพือสสร้างความมันคงทางสั
น งคมมของผูส้ ูงอายุ
ภายใน ตํ า บลนาท่ า มใต้ อบต..
นาทท่ามใต้ มีแนววคิดและนโยบบายสนับสนุน
และะสร้างความมัน่นคงทางสังคมมเพื่อผู้สูงอายุยุ
ประะกอบด้วย กการทํ างาน 3 ด้าน คื อ
การรจัดสวัสดิการรสังคม การสส่งเสริมรายได้ด้
และะอาชีพ การเพิ่มศักยภาพพของผู้สูงอายุยุ
และะครอบครัว โดยการทํางานดังกล่าวมีมี
องค์ค์กร/หน่วยงาานที่ส นับสนุนสํ
น าคัญ คื อ
องค์ค์กรบริหารส่วนตําบล (อบบต.นาท่ามใต้)
มี บ ทบาทสนั
ท บ สสนุ น งบประ มาณในการร
- 74 -
 
ทํางานของผู้สูงอายุ และสนับสนุ พ ้สูงอายุ ศูนย์พัฒนาครออบครัวตําบลลนาท่ามใต้ สนั
ส นเบี้ยยังชีพผู ส บสนุนด้าน
งบปรระมาณ/ด้านกการอบรมวิชาการสํ า าหรับอาสาสมั
อ ครดูแลผู
แ ้สูงอายุ และจัดสวัสดิการให้ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วย
และเสีสียชีวิต มูลนิธิศุภนิมิต สนนับสนุนด้านออาชีพ และมี รพ.สต.นาท่ามใต้ า ชมรมออาสาสมัครตําบลนาท่
า ามใต้ต้
กองทุทุนหลักประกัันสุขภาพตําบลนาท่ บ ามใต้ โรงพยาบาลลตรัง และเหล่ากาชาดจังหหวัด มีส่วนสสนับสนุนด้าน
งบปรระมาณ ด้านวิ น ชาการ (กาารทําแผนงานน/โครงการที่เกี่ยวข้องกับผูผ้สูงอายุ) ด้าานบริการสุขภาพและด้
ภ าน
สนับสนุ ส นวัสดุอุปกรณ์สําหรับสุขภาพผู ข ้สูงอายุยุ
ในปี พ.ศศ. 2554 “ชมมรมผู้สูงอายุตํตําบลนาท่ามใใต้” ได้ก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็นกลลไกการดูแลสสวัสดิการทางง
สังคมมสําหรับผู้สูงอายุ และส่งเสสริมให้ผู้สูงอายุมีการรวมตัวและมาร่
ว วมทํทํากิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ ทํา
ให้ผู้สงอายุ
สู มีสุขภาพดี มีความสุสุขในชีวิต ใช้ช้ชีวิตอย่างมีคุณค่า และเป็ปนประโยชน์ตต่่อสังคมส่วนรรวม ผู้สูงอายุยุ
ที่เป็นสมาชิ
น กชมรมมผู้สูงอายุตําบลนาท่ามใต้ มีมจํานวน 313 คน คิดเป็ป็นร้อยละ 711.78 ของผู้สูสูงอายุทั้งหมดด
ชมรมมฯ ได้จัดให้มีมีคณะกรรมกาารชมรมผู้สูงอายุ อ จํานวน 22 คน แลละมีนายแช่ม สีนา เป็นประธานชมรมป ม
ผู้สูงอายุ
อ ตําบลนาทท่า มใต้ และะยังมีการตราาระเบียบของชมรมเพื่อใหห้สมาชิกชมรรมผู้สูงอายุถือปฏิบัติด้วย
นอกจจากนี้ยังมี นายก/ปลั น ดขออง อบต.นาทท่ามใต้ กํานััน/ผู้ใหญ่บ้าน และ ผอ.รพ.สต.นาท่ามใต้ า เป็นที่
ปรึกษาชมรมผู
ษ ้สูงอายุ

ระยะที่ผ่านมา า ชมรมมผู้สูงอายุตําบลนาท่
บ ามใต้้ มีการทํางาานร่วมกัน 5 ด้าน คือ (1) การจัด
สวัสดิการสําหรับสมาชิ ส กชมรมผูผู้สูงอายุ สมาาชิกชมรมผู้สูงอายุได้รับกาารสนับสนุนเบบี้ยยังชีพผู้สูงอายุตามสิทธิ
ผู้สูงอายุ
อ ชมรมฯ มีการเยี่ยมเยือนและช่วยเหลื ย อผู้สูงอาายุ หญิงมีครรภ์
ร และเด็กเลล็ก หากมีสมาชิม กชมรมฯฯ
เสียชีวิวิต ชมรมฯ จะมอบพวงหจ รีีดและมอบเงิงินช่วยเหลือจากกองทุ
จ นฌาปนกิจสงเครราะห์ นอกจาากนี้ ชมรมฯฯ
มีการรจัดงานประเพณีและงานววันสําคัญทางงศาสนา เช่น วันผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สสููงอายุร่วมทําบุ า ญและร่วม
ประเพณีทางศาสนาอย่างต่อเนนื่อง (2) การส่งเสริม
อาชีพและรายได้
พ ระยะที่ผ่านมมาชมรมผู้สูงอายุ
อ ร่วมมือ
กั บ มู ลนิ
ล ธิ ศุ ภ นิ มิ ต มี ก ารอบรรมฝึ ก สอนกาารทํ า โลชั่ น
สมุนไพรเพื
ไ ่อจําหนน่าย โดยทําเปป็น 2 ขนาดด ขวดเล็ก
ราคา 30 บาท และขวดใหญ่ แ ญ่ราคา 60 บาท บ ทําให้
ผู้ สู ง อายุ
อ รู้ สึ ก ภาค ภู มิ ใ จ มี ร ายยได้ และมี อาชี
อ พ เสริ ม
นอกจจากนี้ อบต.นนาท่ามใต้ ยังมีการสนับสนุนุนให้มีกลุ่ม
อาชีพในชมรมผู
พ ้สูงอายุ มีการรววมตัวทําจักสาน
เสื่ อ /ตะกร้
/ า เพื่ อจํ า หน่ า ยเ ป็ น รายได้ ข อง
ผู้สูงอายุ
อ ด้วย ทําให้ ใ ผู้สูงอายุมีคุคณภาพชีวิตที่ดี
(3) การเพิก ่มศักยภาพผู้สูงอายุยุและครอบครัว
ชมรมมผู้สูงอายุร่วมกกับ อบต.นาทท่ามใต้ รพ.สสต.
นาท่ามใต้า ศูนย์พัฒนาครอบครรัวตําบลนาท่าม
ใต้ และชมรมอาส
แ าสมัครสาธารรณสุข มีการจจัด
อบรมมความรู้ ก า รดู แ ลสุ ข ภาาพตนเอง ทัท้ ง
- 75 -
 
ร่างกาายและจิตใจใให้ผู้สูงอายุ และยังมีการออบรมเฉพาะดด้าน ได้แก่ อบรมพัฒนาาศักยภาพอาสสาสมัครดูแล
ผู้สูงอายุ
อ การอบรรมปรับเปลี่ยนพฤติน กรรมกาารดูแลสุขภาพพผู้สูงอายุที่ปวยโรคเรื
ป่ ้อรัง และอบรมคณะกรรมการร
ชมรมมผู้สูงอายุ เป็นต้
นน
4. กาารจัดการความมรู ้ภูมิปัญญาพพืนบ้านด้านสสุ ขภาพ
รพ.สต.นาาท่ามใต้ มีการสํารวจและสัสัมภาษณ์แหลล่งภูมิปัญญาพืพื้นบ้านด้านสุขขภาพในพื้นที่ 4 หมู่บ้าน
ผลสรุรุปมี 3 เรื่อง คือ
4.1 ภูมิปัญญาของหมอพืนบ้าน หมอพืห ้นบ้านในนชุมชน มี 5 คน จําแนกเป็น ชาย 3 คน หญิง
2 คนน และเป็นหมอสมุ ห นไพร 2 คน และหมอนวด 3 คน หมอพื้นบ้านมีอาชีชีพหลัก คือ การทําสวนน
ยางพารา และหมอนวด ยังคงมีการบริการกการนวดให้หญิ ญงตั้งครรภ์/หญิ
ห งหลังคลอดด มีรายได้ประมาณ ร 2000
– 300 บาท/ครั้ง หมอพื้นบ้ น านเหล่านี้เรียนวิชามาจจากบรรพบุรุษหรือหมอพื้นบ้านรุ่นเก่า หมอนวดมีมี
ความมสามารถในกาารรักษากลุ่มอาการเส้
อ น/เอ็อ็นจม อวัยวะเคล็ดขัดยอก สะบักจม อัมพฤกษ์ อัอมพาต การร
นวดหหญิงมีครรภ์/นวดแต่งท้อง ส่วนหมอสสมุนไพรมีการรรักษาโรคริดสี ด ดวงทวาร โรคระดูผิดปกติ ป ท้องผูก
อย่ า งไไรก็ ต าม กาารเก็ บ ข้ อ มู ล
หมอพื้นนบ้านเกี่ยวกัับการวินิจฉัย
การรั กกษาโรค และะการติ ดตามม
ผลมีราายละเอียดน้อยมาก อ และะ
หมอพื้นนบ้านส่วนใหหญ่มีอายุมากก
และมีบบทบาทการรักษาโรคลดลง ก ง
ในปี พ.ศ. 2557 รพพ.สต.นาท่าม
ใต้ มี แแนวคิ ด และแแผนงานเปิ ด
การบริการนวดไทย ด้วยการนํา
ผู้ สู ง อาายุ ที่ มี ค วามสสามารถการร
นวดในนชุ ม ชนมาให้ห้ บ ริ ก ารการร
นวดทีที่ รพ.สต.นาทท่ามใต้ นับเป็ป็นความริเริ่มที
ม ่ดี แต่ยังคงงต้องอาศัยเวลาในการพัฒนารูปแบบกาารทํางานและะ
ประเมิมินผลลัพธ์ในรระยะต่อไป
นอกจากนีนี้ รพ.สต.นาาท่ามใต้ ยังมีมการรวบรวมรายชื่อ-ที่อยู่ ของปราชชญ์ท้องถิ่นด้านวั า ฒนธรรมม
พื้นบ้าน
า ได้แก่ ด้านรํามโนราหห์ 3 คน ด้านวั า วชน 1 คน ด้านจักสาน 16 คนน การทําขนนมจีน 2 คนน
ด้านเยย็บผ้า 5 คนน ด้านร้องเพลงกล่อมเด็ก 4 คน ด้านช่ น างไม้ 2 คนค ด้านจัดดออกไม้โลงศพ 1 คน และะ
ด้านหหมอบ่าวสาว 1 คน แต่ปราชญ์ ป ท้องถิถิ่นทุกคนไม่มีข้ขอมูลรายละเอียดและไม่ออาจคิดถึงการรใช้ประโยชน์น์
ต่อเนืนองในชุ
่ มชน ยกเว้นด้านกการจักสานที่มีมีการรวมกลุ่มและพั
ม ฒนาผผลิตภัณฑ์เพื่ออสร้างรายได้ให้ ใ กับสมาชิก
ผู้สูงอายุบางส่วนแลล้ว
4.2 ภูมิปัญญาด้
ญ านอาหหารพืนบ้าน รพ.สต.นาท่ามใต้ า มีการรววบรวมรายชื่ออและประโยชชน์ของอาหารร
พื้นบ้านในท้
า องถิ่น จํานวน 11 ตํารับ ตัวอย่างเช่น แกงงส้มอ้อดิบ ต้มส้ ม มปลากระบบอก แกงขี้เหล็ ห ก น้ําพริก
- 76 -
 
ผักลววก ขนมจีนกัับแกงเหลือง//แกงไตปลา//แกงเขียวหวาาน แกงเลียง ข้าวยําปักษษ์ใต้ และยังมีการรวบรวมม
รายชื่อและประโยชชน์ของพืชสมุนไพรและผัน กพืพ้นบ้านที่ผู้สงอายุ
ูง ในชุมชนนมีการปลูกแลละใช้ประโยชนน์ในครัวเรือน
ได้แก่ กระถิน ขี้เหล็เ ก กระเจี๊ยบ กุ่มน้ํา แคบ้แ าน ชะมวง ทํามัง ผัักหวานบ้าน มะกรูด มะกกอก มะขามม
มันปู ยอ เล็บครุฑ เหมียง หมมุย กะทกรกก รางจืด ย่านาง น มะระขี้นก น เป็นต้น
4.3 ภูมิปั ญญาการดูแลสุ ล ขภาพตนเเองของผูส้ ู งอายุอ ตน้ แบบ รพ.สต.นาท่ามใต้ มีการรวบรวมและะ
สัมภาาษณ์การดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายยุต้นแบบ จํานวน 36 คนน จําแนกเป็นนหญิง 24 คน ค ชาย 122
คน ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีอายุระหหว่าง 80 – 90 9 ปีและมีผสูสู้ งู อายุจํานวนน 4 คน ที่มีอายุมากกว่า 90 ปีขึ้นไปป
ผู้สูงอายุ
อ ส่วนใหญ่มีการศึกษารระดับประถมศึกษา ผู้สูงอายุ อ ส่วนใหญ ญ่อายุมากแล ะไม่ได้ประกอบอาชีพ มี
ผู้สูงอายุ
อ ประมาณ 3 – 4 คน ยังคงมีอาชีพที พ ่มีรายได้บางส่วน เช่น การปลูกผัก การทําสวนยยาง การเลี้ยง
วัวชนน และจําหน่ายลู า กมะพร้าวน้ําหอม เป็ปนต้น รายได้ด้ของผู้สูงอายุยุมาจากเบี้ยยัังชีพผู้สูงอายุตามนโยบายย
รัฐบาล เงินออมทีที่สะสมไว้ในธนนาคาร และมีมีลูกหลานให้บางส่ บ วน ผู้สงอายุ
สู ส่วนใหญ ญ่จะอยู่อาศัยบ้
ย านเดียวกับ
ลูกหลลาน มีส่วนน้น้อยที่อยู่เพียงคนเดี
ง ยว แลละมีญาติอยู่ใกล้ ใ บ้านกัน ลักษณะบ้านนเป็นลักษณะบ้านชั้นเดียว
ปลูกอยูอ ่ในบริเวณสวนยางพารา มีความสะะอาด และออากาศถ่ายเททดี สําหรับผู้สูงอายุชายมัมักเลี้ยงวัวชนน
เนื่องจจากวัวชนเป็นกี น ฬาท้องถิ่น และสืบทออดเป็นเวลายาวนาน ผู้ที่เลี เ ้ยงวัวชนมีฐฐานะค่อนข้างดี ง และอาจจ
นําไปเล่นพนันวัวชนเวลาที่มีการรแข่งขันวัวชนนด้วย
ผู้สูงอายุกลุ แ ขภาพกายและใจที่ดี ส่วนใหญ่ตื่นนอนช่
ก ่มนี้มีการดูแลสุ น วงเช้าตั้งแต่ระหว่าง 05.00 –
06.000 น. บางคนนตื่นก่อน 05.00 น. และะทานอาหารเช้ช้า เช่น โจ๊ก กาแฟ โอวััลติน นมถั่วเหลื เ อง นมงาา
ดํา การออกกํ
ก าลังกาย มักฝึกทํทาที่บ้านด้วยตตนเอง เช่น การเดิน (บาางคนเดิน 4 – 5 กิโลเมตรรทุกวัน) การร
ยืดเหหยียดกล้ามเนืนื้อ การปลูก – รดน้ํา –
ถอนนหญ้าในบริเวณที่ปลูกผักสวนครัว และะ
ต้นไม้ ไ รอบบ้าน บางคนทํางาานบ้าน เช่น
กวา ดขยะ ซั ก ผ้ า ทํ า อาหา รด้ ว ยตนเองง
ผู้ สู งอายุ
ง ช ายจะะจู ง วั ว ชนไป ฝึ ก เดิ น วิ่ ง
ประมาณ 6 – 8 กิโลเมตรร/วัน โดยไปป
ในช่วงเช้
ว า นับเป็ปนการออกกําลั า งกายพร้อม
กัน ไปด้
ไ ว ย ส่ว นนด้ า นอาหารกกลางวั น และะ
อาหหารเย็ น ผู้ สสูู ง อายุ ส่ ว นใใหญ่ จ ะทานน
อาหหารรสจืด ทาานข้าวประมาณ 1 – 3
ทัพพี/มื
/ ้อ ทานผัก ผลไม้ และะผักพื้นบ้าน บางคนจะชอบอาหารรสเค็ค็ม และรสหววาน อาหารทที่รับประทานน
ประจํจํา คือ แกงสส้ม แกงจืด แกงเลียง ผัก/น้ ก ําพริก แกงเหลือง ปลลาทอด แกงงพริก แกงไตตปลา ข้าวยํา
และออาหารที่ผู้สูงอายุมักหลีกเลียง ย่ หรือไม่รบประทาน
ับ คือ อาหารประะเภทของทอดด ของมัน เนืนื้อหมู/วัว/ไก่ก่
ของหหมักดอง กะทิทิ อาหารรสจัจัด และมีผู้สูงอายุ ง บางคนมีมีการดูแลสุขภาพด้ ภ วยการใชช้สมุนไพรในกการดูแลรักษาา
สุขภาาพ เช่น ชุมเห็ เ ดเทศ ใบกุยช่าย สับปะะรด ฟ้าทะลาายโจร หญ้าหนวดแมว ห ยยาน้ําสกัดโสมผสมเขากวางง
- 77 -
 
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหหาร เป็นต้น ส่วนการพักผ่ ก อน ผู้สูงอาายุส่วนใหญ่จะนอนช่ ะ วงค่ํา ระหว่างเวลา 19.00 –
21.000 และบางคนนมีการนอนพัักช่วงกลางวัน ราว 1 – 2 ชั่วโมงด้วย
การดูแลสุสุขภาพใจของงผู้สูงอายุ ผู้สูสูงอายุส่วนใหหญ่จะมีอารมณ์ดี ไม่โกรธธและไม่เครียด และมีการร
สวดมมนต์ ไหว้พระะ ทําบุญเป็นประจํ
น า ในชีชีวิตประจําวันมี
น กิจกรรมคคลายเครียดหหลายลักษณะ เช่น การดูดู
โทรทััศน์ การพูดคุคยกับเพื่อนบ้บ้าน/ญาติในบ้บ้าน การเลี้ยงหลาน
ย เป็นต้
น น และยังมมีการเข้าร่วมกิ
ม จกรรมทางง
ศาสนนาของชุมชน เช่น ประเพณีชักพระ ปรระเพณีสารทเเดือนสิบ และะวันสําคัญทางศาสนาด้วย
อาจกล่าวไได้ว่า รพ.สต.นาท่ามใต้ เป็นหน่วยงานนสาธารณสุขที่มีภารกิจบริกการสุขภาพผูสูส้ งู อายุ และมีมี
การสนับสนุนและททํางานด้านผู้สูสงอายุร่วมกับองค์
บ การบริหารส่ ห วนตําบลลนาท่ามใต้ องค์กรภาคประชาชนและะ
องค์กรพั
ก ฒนาภาคเเอกชน ทําใหห้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชี
ณ วิตที่ดีดี สําหรับผู้สูงอายุ
ง มีการรววมตัวเป็น “ชชมรมผู้สูงอายุยุ
ตําบลลนาท่ามใต้” และมีกิจกรรม 3 ด้าน คือ การจัดสววัสดิการสําหรัรับสมาชิกชมรรม การส่งเสริมอาชีพและะ
รายไดด้ และการเพิพิ่มศักยภาพผูผู้สูงอายุและคครอบครัว แลละในปี พ.ศ. 2556 2 รพ.สตต.นาท่ามใต้ มีการจัดการร
ความมรู้โดยการรวบบรวมภูมิปัญญาด้
ญ านสุขภาพพ เกี่ยวกับอาหารพื้นบ้าน การรักษาโโรคของหมอพืพื้นบ้าน และะ
การดูแลสุขภาพตนนเองของผู้สูงอายุ
อ ต้นแบบ ทําให้พื้นที่มข้ีขอ้ มูลเพื่อนํามาพั ม ฒนางานผูผู้สูงอายุในอนนาคตต่อไป
- 78 -
 

การจัดการองค
ก ควาามรูภูมิปญญาการแพ
ญ พทยพื้นบานนเพื่อการดูดูแลสุขภาพ
ผู สู ง อาย
ยุ โดย ศ.
ศ (พิ เ ศษ) พญ.สมบ บู ร ณ เกี ย
ยรติ นั น ทนน และคณะะ
ตัวอย
อ างที่ 4 ค ณ ะ แ พ ท ย ศ า ส ต ร ( ส า ข า ก า ร แ พ ท ย แ ผ น ไ ท ย ป ร ะ ยุ ก ต )
มหาวิทยาลัย ยธรรมศ ศาสตร
1. คววามเป็ นมา
สืบเนื่องจาากสังคมไทยเเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และมีแนวโน้มที่จํานวนผู
น ้สูงอายุเเพิ่มขึ้นอย่างตต่อเนื่อง และะ
ปัจจุบับันภูมิปัญญากการแพทย์พื้นบ้านมีการนํามาใช้ประโยชชน์ในการดูแลสสุขภาพผู้สูงอายุ ทําให้เกิดบทเรี ด ยนการร
ส่งเสริริมสุขภาพและะดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่ดี ดังนั้น ในปี พ.ศ. พ 2556 คณะผูค ้วิจัยได้รรัับการสนับสนนุนจาก กรมม
พัฒนาการแพทย์แผนไทยและก แ การแพทย์ทางงเลือก ในกาารศึกษาองค์ความรู ค ้ภูมิปัญ ญญาการแพทยย์พื้นบ้านเพื่อ
การดูดูแลสุขภาพผู้สูสงอายุ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและจัจัดทําชุดความมรู้เกี่ยวกับสถถานการณ์ รูปแบบ และะ
องค์ความรู
ค ้ภูมิปัญญาการแพท
ญ ย์พื้นบ้าน วิธีีการศึกษาแแบบเชิงคุณภาาพในพื้นที่ 4 ตําบล ในน 4 จังหวัด
(จังหวัวัดเชียงราย จัจงหวัดเลย จังหวัดสุพรรณ ณบุรี และ จัังหวัดนครศรีธรรมราช)

2. ผลลการศึกษา
สังคมไทยมีจํานวนผู้สูงอายุมากขึ้นอย่ อ างต่อเนื่อง และผู้สูงอายยุมีปัญหาสุขภภาพสําคัญ คือ โรคเรื้อรัง
โรคที่มาจากความมเสื่อมของร่างกาย ง และโรรคอัมพฤกษ์ - อัมพาต ปัจจุบันประเททศไทยมีแผนนงานผู้สูงอายุยุ
ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545 2 – 25556) มีนโยบายยการเตรียมคความพร้อมเพื่อให้วัยสูงอายยุมีคุณภาพชีวิวิตทั้งในระดับ
ครอบบครัวและระดัับชุมชน และะยังมีการสนับสนุ บ นและการรเคลื่อนไหวตามพระราชบัญ ญญัติผู้สูงอายุยุ พ.ศ. 25466
อีกด้วยว
ในสังคมไททย มีการใช้ประโยชน์
ป จากกภูมิปัญญาพื้นบ้
น านและท้องถิอ ่นมาใช้ประโยชน์ต่อการรดูแลสุขภาพพ
ผู้สูงอายุ
อ มีการใช้ช้ประโยชน์จากผั า กพื้นบ้าน อาหารพื้นบ้ น าน และกการแพทย์พื้นนบ้าน จากการศึกษาองค์ค์
ความมรู้ของหมอพื้นบ้ น านจํานวนน 26 คน ใน 4 พื้นที่ พบว่า หมออพื้นบ้านจํานวน 26 คน จําแนกเป็น
เพศชชาย 19 คนน และเพศหญิง
7 คนน อายุเฉลี่ย 70 ปี มีการ ก
น ช าจากบ รรพบุ รุ ษ แ ละ
เรี ย นวิ
พระสสงฆ์ หากจํ าแนกเป็ น ก ลุ่ ม
หมอพพื้นบ้านตามคความชํานาญ ญใน
การรัักษาโรคเป็น 4 กลุ่ม คือ (1)
กลุ่ ม หมอเป่ า /หหมอกระดู ก มี
จํานววน 11 คน วิธีการรักษาโโรค
คื อ การเป่
ก า การรใช้ ค าถา และ แ
เข้ า เฝืฝื อ กไม้ ป ระกกอบกั น ให้ การ

รักษาาอาการกระดูกหัก/แตก/ร้าว า งูสวัด ตััวเหลือง/ตาเหหลือง (2) กลุ ก ่มหมอสมุนไไพร มีจํานวน 8 คน มี
- 79 -
 
การใชช้สมุนไพรด้วยการต้ม กาารต้มและใช้ไอจากสมุนไพพร การกวาดดยาสมุนไพร ใช้รักษาโรคนิ่ว ริดสีดวงง
ทวาร การดูแลสุขภาพหลั ข งคลออด โรคมะเร็ง อาการอ่อนเพลี น ย-ทานข้ข้าวไม่ได้ ตาฝ้าฟาง การปปวดหลัง (3))
กลุ่มหมอนวด
ห จํานวน
า 3 คนน มีการใช้การนวดร่
า วมกับประคบสมุ
บ น
นไพร รักษาออาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
ปวดหหลัง ปวดเอวว โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต (4) กลุ่มหมอพิธีกรรม//หมอขวัญ/หมอเมื่อ (หมออดู)/หมอไสยย
ศาสตตร์ จํานวน 4 คน มีการใช้ า คาถาสู่ขวั ข ญ/เรียกขวัวัญ ของผู้ที่เกิ
เ ดอุบัติเหตุหหรืออาจเกิดจากผี
จ กระทํา
นอกจจากนี้ ยังพบว่า หมอพื้นบ้บานเป็นผู้สูงอายุ อ ที่ดูแลสุขภาพตนเองทัั้งกายและใจ มีการรับประะทานผักและะ
ผลไม้้เป็นหลัก รอบบ้านมีการปปลูกผัก และปประกอบอาหาารรับประทานนด้วยตนเอง มีการออกกําลั า งกาย และะ
บางคคนมีการรับประทานยาสมมุนไพรเป็นย าอายุวัฒนะ จากการศึกษาอาจสรุ ก ปไได้ว่า ภูมิปัญญาพื
ญ ้นบ้าน
สามารถนํามาประยุกต์ใช้ในด้านส่ น งเสริมสุขภาพภ ด้านป้องกัอ นโรค ด้านรักษาโรค และด้านฟื้นฟูฟสมรรถภาพพ
สําหรัรับองค์ความรู้ของหมอพื้นบ้บานยังไม่อาจจกล่าวได้ว่า การรั ก กษาโรคคของหมอพื้นบบ้านมีประสิทธิ ท ภาพชัดเจนน
ยังต้องศึกษาระดับลึกต่อไปในอนนาคต แต่สําหรั ห บการนวดเพื่อรักษากลุ่มกล้
ม ามเนื้อปววดเมื่อย น่าจะะเป็นประเด็น
ความรู้ที่นํามาประยุกต์ใช้กับการรดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ และอาจขยายผลลโดยการฝึกออบรมครอบครัรัวให้มีความรูรู้
ด้านกการนวดเพื่อส่งเสริ ง มสุขภาพพ เพื่อใช้ประโยชน์ในการดูแลผู แ ้สูงอายุทบ้บี่ านได้
นอกจากนีนี้ คณะผู้วิจัย มีข้อเสนอแแนะ ดังนี้ (1) องค์กร/หนน่วยงานในพื้นนที่ ประกอบบด้วย องค์กร
ปกครรองท้ องถิ่น และโรงพยาบ
แ บาลส่งเสริม สุ ขภาพตําบลล ควรส่ง เสริริ ม ให้ชุม ชนแ ละครอบครัวปลู ว ก และใช้ช้
ประโยชน์จากผักพื้นบ้าน/อาหาารพื้นบ้าน ส่งเสริ ง มการออกกําลังกายแบบบพื้นบ้าน แและสร้างให้เกิดการเรียนรูรู้
ภูมิปั ญญาของหม
ญ อพื้น บ้า นกั บผู
บ ้ส นใจในชุ มชน

เพื่ อ สร้
ส า งคุ ณ ค่ า และส่
แ ง เสริ ม ความสั ม พั นธ์ น ใน
ชุ ม ชนน (2) ภู มิ ปัปั ญ ญาพื้ น บ้ านสามารถนํ
า นํ า มา
คั ด เลืลื อ กอย่ า งเหหมาะสม และประยุ แ ก ต์ ใ ช้
ประโยยชน์ในการดูแลสุ แ ขภาพผู้สูงอายุง ทั้ง 4 มิติ
คือ ด้ดานส่งเสริมสุขภาพ ด้านป้องกันโรค ด้าน
รั ก ษาาโรค และด้ด้ า นฟื้ น ฟู ส มรรรถภาพร่ า ง กาย
ส่วนหหมอพื้นบ้านสส่วนใหญ่จะมีมีความจํากัดด้าน
วินิจฉัยโรค และปประสิทธิภาพพในการรักษาาโรค
หากต้ต้องการใช้ประโยชน์ร วงกว้้าง จําเป็นต้องมี
การเสสริมความรู้ด้านการแพทย์
า เ ่อให้เป็นปรระโยชน์ต่อผูป่้ป่วยในอนาคตต (3) การสืบบทอดองค์ความรู้ของหมออ
เพื
พื้น บ้ าน หน่ว ยงาานรั ฐ ในพื้น ที่ อ าจมีก ารถ อดบทเรี ยนตตรวจสอบคววามรู้ห รื อพั ฒ ฒนาต่อ ยอดคความรู้ เ พื่อ ใช้ช้
ประโยยชน์ต่อไปในออนาคต
- 80 -
 

(2) แนวคิดและรูปแบบการสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุดวยภูมิปญญาพื้นบานดานสุขภาพ

ตัวอยางที่ 6 ตําบลนาแกว อําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง

1. บริ บททางสังคม
ตําบลนาแก้ว เป็นชุมชนดั้งเดิมที่มีอายุกว่า 300 ปี และเป็นชุมชนกึ่งเมืองกึ่งชนบท ภูมิประเทศ
เป็นที่ราบลุ่มเชิงเขาและอยู่เลาะเลียบด้านตะวันตกของแม่น้ําวัง ภายในตําบลนาแก้ว มี “วั ดพระธาตุ
จอมปิง” เป็นโบราณสถานสําคัญ ซึ่งเป็นสถานที่สําหรับเยี่ยมชมงานพระธาตุอุโบสถ และเป็นศูนย์กลางทาง
ประเพณีในชุมชน มีจํานวน 2,456 หลังคาเรือน
ตําบลนาแก้ว ประกอบด้วยหมู่บ้าน 9 หมู่บ้าน ชนดั้งเดิมเป็นชาวลั๊วะ ต่อมามีคนพื้นเมืองอพยพ
เข้ามามากขึ้น และเป็นชุมชนที่มีความเชื่อเรื่องผีปู่ย่าและประเพณีพื้นเมืองล้านนาที่เข้มแข็ง ในแต่ละปีใน
ชุมชนจะมี “พิธีผีปู่ย่า” 4 ครั้ง โดยที่ต้นตระกูลของหมู่บ้านจะเป็นผู้ประกอบพิธีกรรม และยังมีงาน
ประเพณีประจํ าปีหลายงาน คื อ งานบุญ ปีใ หม่ ประเพณีเดื อนสี่ เป็ง ประเพณีเดือนห้า งานข่วงผญ๋า
ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีเดือนแปดเป็ง (งานประจําปีของวัดพระธาตุจอมปิง) ประเพณีเดือนยี่เป็ง
งานกิ๋นสลาก ประชาชนร่วมมือร่วมใจกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรภายในชุมชน เตรียมงานและ
จัดงานอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะผู้สูงอายุจะชวนลูกหลานร่วมงานและเป็นผู้เตรียมงานอย่างกระตือรือร้น ใน
อดีต ประชาชนมีอาชีพทํานาทําไร่ เช่น ไร่ยาสูบ ไร่อ้อย ไร่ข้าวโพด และเลี้ยงสัตว์ ครั้งต่อมาราวปี พ.ศ.
2525 ประชาชนในตําบลนาแก้วนิยมไปทํางานในประเทศกลุ่มตะวันออกกลาง ทําให้สภาพเศรษฐกิจและ
ความเป็นอยู่ในครอบครัวดีขึ้น ปัจจุบันประชาชนมีอาชีพหลัก คือ ทํานา และอาชีพรอง คือ การทําข้าว
แต๋นและค้าขาย
ในตํ า บลนาแก้ ว เป็ น เขตปกครองที่ รั บ ผิ ด ชอบโดย เทศบาลตํ า บลนาแก้ ว และสถานบริ ก าร
สาธารณสุขที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุข 2 แห่ง คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ้านสองแควใต้ (รพ.
สต.บ้านสองแควใต้) รับผิดชอบ 5 หมู่บ้าน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลจอมปิง (รพ.สต.จอมปิง)
รับผิดชอบ 4 หมู่บ้าน เนื่องจากตําบลนาแก้วเป็นพื้นที่ที่มีบทเรียนการส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
ในระหว่างปี พ.ศ.2551 – 2553 จาก สสส. และมูลนิธิสุขภาพไทย (องค์กรพัฒนาเอกชนสาธารณประโยชน์)
ต่อมาในปี 2556 รพ.สต.บ้านจอมปิง ได้มีการจัดการความรู้ภายใต้ “โครงการส่งเสริมการใช้ประโยชน์ภูมิ
ปัญญาการแพทย์พื้นบ้านเพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน” มีการศึกษาแลกเปลี่ยนภูมิปัญญาท้องถิ่น
ระหว่างหมอพื้นบ้านและการดูแลตนเองของผู้สูงอายุต้นแบบเพื่อเป็นข้อมูลพื้นบ้านเพื่อการส่งเสริมภูมิปัญญา
พื้นบ้านเพื่อผู้สูงอายุต่อไป
- 81 -
 
2. สถถานการณ์ดา้ นสุน ขภาพของงผูส้ ูงอายุ
ตําบลนาแแก้ว มีผู้สูงอาายุทั้งหมด จํานวน
า 1,9344 คน จําแนกเป็น เพศหญิง 1,026 คน และเพศศ
ชาย 908 คน และภาวะสุแ ขภาพของผู
ภ ้สูงอายุส่วนใหญญ่เป็นกลุ่มผู้สูสูงอายุสุขภาพพดี (ติดสังคมม) ส่วนกลุ่ม
ผู้สูงอายุที่ติดบ้านมีมีจํานวน 10 คน และกลุ่มผู้สูงอายุที่ตดเตี
ิ ยงมีจํานววน 10 คน
จากรายงาานข้อมูลปัญหาสุห ขภาพขอองผู้สูงอายุปี 25562 พบว่า 5 อันดับแรกของปัญหาาสุขภาพ คือ
โรคคววามดันโลหิตสูง โรคเบาหววาน วัณโรคปปอด โรคปอดอุดตันเรื้อรัง และโรคหออบหืด

3. แนนวคิดและการรบริ การสุ ขภาาพผูส้ ูงอายุ


รพ.สตต.บ้านสองแคควใต้ และรพ.สต.จอมปิง มีการจัดบริการสุขภาพแบบบบูรณาการ ครอบคลุมทั้งการส่งเสริม
สุขภาาพ การป้องกันโรค การรรักษาโรค และการฟื แ ้นฟูสมรรถภาพ สําหรับการรฟื้นฟูสมรรถภาพเป็นการร
บริการที
า ่ผสมผสานนการแพทย์แผนไทยร่ แ ว สําหรับการบริการสุขภาพผู้สูงอายุยุ
วมใในการบริการรประชาชนด้วย
รพ.ส ต. ทั้ง 2 แห่งมีบ ริการรส่ งเสริ ม การรดู แ ลร่า งกายย จิต ใจ สัง คม และจิต วิญ ญาณของงผู้สูงอายุ มี
เป้าหมายให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีดี
แ ล ะ เ ป็ น ต้ น แ บ บ ใ น ชุ ม ช น
ภายใใต้ วิ ถี ชี วิ ต ทาางวั ฒ นธรรมม
ข อ ง ชุ ม ช น มี ก า ร บ ริ ก า ร
ผู้สูงอายุ
อ แบบช่องททางพิเศษ มี
บริ ก ารการเยี
า ่ ย มบบ้ า นผู้ สู ง อายยุ
เ พื่ อ ต ร วจ สุ ข ภ า พ แ ล ะ เ พิ่ ม
ความมสามารถในกการช่วยเหลือ
ตนเองของผู้สูงอายยุที่สําคัญ คือ
ก า ร ส่ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น
“ชมรรมผู้สูงอายุ ตําบลนาแก้ว” ทั้งนี้โดยเป็นการร่วมมือกันทํางานขัับเคลื่อนงานผผู้สูงอายุระหวว่างหน่วยงานน
สาธารณสุขในพื้นทีท่ องค์กรปกกครองส่วนท้องถิ อ ่น (เทศบบาลตําบลนาแก้ว) โรงเรียน ภาคีและะเครือข่ายในน
ชุมชนน

4. แนนวคิดและแนวทางการพัฒนาคุ ฒ ณภาพชีวิติ ของผูส้ ูงอายุ


เทศบาลตตําบลนาแก้ว ร่วมมือกับ รพ.สต.บ้านสองแควใต้ต้ และรพ.สตต.จอมปิง สนับสนุนและะ
ส่งเสริริมการขับเคลือนงานผู
่ ้สูงอาายุ เป้าหมายยคือ ผู้สูงอายยุสุขภาพดี แลละมีวิถีชีวิตสออดคล้องกับวััฒนธรรมและะ
ใช้ประโยชน์จากภูภูมิปัญญาท้องถิ ง ่น สามารถเป็นต้นแบบบของการดูแลสุ ล ขภาพสําหหรับประชาชนนในชุมชนได้ด้
เทศบบาลตําบลนาแแก้วมีการส่งเสสริมการจัดสววัสดิการสําหรัรับผู้สูงอายุและการส่
ล งเสริมมอาชีพและรรายได้ และมีมี
การสสนับสนุนด้านสุน ขภาพผ่านกกองทุนหลักประกั ป นสุขภาาพตําบล (สปปสช.) และไดด้รับการสนับสนุ บ นด้านภูมิมิ
ปัญญาท้
ญ องถิ่น/หมอเมือง จากสสํานักงานกองงทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุ ม ขภาพ สสสส.) ด้วย
- 82 -
 
สําหรับกลลไกการขับเคลืลื่อนงานผู้สูงอายุ
อ ของภาคปประชาชนมีการทํ า างานผ่าน “ชมรมผู้สงอายุ
ูง ตําบลนาา
แก้ว” ชมรมผู้สูงอาายุตําบลนาแแก้ว มีสมาชิกจํก านวน 1,825 คน บบริการและดําเนิ า นงานโดยย
“คณะะกรรมการชมมรมผู้สูงอายุ” และในแตต่ละหมู่บ้าน (หมู่ที่ 1 – หมู ห ่ที่ 9) มีปประธานและคณะกรรมการร
ผู้สูงอายุ
อ ประจําหมูมู่บ้าน ชมรมผู้สูงอายุมีการดําเนินงานด้ด้านสังคมและะด้านประเพณ ณีวัฒนธรรมออย่างต่อเนื่อง
ในปี พ.ศ.2555
พ – 2556
2 มีปฏิทิทนิ กิจกรรมขอองชมรมฯ 100 กิจกรรมสําคั า ญ คือ พิธธีีบุญปีใหม่ ประเพณี
ป เดือน
สี่เป็ง ประเพณีเดือนห้
อ าเป็ง งาานข่วงผญ๋า ประเพณี
ป สงกรานต์ ประเพพณีเดือนแปดดเป็ง ประเพณีสรงน้ําธาตุตุ
วัดดออยเงิน งานธรรมะสบายใจจ งานกิ๋นสลาก และงานนธรรมะสัญจรร งานเหล่านี้บางงานเป็นงานประเพณี ณี
สําคัญ ผู้สูงอายุส่วนใหญ่
ว ชวนลูลูกหลานเตรียมงานและร่
ย วมงานหมู
ว ่บ้าน ตัวอย่างเชช่น “งานประเพณีเดือนสีสี่
เป็ง” ประเพณี ณีสงกรานต์ งานประเพณี
ง เดือนแปดเป็ง เป็นต้น นออกจากนี้ เทศบาลตําบลนนาแก้วร่วมกับ
หน่วยงานภาครั
ย ฐในท้
ใ องถิ่น ยัังมีการสนับสนุ ส นกิจกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ
อ หลายด้าน ประกอบดด้วย การจัด
สวัสดิการสําหรับผูู้สูงอายุในชุมชนหลายกิ
ช จกรรม การจัดสวัสดิการออมมบุญวันละบาาท การส่งเสริมอาชีพและะ
รายไดด้ (เช่นการบริริการสุขภาพขของหมอเมือง งานจักสานน งานหัตถกรรรม

5. บททเรี ยนการจัดการความรู
ด ้และส่
ล งเสริ มภูมิมิปัญญาการแแพทย์พืนบ้าน (การแพทย์ล์ า้ นนา)
ตําบลนาแแก้ว เป็นพื้นที่ที่มีความสนนใจและส่งเสริริมภูมิปัญญาการแพทย์พื้นนบ้านในท้องถิถิ่นมาหลายปีป
เนื่องจจากในพื้นที่มีมีหมอพื้นบ้าน (หมอเมือง)) มีประสบการณ์และภูมิปัปัญญาด้านสุขขภาพ และมมุ่งหมายจะใช้ช้

ประโยชน์ จ า กภู มิ ปั ญ ญา ดู แ ลสุ ข ภาพพ

ประชาชนใน นท้ อ งถิ่ น ประกอบกั
ป บ
ห ว ยงานภาาครั ฐ สนใจแลละสนั บ สนุ น
หน่
กิ จ กรรมของ หมอเมื อ งอ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง
แ ง มี ห น่ วยงานภาย นอกให้ ก ารร
และยั
ส บสนุนอีกด้วย ทําให้ตําบลเป็
สนั า นพื้นที่
ที่มีการศึกษาและการใช้ประโยชน์จากก
ภูมิปัญญาการรแพทย์พื้นบ้านในการดู
า แล
รักษาสุขภาพขของประชาชนนในท้องถิ่น
ระยะเริ่มต้ตน กลุ่มผู้สูงอายุ
ง ที่มีความมรู้ด้านภูมิปัญญาท้ ใ านอบรมสสมุนไพร จํานวน 5 คนน
ญ องถิ่นในด้
รวมตัตัวกันและเปิดบริ
ด การอบสมมุนไพรเพื่อบําบั า ดอาการปววดเมื่อย ปวดหัวให้กับชาาวบ้านในชุมชน ช โดยสร้าง
เป็นห้องอบสมุนไพพร 1 ห้อง ภายในบริ ภ ณวัดพระธาตุจอมปิง อย่างไรก้อตาม คนในชุมชนเห็นว่
เวณ น า สถานทีที่
ไม่เหมมาะสมเพราะผู้หญิงนุ่งผ้าถุงแบบกระโจมมอกภายในวัด จึงปรึกษากักันเพื่อปรับย้าายสถานที่ใหมม่ นอกจากนีนี้
หมอพืพื้นบ้านหรือหมอเมื
ห อง มักมี ก การรวมกลุ่มกัน และยังมี ง หน่วยงานภภายในและภาายนอกเข้ามาสสนับสนุนการร
ทํางานนเพื่อส่งเสริมการแพทย์
ม พื้นบ้
น าน ประกอบด้วย เทศศบาลตําบลนาาแก้ว รพ.สต.บ้านจอมปิง รพ.สต.บ้าน
สองแแควใต้ กศน.ออําเภอเกาะคา และมูลนิธิธิสุขภาพไทย (ภายใต้การสสนับสนุนงบปประมาณของ สสส.) การร
ทํางานนของกลุ่มหมมอพื้นบ้านจึงมีความเข้มแข็ข็งและบริหารรจัดการงานกาารแพทย์พื้นบ้านในรูปแบบบ “ศูนย์ดูแล
สุขภาาพพื้นบ้านพระธาตุจอมปิง”
- 83 -
 
ศูนย์ดูแลสสุขภาพพื้นบ้านพระธาตุ
า จอมปิ
อ ง (www w.comse./prru.ac.th//) เปิดทําการอย่
ก างเป็น
ทางการ ในปี พ.ศศ. 2550 ย้ายมาจากในวัดพระธาตุ พ จอมปิปิงมาตั้งอยู่บริเวณที่ทํางานเก่าของ อบตต.นาแก้ว ซึ่ง
อยู่บริเวณด้านข้างของวัง ดพระธาตุจอมปิง เป็นศูนย์ดูแลสุ แ ขภาพพื้นบ้ น านของชุมชชน และเป็นที น ่พึ่งพายามม
เจ็บป่วยของชุมชนน มีการบริการแบบอบอุ่นใกล้ ใ ชิดและสออดคล้องกับวิถีถีชุมชน ศูนย์ฯ ได้รับการสสนับสนุนจากก
เทศบบาลตํา บลนา แก้ว (กองทุทุ นหลัก ประกักันสุข ภาพเทศบาลตํา บลนนาแก้ ว) สถถาบัน ผญาสุขภาพล้ ข านนาา
จังหวัวั ดลําปาง แ ละมูล นิธิสุข ภาพไทย
ภ ศูนย์
น ฯ มีการเปิปิ ดบริการอย่ างต่อเนื่อง แต่มิได้เปิดบริ บ การทุกวั น
โดยเฉฉพาะในช่วงทํทํางานเกษตร (เกี่ยวข้าว, ทําสวน) หรื ห อช่วงงานบุญประเพณี
ญ จะะหยุดบริการเนื่องจากหมออ
พื้น บ้ านมีภ ารกิ จอื่ น และศู น ย์ฯ ได้ รั บ รางววั ล ชุ ม ชนภู มิปั ญ ญา 1 ในน 4 ชุ ม ชนขอองจัง หวั ด ลําปาง ป ในงานน
การแพทย์พื้นบ้านนนานาชาติ จังหวั ง ดเชียงใหมม่
ปัจจุบัน หมอเมืองรุ่นเก่าและรุ่นใหหม่มีการรวมตัตัวและกําหนดดแนวทางการรทํางานการแแพทย์พื้นบ้าน
ร่วมกักัน มีการประะชุมปรึกษาหหารือ และเปปลี่ยนความรู้ พัฒนางานแและแก้ไขปัญหาร่วมกัน ทํทาให้เกิดการร
พัฒนางานและทํางานเป็ ง นทีม มีความเข้มแข็็งและสามารถถบริการสุขภาาพในชุมชนหลลายด้าน
กิจกรรมกการบริการด้านการแพทย์
น พ้นื บ้านที่ศูนย์ฯ ในปัจจุบัน มีหมอพื้นบ้าน 16 คน ประกอบด้วย
หมอนนวดแผนไทย 5 คน หมอยาสมุนไพร (ยาเมือง) 5 คน และหหมอเป่า 6 คคน มีการบริการ ก 5 ด้าน
คือ (1)( การบริการการนวดแลละการประคบบสมุนไพร มีทั้งการนวดเพื่อสุขภาพ ((นวดคลายเส้ส้น) และการร
น ว ด บํ า บั ด อั ม
พฤก ษ์ อั ม พาต
สํ า หรัรั บ การนวด
เพื่ อ สุ ข ภาพเป็ น
ก า ร น ว ด เ พื่ อ
บรรเเทาอาการ
เ มื่ อ ย ล้ า ข อ ง
กล้ า มเนื
ม ้ อ และ
ประคคบสมุ น ไพร
ร่วมด้้วย ใช้เวลา
ประมมาณ 1 ชั่วโมมง ส่วนการนนวดเพื่อบําบัดอั ด มพฤกษ์ อัมพาต ม มี 2 ลักษณะ คือ แบบที่กล้ามเนื ม ้ออ่อนแรงง
(ไม่มีแรง)
แ และแบบบกล้ามเนื้อแข็ แ งเกร็ง จะมีมีเทคนิคการนนวดที่แตกต่างกัน และยังงมีการออกหนน่วยให้บริการร
การนนวดในงานประะเพณี หรืองานนิ ง ทรรศกาารในท้องถิ่นใหห้กับประชาชชน และนักท่องเที่ยวที่มาเเที่ยวพระธาตุตุ
จอมปิปิงด้วย (2) การบริการดูแลสุ แ ขภาพแมม่ก๋ําเดือน (หญิงหลังคลอดด เป็นการดูแแลหญิงหลังคลอดด้วยการร
อบสมมุนไพร การออบ การอาบ การประคบสสมุนไพร การรใช้สมุนไพรขของท้องถิ่น กกลุ่มหมอเมืองมี ง การจัดองค์ค์
ความมรู้ โดยมีการรวบรวมและจัดทําเป็น “ชุดองค์ความมรู้การดูแลสุขภาพแม่ ข ก๋ําเดืดือน” เป็ปนการทํางานน
ร่วมกักันระหว่างกลุ่มหมอเมือง และบุคลากรรด้านสุขภาพขของ รพ.สต. เพื่อรวบรวมและพัฒนาเป็ปนองค์ความรูรู้
ร่วมกััน ระหว่างภูมิปัญญาแม่กาเดื ๋ํ อนของหมมอเมือง และะการแพทย์แผนใหม่ ผ และสส่งเสริมการดูแลสุแ ขภาพแม่ม่
หลังคลอดร่
ค วมกัน เป็นการปรับประยุ บ กต์ใช้ภูภูมิปัญญาท้องถิ ง ่นให้เหมาะสสมกับยุคสมัย และหลีกเลีลี่ยงความรู้ที่มีมี
- 84 -
 
ความขัดแย้งกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเป็นการขยายองค์ความรู้สาธารณะวงกว้าง ชุดองค์ความรู้นี้ถูก
พัฒนากลายเป็นคู่มือส่งเสริมสุขภาพแม่หลังคลอดร่วมกันต่อไป (3) การแช่เท้าด้วยสมุนไพร เป็นการแช่เท้า
เพื่อบรรเทาอาการเมื่อยล้าของเท้า หลังจากเดินหรือทํางานทั้งวัน โดยวิธีแช่เท้าด้วยน้ําสมุนไพรอุ่น (4) การ
ดูแลรักษาจิตใจ การดูแลสุขภาพจิตใจด้วยการเป่าและคาถา บางครั้งก็ใช้สมุนไพรที่สืบทอดจากบรรพบุรุษ
ร่วมด้วย เพื่อการรักษาแผลเรื้อรัง แผลไฟไหม้ ผดคันจากแมลงกัดต่อย เคล็ดยอกตามร่างกาย (5) การ
จําหน่ายยาสมุนไพรพื้ นบ้าน มีทั้งสมุนไพรแห้ง และผลิ ตภัณฑ์จากสมุนไพร ได้แก่ ลู กประคบ ยาต้ม
สมุนไพร (ยาผงเหลือง ยาต้มแก้เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ยาดําแก้ปวดท้อง ยาขี้ผึ้งคลายเส้น ยาน้ํามัน
นวด ยาชูรสสมุนไพร แหล่งวัตถุดิบที่นํามาปรุงยาสมุนไพรเหล่านี้มาจากในท้องถิ่น ทั้งในป่า บริเวณภายใน
ชุมชน และในบ้านหมอเมือง ยาสมุนไพรที่ได้จากป้า มี ยานมแม่ม่าย ไม้ฝาง มะตูม ปังกี เดาหลวง ฮ่อ
สะปายควาย ส่วนยาสมุนไพรที่ปลูกไว้ใช้ในบริเวณบ้านมีตะไคร้ มะกรูด ข่า ขมิ้น ฟ้าทะลายโจร มะรุม
ผักขม กระชาย ไพล เป็นต้น
นอกจากนี้ กลุ่มหมอเมืองยังมีการเดินป่าสํารวจสมุนไพร เพื่อเก็บตัวยาสมุนไพรและแลกเปลี่ยน
ความรู้สมุนไพรระหว่างกันกับผู้ที่สนใจ และมีการสืบทอดองค์ความรู้การแพทย์พื้นบ้าน มีการแปลและ
คัดลอกความรู้การแพทย์พื้นบ้านจาก ตําราพับสาเพื่อถ่ายทอดไปสู่คนในชุมชนและผู้ที่สนใจ เพื่อให้เกิดการ
ตระหนักถึงคุณค่าภูมิปัญญา และนําไปใช้ประโยชน์ต่อไป
นอกจากการจัดการความรู้และส่งเสริมการใช้การแพทย์พื้นบ้านแล้ว รพ.สต.ยังได้ร่วมกับชมรม
ผู้ สู ง อายุ ศึ ก ษาและคั ด เลื อ กผู้ สู ง อายุ ต้ น แบบ ได้ รั บ การดู แ ลโดยลู ก หลานและชุ ม ชน มี ก ารปลู ก ผั ก
รับประทานเอง บ้ านเรือนสะอาดและเป็นระเบียบ อาหารที่
รับประทานเป็นประจํา คือ ผัก และทานกล้วยน้ําว้าเป็นประจํา
ไม่รับประทานของมัน มีการออกกําลังกายด้วยการยืดเหยียด
กล้ามเนื้อ การปลูกผัก และบางครั้งมีการเข้าป่าหาสมุนไพรกับ
เพื่อนในชมรมผู้สูงอายุ ดูแลจิตใจด้วยการไหว้พระและสวดมนต์
ทุกวัน บางครั้งยังมีการฟังธรรม ฝึกสมาธิ และเป็นผู้ที่อารมณ์ดี
ไม่ทุกข์ร้อนหรือเคลียดกับเรื่องครอบครัว ชีวิตมีเงินออมและเงิน
เพื่ อ ใช้ จ่ า ยในชี วิ ต ประจํ า วั น และมี สิ ท ธิ ด้ า นสุ ข ภาพสํ า หรั บ
ผู้สูงอายุ
จากสถานการณ์ทั้งหมดเห็นได้ว่า ตําบลนาแก้ว เป็น
ชุมชนดั้งเดิมที่มีความตระหนักในคุ ณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น
และมี บ ทเรี ย นการทํ า งานทั้ งด้ า นผู้ สู ง อายุแ ละการส่ ง เสริ ม ภู มิ
ปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน เป็นชุมชนที่สามารถเสริมพลังทั้งภายในและภายนอกเข้ามาร่วมมือกันในการจัดการ
ความรู้และส่งเสริมให้เกิดการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านต่อสุขภาพของคนในและนอกชุมชน
ทําให้ชุมชนมีความเข็มแข็งและสามารถถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่ชุมชนได้อีกทางหนึ่ง ก่อให้เกิดเป็นตัวอย่างที่
น่าสนใจสําหรับการดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญาร่วมกันระหว่างภาครัฐและภาคประชาชน
- 85 -
 

ตัวอย
อ างที่ 7 ตําบลหัหัวรอ อําเภอเมื
เ อง จังหวัดพิษณุโลกก

1. บริริ บททางสังคมม
บ้านสระโคคล่ (หมู่ที่ 7 และหมู่ที่ 100) ตั้งอยู่ในตําบลหัวรอ (ตตําบลหัวรอมี 12 หมู่บ้าน) น และอยู่ใน
เขตรับผิบ ดชอบของ “โรงพยาบาาลส่งเสริมสุขภาพตํ ภ าบลบ้านสระโคล่
า ” (รพ.สต.บ้านสสระโคล่) เขตตรับผิดชอบมีมี
ทั้งหมมด 6 หมู่บ้าน า มีจํานวนประชากรทั้งหมด ห 9,874 คน 3,115 หลังคาเรือน และมีประะชากรสูงอายุยุ
รวมทัทัง้ หมด 1,1700 คน (ร้อยลละ 11.84) อาจกล่ อ าวได้วา่ ตําบลหัวรอเริ่มเข้าสู่สังคคมผู้สูงอายุ
ตําบลหัวรอเป็
ร นพื้นที่ราบลุ ร ่ม ริมฝั่งแม่น้ําน่าน และอยู่ห่างจจากอําเภอเมืมืองพิษณุโลกกประมาณ 5
กิ โ ลเ มตร พื้ น ที่ เหมาะกั บ เกกษตรกรรม
โดยเฉฉพาะการทํานาและการทํ
น า
าประมง แต่
ก็ ป ระะสบปั ญ หาภัภั ย แล้ ง และนน้ํ า ท่ ว มเป็ น
ประจํจํา ประชากรส่วนใหญ่ภายยในตําบลหัว
รอ เป็ เ น คนท้ อ งถิถิ่ น มี อ าชี พ เกกษตรกรรม
(ร้ อ ย ละ 50) ข้ า ราชการ/รัรั ฐ วิ ส าหกิ จ
(ร้อยลละ 25) พนักงานภาคเอก
ก กชน รับจ้าง
ทั่ ว ไปป และธุ ร กิ จส่
จ ว นตั ว (ร้ร้ อ ยละ 25)
อาจกกล่าวได้ว่าตําบลหับ วรอเป็นสัสงคมกึ่งเกษตตรกรรมกึ่งอุตสาหกรรม
ต กึ่งเมืองกึ่งชนบบท แบ่งการรปกครองเป็น
12 หมู ห ่บ้าน มี “เเทศบาลตําบลลหัวรอ” เป็ป็นองค์การบริริหารส่วนท้องถิ ง ่น เป็นหน่วยงานรับผิดชอบ ช ภายใต้ต้
ตําบลลหัวรอมีโรงพยาบาลส่งเสริริมสุขภาพตําบล บ 2 แห่ง คือ โรงพยาาบาลส่งเสริมมสุขภาพตําบลลหัวรอ และะ
โรงพยยาบาลส่งเสริมสุ ม ขภาพบ้านสระโคล่น
2. สถถานการณ์ดา้ นสุ น ขภาพของงผูส้ ูงอายุ
ภายในพืนที
น้ ่รับผิดชอบ 6 หมู่บ้าน รพ.สต.บ้านสสระโคล่ มีข้อมู อ ลรายงานว่ว่า พื้นที่มีผู้สงอายุ
ูง 1,1700
คน จํจาแนกเป็นเพพศชาย 560 คน เพศหญิ ญิง 610 คน ภาวะสุขภาพพของผู้สูงอายยุจําแนกเป็น 3 กลุ่ม คือ
(1) กลุ ก ่มผู้สูงอายุติดสังคม จํานวน า 1,1544 คน (2) กลุ่มผู้สูงอายุยุติดบ้าน จํานวน 14 คน และ (3))
ผู้สูงอายุ
อ ติดเตียง 2 คน สําหรัรับผู้สูงอายุติดบ้ เ ยง จํานวนน 16 คน มีภาวะอัมพาต ความพิการร
ด านและติดเตี
เบาหววาน โรคควาามดันโลหิตสูง และข้อเข่าเสื า ่อม นอกจจากนี้ จากสถิถิติการป่วยพบบว่า โรคควาามดันโลหิตสูง
221 คน โรคเบาหหวาน 181 คน และโรคมมะเร็ง 15 คน ค โรคถุงลมมโป่งพอง 16 คน และอืน่ ๆ
จากการเยียี่ยมบ้านของทีทีมสหวิชาชีพ พบว่า ผู้สูงอายุบางคนมีคุณภาพชีวิตแแย่ลง เนื่องจจากผู้สูงอายุทีท่ี
เจ็บป่วยและเป็นกลุ่มติดเตียง ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ แลละถูกละเลยจากครอบครัวและบุตรหลาาน เนื่องจากก
ครอบบครัวต้องดิ้นรนทํามาหากิน ทําให้ผู้ป่วยได้ ย รับการดูแลที
ล ่ไม่ถูกต้อง ไม่ได้รับการฟืฟื้นฟูสภาพร่างกาย
า ส่งผลล
ให้เกิดภาวะแทรกซ้
ด ซ้อนรุนแรง
- 86 -
 
3. แนนวคิดและการรบริ การสุ ขภาาพผูส้ ูงอายุ
จากการทีที่ รพ.สต.บ้านสระโคล่
น จําแนกผู
า ้สูงอายุยุเป็น 3 กลุ่ม การบริการจึงส่งเสริมและสนั แ บสนุน
กิจกรรรมส่งเสริมสุขภาพและบริ
ข ก
การการดู แลรัักษาโรคตามภภาวะสุขภาพขของกลุ่มผู้สูงออายุ
กลุ่มผู้สูงอายุ
อ ติดสังคม หมายถึง ผู้สูสูงอายุที่มีสุขภาพดี
ภ สามารรถช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลื ย อผู้อื่นได้ด้
ผู้สูงอายุ
อ บางคนอาาจมีโรคประจจําตัว แต่สามารถควบคุ า มโรคและดูแลสุ แ ขภาพตนนเองได้ดี มีศัศักยภาพและะ
สามาารถเข้าร่วมกัับกิจกรรมขอองสังคมและขของชุมชนได้ หัวใจสําคัญของผู ญ ้สูงอายยุกลุ่มติดสังคม
ค คือ การร
บริการด้
า านส่งเสริมสุขภาพและะป้องกันโรค ตลอดจนการดูแลรักษาาและการควบบคุมโรคเรื้อรัง เนื่องจากก
อ บางส่วนจจะมีโรคเรื้อรัง จงเป็นการปรับเปลี่ยนพพฤติกรรมและะติดตามเฝ้ารระวังตนเอง ตลอดจนการร
ผู้สูงอายุ
เสริมพลัพ งการดูแลตตนเองเพื่อให้ผูผู้สูงอายุมีควาามสุข สนุก และมีสุขภาพพสมบูรณ์แข็งแแรง พร้อมไปปกับการเสริม
พลลังครอบครัวของผู ข ้สูงอายุและชุมชน เพื่อให้เข้าถึง
คุณค่
ณ า บทบาทท และสิทธิขของผู้สูงอายุในชุมชน ทีม
งานสหวิชาชีพของ ข รพ.สต.บ้้านสระโคล่ จะร่วมมือกับ
ชมมรมจิตอาสา ชมรมผู้สูงอาายุ และหน่วยงานภาครั ว ฐ
ได้้แก่ เทศบาลลตําบลหัวรอ การศึกษานนอกโรงเรียน
โร งพยาบาลพุพุ ท ธชิ น ราชพิพิ ษ ณุ โ ลก เป็ เ น ต้ น จั ด
กิจกรรมส่
จ งเสริมสุขภาพผู้สูงงอายุเป็นประจําทุกเดือน
กิ จกรรมมี
จ ห ลาายลั ก ษณะ คื อ กิ จ กรร มการเตรี ย ม
ตนนเองสู่ วั ย ผู้ สู งอายุ
ง การบบริ ก ารในศู น ย์ พั ฒ นาการร
สวัวั ส ดิก ารสัง คมมผู้ สูง อายุ กการบริก ารในนศู นย์ บริ การร
ผู้สูงอายุ
อ การเสริมสร้ ม างโอกาสสใช้ความรู้และประสบการ
ล รณ์ของผู้สูงอาายุเพื่อทําประโยชน์ต่อชุมชนและสร้าง
รายไดด้การส่งเสริมให้ ใ ชุมชนมีส่วนร่
น วมพัฒนาทีที่อยู่อาศัยสําหรั
ห บผู้สูงอายุ
กลุ่มผู้สูงอายุ
อ ติดบ้าน (Home
( Bound Elder) สุสขภาพผู้สูงอายุกลุ่มนี้ มีภภาวะสุขภาพกกายและจิตใจจ
ที่ เสื่อมถอยตามวั
อ ย และส่วนใหหญ่ผู้สูงอายุจะมีะ โรค หนึ่งหรืห อหลายโรคค อาจจะพิกาารหรือทุพพลภาพบางส่วน
ต้องกการความช่วยเหลือในชีวิตประจํ ป าวันหรือช่ อ วยเหลือตนนเองได้บ้าง โรคประจํ โ าตัววที่สําคัญ คือ กลุ่มอาการร
เมตาบบอลิก (Metoobolie Syyndrome) ตัวอย่างเช่น โรคอ้วน โรรคเบาหวาน โรคความดันโลหิ โ ตสูง และะ
ไขมันในเลื
น อดสูง ความจําเสื่อม อัมพาต เป็ เ นต้น การบริการสุขภาพกลุ่มผู้สูงอาายุติดบ้าน มีนโยบายการร
บริการสุ
า ขภาพเชิงรุกและผสมผผสานทั้งการส่ส่งเสริมสุขภาพพ การป้องกักันโรค การบํบําบัดรักษา และการฟื แ ้นฟู
ภายใต้การทํางานขของสหวิชาชีพ (พยาบาล นักกายภาพบบําบัด แพทย์ย์แผนไทย ทันนตาภิบาล จิตอาสา และะ
เจ้าหน้าที่เทศบาลลตําบล) และะเชื่อมโยงกับหลายภาคีบ (ภาครัฐ ภาาคเอกชน แและภาคชุมชนน) ในชุมชนน
ท้องถิถิ่น ได้แก่ เททศบาลหัวรอ กศน.หัวรอ บริ บ ษัทไทยแออโรว์ หมู่บ้านจั น ดสรร ชมรมจิตอาสา ชมรมผู้สูงอายุยุ
ชมรมม อสม. และเเชื่อมโยงกับโรรงพยาบาลแมม่ข่าย คือ โรงพยาบาลศูนย์พุทธชินราชชพิษณุโลก
- 87 -
 
สําหรับกาารบริการสุขภาพสํ ภ าหรับผู้สูสูงอายุ ประกกอบด้วย การรบริการสุขภาาพเชิงรับ แลละการบริการร
เชิงรุก (การเยี่ยมบ้ ม านและส่งเสริมดูแลสุขภาพที่บ้าน) การบริการสสุขภาพที่ รพพ.สต.บ้านสระโคล่ มีการร
จัดบริริการในรูปแบบคลินิคผู้สูงอายุ อ คลินิคโรรคเรื้อรัง และะคลินิคโรคทั่วไป ว นอกจากกนี้ ยังมีการพพัฒนาบริการร
การฟืฟ้น้ ฟูสมรรถภาาพร่างกายของงผู้สูงอายุในลัลักษณะ “ศูนย์ น ฟื้นฟูสมรรถถภาพผู้สูงอายยุและผู้พิการ รพ.สต.บ้าน
สระโคคล่” อันเป็นการบริ น การขของสหวิชาชีพ โดยร่วมมือกั อ บโรงพยาบาลศูนย์พุทธชิชินราชพิษณุโลก ล และภาคค
กลุ่มในท้
ใ องถิ่น แลละในปี พ.ศ. 2557 รพ.สสต.บ้านสระ
โคล่ พั ฒ นาและ ก่ อ สร้ า งอาคคารเป็ น “ศู นย์ น ส่ ง เสริ ม
สุ ข ภาาพผู้ สู ง อายุ เ พืพ่ อ การดู แ ลผูผู้ สู ง อายุ ใ นช่ วงกลางวั
ว น
(Day Care Ceenter)” โดยได้รับการสนนับสนุนการ
ก่ อ สร้ร้ า งอาคารจาากเทศบาลตํตํ า บลหั ว รอ โดยจะทํ า
ให้บริการสุขภาพขของผู้สูงอายุมีมีคุณภาพมากกขึ้น ส่งผล
ให้ผู้สูสูงอายุมีคุณภาาพชีวิตที่ดีขึ้น “ศูนย์ส่งเสสริมสุขภาพ
ผู้สูงอายุ
อ ” พัฒนาเพื น ่อบริการกการดูแลสุขภาพกายและ
จิ ต ใจจของผู้ สู ง อายยุ อ ย่ า งใกล้ ชิ ดและมี
ด คุ ณ ภาพมากขึ
ภ ้น
โดยดําเนินการในรูปแบบบริการรช่วงกลางวัน (Day Care) ภายใต้ควาามร่วมมือของภาคส่วนในชุมชนท้ ม องถิ่น
กลุ่มผู้สูงอายุ
อ ติดเตียง (Bed ( Bounnd Elder) ผู้สูงอายุกลุ่มนี ม ้มีภาวะเจ็บบป่วยและต้องการการดู
ง แล
อย่างสูง ทั้งการดูแลในชีวิตปรระจําวันและกการดูแลสุขภาาพอย่างใกล้ชิชิด รพ.สต.บ้าานสระโคล่ มีแนวคิดการร
ดูแลสสุขภาพแบบบูบูรณาการเช่นเดี น ยวกับผู้สูงอายุ ง กลุ่มอื่น ภายใต้ควาามร่วมมือของงครอบครัวแลละภาคสังคมม
ผู้สูงอายุ
อ กลุ่มติดเตีตียงมีความจําเป็ า นต้องเฝ้าระวั ร งและป้องกันภาวะแททรกซ้อน ให้กการบําบัดฟื้นฟู น สภาพและะ
ป้องกักันการเสียชี วิวิตก่อนวัยอันควร น เป้าหมมาย คือ ใหห้ผู้สู งอายุมีคุคุ ณภาพชีวิตที่ดีแ ละเสียชีวิิตอย่างสงบบ
สนับสนุส นช่วยเหลือครอบครั
อ วใหห้สามารถดูแลผู ล ้สูงอายุที่บ้านได้
า หากผู้สูสงอายุไม่มีผู้ดดููแลหรือครอบบครัวประสบบ
ความมยากลําบาก รพ.สต.บ้านสสระโคล่จะปรระสานความรร่วมมือและร่วมทํ ว างานกับภภาครัฐ ภาคเอกชน และะ
ภาคปประชาชนในพืพื้นที่ ผู้ดูแลหหลัก คือ ทีมสุ ม ขภาพของ รพ.สต.บ้านสสระโคล่ อสมม.และชมรมจิตอาสา และะ
ประสสานงานกับหนน่วยงานในพืนที น้ ่

4. แนนวคิด กลไก และการพัฒนาคุณภาพชีวิวติ ของผูส้ ูงอายุ


4.1 แนวคิคิดการพัฒนาาคุณภาพชีวิตผู ต ส้ ู งอายุ เป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ คือ
การสสร้างความมั่นคงทางสังคมแแก่ผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุมีสิทธิ ท ได้รับการคุ้มครอง การส่งเสริมและกการสนับสนุน
ด้านสสวัสดิการ ได้แก่ ด้านเบี้ยยัยงชีพ ด้านฌ ฌาปนกิจสงเครราะห์ ด้านบริการสุขภาพ และการเข้าร่ า วมกิจกรรมม
เกี่ยวกกับผู้สูงอายุ เป็
เ นต้น
4.2 กลไกกการขับเคลือนงานผู
อ ส้ ู งอายุ
อ จากการรที่ รพ.สต.บ้านสระโคล่
า ใให้ความสําคัญกั
ญ บการดูแล
สุขภาาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูสูงอายุอย่างต่อเนื อ ่อง โดยกการเสริมสร้างความเข้มแข็งงและการรวมมกลุ่มผู้สูงอายุยุ
และสสนับสนุนให้เครื ใ องถิ่นมีส่วนสนับสนุนและส่งเสริมคุคณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในปีปี พ.ศ. 25499
ค อข่ายภาคีในท้
- 88 -
 
ผู้สูงอายุซึ่งรวมตัวและจัดตั้งเป็น “ชมรมผู้สูงอายุของ รพ.สต.บ้านสระโคล่” เพื่อส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุ
ให้ดํารงชีวิตอย่างมีความสุข ทั้งทางร่างกายและจิตใจ มีการช่วยเหลือและส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรม
ทางสังคม มีการกําหนดวัตถุประสงค์ คุณสมบัติของสมาชิกและคณะกรรมการ นอกจากนี้ รพ.สต.บ้านสระ
โคล่ ยังมีแนวทางการทํางานแบบมีส่วนร่วมกับภาคส่วนราชการ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในท้องถิ่น
เพื่อร่วมกันดูแลทุกข์และสุขของผู้สูงอายุ
4.3 การพัฒนาคุณภาพชี วิตของผูส้ ู งอายุ ระยะที่ผ่านมา รพ.สต.บ้านสระโคล่ มีการจัดกิจกรรม
หลากหลาย ลักษณะเพื่อสร้างความสุข ความสนุก และสุขภาพที่ดีให้กลับผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง กิจกรรม
สําคัญ คือ การตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ การปฏิบัติสมาธิ การสวดมนต์และการสนทนาธรรม การออกกําลัง
กาย (ด้ วยเทคนิ คการยืดเหยี ยดกล้ ามเนื้อ การฝึกด้วยไม้พลอง การฝึ กท่าฤาษีดัดตนเอง การฝึ กท่าน
กระยาง) กิจกรรมนันทนาการ นอกจากนี้ ภาคีเครือข่ายในท้องถิ่นยังมีการส่งเสริมและสนับสนุนงานผู้สูงอายุ
อย่างต่อเนื่อง ตัวอย่างเช่น เทศบาลตําบลหัวรอ สนับสนุนเบี้ยยังชีพและกิจกรรมชมรมผู้สูงอายุ กศน.หัวรอ
ส่งอาจารย์มาเป็นวิทยากรให้ความรู้และส่งเสริมประเพณีวัฒนธรรมชุมชนร่วมกับผู้สูงอายุ อบจ.พิษณุโลก
สนับสนุนงบประมาณการจัดงานประเพณีของผู้สูงอายุ ภาคเอกชนและภาคประชาชน (ชมรมจิตอาสา ชมรม
อสม. และผู้นําท้องถิ่น) สนับสนุนส่งเสริมและช่วยเหลือการทํางานเกี่ยวกับผู้สูงอายุหลายด้าน เพื่อให้
ผู้สูงอายุมีความเข้มแข็ง มีพลังและมีความสุข

5. บทเรี ยนการจัดการและส่ งเสริ มภูมิปัญญาท้องถินสําหรับผูส้ ูงอายุ


5.1 บทเรี ยนการส่ งเสริ มภูมิปัญญาท้องถิน ระยะที่ผ่านมา รพ.สต.บ้านสระโคล่ ตระหนักถึงคุณค่า
ของภูมิปัญญาท้องถิ่น และในชุมชนมีหมอพื้นบ้านและปราชญ์ที่มีความรู้และประสบการณ์ที่เป็นภูมิปัญญา
ท้องถิ่นหลายด้าน รพ.สต.จึงมีแนวคิดสนับสนุนให้หมอพื้นบ้าน/ปราชญ์ชาวบ้าน มีกิจกรรมการรวมกลุ่ม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้และถ่ายทอดภูมิปัญญาที่ตนเองมีประสบการณ์ให้กับสมาชิกในชมรมผู้สูงอายุ ภูมิปัญญา
ท้องถิ่นที่มีการถ่ายทอดสู่สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ประกอบด้วย
(1) การนวด ผู้สูงอายุมีร่างกายเสื่อมถอยและมักมีปัญหาปวดเมื่อยกล้ามเนื้อและเส้นเอ็นเป็นประจํา
รพ.สต.บ้านสระโคล่ จึงส่งเสริมให้หมอพื้นบ้าน/ปราชญ์ชาวบ้าน ถ่ายทอดการนวดเพื่อการดูแลตนเองให้กับ
สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ อันจะช่วยให้ผู้สูงอายุดูแลสุขภาพตนเองและลดการใช้ยาแผนปัจจุบันที่ไม่จําเป็นได้
(2) ยาสมุนไพร ในท้องถิ่นมีสมุนไพรที่หาง่าย รพ.สต.บ้านสระโคล่ จึงส่งเสริมและสนับสนุนหมอ
พื้นบ้าน/ปราชญ์ชาวบ้าน เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ด้านสมุนไพรสู่ผู้สูงอายุ ทําให้ภูมิปัญญาด้านสมุนไพร
ไม่สูญหายไปจากชุมชน
(3) เพลงพืนบ้าน ในชุมชนหมอพื้นบ้าน/ปราชญ์ชาวบ้าน มีการร้องเพลงพื้นบ้าน เช่น เพลงฉ่อย
เพลงอีแซว เพลงแหล่ทําขวัญนาค ฯ การส่งเสริมให้ปราชญ์ชาวบ้านถ่ายทอดเพลงพื้นบ้านสู่ผู้สูงอายุ จะทํา
ให้ผู้สูงอายุมีความสุขสนุกสนานและมีสุขภาพจิตที่ดี ทั้งยังเป็นการคงคุณค่าของเพลงพื้นบ้านให้อยู่ในชุมชน
ด้วย
- 89 -
 
(4) ภูมิปัญญาด้
ญ านหัตถกรรมพื
ถ นบ้าน
า ปราชญ์ชาวบ้ า านบางท่าน า มีความรู้แและและประสสบการณ์ด้าน
การทํทําดอกไม้จัน การจักสานน กระบุง/ตะะกร้า/ช้องจากไม้ไผ่ ในชชมรมผู้สูงอายุยุมีการส่งเสริมและพัฒนาา
ศักยภภาพผู้สูงอายุในการใช้
น ภูมิปัญญาสร้
ญ างอาชีชีพและรายได้ด้ มีการรวมตัตัวของผู้สูงอายยุในหมู่บ้าน การถ่ายทอดด
ความมรู้และจัดจําหน่
ห ายผลิตภัณฑ์ณ พื้นบ้าน ทํทาให้ผู้สูงอายุยุมีรายได้และะสืบทอดภูมิปปััญญาด้านจักสานให้ ก อยู่ใน
ชุมชนนต่อไป
นอกจากนีนี้ยังมีการประะสานความร่วมมืว อกับองค์์กรในท้องถิ่นให้น การสนับสสนุนการรวมกกลุ่มของหมออ
พื้นบ้าน/ปราชญ์
า พนบ้
นื้ าน เพื่อแลกเปลี
แ ่ยนเรียนรู
ย ้ภูมิปัญญาาท้องถิ่นระหวว่างกัน อันเป็ป็นการอนุรักษ์ษและสืบทอดด
องค์ความรู
ค ้ให้อยู่ในชุ
น มชนต่อไป
5.2 การศึศึกษาและจัดการความรู
ก ้ภูมิมิปัญญาพืนบบ้านด้านสุ ขภาพ
ภ ในปี พ.ศ.2556 รพ.สต.บ้านสระะ
โคล่ ได้ร่วมมือกั บสํ
บ านักการแแพทย์พื้นบ้านไทยน กรมพัพัฒนาการแพพทย์แผนไทยยและการแพทย์ทางเลือ ก
น กษาข้ข้อมูลของหมออพื้นบ้าน จํานวน 13 คนน ผู้สูงอายุต้ต้นแบบและบุคคลที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น
ดําเนินงานศึ
จํานวน 24 คน
จากการศึกษาหมอพื้นบ้บานทั้งหมด 24 คน จําแนกเป็ แ น หมออพ่น 13 คนน หมอนวด 4 คน หมออ
ยาสมุมุนไพร 2 คนน หมอดู 2 คน หมอพิธกรรม ี (พิธีตงศาลพระภู
ั้ง ม/พิ
/ิ ธีขันหมาก//พิธีเรียกขวัญนาค) ญ 2 คนน
และหหมอกระดูก 1 คน สําหรัรับหมอพ่น 13 คน พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุมาก (60 – 80 ปีขึ้น
ไป) และมีอาชีพเกกษตรกร เรียนวิ ย ชามาจากกบรรพบุรุษ ญาติและพระะสงฆ์ มีศักยยภาพและควาามสามารถในน
การรัักษาอาการป่ปวย ได้แก่ ปราบ/ปราบเ
ป เส้น (อาการปปวด ชา เสียว ย บริเวณกลล้ามเนื้อที่ แขน ขา เข่า
หรือข้อ มีลักษณะะงอไม่เข้า เหหยียดไม่ออก) (ผี)ปลวก (มมีเหตุมาจากผีผีปลวก อากาารปวดบวม ร้อนที่บริเวณ ณ
ขา แขนแ หรือหัวเข่ ว า มีลักษณะขาแข็ง ยกไม่ ย ขึ้น) งูสวั ส ส ไฟลามมทุ่ง ขยุ้มตีนนหมา ฝีคางททูม/ฝีหัวขาดด
ลมพิษ บาดทะยัก ระดูทับไข้/ไข้ / ทับระดู ตะปูตํา ปลาาดุก/ตะขาบ//ปลา/แมงป่ออง ต่อยหรือตํา ดับพิษไฟฟ
รํามะนาด อีสุกอีใส ใ โรคท้องมมาน โรคเด็ก-ชั - ก ลมกําเนินิด ตาแดง นอกจากนี
น ้หมมอพื้นบ้านบางคนเป็นส่วน
น้อย ยังมีความสามารถในการรตั้งศาลพระภูมิ การตั้งเสาเอก/เสาโทท การดูสายยมือ การดูดวง การอาบบ
น้ํามนต์ และการสะเดาะเคราะห์/
ต่ อ ช ะ ต า ห ม อ พ่ น ใ ช้ วิ ธี พ่ น
ผสมผสานกับการใช้คาถา น้ํามนต์ต์
หรื อ น้ํ า มมั น สมุ น ไพรรในการดู แ ล
รักษาผู้ป่วย และหมออพื้นบ้านจะมีมี
แบบแผนนการปฏิบัติตนเองหรื ต อข้อ
ห้ า ม แลละการบู ช าคครู เ มื่ อ ผู้ ป่ ว ย
หายจากความเจ็บป่วยแล้ว มีการร
ส่งขันธ์ข้าวให้หมอพื้นบ้ น าน และมีมี
หมอพื้ น บ้ า น 1 คนน เลิ ก รั ก ษาา
ผู้ป่วยแล้
ย ว ส่วนหมอนวดจํานววน 4 คน พบว่ พ า ส่วนใหหญ่เป็นหญิงอายุ อ ค่อนข้างมมาก เรียนกาารนวดมาจากก
- 90 -
 
บรรพพบุรุษ ญาติ และเข้ารับการฝึกอบรมจจากหน่วยงานนสาธารณสุข และหน่วยงาานรัฐในท้องถิถิ่น อย่างไรก็ก็
ตาม มีหมอพื้นบ้านคนหนึา ่ง (นนางสุรัตน์ คําเขียน) เริ่มเรียนนวดมาจจากพี่สาว ซึ่งเรียนมาจากกบรรพบุรุษที่
เป็นย่าชาวขอม อาจมีเทคนิคหรื ห อวิชาที่แตกต่างจากการนนวดไทย หมออนวดพื้นบ้านนบางคนอาศัยการนวดเป็ ย น
แหล่งรายได้
ง และะมีการรับนวดดที่บ้านเป็นประจํป า หมอนนวดพื้นบ้าน ดูแลรักษาออาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
ปวดตึตึงบริเวณบ่า ต้นคอ ขา เข่า หลัง ข้อเท้าแพลง อัมพฤกษ์-อััมพาต และมีมีหมอพื้นบ้านบางคนสอน น น
และถถ่ายทอดวิชาวิชาการนวดดให้ลูกตนเองง สํ าหรับการศึกษาผู้สูงอายุ อ ต้นแบบ รพ.สต.บ้านสระโคล่ น มี
การศึกษาผู้สูงอายุทีท่มีสุขภาพดีหรื
ห อบางคนมีโรคแต่ดูแลควบคุมได้ จํานวน น 6 คน ททั้งหมดเป็นเพพศหญิง อายุยุ
อยู่ในช่
น วย 70 – 80 ปี บาางคนยังมีอาชีชีพปลูกผักสวนครัว และออาชีพแปรรูปออาหาร (ผักดอง ด แป้งข้าว
หมากก) ผู้สูงอายุกลุล่มนี้มีแบบแผผนการดูแลสุขภาพที
ข ่ดี และการดูแลตนเองในวิถีประจําวัน หลายด้านประกอบบ
กัน คือ ด้านอาหาร ส่วนใหญ่ ญ่จะทานผัก น้นําพริก และปปลาเป็นหลัก ผักจะเป็นผักในท้องถิ่นที่ปลูกเอง ละะ
เว้นหรือื ทานสัตว์ใหญ่ห จํานวนน้อย
อ (ไก่ เนื้อ หมู) บางคนนชอบทานกล้วยน้ ว ําว้า หรืออมีการดื่มน้ํา 2 แก้วหลัง
ตื่นนออนมากกว่าดื่มชา/กาแฟทุ
ม กวัน ด้านกาารออกกําลังกายก มีการเคลื่อนไหวร่างกกายประจํา ประกอบด้ ป วย
การทํทํางานบ้าน การเดิก น การรขี่จักรยาน การทํ ก ากายบริริหาร (แกว่งแขน ง ยืดเหยียียดเดิน) แลละเลี้ยงหลานน
ผู้สูงอายุทุกคนนอนนเร็วและตื่นเชช้า และบางคคนมีการรับปรระทานยาสมุนไพรเป็ น นยาบํบํารุงร่างกาย ยาน้ํามะกรูด
ยาหออม ราชรด ส่สวนสวัสดิการด้านสุขภาพพ ผู้สูงอายุจะมี ะ สิทธิการรักษาพยาบาล
ก ลของตนเอง หรืออาจเป็น
สิทธิการรั
ก กษาพยาาบาลของ รพพ.สต. เช่น สิทธิการประกักันสุขภาพแห่งชาติ ง (บัตรททอง) สิทธิการประกันชีวิต
(ภาคเอกชน) เป็นต้ น น สําหรับผู้สูงอายุของเเทศบาลหัวรออ ได้รับการสสนับสนุนและะช่วยเหลือด้านค่ า าใช้จ่ายทีที่
จําเป็นด้
น วย
จากการวิวิเคราะห์การศึกษาเกี่ยวกัับหมอพื้นบ้าน า และผู้สูงอายุต้นแบบขของ รพ.สต.บ้านสระโคล่ล่
พบว่า ข้อมูลทั้งหมดเป็นการศึกษาลักษณะบบุคคล และมีมีความละเอียด ย เห็นได้ถึงศักยภาพของงหมอพื้นบ้าน
และผูผู้สูงอายุ อย่างไรก็
า ตาม ยัังคงขาดการปประมวลและจัจัดระบบเป็น “ชุดความรู้” ที่น่าเชื่อถือและเป็น
ประโยชน์ต่อการใช้ช้งานในอนาคคต อย่างไรก็ก็
ตาม รพ.สต.บ้ า น สะโคล่ มี ศั ก ยภาพและะ
บทเรียนการทํ
ย างานนผู้สูงอายุที่มีความเข้
ค มแข็ง
และมีลัลักษณะเครือขข่าย ทําให้เห็นถึงโอกาสทีที่
จะทํา ภู มิปัญ ญาพื้นนบ้านสุ ขภาพพไปใช้ ในงานน
ผู้สูงอายุ ตัวอย่างเชช่น การนําทักษะเรื ก ่องนวดด
ของหมมอพื้นบ้านผสสมผสานกับการบริ ก การในน
“ศู น ย์ ส่ส ง เสริ ม สุ ข ภ าพผู้ สู ง อายุ เพื
เ ่ อ การดู แ ล
ผู้สูงอายุในช่วงกลางงวัน” หรือการถ่ อ ายทอดด
ภูมิปัญญาพื
ญ ้นบ้านด้ด้านสุขภาพบางด้าน เช่น
ด้านสมมุนไพร ด้านนนวด พิธีกรรม ร เป็นต้ น
ให้กับคนรุ
บ ่นใหม่ทสนใจในท้
สี่ องถิ่นเพื่อเป็นการรอนุรักษ์และสืสืบทอดภูมิปัญญาสู
ญ ่คนรุ่นหหลังต่อไป
- 91 -
 

ตัวอยางที่ 7
ตําบลลน้ําไคร อําเภอน้้าํ ปาด จังหวั
ง ดอุตรรดิตถ

1. บริริ บททางสังคมม
บ้านห้วยแแมง (หมู่ที่ 3) 3 เป็นหมู่บานหนึ
า้ ่งที่ตั้งอยูยู่ในตําบลน้ําไคร้ ตําบลแหห่งนี้มีห้วยชื่อ “ลําน้ําไคร้”
ม ว ยมี ต้ น ไค ร้ เ ป็ น จํ า นวนนมาก ชาวบ้บ้ า นอาศั ย ลํ า น้ํ า ในการทํ า
ไหลผผ่ า นหมู่ บ้ า นหหลายหมู่ บ้ า น บริ เ วณริ มห้
การเกกษตร ตําบลนน้ําไคร้มี 7 หมู่บ้าน สภาาพภูมิประเทศศเป็นพื้นที่ภูเขา ข และมีพื้นนที่ส่วนหนึ่งเป็ปนป่าสงวนในน
เขตอุทยานแห่งชาาติ ตําบลน้ําไคร้ ไ มีประชากกรทั้งหมด 5,036 คน และมี แ การตั้งบ้านเรือน 1,2240 หลังคาา
เรือน ส่วนใหญ่มอาชี อี พทํานา ทํทาสวน ทําไรร่ (ข้าวโพด มัมนสําปะหลัง) เลี้ยงสัตว์ และรับจ้าง/เเก็บของป่าในน
ป่าห้วยแมง

ในการศึกษาและจัดการภูมิปัญญาท้้องถิ่นครั้งนี้ โรงพยาบาลสส่งเสริมสุขภาพตําบลห้วยแแมง (รพ.สต..
ห้วยแแมง) ได้เลือก “บ้านห้วยแแมง” (หมู่ที่ 3) เป็นพื้นที่เป้าหมาย

2. แนนวคิดและแนวทางการบริ การสุ ก ขภาพผูส้ ูงอายุ


หมู่ บ้ า นห้ห้ ว ยแมงมี จํา นวนประชาก
น กรทั้ง หมด 7957 คน จํ านวน า 190 หลั ง คาเรื อน ส่ ว นใหญ่ญ่
ประกกอบอาชีพเก ษตรกรรม ผู้สูงอายุ มีจํ านวน า 133 คน จําแนกกเป็ น ชาย 60 คน หญ ญิง 73 คนน
ประกกอบด้วยผู้สูงอายุ อ ที่มีสุขภาพพดีจํานวน 1118 คน (ร้อยละ ย 88.7) ผูผ้สูงอายุที่มีโรรคเรื้อรัง จํานวน น 15 คนน
(ร้อยลละ 11.2) แลละผู้สูงอายุตดเตี ดิ ยง จํานวน 2 คน
รพ.สต.ห้วยแมง
ว มีนโยยบายส่งเสริมดูแลผู้สูงอายุ ร่วมกับองค์กรปกครองส่
ก วนท้องถิ่น (อบต.ห้วยแมง))
มีการรสนับสนุนและส่งเสริมการรตรวจคัดกรอองสุขภาพผู้สูงอายุ ง การบริริการสุขภาพด้ด้านแพทย์แผนไทยสําหรับ
ผู้สูงอายุ
อ การจัดศูนย์ฟื้นฟูสมรรรถภาพสําหรับผู้สูงอายุ กิจกรรมส่งเสริ เ มผู้สูงอายุยุภายในหมู่บ้านห้
า วยแมงมีมี
“ชมรมผู้สูงอายุบ้านนห้วยแมง” เป็นชมรมม
ผู้ สู ง อาายุ ร ะดั บ หมู่ บ้ า น สมาชิชิ ก ชมรมคื อ
ผู้สูงอา ยุใ นหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 9 ผู้สูงอายุยุ
ได้รับการดูแลและพัพัฒนาคุณภาพพชีวิต มีการร
จั ด สวั สดิ
ส ก ารการส่สงเสริ ม อาชี พและรายได้
พ ด้
และด้านประเพณีวัฒ ฒนธรรม ชมมรมผู้สูงอายุยุ
บ้ า นห้ วยแมงมี ก าารทํ า งานลํ าดั า บ รั บ การร
สนับสนนุนกิจ กรรมจจากองค์ก รทัั้ง ภายในและะ
ภายน อกชุ ม ชน ตั ว อย่ า งเช่ น ชมรมฯฯ
ร่วมกับองค์
บ กรภายนนอกชุมชนส่งเสริ ง มการทํา
- 92 -
 
บายศศรี สุ่มไก่ และกระด้
แ งให้้ผู้สูงอายุ ชมมรมฯมีการระะดมทุนทําบุญผ้
ญ าป่า และะจัดเป็น “ต้ต้นทานชมรมม
ผู้สูงอายุ
อ ” ในชช่วงเทศกาลสงกรานต์ แลละชมรมฯร่วมกั ม บ รพ.สต.บบ้านห้วยแมงจัดเยี่ยมบ้านสมาชิกชมรมม
ผู้สูงอายุ เป็นต้น
รพ.สต.ห้วยแมง
ว มีการรจัดบริการกาารแพทย์แผนไไทยในสถานบบริการสาธารณสุข ตั้งแต่ปีปี พ.ศ. 25544
ผู้ให้บริ
บ การคือแพททย์แผนไทยแลละผู้ช่วยแพททย์แผนไทย รพ.สต.ห้ ร วยแมง ได้นําแนวคิดและแนววทางการดูแล
สุขภาาพของนายใจจเพชร มีทรััพย์ (หมอเขีียว) นักวิชาการสาธารณ า ณสุข/นักบําบัดดสุขภาพทางงเลือก/ครูฝึก
แพทยย์แผนไทย จัังหวัดมุกดาหหาร/จังหวัดอํานาจเจริญ มาใช้ในงานสส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอันเป็ น นการดูแล
สุขภาาพแบบสมดุลด้ ล วยการใช้เทคนิ ท คการดูแลสุขภาพ 9 ด้าน คือ (1) ( การดื่นน้ําคลอโรฟิลล์/น้ําสมุนไพรร
ปรับสมดุ
ส ล (2) การรัก บประททาน
อาหาารแบบสมดุล (3) การถอน
พิ ษ จาากร่ า งกายด้้ ว ยวิ ธี กั ว ซา//ดู ด
พิษ/ขูขูดลม (4) การสวนล้
ก างลําไส้

(5) การแช่
ก มือ/เท้ท้า ด้วยสมุนไพร ไ
(6) การประคบ-อ
ก อบ-อาบสมุนไพร ไ
(7) การออกกํ
ก าลัังกาย (8) การ ก
ใช้ธรรรมะดูแลจิตใจ (9) รู้เพียรรู ย ้
พักให้ห้พอดี โดยมีการอบรมและ
ก ะฝึก
การดูแลสุขภาพตนนเองเดือนละะ 1
ครั้ ง นอกจากนีนี้ ยั ง มี กิ จ กร รม
ส่งเสริริมสุขภาพสําหรั
ห บผู้สูงอายุทีท่จัดเป็นประจํา คือ การรออกกําลังกาย (การรําไม้้พลอง การฝึฝกโยคะ และะ
การรําวงย้
า อนยุค) การนั่งสมาธิ และการทําบุบญใส่บาตร โดยได้ โ รับการสนับสนุนจากก อบต.ห้วยแแมง

3. กาารจัดการความมรู ้และประสสบการณ์ส่งเสสริิ มภูมิปัญญาาท้องถินในงาานผูส้ ูงอายุ


รพ.สต.ห้วยแมง
ว มีการรจัดการความรูรู้การแพทย์พ้นื บ้าน ด้วยกการศึกษาหมออพื้นบ้านที่เป็นผู้สูงอายุ 6
คน เป็เ นเพศชาย 8 คน เพศหหญิง 1 คน อายุระหว่าง 58 – 91 ปี จําแนกเป็น หมอเป่า 3 คน หมออ
เสี่ยงททาย 1 คน หมอสู่ขวัญ 1 คน และะหมอกะดูก 1 คน และมมีการรวบรวมมความรู้และปประสบการณ์ ณ์ 
การรักษาาโรคของหมออพื้นบ้านแบบบ
สังเขป พพบว่า หมอเเป่า เริ่มการร
รักษาด้วยยการเตรียมดดอกไม้และธูป
เทียนเพื่ออบูชาครู จากกนั้นหมอเป่า
จะใช้ วิ ธี เป่ า พร้ อ มท่ องคาถาเพื
อ ่อ
รั ก ษากลลุ่ ม อาการตาาแดง งู ส วั ด
ไฟลามทุ่ง สุนัขกัด งูกัด คางทูม
มะเร็ง หหมอกระดูก เริ่มการรักษาา
- 93 -
 
ด้วยกการที่ผู้ป่วยเตตรียมขันธ์ 5 เพื่อทําพิธีไหว้
ไ ครู และมมีการตรวจกระดูกหัก แลละรักษาด้วยการใช้น้ํามัน
คาถา และใช้ไม้ไผ่ผดามกระดูกที่หัก ส่วนหมมอเสี่ยงทาย มีการไหว้ครูด้ดวยดอกไม้แลละธูปเทียน และเสี แ ่ยงทายย
ด้วยไมม้ไผ่ที่ทําเป็นตอกเส้
ต นยาว จากนั้นเสี่ยงททายและพับตอกไม้ไผ่พร้อมท่ ม องคาถา แและจึงทํานายยผล กล่าวได้ด้
ว่า ชุมชนบ้านห้วยแมงเป็นชุมชนที่มีลักษณ ณะเครือญาติพึพ่ึงตนเอง แลละมีความเชื่ออถือศรัทธาในนหมอพื้นบ้าน
อย่างไไรก็ตาม หมออพื้นบ้านไม่มการถ่ี ายทอดอองค์ความรู้ อาจทํ
อ าให้ความรู้หายไปในออนาคต
สําหรับกาารส่งเสริมภูมิมิปัญญาท้องถิ่นในงานผู้สูสูงอายุ รพ.สสต.ห้วยแมง มีการใช้แนววคิดการดูแ ล
สุขภาาพแบบสมดุล (หมอเขียว) มาใช้ประโโยชน์ในกิจกรรรมของชมรมมผู้สูงอายุ แลละยังใช้แนวคิคิดการพัฒนาา
สุขภาาพชุมชน โดดยมีกิจกรรมวิวิเคราะห์ชุมชน ช การสืบค้นให้ชุมชน สร้างข้อตกลลงของชุมชน และดําเนิน
กิจกรรรมด้านสุขภาาพในชมรมผู้สูสูงอายุ รูปแบบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอาายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ประกอบด้
ป วย
6 กิจกรรม
จ คือ การปลู
ก กผักพื้นบ้
น านเพื่อบริโภคในครั
โ วเรือน
อ การเรียนรู น ้และส่งเสริมมการบริโภคอาหารพื้นบ้าน
ในครอบครัว และะในงานประเพพณี การออกกําลังกาย (ฝึฝึกโยคะ การรรําไม้พลอง การรําวงย้อนยุ น ค) ร่วมกัน
3 วัน/อาทิ
/ ตย์ การรทําบุญตักบาาตรวันพระ การเยี ก ่ยมบ้านของผู
น ้สูงอายุ การฝึกสมาธิและสวดมนนต์ ก่อให้เกิด
เครือข่ขายของผู้สูงอายุ
อ และส่งเสสริมสุขภาพทั้งกายและจิ
ง ตใจของผู
ใ ้สูงอายุ อย่างไรก็ตตาม องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิถิ่นยังขาดการสสนับสนุนอย่างจริ
า งจัง
- 94 -
 
ผูส ูงอายุตน แบบการดูแลสุขภาพดวยภูมป
ิ ญญาการแพทยพนื้ บาน

นางนวล จันธิ มา อายุ 94 ปี


ตําบลนาแก้ว อําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง 

คุณยายนวล จันทิมา หญิงชราร่างเล็ก ผิวขาวเหลือง ไว้ผมมวยแบบ


สาวเหนื อ อาศั ย กั บ ลู ก สาวในบ้ า นไม้ ใ ต้ ถุ น ยกสู ง ใต้ ถุ น บ้ า นต่ อ เติ ม เป็ น
ห้ อ งครั วและห้ อ งเก็ บ ของเล็ก ๆ แม้ว่ าปี นี้คุ ณ ยายนวลมี อ ายุ 94 ปี แ ล้ ว
ผิวหนังเหี่ยวย่นไปตามวัย ฟันหลุดร่วงเหลือเพียงซี่เดียว สายตาแม้จะฝ้าฟาง
ไปบ้าง แต่ยังสามารถเย็บผ้าหรือกระสอบด้วยเข็มเล่มโตได้ หูยังได้ยินชัดเจน สีผมมีสีขาวแซมดํา น่าแปลกใจว่า
อายุขนาดนี้ผมยังไม่ขาวทั้งหัว ทั้งที่ยายบอกว่าไม่เคยใช้ยาย้อมผมเลยสักครั้งเดียว
หลังจากคุณตาคู่ชีวิต ถึงแก่กรรมเมื่อสี่ปีก่อน ยายก็ได้ลูกสาวสองคนดูแล ส่วนลูกชายคนโตแต่งงาน
แล้วย้ายถิ่นฐานไปอยู่ที่มหาชัย มาเยี่ยมยายนวลแค่ปีละครั้งช่วงสงกรานต์ แต่ละวันยายนวลจะตื่นเช้าพร้อมลูก
สาวคนโตที่ต้องตื่นเพื่อไปซื้อของในตลาดสําหรับเปิดร้านก๋วยเตี๋ยวในหมู่บ้าน ส่วนยายเมื่อตื่นแล้ว ก็ล้างหน้า
ป้วนปาก แกว่งแขนแกว่งขา ตามที่หมออนามัยสอนให้ออกกําลังกาย ก่อนไปลูกจะหุงข้าวเตรียมกับข้าวกับปลา
ไว้ให้ หลังจากลูกสาวคนโตไปเปิดร้าน และลูกสาวคนรองไปทํางานเป็นพี่เลี้ยงเด็กในโรงเรียนแล้ว กลางวันยาย
มักจะอยู่บ้านเพียงคนเดียว นั่งบ้าง เดินไปเดินมาในบริเวณบ้านบ้าง ยายไม่ชอบนอนกลางวัน ไม่ชอบดูทีวีหรือ
ฟังวิทยุ บางวันจะมีเพื่อนบ้านใกล้เคียงเดินมาพูดคุยถามสารทุกข์สุกดิบพอให้คลายเหงา เมื่อหิวก็ไปทาน
อาหารที่ลูกเตรียมไว้ให้ ยายไม่ชอบทานอาหารรสเผ็ด หากอาหารที่ลูกทําไว้เผ็ดก็จะไม่ทาน ชอบอาหารรสเค็ม
และหวาน ชอบทานปลาและผักทุกชนิด และชอบทานข้าวเหนียวกับกล้วยน้ําว้า ปริมาณอาหารที่ทานในแต่ละ
วันก็ไม่ไม่กี่คําแค่พออิ่ม ในระหว่างวันยายจะดื่มน้ําหลายแก้ว สามารถดูแลตัวเอง ทํากิจวัตรประจําวันได้ทุก
อย่าง อาบน้ํา ซักผ้า ตัดเล็บเอง โดยไม่เป็นภาระของลูกหลาน
แม้จะชอบรับประทานอาหารรสเค็มและหวาน แต่ยายนวลก็ไม่มีโรคประจําตัว ไม่เคยไปพบหมอที่
โรงพยาบาล สุขภาพแข็งแรง มีเพียงอาการปวดเข่าบ้างตามวัย ไม่พกยาติดตัว ยกเว้นยาดมแก้วิงเวียนเป็น
บางครั้ง เมื่อไม่นานมานี้ยายนวลหันมาต้มยาสมุนไพรดื่ม เพื่อหวังว่าจะทําให้หายปวดเข่าและสุขภาพดี เชื่อ
ตามคําบอกของเพื่อนบ้าน ที่เก็บสมุนไพรปอกะบิดจากชายป่ามาให้ยายต้มดื่ม
ช่วงสองปีก่อนนี้ ยายนวลยังไปวัดฟังธรรมทุกวันพระ ตั้งแต่ปีที่แล้วยายนวลเริ่มไปวัดไม่ไหว เพราะ
ความชรามีอาการปวดเข่า ทําให้ลุกนั่งลําบาก แม้ไม่ได้ไปวัด ยายก็ยังชอบฟังธรรมะ สวดมนต์ไว้พระก่อนนอน
เป็นประจําไม่ได้ขาด ยายเป็นคนอารมณ์ดี ไม่เครียด
ลูกสาวไปรับเบี้ยผู้สูงอายุให้ทุกเดือน เดือนละ 1,000 บาท ยายนวลใช้เป็นค่าใช้จ่ายจิปาถะ เช่น ค่ายา
เส้นสําหรับมวนบุหรี่สูบ ยายสูบบุหรี่ตั้งแต่ตอนสาวๆ ตอนไปเลี้ยงควายตามท้องทุ่ง ทุกวันนี้ยังสูบสองสามมวน
ต่อวัน ซื้อเมี่ยงมาเคี้ยว หรือฝากลูกซื้ออาหารที่ตนเองอยากรับประทานเป็นพิเศษ หากเดือนไหนไม่พอใช้ ก็จะ
ขอเพิ่มจากลูกครั้งละร้อยสองร้อยบาท
- 95 -
 

นางเเหลือม สังแก้
ง ว อายุ 1001 ปี
ตําบลลนาท่ามใต้ อําเภอเมื
า อง จังหวัดตรัง 

คุณยายเหลื
ณ ่อม อดีตหมอบบีบเอ็น (หมออนวดพื้นบ้าน) อาศัยอยู่ใน
บ้านปูนชั้นเดี
เ ยว มีสมาชิกในบ้านทั้งหมด ห 4 คน ปัจจุบันท่านไมม่ได้ประกอบบ
อาชีพ รายได้ส่วนใหญ่มาจากเงิ
า นยังชีพผู
พ ้สูงอายุ 1,,000 บาท/เดืดือน แม้จะมีมี
ภาวะไขมันในเลื
ใ อดและคความดันโลหิตสู ต ง แต่ท่านยัยังแข็งแรงมากก สามารถทํา
กิจกรรมในชีชีวิตประจําวันด้น วยตัวเองไได้ทุกอย่าง สสายตายังเห็นชั
น ดเจน แต่หูหู
อาจได้ยินไม่ชัดบ้าง ผู้คุยด้ดวยได้ต้องพูดเสี
ด ยงดัง
กิจวัวตรประจําวันตั
น ้งแต่เฃ้าตื่นนอนเวลา
น แปปดโมงเช้า ล้างหน้
า า แปรงง
ฟัน ล้างจาน หุงข้าว า เมนูอาหารรที่รับประทานนเป็นประจําคือ ต้มจืด คุณยายเหลื
ณ ่อมชชอบรับประททานอาหารรสส
จืด ลูกสาวเป็นผู้ทํากับข้าวให้ หลั
ห งจากรับประทานอาหารเช้า ชอบนั่งพู ง ดคุยสนทนนากับเพื่อนบ้าน า ถอนหญ้า
รอบบ้บ้าน กวาดขยะ ในแต่ละวันคุ น ณยายจะนนอนพักกลางวัวัน วันละ 2 ชั่วโมง ช่วงบ่าายโมงถึงบ่ายสามโมง และะ
จะเข้านอนเวลา
า 2 ทุ่ม
คุณยายมักเข้
ก าวัดทําบุญเป็
ญ นประจํา สัปดาห์ละสอองครั้ง และสววดมนต์ไหว้พรระก่อนเข้านออน เคล็ดลับที่
ทําให้้คุณยายสุขภาาพแข็งแรงอายุยืนยาว คือ หลีกเลี่ยงอาหหารรสจัด รสเเค็ม บริโภคอาาหารและเครืรองดื ่ ่มที่บรรจุจุ
ในภาชนะที่สะอาดด อาหารต้องสด อาหารจําพวกเนื า ้อ ผักและผลไม้
ก จะต้องล้างทําคความสะอาดก่อนนําแช่ใน
ตู้เย็นทุกครั้ง หลีกเลี
เ ่ยงอาหารหหมักดองและออาหารที่แต่งสีฉูดฉาด พักผ่อนให้ อ เพียงพออ คุณยายเป็นคนอารมณ์
น ดีดี
ร่าเริงแจ่
ง มใส ไม่เครี
ค ยด ท่านชอบรําหน้ากลอองยาวและชออบดูการแสดงงพื้นบ้านทุกชนิด ไม่สูบบุหรี ห ่และดื่มสุรา
รับปรระทานพืชผักและผลไม้
แ เป็นประจํ
น า
คุณยายใช้ช้ยาสมุนไพรในการดูแลสุขภาพ ที่มีสรรพพคุณฃ่วยลดคความดันโลหิตตสูง ส่วนประะกอบด้วย ฟ้า
ทะลาายโจรทั้งต้น หญ้ห าหนวดแมว ลูกใต้ใบ ต้มดื
ม ่ม
- 96 -
 
นางคํามี ขัดสี อายุ 79 ปี
ตําบลนําไคร้ อําเภอนําปาด จังหวัดอุตรดิตถ์

คุณยายคํามี หญิงสูงอายุรูปร่างเล็ก เป็นคนอารมณ์ดี มีรอยยิ้มเปื้อนหน้า พร้อมเสียงหัวเราะตลอดการ


สัมภาษณ์ คุณยายคํามีเป็นลูกคนโตของพี่น้องทั้งหมด 12 คน อาชีพดั้งเดิมทํานา ทําไร่ข้าวโพด หลังจาก
แต่งงานกับคุณตาแจ่ม มีลูกทั้งหมด 7 คน ผู้หญิง 4 คน ผู้ชาย 3 คน เมื่อ 4 ปีที่แล้วคุณตาแจ่มผู้เป็นสามี
เสียชีวิตด้วยโรคเกาต์ที่มีอาการมากว่า 2 ปี ทิ้งให้ยายคํามีอยู่คนเดียวในบ้านหลังใหญ่ ที่ลูกๆ แยกครอบครัว
ออกไปหมดแล้ว ลูกชาย 2 คน ไปทํางานรับจ้างไกลถึงสมุทรปราการและกรุงเทพฯ ลูกสาวสองคนอยู่ในตําบล
เดียวกันไม่ได้ทอดทิ้งแม่ ยังคงผลัดเวียนกันดูแลเรื่องอาหารการกิน นําอาหารมื้อเช้าและเย็นมาส่งให้ไม่ได้ขาด
แต่ด้วยความที่สูงอายุ กับข้าวกับปลาที่ลูกทํามาให้รสชาติไม่ถูกปาก บ้างก็เผ็ดไป หวานไป จึงมักทําอาหารทาน
เองอยู่บ่อยครั้ง อาหารที่โปรดปรานของยายคํามีคือปลาต้ม ผักนึ่ง ไม่ชอบอาหารทอดหรือผัดน้ํามัน ไม่ทานหมู
และไก่ เนื่องจากกลัวปวดแข้งปวดเข่า ยายชอบอาหารรสจืด ผักที่นํามาปรุงอาหารยายคํามีปลูกเองรอบบ้าน
บางครั้งเก็บตามท้องนา หรือไม่น้องสาวที่ปลูกผักขายจะแบ่งมาให้เป็นประจํา ชอบทานผลไม้ และดื่มน้ําใน
ปริมาณมากในแต่ละวัน
ในแต่ละวันยายคํามีตื่นตั้งแต่ตี 4 หลังจากลุกขึ้นจะยืดเหยียดกล้ามเนื้อ ตามที่หมออนามัยสอน เข้า
ห้องน้ําขับถ่าย ยายไม่เคยมีปัญหาเรื่องขับถ่าย สวดมนต์ หุงข้าว ทํากับข้าวหากลูกไม่ได้นํามาให้ รดน้ําผักสวน
ครัวรอบบ้าน รับประทานอาหารเช้า หลังจากรับประทานอาหารจะปัดกวาดเช็ดถูบ้าน หรือเดินไปเที่ยวเล่น
บ้านลูกหลาน ตอนเย็นมักดูทีวีเพื่อให้รู้ข่าวสารบ้านเมือง ดูละครเป็นบางครั้ง เข้านอน 2-3 ทุ่ม และสวดมนต์
ไหว้พระก่อนนอน
คุณยายมีไม่มีโรคประจําตัว สุขภาพแข็งแรง ตาและหูยังเห็นและได้ยินชัดเจน ฟันเริ่มหลุด ไม่กิน
หมากพลู สามารถทํากิจกรรมในชีวิตประจําวันทุกอย่างด้วยตนเอง ในระยะหลังยายหันมาดื่มน้ําต้มสมุนไพรปอ
บิดกับหัวยาข้าวเย็น ดื่มเช้า-เย็น ครั้งละ 2 แก้ว เพราะเชื่อว่าจะทําให้สุขภาพดี ตามความเชื่อที่บอกต่อๆ กันมา
รับประทานผักคาวตองเป็นผักเคียง ซึ่งยายปลูกไว้เองรอบบ้าน ส่วนยาสมุนไพรไทยอื่นๆ พกเพียงยาดมและยา
หม่อง เพื่อแก้อาการวิงเวียน เป็นลมแดดเป็นบางครั้ง ใช้วิธีการนวดขมับร่วมด้วยตามคําแนะนําของหมอ
อนามัย ชอบอ่านหนังสือธรรมะ และฟังธรรมะวิทยุ ไม่เครียดไม่โกรธใครง่ายๆ ชอบรําวงเต้นรําตามงาน
ประเพณีต่างๆ และเข้าร่วมกิจกรรมชมรมผู้สูงอายุของตําบลเป็นประจํา
รายได้ที่ใช้จ่ายในชีวิตประจําวัน บุตรชายที่จังหวัดสมุทรปราการส่งมาให้ใช้จ่ายทุกเดือน เดือนละ
1,000 - 2,000 บาท บวกกับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุเดือนละ 700 บาท เงินที่ได้รับ ยายจะแบ่งเป็นเงินทําบุญทุก
วันพระ ครั้งละ 20 บาท ช่วยบุญงานศพ เดือนละ 100 -120 บาท ซื้อกับข้าวทุกวันเสาร์ ครั้งละ 50 -100
บาท ยายไม่ได้ไปซื้อเองแต่ฝากลูกหลานซื้อให้เพราะตลาดนัดอยู่ค่อนข้างไกล อาหารที่ฝากซื้อมักเป็นปลากับ
ผัก และถ่ายหุงข้าวเป็นบางครั้ง กระสอบละ 150 บาท
ยายคํามี เป็นผู้สูงอายุสุภาพดีเพราะทานอาหารปลาและผักเป็นหลัก ออกกําลังกายเป็นประจํา และ
จิตใจร่าเริง สวดมนต์ไหว้พระเป็นประจํา
- 97 -
 
นางชุม เกินทา อายุ 75 ปี และนางตํา คํายะอุ่น อายุ 69 ปี
ตําบลนําไคร้ อําเภอนําปาด จังหวัดอุตรดิตถ์

“ผูสูงอายุดูแลตัวเองอยางไร ใหสุขภาพแข็งแรง” เป็นเรื่องราวของผู้สูงอายุสองพี่น้อง ที่


อาศัยในชนบท มีชีวิตที่เรียบง่าย แม้มีความต่างกันในบางมุม แต่แฝงไปด้วยความรักและความห่วงใยกันและ
กัน ในการประคับประคองวัยนี้ให้มีความสุข
สูงวัยอย่างมีค่า แก่ชราอย่างมีความสุข คงเป็นคํากล่าวสําหรับสองพี่น้องที่อยู่กันอย่างมีความสุขในวัย
ชรา นางต่ํา คํายะอุ่น ในวัย 70 ปี และนางชุม เกินทา ในวัย 76 ปี สองพี่น้องที่ยังความสดใส ร่าเริง สมวัย
ป้าชุ มเพิ่งสูญ เสียคู่ชีวิตไปเมื่ อปี 2556 จึงพักอาศัยอยู่กับหลานชายเพียง 2 คน เนื่องจากลูกๆ ไปทํางาน
ต่างจังหวัด ส่วนป้าต่ําอาศัยอยู่กับลุงไว ผู้เป็นสามีที่อยู่ในวัยชราเช่นเดียวกัน (74 ปี) ลูกๆ แต่งงานและแยก
ครอบครัวออกไปแต่ก็ยังอยู่ในละแวกใกล้เคียงและคอยแวะเวียนพาหลานมาเยี่ยมเยียนอยู่เป็นประจํา ในวัย
สาวป้าทั้งสองมีอาชีพทําไร ทํานา ตามประสาชาวชนบท พอวัยย่างเข้า 60 ปี ก็เลิกทํา แต่ก็ยังสร้างคุณค่าให้
ตัวเองด้วยการปลูกผักสร้างรายได้เล็กๆ น้อยๆ ด้วยตนเอง เดิมบ้านป้าชุมเป็นบ้านไม้ใต้ถุนสูง แต่หลังจากสามี
จากไปจึงย้ายมาอยู่บ้านปูนชั้นเดียวกับหลานซึ่งอยู่ติดกัน หลังบ้านที่แม้เหลือที่ไม่มากแต่ก็มีการทําแปลงผัก
สวนครัว ผลไม้พื้นบ้าน อาทิ มะละกอ มะม่วง ละมุด น้อยหน่า สําหรับรับประทานในครัวเรือน หากเหลือก็จะ
เก็บไปขายเพื่อนบ้านในละแวกใกล้เคียง ส่วนป้าต่ําซึ่งบ้านอยู่ติดกันอาศัยในบ้านครึ่งปูนครึ่งไม้ ฝั่งตรงข้ามทํา
แปลงผักสวนครัวหลายชนิด อาทิ ต้นหอม ผักชี ผักกาด ดอกแค ไว้สําหรับขายและรับประทานเองในครอบครัว
ส่วนในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน ยังมีการเพิ่มรายได้จากการแกะมะขามเปียกขายอีกด้วย ในแต่ละวันป้า
ทั้งสองมีกิจวัตรที่คล้ายคลึงกัน คือ ตื่นเช้าประมาณตีห้า ล้างหน้าแปรงฟัน ดื่มน้ํา 1 แก้ว แล้วเข้าครัวปรุง
อาหารจากผักสวนครัวตามฤดูกาลที่มี ปราศจากผงชูรส ต่อด้วยการออกกําลังกายท่ายืดเหยียดง่ายๆ ที่ได้รับ
การฝึกจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลห้วยแมง เป็นเวลา 10 นาที แล้วจึงกวาดถูบ้าน รดน้ําผักสวนครัว
เก็บผักไว้ขาย ตักบาตรพระที่หน้าบ้านถ้าเป็นวันพระก็ไปตักบาตรที่วัด รับประทานอาหารเช้าเวลาประมาณ 8
โมงเช้า แล้วจึงเริ่มภาระกิจการเดินขายผักสวนครัวในชุมชน หรือแกะมะขาม ถ้าวันไหนไม่มีผักก็เดินไปเล่นบ้าน
เพื่อนฝูงที่อยู่ในละแวกใกล้เคียง ในช่วงบ่ายก็มีนอนพักหลังรับประทานอาหารบ้าง ช่วงเย็นรดน้ําผักสวนครัว
ถอนหญ้า ยามเย็นหลังรับประทานอาหารในแต่ละวันก็มีการรับประทานผลไม้อย่างสม่ําเสมอ อาทิ มะละกอ
กล้วย ส้ม มะม่วง ละมุด แล้วแต่จะหาได้ ซึ่งเป็นตัวช่วยให้ระบบขับถ่ายของป้าทั้งสองเป็นปกติอยู่เสมอ แต่ใน
ความคล้ายคลึงกันของป้าทั้งสอง พบว่า ป้าต่ําไม่มีโรคประจําตัวใดๆ เลย แต่ป้าชุม มีโรคความดันโลหิตสูง ซึ่ง
รับประทานยาอยู่เป็นประจําทุกวัน
จะเห็นว่ามีหลายปัจจัยที่ทําให้ป้าทั้งสอง ยังคงมีสุขภาพโดยรวมแข็งแรงดีในวัยนี้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง
อาหารการกินที่เน้นพืชผักสวนครัวที่ปลูกเอง หรือหาได้ในชุมชน การออกกําลังกายอย่างสม่ําเสมอ อารมณ์ที่
แจ่มใสเบิกบาน รวมถึงการดูแลตนเองไปให้มีภาวะอ้วนจนเกินไปอีกด้วย (ป้าทั้งสองน้ําหนัก 52 กิโลกรัม)
- 98 -
 
นายแก้วมูล สิ นจักร อายุ 78 ปี
ตําบลนาแก้ว อําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง
คุณตาแก้วมูลไม่ได้ทํางานแล้วแต่ช่วยลูกสาวดูแลร้านขายของชําที่อยู่ตรงข้ามบ้านบ้าง ที่พักเป็นบ้าน
ใต้ถุนสูงไม่รู้สึกว่าขึ้น-ลงลําบากเพราะลงตอนเช้า 1 ครั้ง ขึ้นตอนเย็น 1 ครั้งเท่านั้น มีโรคประจําตัวคือ ความ
ดัน เบาหวาน ทานยาแผนปัจจุบันและพกติกตัวเสมอ คิดว่าดูแลตนเองดีแล้วเพราะกินยาสม่ําเสมอ ไม่ชอบ
ออกกําลังกายแต่คิดว่าการใช้จักรยานก็เป็นการออกกําลังกายอยู่แล้ว ทราบจากเจ้าหน้าที่ว่าใช้สมุนไพรดูแล
สุขภาพได้ เช่น ทราบว่ากระเพราใช้แก้ไข้ แก้กลาก ใบแห้งต้มดื่มบํารุงร่างกายได้ ฟ้าทะลายโจรเป็นยาแก้หวัด
แต่ไม่เคยใช้ยาสมุนไพรรักษาโรคหรือบํารุงร่างกาย เข้าร่วมกิจกรรมของทาง รพ.สต. เกษตร พัฒนาชุมชน
เสมอเพราะได้ความรู้ดี การทานอาหารเลือกไม่ทานอาหารรสจัด ทานพร้อมกับภรรยา ช่วยภรรยาทํางานบ้าง
เช่นหยิบผ้าจากเครื่องซักผ้า

นายทอง ธิ ยา อายุ 68 ปี
“อยูก่ บั โรค อย่างมีความสุ ข ในวัยสู งอายุ” กล่าวได้ว่าน้อยคนนักที่จะเลี่ยงโรคภัยไข้เจ็บได้ในวัยสูงอายุ ลุง
ทอง ธิยา หนึ่งในผู้สูงอายุที่สามารถปรับตัวอยู่ร่วมกับโรคได้อย่างมีความสุข
ลุงทอง ธิยา วัย 68 ปี ที่ยังมีรอยยิ้มสดใส ในวัยหนุ่มยึดอาชีพทําไร่อ้อย และทํานา ปัจจุบันดูแลสวน
สัก 6 ไร่ ส่ วนไร่น าให้ ผู้ อื่นเช่ า อาศัยอยู่กับภรรยา วัย 64 ปี ลูกสาวที่ เปิ ดร้านขายของชําอยู่ที่บ้าน และ
หลานชายวัย 10 ขวบ ลุงทองเล่าว่า ในแต่ละวันหลังจากตื่นนอนประมาณตีห้า ล้างหน้าแปรงฟัน ก็ช่วย
ภรรยาหุงข้าวทํากับข้าวบ้าง ช่วยลูกสาวขายของบ้าง หากพอมีเวลาก็จะออกไปปั่นจักรยานเพื่อออกกําลังกาย
ในหมู่บ้าน บางวันก็ออกไปรดน้ําผัก ใส่ปุ๋ยแปลงผักสวนครัวที่อยู่หน้าบ้าน ผักสวนครัวที่ปลูกไว้มีหลายชนิด
อาทิ กะหล่ําปลี คะน้า ผักกาดกวางตุ้ง หอม ผักชี ทําให้ครอบครัวไม่ต้องไปซื้อผักตามตลาดมาปรุงอาหาร ซื้อ
บ้างเพียงหมู ไก่ ปลา เท่านั้น อาหารในแต่ละวันโดยมากจะเน้นผักเป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็นเมนู แกงผัก ผักนึ่ง
ปลา หมุนเวียนกันไปซึ่งโดยปกติแล้วเป็นคนไม่ชอบอาหารรสเผ็ดและรสเค็ม ไม่ดื่มกาแฟ และมีเครื่องกรอง
น้ําฝนไว้ดื่มเองที่บ้าน หลังจากรับประทานอาหารเช้าราว 8 โมงแล้วก็จะออกไปดูแลสวนสักจํานวน 6 ไร ใกล้ๆ
บ้าน ด้านสุขภาพร่างกายลุงทองเล่าว่า เคยเป็นถึง 4 โรค คือ โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
และไขมันในเลือดสูง แต่ปัจจุบันเหลือเพียง 2 โรค คือ โรคหัวใจและโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งยังรับประทานยา
จากโรงพยาบาลเกาะคาอย่างสม่ําเสมอ ส่วน 2 โรคที่หายดีแล้วคาดว่าเกิดจากการดูแลสุขภาพตัวเองที่ดีขึ้น คือ
ออกกําลังกายเพิ่มขึ้น ลดหวาน มัน เค็ม เมื่อก่อนลูกชายมักซื้อน้ํามังคุดมาให้ดื่มเพราะว่าดีต่อสุขภาพแต่
ปรากฏว่า ดื่มแล้วเบาหวานขึ้นจึงเลิกดื่ม และยังมียาอีกชนิดที่ลุงทองบอกขาดไม่ได้ต้องพกติดตัวตลอดเวลาคือ
ยาหอม ที่กินแล้วชื่นใจ ส่วนสุขภาพด้านอื่นๆ หู ตา ระบบขับถ่ายเป็นปกติดี สุขภาพจิตดี ไม่มีเรื่องใดมาทําให้
กังวลใจ และอยู่กับโรคหัวใจและโรคความดันโลหิตสูงได้อย่างมีความสุข
สิ่งที่ทําให้ผู้สูงอายุ สามารถปรับตัวอยู่กับโรคได้อย่างมีความสุขนอกจากฐานะทางการเงินที่มั่นคงแล้ว
ยังประกอบด้วยการได้อยู่ร่วมกับคู่ชีวิต ลูกหลาน ที่คอยเป็นกําลังใจให้กันอยู่ตลอดเวลา รวมถึงการมีกิจกรรมที่
ทําแล้วยังรู้สึกว่าตนเองยังมีคุณค่าอยู่เสมออีกด้วย
- 99 -
 
นางหวัน แก้วเข้ม อายุ 76 ปี
ตําบลนําไคร้ อําเภอนําปาด จังหวัดอุตรดิตถ์

นางหวัน แก้วเข้ม อาศัยอยู่กับลูกสาว แต่เดิมทานรสเผ็ดได้แต่พอรู้สึกว่าอายุมากขึ้นทานเผ็ดแล้ว


แสบร้อนจึงไม่ทานแล้ว โดยปรุงทานเฉพาะแยกจากครอบครัวลูกสาว ทานคนเดียวเมื่อหิว ที่พักเป็นบ้านชั้น
เดียวบ้านเดียวกับลูกสาวแต่แยกส่วนชัดเจน ไม่เคยตรวจสุขภาพแต่เชื่อว่าไม่มีโรคประจําตัว ไม่มียาที่ทานเป็น
ประจําแต่มียาหม่องพกติดตัวเสมอ เป็นหมอทรงเจ้าปู่ตา ทําหน้าที่ตรวจสอบสาเหตุของการเจ็บป่วยว่าเกิด
การกระทําของผีหรือไม่ โดยใช้วิธีนั่งทางในหลังจากทราบสาเหตุของการเจ็บป่วยแล้ว ชาวบ้านจึงไปรับการ
รักษาตามสาเหตุการเจ็บป่วยนั้น ๆ
อําเภอน้ําปาด การพูดคุยใช้ภาษาแบบภาษาอีสาน ไม่ใช้ภาษาแบบทางเหนือ เนื่องจากติดกับประเทศ
ลาว การทําอาหารประเภทแกงจะไม่นิยมใส่กะทิ อาหารหาตามท้องถิ่นที่มีอยู่เพราะง่ายสําหรับนํามาปรุง
อาหารในแต่ละมื้อ หรือบางส่วนก็หาซื้อจากร้านค้าบ้าง เช่น เอาะไก่ เอาะกบ อ่อมบอน อ่อมขี้เหล็ก แจ่ว
เห็ด แจ่วปลา แจ่วกบ แจ่วเนื้อ
- 100 -
 

บทที่ 5
แนวคิด กระบวนการและบทเรียนการทํางานดานดูแลผูส งู อายุ
ดวยภูมป
ิ ญ
 ญาพืน้ บานดานสุขภาพ

จากระยะเวลาห้าทศวรรษที่ผ่านมา สังคมไทยมีจํานวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และในปี พ.ศ.


2548 ประเทศไทยได้ก้าวสู่ “สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society)” และมีการคาดการณ์ว่า ในปี พ.ศ. 2573
สั ง คมไทยจะเข้ า สู่ สั ง คมสู ง วั ย ระดั บ สุ ด ยอด หมายถึ ง อั ต ราส่ ว นของผู้ สู ง อายุ จ ะเป็ น ร้ อ ยละ 25 ของ
ประชากรทั้งหมด ผู้สูงอายุมีภาวะร่างกายที่เสื่อมลง และต้องการการพึ่งพาหรือการดูแลเมื่ออายุมากขึ้น และ
ยังพบว่าผู้สูงอายุประสบกับภาวะโรคเรื้อรังหลายโรค และผู้สูงอายุยังประสบกับปัญหาการอยู่บ้านเพียงคน
เดียว และขาดผู้ดูแลมีจํานวนมากขึ้น
ในปี พ.ศ. 2555 – 2558 กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โดย สํานัก
การแพทย์พื้นบ้านไทย ได้ริเริ่มและดําเนินงาน “โครงการส่งเสริมการใช้ประโยชน์ภูมิปัญญาการแพทย์
พื้นบ้านเพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ” มีวัตถุประสงค์ 3 ด้าน คือ (1) เพื่อส่งเสริมให้เกิดการศึกษาภูมิ
ปัญญาพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในท้องถิ่น (2) รณรงค์และส่งเสริมให้ผู้สูงอายุนําภูมิปัญญาพื้นบ้าน
มาใช้ในการดูแลสุขภาพตนเอง และ (3) เพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาด้านการแพทย์พื้นบ้านเพื่อการดูแลสุขภาพ
เป็นโครงการ 3 ปีที่มุ่งหมายจะศึกษาและส่งเสริมภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ โดยมี
ขั้นตอนการจัดการความรู้ การวิเคราะห์/สังเคราะห์สถานการณ์ในพื้นที่ และการขยายผล/รูปแบบการทํางาน
ไปยังพื้นที่อื่น ปัจจุบัน โครงการฯ อยู่ในขั้นตอนที่สอง ซึ่งมีความจําเป็นในการสรุปวิเคราะห์และสังเคราะห์
ภาพรวมเพื่อเป็นแนวคิดและแนวทางการทํางานพัฒนาภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพเพื่อการดูแลสุขภาพของ
ผู้สูงอายุ มีรายละเอียด ดังนี้
¾ สถานการณของผูสูงอายุไทย
จากการสํารวจของสํานักงานสถิติแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2555 รายงานว่า สังคมไทยมีผู้สูงอายุทั้งหมด
จํานวน 8.63 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 12.7 ของจํานวนประชากรทั้งหมด และผู้สูงอายุสามารถแบ่งได้เป็น
3 กลุ่มหลัก คือ กลุ่มแรกเป็นกลุ่มที่ดูแลตนเองได้ ประมาณร้อยละ 85.3 กลุ่มที่สอง เป็นกลุ่มที่เริ่มมี
ภาวะพึ่งพาและต้องการผู้ดูแลบางส่วน ประมาณร้อยละ 13.8 และกลุ่มที่สาม เป็นกลุ่มที่ต้องพึ่งพาผู้อื่น
ประมาณร้อยละ 0.9 และแนวโน้มผู้สูงอายุไทยเพิ่มขึ้นทั้งจํานวนและสัดส่วน โดยที่ผู้สูงอายุวัยปลายหรือที่มี
อายุ 80 ปีขึ้นไปเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และยังพบว่า ผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียวและผู้สูงอายุที่อยู่เพียงลําพังกับคู่
สมรสมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

¾ สถานการณสุขภาพ นโยบายและยุทธศาสตรดานผูสูงอายุ
ผู้สูงอายุจะมีปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้นตามอายุของผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น ผู้สูงอายุมีปัญหาโรค 6 อันดับแรก
คือ ความดันโลหิตสูง ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ/ภาวะโภชนาการ โรคเบาหวาน โรคโลหิตจาง โรคไตวาย
- 101 -
 
และอื่น ๆ นอกจากนี้ยังมีความเจ็บป่วย/โรคที่พบบ่อยในกลุ่ มผู้สูงอายุไทย คือ การกลั้ นปัสสาวะไม่ได้
อุบัติเหตุ โรคข้อเข่าเสื่อม/ปวดเข่า โรคกระดูกพรุน อาการสมองเสื่อม กลุ่มอาการอัมพฤกษ์ – อัมพาต
ภาวะซึมเศร้า อาการท้องผูก โรคต้อกระจก อาการหูหนวก – หูตึง
สั ง คมไทยมี น โยบายและยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาผู้ สู ง อายุ แ บบบู ร ณาการ ตั้ ง แต่ แ ผนงานพั ฒ นา
เศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) และต่อเนื่องจนถึงแผนงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) แนวคิดสําคัญคือ การพัฒนาคนและระบบคุ้มครองทางสังคมที่เน้นทุกภาค
ส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมสวัสดิการ และมีกรอบทิศทางการพัฒนาผู้สูงอายุ 4 ด้าน คือ การสร้าง
หลักประกันความมั่นคงทางรายได้ การพัฒนาระบบสังคมสวัสดิการ การพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับ
ผู้สูงอายุ และการพัฒนากลไกบริหารจัดการผู้สูงอายุ และยังมีแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545
– 2564) ซึ่งมีรายละเอียดด้านปรัชญา วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ ยุทธศาสตร์ และมาตรการ 5 ด้าน เพื่อ
เป็นแนวทางขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุ นอกจากนี้ ยังมีโครงสร้างและกลไกขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุทั้งระดับ
ส่วนกลางและระดับพื้นที่ ตลอดจนองค์กรสนับสนุนและส่งเสริมงานผู้สูงอายุ ทั้งองค์กรภาครัฐและองค์กร
เอกชนสาธารณประโยชน์อีกด้วย
¾ ผลสรุปภาพรวม : พื้นที่ตัวอยางดานจัดการความรูและประสบการณการสงเสริมภูมิ
ปญญาพื้นบานดานสุขภาพ
จากการสรุปวิเคราะห์ผลงานของพื้นที่ตัวอย่างที่มีการดําเนินงานจัดการความรู้ และบางพื้นที่มี
ประสบการณ์ส่งเสริมภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ จําแนกเป็น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มที 1 พืนทีตัวอย่างด้านจัดการความรู ้ภูมิปัญญาพืนบ้านด้านสุ ขภาพ
พื้นที่ตัวอย่างด้านจัดการความรู้ มี 5 กรณีศึกษา คือ พื้นที่ 4 ตําบลใน 4 จังหวัด
(จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดอุดรธานี จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดตรัง) และพื้นที่ศึกษา โครงการศึกษาภูมิ
ปัญญาการแพทย์พื้นบ้านเพื่อการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ โดย ศ.(พิเศษ) พญ.สมบูรณ์ เกียรตินันทน์ และ
คณะ กล่าวไว้ว่า ทุกพื้นที่เป็นชุมชนผู้สูงอายุ มีผู้สูงอายุประมาณมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด
ภายในพื้นที่ 4 ตําบลใน 4 จังหวัด มีหน่วยงานที่รับผิดชอบงานสุขภาพผู้สูงอายุที่สําคัญ คือ องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น และ รพ.สต. ในพื้นที่ และยังมีกลุ่ม กศน. ในพื้นที่ องค์กรภาคเอกชน ผู้นําชุมชนและ
ผู้นํากลุ่ม/ชมรมในพื้นที่ร่วมงานด้วย ทุกพื้นที่มี “ชมรมผู้สูงอายุ” เป็นกลไกการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุในพื้นที่
และนับเป็นกลไกภาคประชาชนที่สําคัญที่ขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุร่วมกับภาครัฐ ที่สําคัญมี 3 ด้าน คือ การ
จัดสวัสดิการผู้สูงอายุ การส่งเสริมอาชีพและรายได้ และการเพิ่มศักยภาพของผู้สูงอายุ
การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุมีแนวคิดการดูแลสุขภาพและสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบ
ครบวงจร ประกอบด้วย การสร้างเสริมคุณภาพ การป้องกันโรค การรักษาโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพ
โดยจําแนกผู้สูงอายุเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มติดสังคม (กลุ่มสุขภาพดีและพึ่งพาตนเองได้) กลุ่มติดบ้าน (กลุ่ม
ที่พึ่งพาตนเองบางส่ว น อาจเป็น กลุ่ ม เสี่ ย งหรือมี โรค) และกลุ่ ม ติด เตียง (กลุ่ ม ที่ ต้องการผู้ดูแ ลใกล้ชิด )
หน่วยงานรัฐมีการจัดบริการการดูแลและบริการสุขภาพให้ผู้สูงอายุทุกกลุ่ม และเตรียมความพร้อมเพื่อให้
ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี ทั้งมิติทางกาย ทางจิตใจ และทางสังคม
- 102 -
 
สําหรับการจัดการความรู้ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ รพ.สต. ในพื้นที่มีการเก็บข้อมูล 2
ด้าน คือ (1) ข้อมูลการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งข้อมูล คือ ผู้สูงอายุต้นแบบที่มี
สุขภาพดี และ (2) ข้อมูลภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน แหล่งข้อมูล คือ หมอพื้นบ้าน นอกจากนี้ มีพื้นที่
ของจังหวั ดอุดรธานี มีการสรุ ปบทเรียนการส่ งเสริม การแพทย์พื้นบ้ านในพื้ นที่ ซึ่งข้อมู ล ส่ วนนี้ จะนําไป
วิเคราะห์รวมกับกลุ่มที่ 2 จากการจัดการความรู้ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ พบว่า
(1) การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ พบว่า ผู้สูงอายุต้นแบบมี
การดู แ ลสุ ขภาพแบบองค์ รวม มี ทั้ งสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิ ตใจ/อารมณ์ สุขภาพสังคม และสุ ขภาพจิ ต
วิญญาณ ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ที่มีอายุระหว่าง 80 – 90 ปี มีสุขภาพแข็งแรง พึ่งตนเองได้ มีวิถีชีวิตเรียบง่าย
และพออยู่พอกิน อาหารจะเน้นรับประทานผักและปลา บางคนงดเนื้อสัตว์ใหญ่ รับประทานอาหารรสอ่อน
และรสจืดหรือรสไม่จัด แหล่งผักมาจากสวนในบ้านและตลาดใกล้บ้าน ผู้สูงอายุบางคนมีการใช้สมุนไพรเพื่อ
ดูแลและบํารุงร่างกาย เช่น ขมิ้น ฟ้าทะลายโจร ข่อย กวาวเครือแดง – ขาว กระชายดํา เหงือกปลาหมอ
เสลดพังพอน หญ้าหนวดแมว เป็นต้น ไม่ดื่มสุราหรือสูบบุหรี่ มีการออกกําลังกายและเคลื่อนไหวร่างกาย
สม่ําเสมอ ดูแลจิตใจตนเองให้อารมณ์ดี และจัดการกับความเครียดได้ มีการสวดมนต์ฟังธรรมเป็นประจํา
และยังเข้าร่วมประเพณีทางศาสนาเป็นประจําด้วย นอกจากนี้ ผู้สูงอายุทุกคนได้รับการดูแลจากครอบครัว
และจากชุมชน ผู้สูงอายุบางส่วนเข้าร่วมชมรมผู้สูงอายุในพื้นที่ และได้รับการช่วยเหลือ/ดูแลจากหน่วยงานรัฐ
ในท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง
(2) ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านในพื้นที่ แต่ละพื้นที่มีการรวบรวมภูมิปัญญาการแพทย์
พื้นบ้านในพื้นที่ มีการรวบรวมจํานวน ประวัติ ลักษณะ และประสบการณ์การดูแลรักษาโรคแบบพื้นบ้าน
พบว่า หมอพื้นบ้านส่วนใหญ่มีอายุมาก มีหลายประเภท ทั้ง หมอยาสมุนไพร หมอเป่า หมอกระดูก หมอ
นวด หมอตําแย มีการรักษาโรคหลายโรค มีวิธีการรักษาหลายวิธี คือ การเป่า/คาถา การนวด การใช้ยา
สมุนไพร การใช้น้ํามนต์ สําหรับการเก็บข้อมูลหมอพื้นบ้านของตําบลนาไหม อําเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี
มีการจําแนกกลุ่มหมอพื้นบ้านเป็น กลุ่มหมอยาสมุนไพร และกลุ่มหมอยาน้อย กลุ่มหมอยาน้อยจะเป็นหมอ
พื้นบ้านที่อยู่ในวัยกลางคนเป็นผู้ที่มีบรรพบุรุษเป็นหมอพื้นบ้านหรือเป็นผู้สนใจศึกษาจากหมอพื้นบ้าน มี
การศึกษาและร่วมกิจกรรมกับชมรมหมอพื้นบ้านในพื้นที่ นับเป็นการสะท้อนถึงการสืบทอดภูมิปัญญาหมอ
พื้นบ้านที่น่าสนใจพื้นที่หนึ่ง
กลุ่มที 2 พืนทีตัวอย่างด้านจัดการความรู ้และประสบการณ์การส่ งเสริ มภูมิปัญญาด้านสุ ขภาพ
พื้นที่ตัวอย่างด้านจัดการความรู้และประสบการณ์การส่งเสริมภูมิปัญญาด้านสุขภาพ มี 4
กรณีศึกษา คือพื้นที่ 4 ตําบล ใน 4 จังหวัด (จังหวัดลําปาง จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดพิษณุโลก และ
จังหวัดอุดรธานี) กรณีศึกษาทุกพื้นที่มีผู้สูงอายุจํานวนมาก บางพื้นที่มีมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากร
ทั้งหมด รพ.สต. ในพื้นที่มีนโยบายการบริการสุขภาพผู้สูงอายุแบบครบวงจร ครอบคลุมการส่งเสริม
สุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพ และยังจําแนกกลุ่มผู้สูงอายุเป็น 3 กลุ่ม
คือ กลุ่มผู้สูงอายุติดสังคม กลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน และกลุ่มผู้สูงอายุติดเตียง การดูแลบริการสุขภาพผู้สูงอายุ
เป็ นไปตามแนวทางการดําเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข อย่างไรก็ตาม รพ.สต. ห้วยแมง จังหวัด
- 103 -
 
อุตรดิตถ์ มีการบริการการแพทย์แผนไทยสําหรับผู้สูงอายุ และมีการนําแนวคิด และแนวทางการดูแลสุขภาพ
แบบสมดุลของ นายใจเพชร มีทรัพย์ (หมอเขียว) การใช้ประโยชน์ในงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ในทุกพื้นที่มีกลไก “ชมรมผู้สูงอายุ” เป็นศูนย์รวมกลุ่มของผู้สูงอายุ และมีกิจกรรมการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตตามสิทธิของผู้สูงอายุ และเสริมสร้างความมั่นคงทางสังคมผู้สูงอายุที่รับผิดชอบโดยองค์กร
ปกครองในพื้นที่ และจากการที่พื้นที่ 4 ตําบลมีการจัดการความรู้และสรุปประสบการณ์การส่งเสริมภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ผลสรุปจําแนกได้ 3 ด้าน ดังนี้
(1) ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านในพื้นที่ รพ.สต. ในพื้นที่มีการสัมภาษณ์หมอพื้นบ้านใน
พื้นที่ พบว่า มีจํานวนหมอพื้นบ้านระหว่าง 6 – 24 คน ประกอบด้วยหมอหลายประเภท คือ หมอเป่า/
พ่น หมอสมุนไพร หมอนวด หมอดู/พิธีกรรม หมอกระดูก ส่วนใหญ่อายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป เรียนวิชา
มาจากบรรพบุรุษ ญาติและพระสงฆ์ รักษาโรคหลายโรค และมีวิธีการรักษาโรคหลายวิธีผสมผสานกัน
สําหรับวิธีการรักษาโรคมีการเก็บข้อมูลที่มีรายละเอียดแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ บางพื้นที่เก็บรายละเอียดที่
อาจนําไปใช้ประโยชน์ได้ แต่บางพื้นที่เก็บรายละเอียดน้อยมาก หมอพื้นบ้านส่วนใหญ่ไม่มีการถ่ายทอดภูมิ
ปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน และมีข้อสังเกตุ คือ หมอนวดพื้นบ้าน จังหวัดพิษณุโลก มีการบริการการนวด
พื้นบ้านที่บ้านของตนเองเป็นประจําและเป็นแหล่งรายได้ อีกทั้งมีการถ่ายทอดวิชานวดให้กับลูกของตนเอง
ด้วย
(2) การดูแ ลสุ ขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญ ญาท้ องถิ่นด้านสุขภาพ รพ.สต. ในพื้ นที่มีการ
สัมภาษณ์ผู้สูงอายุต้นแบบ 1 – 6 คน (บางพื้นที่ไม่มีข้อมูลส่วนนี้) พบว่า ผู้สูงอายุต้นแบบมีสุขภาพดี บาง
คนมีโรคแต่ควบคุมได้ มีแบบแผนการดูแลสุขภาพตนเองที่ดี ดูแลตนเองด้านอาหาร รับประทานผัก น้ําพริก
และปลาเป็นหลัก ผักจะปลูกเองหรือซื้อในตลาดท้องถิ่น มีการเคลื่อนไหวร่างกายเป็นประจํา บางคนมีการใช้
ยาสมุนไพรเพื่อบํารุงร่างกาย และได้รับการดูแลจากครอบครัวและชุมชน
(3) ประสบการณ์การส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ พื้นที่กรณีศึกษาจํานวน 4
ตําบล ใน 4 จังหวัด คือ จังหวัดลําปาง จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดอุดรธานี มี
ประสบการณ์เรี ยนรู้และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ จากข้อมูลสามารถ
วิเคราะห์เป็น 2 รูปแบบ คือ
รู ป แบบที 1 การส่ ง เสริ ม และใช้ ป ระโยชน์ภู มิปั ญ ญาพื้ นบ้ า นด้า นสุ ข ภาพสํ า หรั บ ชมรม
ผู้สูงอายุ รูปแบบนี้เป็นประสบการณ์ของ 2 พื้นที่ คือ ตําบลหัวรอ จังหวัดพิษณุโลก และ ตําบลน้ําไคร้
จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นแนวคิดสนับสนุนหมอพื้นบ้าน/ปราช์ญชาวบ้านที่มีศักยภาพและประสบการณ์ด้านภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นให้มีการรวมกลุ่ม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่สมาชิกของชมรมผู้สูงอายุ
หรื อ อาจเป็ น การนํ า ภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น จากแหล่ ง อื่ น (การดู แ ลสุ ข ภาพแบบสมดุ ล ของหมอเขี ย ว) มาใช้
ประโยชน์ในชมรมผู้สูงอายุ ประเด็นภูมิปัญญา คือ การนวด ยาสมุนไพร อาหารพื้นบ้าน การออกกําลัง
กาย เพลงพื้นบ้าน ประเพณี/พิธีกรรมทางศาสนา และหัตถกรรมพื้นบ้าน อย่างไรก็ตาม รูปแบบนี้ยังขาด
ข้อมูลเกี่ยวกับ จํานวนผู้สอน/ผู้เรียน กระบวนการและประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน ใน
อนาคตจําเป็นต้องมีการพัฒนารูปแบบและกระบวนการให้ชัดเจนเพื่อขยายผลสู่วงกว้างต่อไป
- 104 -
 
รู ปแบบที 2 การส่งเสริม และใช้ประโยชน์ภู มิปัญ ญาพื้ น บ้ านด้ า นสุ ขภาพสํ า หรั บชุม ชน
รูปแบบนี้มีการดําเนินงาน 2 แห่ง คือ ตําบลนาแก้ว จังหวัดลําปาง และ ตําบลนาไหม จังหวัดอุดรธานี
มีแนวคิดการอนุรักษ์ การเรียนรู้ การใช้ประโยชน์ และการสืบทอดภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน ภายใต้การ
ทํางานแบบมีส่วนร่วมระหว่างชุมชน ภาครัฐ (ทั้งในและนอกชุมชน) และภาคเอกชนสาธารณประโยชน์
กระบวนการทํางานเริ่มตั้งแต่การสํารวจและรวมกลุ่มหมอพื้นบ้านในพื้นที่ การศึกษาและสํารวจสมุนไพร
ท้องถิ่น การรวบรวมและเรียนรู้ภูมิปัญญาหมอพื้นบ้านในพื้นที่การแลกเปลี่ยน/ศึกษาดูงานหมอพื้นบ้าน การ
ฟื้นฟูแหล่งสมุนไพรในชุมชน การสร้างกระแสความสนใจการแพทย์พื้นบ้านและคืนความรู้ (การเรียนรู้) ภูมิ
ปัญญาสู่ชุมชน (กลุ่มเป้าหมาย คือ เด็กนักเรียนและผู้ที่สนใจในชุมชน) การบริการและพัฒนาบริการของ
หมอพื้นบ้านในชุมชน การทํางานลักษณะนี้ได้รับการสนับสนุนด้านทรัพยากรและด้านแนวคิดจากบุคคล/
องค์กรทั้งภายในและภายนอกชุมชน อย่างไรก็ตาม ในประเด็นการสืบทอดภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน มี
การทํางานในพื้นที่ แต่ยังไม่มีความชัดเจนด้านกระบวนการและผลลัพธ์ต่อกลุ่มเป้าหมายยังคงจําเป็นต้องมีการ
ออกแบบปฏิบัติการที่ต่อเนื่องและประเมินผลต่อไป

¾ แนวคิดและกระบวนการเรียนรูและพัฒนาภูมิปญญาพื้นบานสําหรับผูสูงอายุ
1. แนวคิดและหลักการการดูแลสุ ขภาพของผูส้ ูงอายุระยะยาว
สําหรับแนวคิดการดูแลสุขภาวะผู้สูงอายุ คือ การดูแลให้ผู้สูงอายุมีสุขภาวะที่ดีทั้งด้านร่างกาย ด้าน
จิตใจ/จิตวิญญาณ และด้านสังคม อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมตามวัยสูงอายุ ได้รับสวัสดิการและการบริการ
ทางสังคมอย่างเหมาะสม โดยมีครอบครัว ชุมชนและสังคมเกื้อหนุนผู้สูงอายุ โดยมีรัฐบาล หน่วยงานของรัฐ
ในท้องถิ่น และชุมชนมีศักยภาพและสามารถจัดบริการสําหรับผู้สูงอายุได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม
หลักการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวโดยชุมชน ประกอบด้วย 5 ด้านสําคัญ คือ
(1) การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุในการดํารงชีวิตในชุมชนอย่างมีศักดิ์ศรีและมีส่วนร่วม (2)
การส่งเสริมผู้ดูแลในครอบครัวเป็นแกนหลักในการดูแลผู้สูงอายุ (3) การบริการสุขภาวะผู้สูงอายุในชุมชนให้มี
ความครอบคลุมและบูรณาการร่วมกัน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรภาครัฐในท้องถิ่น และชมรม
ผู้สูงอายุร่วมกันวางแผนและบริหารจัดการการบริการสุขภาวะของผู้สูงอายุในชุมชน (4) ระบบบริการสุข
ภาวะของผู้สูงอายุสามารถบริการจัดการ พัฒนาและดําเนินงานได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ภายใต้แนวคิดและ
หลักการดังกล่าว ผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งกลุ่มที่มีสุขภาพดี กลุ่มผู้สูงอายุที่มีโรค และผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพล
ภาพ/ภาวะพึ่งพา ควรมีบริการดูแลอย่างเหมาะสมในทุกมิติ อย่างมีคุณภาพและมีบูรณาการและมีการจัด
กิจกรรมด้านสุขภาพ และด้านสังคมที่สอดคล้องกับศักยภาพผู้สูงอายุ และสอดคล้องกับภาวะสังคมวัฒนธรรม
ของท้องถิ่นด้วย
2. แนวคิดภูมิปัญญาพืนบ้านด้านสุ ขภาพสําหรับผูส้ ูงอายุ
ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพเป็นส่วนหนึ่งของภูมิปัญญาไทยหรือภูมิปัญญาพื้นบ้าน/ภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ระบบคิด ความเชื่อ และระบบแผนปฏิบัติเพื่อดูแลรักษาสุขภาพของท้องถิ่น หรือ
อาจเรี ย กได้ ว่ า วั ฒ นธรรมการดู แ ลรั ก ษาสุ ข ภาพแบบพื้ น บ้ า น ซึ่ ง มี ก ารก่ อ รู ป การใช้ ป ระโยชน์ การ
ปรับเปลี่ยนและการถ่ายทอด ภายใต้บริบททางสังคมนิเวศน์อย่างต่อเนื่อง ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ
- 105 -
 
จําแนกเป็น 2 ด้าน คือ ภูมิปัญญาพื้นบ้านเพื่อการดูแลสุขภาพ (Indigenous Health) และภูมิปัญญา
พื้นบ้านเพื่อการรักษาโรค และฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายแบบพื้นบ้าน (Indigenous Medicine)
สําหรับการเรียนรู้และพัฒนาภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพจําเป็นต้องเข้าใจธรรมชาติของภูมิ
ปัญญาที่มีความเฉพาะของท้องถิ่น มีระบบคิดที่อยู่บนฐานความเชื่อและอิงประสบการณ์เฉพาะถิ่น และมีแนว
ทางการดูแลรักษาสุขภาพที่ผสมผสานหลายวิธีการเพื่อเยียวยาทั้งร่างกายและจิตใจ ดังนั้น การที่บุคลากร
สุขภาพ/นักพัฒนาชุมชนต้องการเรียนรู้และนําภูมิปัญญาพื้นบ้านมาใช้ประโยชน์ในวงกว้าง ควรวางเป้าหมายที่
ชัดเจน และที่สําคัญ คือ ให้เจ้าของความรู้หรือประสบการณ์ คือ ชุมชนหรือหมอพื้นบ้านมีส่วนร่วมในการ
กําหนดเป้าหมายในอนาคต เป้าหมายของการเรียนรู้และพัฒนาภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ อาจจําแนก
เป็น 3 ด้าน คือ (1) เพื่อให้ชุมชนเรียนรู้และนํามาแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน (2) เพื่อสร้างแนวคิด
และองค์ความรู้ให้เป็นระบบและพัฒนาต่อยอดเป็นบริการ/นวัตกรรม/ผลิตภัณฑ์ของชุมชนต่อไป และ (3)
เพื่อสร้างและพัฒนามาตรฐานความรู้และบริการสุขภาพ และใช้ประโยชน์ในวงกว้างต่อไป
3. แนวทางและกระบวนการเรี ย นรู ้ แ ละพัฒ นาภู มิ ปั ญ ญาพื นบ้า นด้า นสุ ข ภาพสํา หรั บ ผูส้ ู ง อายุ
จําแนกเป็น 3 ด้าน ดังนี้
3.1 การจัดการความรู ้ภูมิปัญญาพืนบ้านด้านสุ ขภาพเพือผูส้ ูงอายุ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management) เป็นแนวปฏิบัติที่องค์กร / ชุมชน
ปฏิบัติการ นําไปใช้ประโยชนอย่างกว้างขวาง เพื่อให้เกิดเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้หรือชุมชนแห่งการเรียนรู้
ทําให้เกิดการพัฒนาคนและพัฒนางานต่อไป หากนําการจัดการความรู้มาใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้และพัฒนา
ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพสําหรับผู้สูงอายุ มีกระบวนการ 5 ขั้นตอน คือ
(1) การกําหนดประเด็นและขอบเขตความรู ้ บุคคล/องค์กรที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมาย ควร
ร่วมกันกําหนดประเด็นหลัก/ประเด็นรอง ขอบเขตและแหล่งของความรู้ในโครงการนี้ มีการกําหนดประเด็น
ความรู้ 2 เรื่อง เรื่องแรก คือ “ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ” ขอบเขตคือ การดูแลสุขภาพ
ด้านกาย ด้านจิตใจ ด้านจิตวิญญาณ และด้านสังคม แหล่งความรู้ คือ ผู้สูงอายุต้นแบบที่มีสุขภาพดี เรื่อง
ที่ 2 คือ “ภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน” ขอบเขต คือ ประวัติทั่วไป ประวัติความเป็นมาหมอพื้นบ้าน
ความเชี่ยวชาญ การวินิจฉัยและรักษาโรค การติดตามผล การบูชาครู การสืบทอดและการยอมรับของ
ชุมชน การกําหนดประเด็นและขอบเขตความรู้จะช่ว ยให้การเรียนรู้มีความชัดเจนและสามารถนํ ามาใช้
ประโยชน์ได้ต่อเนื่อง
(2) การเสาะหาและแสวงหาความรู ้ ทีต้องการ กระบวนการนี้จําเป็นต้องกําหนดแหล่ง
ความรู้ ผู้เรียนรู้ และกระบวนการหาความรู้ที่ชัดเจน โครงการนี้กําหนดแหล่งความรู้ คือ ผู้สูงอายุต้นแบบ
และหมอพื้นบ้าน ผู้เรียนรู้ คือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขของ รพ.สต.ในพื้นที่ และกระบวนการเรียนรู้ คือ
การสัมภาษณ์และการประชุมกลุ่ม พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้กระบวนการสัมภาษณ์ตามแบบสอบถามที่ทาง สํานัก
การแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จัดทําเพื่อเป็นแนวทางการ
เรียนรู้ จากนั้นพื้นที่จึงบันทึกและเรียนรู้เป็นภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพของผู้สูงอายุต้นแบบและหมอ
พื้นบ้านเป็นรายบุคคล รายละเอียดมีความแตกต่างกัน (ความยาวประมาณ 1 – 3 หน้ากระดาษ/บุคคล)
- 106 -
 
และอาจมีความจํากัดที่จะถอดประสบการณ์ของผู้สูงอายุ หรือหมอพื้นบ้านที่มีประสบการณ์ 10 – 20 ปี
ออกมาเป็นตัวอักษร ผู้เรียนรู้ภูมิปัญญาควรตั้งเป้าหมายให้ชัดเจน เพื่อจะได้เลือกประเด็น และวิธีการเรียนรู้
ได้อย่างสอดคล้องกับเป้าหมาย
(3) การสร้างและประมวลองค์ความรู ้เพือให้ได้ “ชุดความรู ้” ที่เป็นระบบและใช้งานได้
จริง กระบวนการนี้จําเป็นต้องอาศัยการทํางานเป็นกลุ่ม และใช้ทักษะการวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้
ประกอบกัน วิธีการทําได้โดยการจัดเวทีหรือการประชุมหลายครั้ง เพื่อนําเอาความรู้ที่ได้จากกระบวนการที่
2 มาจัดระบบ ตีความและประเมินคุณค่าอย่างจริงจัง ตัวอย่างเช่น “ความรู้และการบริโภคผักพื้นบ้านของ
ผู้สูงอายุต้นแบบ” ต้องมีการสัมภาษณ์และสํารวจผักพื้นบ้านและตําราอาหารพื้นบ้านที่ผู้สูงอายุบริโภคในแต่
ละฤดูกาล เพื่อให้รู้ว่าแต่ละฤดูกาลมีความรู้และใช้ความรู้ในชีวิตจริงอย่างไร ? ระยะเวลาการเรียนรู้ควรเป็น
1 ปี และอาจจําเป็นต้องเก็บข้อมูล ประสบการณ์ และเทคนิคการปรุงอาหารพื้นบ้านที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ
หากมีการเรียนรู้องค์ความรู้ที่ชัดเจน จะสามารถนําไปถ่ายทอดและขยายผลสู่ผู้สูงอายุในชุมชนได้ เป็นต้น
สําหรับโครงการนี้ ทุกพื้นที่ยังไม่มีการทํางานในกระบวนการนี้ มีเพียงบางพื้นที่ที่วิเคราะห์และประมวลภูมิ
ปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพแบบสังเขป
(4) การประยุกต์ใช้ความรู ้และถ่ายทอดสู่ องค์กร/ชุมชน กระบวนการนี้เป็นการนําความรู้
จากกระบวนการ 3 ไปถ่ายทอดและเผยแพร่สู่วงกว้างในชุมชน/จําเป็นต้องวิเคราะห์ถึง ประเด็น/ขอบเขต
ความรู้ และกระบวนการถ่ายทอดความรู้ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย
(5) การประเมินและถอดบทเรี ยน เมื่อกลุ่มเป้าหมายได้รับการถ่ายทอดความรู้ และมีการ
ประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฏิบัติจริงไประยะหนึ่ง จําเป็นต้องมีการสรุปบทเรียน และพัฒนาเป็น “แก่น
ความรู้” ที่สามารถใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติจริงได้อย่างกว้างขวางมากขึ้น
3.2 การส่ งเสริ มและการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์พืนบ้านด้านสุ ขภาพในการ
ดูแลผูส้ ู งอายุ
จากบทเรียนที่ผ่านมา หมอพื้นบ้านมีภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านและประสบการณ์การดูแลรักษาโรค
แบบพื้นบ้านมายาวนาน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สํารวจพบว่า หมอพื้นบ้าน
ทั่วประเทศมีจํานวน 53,143 คน จําแนกเป็น หมอยาสมุนไพร หมอนวด หมอตําแย และหมอพิธีกรรม/
ไสยศาสตร์ ดูแลรักษาโรคทางกาย และโรคทางจิตใจ/จิตวิญญาณหลายโรค ในระยะใกล้ กรมพัฒนา
การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มีนโยบายและแนวทางส่งเสริมสถานภาพทางกฎหมายและ
สถานภาพทางสังคมของหมอพื้นบ้าน ทําให้หมอพื้นบ้านได้รับการยอมรับและใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาเพื่อ
การดูแลสุขภาพประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง ปัจจุบัน หมอพื้นบ้านมีบทบาทการดูแลรักษาสุขภาพในชุมชน 3
รูปแบบ คือ (1) หมอพื้นบ้านบริการการดูแลรักษาโรคแบบพื้นบ้านที่บ้านตนเอง (2) หมอพื้นบ้านร่วมกับ
ชุ ม ชน/ท้ อ งถิ่ น ให้ ก ารดู แ ลรั ก ษาโรคแบบพื้ น บ้ า นในสถานที่ เ ฉพาะ และ (3) หมอพื้ น บ้ า นร่ ว มบริ ก าร
การแพทย์พื้นบ้านในสถานบริการสุขภาพปฐมภูมิ
สําหรับกระบวนการส่งเสริมและใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ สําหรับการดูแล
ผู้สูงอายุ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน สําคัญคือ (1) ศึกษาและเรียนรู้ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพในพื้นที่
- 107 -
 
พร้อมกับสร้างความสัมพันธ์เพื่อก่อรูปการทํางานร่วมกันระหว่างบุคคลและองค์กรที่เกี่ยวข้อง พร้อมกับสร้าง
ความสัมพันธ์เพื่อก่อรูปการทํางานร่วมกันระหว่างบุคคลและองค์กรที่เกี่ยวข้อง (2) ส่งเสริมการรวมกลุ่ม/
เครือข่ายของหมอพื้นบ้าน พร้อมทั้งพัฒนาศักยภาพหมอพื้นบ้าน (3) พัฒนาการบริการและบทบาทของหมอ
พื้นบ้านในชุมชน หรือร่วมดูแลผู้สูงอายุกับหน่วยงานสาธารณสุขภาครัฐ (4) ประเมินผลและสรุปบทเรียนการ
ดูแลรักษาสุขภาพแบบพื้นบ้าน อย่างไรก็ตาม การส่งเสริมและการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาพื้นบ้านยัง
ขึ้นกับความนิยมของชุมชนและการสนับสนุนด้านทรัพยากรและด้านวิชาการของหน่วยงานภาครัฐทั้งในและ
นอกชุมชนด้วย
3.3 การสื บทอดภูมิปัญญาพืนบ้านด้านสุ ขภาพ ในสถานการณ์ปัจจุบันหมอพื้นบ้านส่วนใหญ่
ไม่มีการสืบทอดความรู้และประสบการณ์ของภูมิปัญญาด้านสุขภาพสู่คนรุ่นใหม่ อย่างไรก็ตาม หมอพื้นบ้านที่
มีความชํานาญและมีชื่อเสียงในและนอกชุมชน จะมีลูกศิษย์มาเรียนรู้ประสบการณ์ และมีท้องถิ่น/ชุมชนบาง
แห่งได้เชิญให้หมอพื้นบ้านสวนสมุนไพรหรือการนวดในโรงเรียน ทําให้เด็กนักเรียนมีโอกาสเรียนรู้ความรู้และ
ประสบการณ์ภูมิปัญญาด้านสุขภาพ สําหรับแนวคิดการสืบทอดภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ ยังมีความคิด
แตกต่างกัน แนวคิดหนึ่งเป็นการคํานึงถึงกระบวนการสืบทอดแบบตัวต่อตัว ผู้เรียนเรียนกับหมอพื้นบ้านที่มี
ความชํานาญแบบตัวต่อตัว อีกแนวคิดหนึ่งเป็นการศึกษาและจัดการระบบองค์ความรู้การแพทย์พื้นบ้าน
จากนั้นจึงนํามาถ่ายทอดให้กับผู้เรียนในโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา หรืออาจมีการเรียนรู้ความรู้และภูมิ
ปัญญาด้านพื้ นบ้านจากแพทย์แผนไทยรุ่นใหม่ แนวคิดดังกล่าวอาจจําเป็นต้องร่วมกันศึกษาและทดลอง
กระบวนการสืบทอดภูมิปัญญาด้านสุขภาพอีกระยะหนึ่ง จึงจะสามารถสรุปบทเรียนอย่างชัดเจน
¾ ข้ อเสนอแนะ
ในอนาคต แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ให้ความสําคัญกับการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณา
การ (Integrated Health Care) และการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบระยะยาว (Long-Term Care) ภูมิ
ปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพมีคุณค่าและสมควรนํามาใช้ประโยชน์ต่อสุขภาพผู้สูงอายุ ข้อเสนอแนะมีดังนี้
1) กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ควรมีนโยบายส่งเสริมการใช้ประโยชน์จาก
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน เพื่อการส่งเสริมสุขภาพและดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยการร่วมมือกับกรมอนามัย และ
กรมการแพทย์ เพื่อพัฒนาบุคคลากรสุขภาพและผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้ ทักษะ และมีความสามารถในการ
เรียนรู้และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญากับระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในงานปกติ
2) ท้องถิ่น/ชุมชน ควรมีความร่วมมือกับภาครัฐและภาคเอกชนสาธารณประโยชน์ทั้งในและนอก
ชุมชน ในการเรียนนรู้ จัดการความรู้ และขยายผลการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาพื้นบ้าน/ท้องถิ่นด้าน
สุขภาพ ประเด็นความรู้ที่มีศักยภาพต่อสุขภาพผู้สูงอายุ คือ ผัก/อาหารพื้นบ้าน การรําวง/ดนตรีพื้นบ้าน
การดูแลจิตใจตามหลักศาสนธรรม การนวด ยาสมุนไพรเพื่อดูแลและบํารุงร่างกาย ประเด็นเหล่านี้นับเป็น
ทุนทางปัญญาและทุนทางวัฒนธรรมของชุมชน หากต้องมีการจัดการและส่งเสริมการใช้ประโยชน์ต่อสุขภาพ
ผู้สูงอายุ จะทําให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีและอายุยืนยาว
- 108 -
 

บรรณานุกรม

1. กฤษฎา แสงแก้ว และคณะ. 2556. รายงานการศึกษา เรื่อง การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิ


ปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน ตําบลนาแก้ว อําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง. ลําปาง : เอกสารรายงานเย็บเล่ม
2. กลุ่มอนามัยผู้สูงอายุ สํานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2547. คู่มือการ
ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สําหรับบุคลากรสาธารณสุข. กรุงเทพฯ : สํานักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การ
สงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
3. คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. 2555. แผนผู้สูงอายุ
แห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2555 – 2564) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ.2552. กรุงเทพฯ : ไม่ระบุ
สถานที่พิมพ์
4. ชญานิศ เขียวสดและคณะ. 2554. การศึกษาและพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวด้วย
การบู ร ณาการการมี ส่ ว นร่ ว มของชุ ม ชน. สนั บ สนุ น โดยศู น ย์ อ นามั ย ที่ 6 ขอนแก่ น กรมอนามั ย
กระทรวงสาธารณสุข.
5. ชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลนาท่ามใต้. 2556. ผลงานวิจัย โครงการส่งเสริมการใช้
ประโยชน์ ภู มิ ปั ญ ญาการแพทย์ พื้ น บ้ า นเพื่ อ การดู แ ลสุ ข ภาพผู้ สู ง อายุ ใ นชุ ม ชน. เพชรบุ รี :
เอกสารรายงานเย็บเล่ม.
6. ปรีชา อุปโยคินและคณะ. 2538. ไม้ใกล้ฝั่ง : สถานภาพและบทบาทผู้สูงอายุไทย. กรุงเทพฯ :
เจริญดีการพิมพ์.
7. พรรณธร เจริญกุล. 2555. การดูแลตนเองของผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ : ศูนย์ฝึกอบรมปฐมพยาบาลและ
สุขภาพ อนามัย สภากาชาดไทย.
8. มณฑา ไชยะวัฒนและคณะ. 2556 รายงานการวิจัยรูปแบบการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ในชมรม
ผู้สูงอายุ พื้นที่เขตสาธารณสุข 4 และ 5. ราชบุรี : ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี กรมอนามัย กระทรวง
สาธารณสุข.
9. มหาวิทยาลัยมหิดล. 2538. ประมวลประเด็นการวิจัยและบรรณานุกรมเอกสารวิจัย เรื่อง ผู้สูงอายุใน
ประเทศไทย อดุลย์ วิริยเวชกุล (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภวนิชการพิมพ์.
10. ยุพิน วรสิริอมร และวาทินี บุญชะลักษี. 2538. รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาและส่งเสริมการดําเนินงาน
เกี่ยวกับผู้สูงอายุ. นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
11. โรงพยาบาลคําม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์. 2556. สรุปผลการดําเนินงานโครงการส่งเสริมการใช้ประโยชน์ภูมิ
ปัญญาการแพทย์ พื้นบ้านเพื่อการดูแลสุข ภาพผู้สูงอายุในชุม ชน ปีงบประมาณ 2556. กาฬสินธุ์ :
เอกสารรายงานเย็บเล่ม.
12. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลนาไหม จังหวัดอุดรธานี. 2556. การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิ
ปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน ตําบลนาไหม อําเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ปีงบประมาณ 2556. อุดรธานี :
เอกสารรายงานเย็บเล่ม.
- 109 -
 

13. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ้านสระโคล่ ตําบลหัวรอ อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. 2556. การ


เก็บข้อมูลการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน. พิษณุโลก : เอกสารรายงานเย็บเล่ม.
14. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลสมอพลือ อําเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี. 2556. สรุปผลการ
ดําเนินงานโครงการส่งเสริมการใช้ประโยชน์ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านเพื่อการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ
ตําบลสมอพลือ อําเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี. เพชรบุรี : เอกสารรายงานเย็บเล่ม.
15. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลห้วยแมง จังหวัดอุตรดิตถ์. 2556. สรุปผลการดําเนินงานของพื้นที่
วิจัย โครงการส่งเสริมการใช้ประโยชน์ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านเพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน.
อุตรดิตถ์ : เอกสารรายงานเย็บเล่ม.
16. วงเดือน จินดาวัฒนะและคณะ (บรรณาธิการ). 2556. คู่มือการดูแลผู้สูงอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป.
กรุงเทพฯ : สํานักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
17. วันดี โภคะกุลและคณะ. 2541. รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การศึกษาคุณลักษณะผู้สูงอายุไทยที่มี
อายุยืนเกิน 100 ปี พ.ศ. 2539. สนับสนุนโดย สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวง
สาธารณสุข.
18. ศศิ พั ฒ น์ ยอดเพชรและคณะ. 2555. ลั ก ษณะการดํ า เนิ น งานและกิ จ กรรมของชมรมผู้ สู ง อายุ .
สนับสนุนโดย มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) และสํานักงานกองทุนสนับสนุนการ
สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).
19. ศิริพันธุ์ สาสัตย์ และเตือนใจ ภักดีพรหม. 2549. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการทบทวนความรู้
เรื่อง ระบบการดูแลผู้สูงอายุที่เป็นทางการของไทย. สนับสนุนโดย สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
20. ศ.(พิเศษ) พญ.สมบูรณ์ เกียรตินันทน์และคณะ. 2556. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ องค์ความรู้ภูมิ
ปัญญาการแพทย์พื้นบ้านเพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ. กรุงเทพ : เอกสารรายงานเย็บเล่ม.
21. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ (บรรณาธิการ). 2552. สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2557. กรุงเทพฯ : มูลนิธิ
สถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.).
22. สํานักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการและผู้สูงอายุ. 2545.
สํานักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ : ไม่ระบุสถานที่พิมพ์.
23. สํานักพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต. 2550. รูปแบบใหม่ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน หลัง
ไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ. วารสารเศรษฐกิจและสังคม ตุลาคม – ธันวาคม 2550.
24. สํ า นั ก ส่ ง เสริ ม และพิ ทั ก ษ์ ผู้ สู ง อายุ กระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คงของมนุ ษ ย์ . 2553.
พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เทพเพ็ญวานิสย์.
25. สํานักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. 2554. หนังสือ
ชมรมผู้สูงอายุและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกิจกรรมดีเด่นด้านการจัดสวัสดิการสําหรับผู้สูงอายุ
ประจําปี 2554. กรุงเทพฯ : ไม่ระบุสถานที่พิมพ์.
- 110 -
 
26. สํานักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. 2555. การ
ขับเคลื่อนมาตรฐานการส่งเสริมสวัสดิภาพและการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุไปสู่การปฏิบัติ (พ.ศ.
2551 – 2554). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เทพเพ็ญวานิสย์.
27. สํานักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. 2555. รายงาน
ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2555. กรุงเทพฯ : ไม่ระบุสถานที่พิมพ์.
28. สํานักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. 2556. คู่มือ
การใช้มาตรฐานการส่งเสริมสวัสดิภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ : ไม่ระบุสถานที่พิมพ์.
29. สํานักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. 2556. ชุด
ความรู้การดูแลตนเองและพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุด้านสุขภาพ – ด้านการทํางาน – ด้านความมั่นคงใน
ชีวิต และด้ านการเรียนรู้แ ละการมีส่ วนร่วมในสังคม. กรุงเทพฯ : ชุม นุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง
ประเทศไทย.
30. สุชาดา ทวีสิทธ์และสวรัย บุญยมานนท์ (บรรณาธิการ). 2553. คุณค่าผู้สูงอายุในสายตาสังคมไทย.
นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
31. สุทธิชัย จิตะพันธ์กุลและคณะ. 2544. รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการผู้สูงอายุในประเทศไทย รายงาน
การทบทวนองค์ความรู้และสถานการณ์ในปัจจุบัน ตลอดจนข้อเสนอแนะทางนโยบายและการวิจัย.
สนับสนุนโดย สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
32. สุทธิชัย จิตะพันธ์กุลและคณะ (บรรณาธิการ). 2542. ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุไทย. กรุงเทพฯ :
บริษัท โฮลิสติก พับลิชชิ่ง จํากัด.
33. อรวรรณ์ คูหาและนันทศักดิ์ ธรรมานวัตร์. 2552. โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาระบบดูแลสุขภาพ
ผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางด้านสุขภาพในชุมชน. สนับสนุนโดย สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการ
แพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
- 111 -
 

ขอขอบคุณทีมวิจัยพืนที
 

๑) นางกรรณิกา สาระใต้ ผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลห้วยแมง


ตําบลน้ําไคร้ อําเภอน้ําปาด จังหวัดอุตรดิตถ์
๒) นางสายรุ้ง แร่นาค นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ
รพ.สต.ห้วยแมง อําเภอน้ําปาด จังหวัดอุตรดิตถ์
๓) นายวรวุฒิ เขื่อนเมือง ผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลจอมปิง
ตําบลนาแก้ว อําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง
๔) นางศิริโสภา มะโนวรรณ์ พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ
รพ.สต.สองแควใต้ อําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง
๕) นายกฤษฎา แสงแก้ว นักวิจัยพื้นที่
ตําบลนาแก้ว อําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง
๖) นางแสงจันทร์ คําตาเทพ เจ้าพนักงานสาธารณสุขอาวุโส
สํานักงานสาธารณสุขอําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง
๗) นายสุธิชาติ มงคล ผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลสระโคล่
ตําบลหัวรอ อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
๘) นางสาวปัทมา รนที แพทย์แผนไทย
รพ.สต.สระโคล่ ตําบลหัวรอ อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
๙) นายยุทธวีร์ ภูสีเขียว ผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลนาไหม
ตําบลนาไหม อําเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี
๑๐) นางสาวสาวิตรี หนันอ้าย นักวิชาการสาธารณสุข
รพ.สต.นาไหม ตําบลนาไหม อําเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี
๑๑) นางสาวสุจิตรา ศรีณะพรม พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ
โรงพยาบาลคําม่วง อําเภอคําม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
๑๒) นางดุษฎี มงคล เจ้าพนักงานเวชกรรมชํานาญงาน
โรงพยาบาลคําม่วง อําเภอคําม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
๑๓) นางสาวฐาปณีย์ สอนแสวง แพทย์แผนไทย
รพ.สต.นาอ้อ อําเภอเมือง จังหวัดเลย
- 112 -
 
๑๔) นางสมศรี ศรีวงษา ประธานอสม. หมู่ที่ ๙
ตําบลนาอ้อ อําเภอเมือง จังหวัดเลย
๑๕) นางกล่อมจิต ศรีวิจิตร์ พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ
รพ.สต.สมอพลือ อําเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี
๑๖) นางสาวแสงอรุณ เมืองคํา แพทย์แผนไทย
รพ.สต.สมอพลือ อําเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี
๑๗) นายเหมือนหมั้น สิทธิศักดิ์ ผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลทะเลทรัพย์
รพ.สต.ทะเลทรัพย์ อําเภอปะทิว จังหวัดชุมพร
๑๘) นายเชิงชาญ ฉิมวารี แพทย์แผนไทย
รพ.สต.ทะเลทรัพย์ อําเภอปะทิว จังหวัดชุมพร
๑๙) นางสายพิณ เม่งเอียด ผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลนาท่ามใต้
รพ.สต.นาท่ามใต้ อําเภอเมือง จังหวัดตรัง
๒๐) นางสาวอารี ไทยกลาง คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.นาท่ามใต้
รพ.สต.นาท่ามใต้ อําเภอเมือง จังหวัดตรัง
๒๑) นางสาวจารุวรรณ โทธรรม นักจัดการงานทั่วไป
สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง

You might also like