You are on page 1of 86

การใช้ยาสมุนไพรเดี่ยว

บนรากฐานข้อมูลทางวิชาการ

โดย ภญ. กิรตีร ์ ภักดี โรงพยาบาลป่ าซาง จ.ลาพูน 28 ก.ย. 2558


บัญชียาจากสมุนไพร

 ปี 2555 ยาสมุนไพร 71 รายการ


 แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม
 ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ 50 รายการ
 ยาพัฒนาจากสมุนไพร 21 รายการ
ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ
 1.1 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิต (แก้ลม)
 1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร
 1.3 ยารักษากลุ่มอาการทางสูติศาสตร์นรีเวชวิทยา
 1.4 ยาแก้ไข้
 1.5 ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ
 1.6 ยาบารุงโลหิต
 1.7 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้ อและกระดูก
 1.8 ยาบารุงธาตุ ปรับธาตุ
ยาพัฒนาจากสมุนไพร
 2.1 ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินอาหาร
 2.2 ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ
 2.3 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบผิวหนัง
 2.4 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้ อและกระดูก
 2.5 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินปั สสาวะ
 2.6 ยาแก้ไข้ แก้รอ้ นใน
 2.7 ยาถอนพิษเบื่อเมา
 2.8 ยาลดความอยากบุหรี่
การคัดเลือกสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ
 ยาจากสมุนไพรที่ใช้ความรูด้ ้งั เดิม
 ตารายาแผนไทยหรือยาแผนโบราณที่ระบุในตารายาแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์หรือ
ตารายาที่รฐั มนตรีประกาศ
 มีการใช้อย่างแพร่หลายในมนุ ษย์

 มีประสิทธิผลตามสรรพคุณที่ระบุ

 มีขอ้ มูลความปลอดภัยและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่แสดงถึงความปลอดภัย
และพิษของตัวยาที่เป็ นองค์ประกอบ
การคัดเลือกสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ
 ยาพัฒนาจากยาสมุนไพร
 สมุนไพรที่มีประสิทธิผลตามสรรพคุณที่ระบุในตารายาหรือเภสัชตารับทั้งไทยและ
ต่างประเทศ
 มีหลักฐานทางวิชาการสนับสนุ นอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความปลอดภัย
ในมนุ ษย์
้ ่ วยชาวไทยไม่ตา่ กว่า 1,000 ราย
 มีขอ้ มูลการใช้ในผูป
ปั ญหาและอุปสรรคของการใช้ยาจากสมุนไพร
ในโรงพยาบาล,2554
 แพทย์ไม่คอ่ ยเห็นความสาคัญเท่ายาแผนปั จจุบนั และไม่นิยมสัง่ ใช้ยาจาก
สมุนไพร
 ผูร้ บั บริการขาดความรูค้ วามเข้าใจ เรื่องความปลอดภัย วิธีการใช้ที่ถกู ต้อง และ
ประโยชน์ของการใช้ยาจากสมุนไพร
 ไม่มีความมัน่ ใจในผลการรักษาและคุณภาพของยา ไม่มีขอ้ มูลผลการวิจยั ที่
เพียงพอ ไม่มีการติดตามผลการใช้ดา้ นคุณภาพหรือผลข้างเคียงจากการใช้
 ยาสมุนไพรมีราคาแพงเมื่อเทียบกับยาแผนปั จจุบนั
 ขาดการประชาสัมพันธ์ที่ดี
 ลักษณะของยาไม่สะดวกต่อการใช้ ต้องรับประทานเป็ นเวลานาน อายุของยา
สั้น
ขมิ้นชัน Curcuma longa L.
 สารสาคัญ
 curcuminoids ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 5 โดย w/w
้ ยกว่าร้อยละ 6 โดย v/w
 น้ ามันระเหยง่ายไม่นอ

 ข้อบ่งใช้
 บรรเทาอาการแน่ นจุกเสียด ท้องอืด ท้องเฟ้อ
 ขนาดและวิธีใช้
 รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อน
นอน
ขมิ้ นชัน Curcuma longa L.
 ข้อห้ามใช้:
 ห้ามใช้ในผูท้ ี่ท่อน้ าดีอุดตัน หรือผูท้ ี่ไวต่อยานี้
 ข้อควรระวัง:
 - ควรระวังการใช้กบั ผูป้ ่ วยโรคนิ่ วในถุงน้ าดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์
 - ควรระวังการใช้กบั หญิงตั้งครรภ์ ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์
 - ควรระวังการใช้กบั เด็ก เนื่ องจากยังไม่มีขอ้ มูลด้านประสิทธิผลและความปลอดภัย
 - ควรระวังการใช้ยานี้ ร่วมกับสารกันเลือดเป็ นลิ่ม (anticoagulants) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด
(antiplatelets)
 - ควรระวังการใช้ยานี้ ร่วมกับยาที่กระบวนการเมแทบอลิซึม ผ่านเอนไซม์ Cytochrome P450 (CYP 450)
เนื่ องจากสาร curcumin ยับยัง้ CYP 3A4, CYP 1A2 แต่กระตุน้ เอนไซม์ CYP 2A6
 - ควรระวังการใช้ร่วมกับยารักษาโรคมะเร็งบางชนิ ด เช่น doxorubicin, chlormethine,
cyclophosphamide และ camptothecin เนื่ องจาก curcumin อาจมีผลต้านฤทธิ์ยาดังกล่าว
 อาการไม่พึงประสงค์:
 ผิวหนังอักเสบจากการแพ้
ขมิ้ นชัน Curcuma longa L.

 Herb-drug interaction
 ขมิ้ นชัน
มีฤทธิ์ยบั ยัง้ เกล็ดเลือด
 อาจเพิ่มความเสี่ยง Bleeding

 ควรระวังการใช้ยานี้ ร่วมกับสารกันเลือดเป็ นลิ่ม


(anticoagulants)
และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
ขมิ้ นชัน Curcuma longa L.

 ผลิตภัณฑ์ยาที่มีใน รพ. ป่ าซาง


 ชนิ ดแคปซูล 500 mg
ขมิ้ นชัน Curcuma longa L.
 การศึกษาทางคลินิก
 รักษาอาการท้องอืดท้องเฟ้อ dyspepsia
 Randomized double-blind multicenter study
 ผูป
้ ่ วย106 คน
 ขมิ้ นชัน 500 mg วันละ 4 ครั้ง นาน 7วัน
 กลุ่มที่ได้รบ
ั ขมิ้ นชันมีอาการท้องอืดท้องเฟ้อหายไปใกล้เคียงกับกลุ่มที่ได้รบั ยา
anti-flatulence
 สารออกฤทธิ์ในการขับลมของขมิ้ นชัน คือ มันหอมระเหย
ขมิ้ นชัน Curcuma longa L.
 รักษาแผลในกระเพาะอาหาร Gastric ulcer
 Randomized controlled study
 ผูป 50 คน
้ ่ วย
 รับประทานขมิ้ นชันแคปซูล ขนาด 250 มิลลิกรัม วันละ 4 ครั้ง

 นาน 12 สัปดาห์
 เทียบกับยาน้ าลดกรดชนิ ดน้ า

 อัตราแผลหายสนิ ท
71 %
 ขมิ้ นชัน
 ยาลดกรด 94 %
ขมิ้ นชัน Curcuma longa L.
 รักษาแผลในกระเพาะ( gastric ulcer) และ duodenal ulcer
 ผูป 25 คน
้ ่ วย
 รับยาแคปซูลขมิ้ นชัน ขนาด 600 มิลลิกรัม วันละ 5 ครั้ง

 ก่อนอาหาร 0.5-1 ชัว่ โมง 3 มื้ อ รับประทานเวลา 16.00 น. และก่อนนอน

 ระยะเวลา 12 สัปดาห์

 แผลหายภายใน…(ผูป ้ ่ วยที่แผลหายแล้วจะไม่กลับมาเป็ นแผลอีก)


4 สัปดาห์ 12 ราย 48%
 8 สัปดาห์ 18 ราย 72%
 12 สัปดาห์ 19 ราย 76%
ขมิ้ นชัน Curcuma longa L.
 ฤทธิท์ างเภสัชวิทยา
 ขับลม สมานแผล ต้านการกลายพันธุ ์ ป้องกันตับอักเสบ ต้านปรสิต ต้าน
เชื้ อราและยีสต์ ต้านเชื้ อแบคทีเรีย รักษาอาการท้องเสีย ขับน้ าดี ลดการบีบ
ตัวของลาไส้ ต้านการแพ้
 ฤทธิ์ตา้ นการเกิดแผลและสมานแผลในกระเพาะอาหาร จากกลไกเร่งการ
เจริญเติบโตของเนื้ อเยือ่ บริเวณที่เกิดแผลและกระตุน้ การหลัง่ สารเมือกมา
เคลือบกระเพาะอาหาร ทาให้แผลหายเร็วขึ้ น นอกจากนี้ ขมิ้ นชันยังยับยัง้
การหลัง่ น้ าย่อยต่างๆ ได้อีกด้วย
่ บุทางเดินอาหารจากยา NSAIDs, กรด, เมทานอล
 ป้องกันเยือ
ขมิ้ นชัน Curcuma longa L.
 การใช้ประโยชน์
 การใช้ขมิ้นชันรักษาแผล แมลงกัดต่อย
 ใช้ผงขมิ้ นชัน
1 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ ามันมะพร้าวหรือน้ ามันหมู 2-3 ช้อนโต๊ะ เคี่ยว
ด้วยไฟอ่อนๆ คนจนเป็ นน้ ามันกลายเป็ นสีเหลือง ใช้ทาแผล
 นาขมิ้ นชันมาล้างให้สะอาดตาคั้นน้ าใส่แผล

 ผสมขมิ้ นชันกับน้ าปูนใสเล็กน้อย และผสมสารส้ม พอกบริเวณที่เป็ นแผล

 การใช้ขมิ้นชันรักษากลาก เกลื้อน
 ผสมผงขมิ้ นชันกับน้ า แล้วทาบริเวณที่เป็ นกลากเกลื้ อน 2 ครั้งต่อวัน
ฟ้ าทะลายโจร Andrographis paniculata

 สารสาคัญ
 total lactone คานวณเป็ น andrographolide ไม่น้อยกว่าร้อยละ 6 โดยw/w
 ข้อบ่งใช้
 บรรเทาอาการท้องเสียชนิ ดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้ อ เช่น อุจจาระไม่เป็ นมูก หรือมีเลือดปน
 บรรเทาอาการเจ็บคอ/บรรเทาอาการของโรคหวัด (common cold) เช่น เจ็บคอ ปวดเมื่อย
กล้ามเนื้ อ
 ขนาดและวิธีใช้
 บรรเทาอาการท้องเสีย
 รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม–2 กรัม วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน
 บรรเทาอาการหวัด เจ็บคอ
 รับประทานครั้งละ 1 3 กรัม วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน
ฟ้ าทะลายโจร Andrographis paniculata
 ข้อห้ามใช้
 ห้ามใช้ ในผูท
้ ี่มีอาการแพ้ฟ้าทะลายโจร
 ห้ามใช้ ในหญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร
เนื่ องจากอาจทาให้เกิดทารกวิรปู ได้
 ห้ามใช้ฟ้าทะลายโจรสาหรับแก้เจ็บคอในกรณีต่าง ๆ ต่อไปนี้
 ผูป
้ ่ วยที่มีอาการเจ็บคอเนื่ องจากติดเชื้ อ Streptococcus group A
 ผูป้ ่ วยที่มีประวัติเป็ นโรคไตอักเสบ เนื่ องจากเคยติดเชื้ อ Streptococcus group A
 ผูป
้ ่ วยที่มีประวัติเป็ นโรคหัวใจรูหม์ าติค
 ผูป ้ ่ วยที่มีอาการเจ็บคอเนื่ องจากมีการติดเชื้ อแบคทีเรียและมีอาการรุนแรง เช่น มีตุ่ม
หนองในคอ มีไข้สงู และหนาวสัน่
ฟ้ าทะลายโจร Andrographis paniculata
 ข้อควรระวัง
 หากใช้ยานี้ ติดต่อกันเป็ นเวลานาน อาจทาให้แขนขามีอาการชาหรืออ่อนแรง
 หากใช้ฟ้าทะลายโจรติดต่อกัน 3 วัน แล้วไม่หาย หรือ มีอาการรุนแรงขึ้ นระหว่างใช้ยาควรหยุดใช้และพบแพทย์
 ควรระวังการใช้ยานี้ ร่วมกับสารกันเลือดเป็ นลิ่ม (anticoagulants) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด
(antiplatelets)
 ควรระวังการใช้ยานี้ ร่วมกับยาลดความดันเลือดเพราะอาจเสริมฤทธิ์กนั ได้
 ควรระวังการใช้ยานี้ ร่วมกับยาที่กระบวนการเมแทบอลิซึม ผ่านเอนไซม์ Cytochrome P450 (CYP
450) เนื่ องจากฟ้ าทะลายโจรมีฤทธิ์ยบั ยั้งเอนไซม์ CYP 1A2, CYP 2C9 และ CYP 3A4
 อาการไม่พึงประสงค์
 อาจทาให้เกิดอาการผิดปกติของทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง ท้องเดิน คลื่นไส้ เบื่ออาหาร วิงเวียนศีรษะ ใจสัน่
และอาจเกิดลมพิษได้
ฟ้ าทะลายโจร Andrographis paniculata
 ผลิตภัณฑ์ยาที่มีใน รพ. ป่ าซาง
 ชนิ ดแคปซูล 450 mg
ฟ้ าทะลายโจร Andrographis paniculata
 การศึกษาทางคลินิก
 บรรเทาอาการไข้และเจ็บคอ
 Randomized double-blind controlled study (n=152)
 เปรียบเทียบผลการรักษาของฟ้าทะลายโจร( )
 และพาราเซตามอล( )
 วันที่ 3 พบว่ากลุ่มที่ได้รบ
ั ฟ้ าทะลายโจร ขนาด 6 กรัม/วัน มีอาการไข้ และการ
เจ็บคอลดลง ดีกว่ากลุ่มที่ได้รบั ฟ้ าทะลายโจร 3 กรัม/วัน หรือได้รบั พาราเซตา
มอล
 แต่หลังการรักษา 7 วัน ให้ผลไม่แตกต่างกัน
ฟ้ าทะลายโจร Andrographis paniculata
 การรักษาอาการท้องเสียแบบไม่ติดเชื้ อ
 double-blind controlled trial
 เปรียบเทียบยาระหว่างฟ้าทะลายโจร 2 กรัม วันละ3 ครั้ง

 เทียบกับยาหลอกและ Loperamide 2 mg/day

้ ่ วยหยุดถ่ายใน 24 ชัว่ โมงแรกในกลุ่มที่ได้รบั ยาฟ้าทะลายโจร


 ผูป
 มากกว่ากลุ่มที่ได้ยาหลอก

 และไม่ต่างจากกลุ่มที่ได้ Loperamide
ฟ้ าทะลายโจร Andrographis paniculata
 ฟ้าทะลายโจรกับไข้หวัดใหญ่
 การรักษาอาการเนื่ องจากไข้หวัดใหญ่ Influenza
 Multi-center, randomized controlled open-label study
้ ่ วย 25 คน มีไข้มากกว่าหรือเท่ากับ 38 ͦC
 ผูป

 มีอาการระบบทางเดินหายใจไม่เกิน 36 ชัว่ โมง


 กลุ่มที่1 : Paracetamol 1 กรัม ทุก 6 hr
 กลุ่มที่2 : Paracetamol 1 กรัม ทุก 6 hr + ฟ้าทะลายโจร 1.6 กรัม วันละ 4 ครั้ง

4 ; กลุ่มที่ 2 มีความรุนแรงและอาการโดยรวม แตกต่างอย่างมี


 ในวันที่
นัยสาคัญ เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ 1
ฟ้ าทะลายโจร Andrographis paniculata
 ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
 แก้ไข้

 ฤทธิ์ลดการอักเสบ

 ฤทธิ์เพิ่มภูมิตา้ นทาน
 กระตุน
้ ภูมิคุม้ กัน ทาให้ร่างกายสามารถต้านเชื้ อแบคทีเรียได้
 ฤทธิ์ลดการบีบตัวของกล้ามเนื้ อเรียบ
 ลดการปวดเกร็งท้อง แก้ทอ้ งเสีย
 ฤทธิ์เพิ่มการหลัง่ สารในลาคอ
ฟ้ าทะลายโจร Andrographis paniculata
 การใช้ประโยชน์
 แก้หวัด common cold
 WHO,2002: ผงทั้งต้นเหนื อดิน 1.5-3 กรัม 4 ครั้งต่อวัน
 บรรเทาไข้และเจ็บคอ
 ผงใบ1.5-3 กรัม 4 ครั้งต่อวัน
 บรรเทาอาการท้องเสียไม่ติดเชื้ อ
 ผงส่วนเหนื อดิน 0.5-2 กรัม 4 ครั้งต่อวัน
ขิง Zingiber officinale Roscoe
 สารสาคัญ
 น้ ามันหอมระเหย(menthol, cineole) ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 2 โดย v/w

 Gingerols, shogaols

 ข้อบ่งใช้/ขนาดและวิธีใช้
 บรรเทาอาการท้องอืด ขับลม แน่ นจุกเสียดรับประทานวันละ 2-4 กรัม

 ป้องกันและบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียนจากการเมารถ เมาเรือ


รับประทานวันละ 1-2 กรัม ก่อนเดินทาง 30 นาที ถึง 1 ชัว่ โมง หรือเมื่อมี
อาการ
 ป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียน หลังการผ่าตัดรับประทานครั้งละ 1 กรัม
ก่อนการผ่าตัด 1 ชัว่ โมง
ขิง Zingiber officinale Roscoe
 ข้อควรระวัง:
 ควรระวังการใช้ร่วมกับสารกันเลือดเป็ นลิ่ม (anticoagulants) และยาต้าน
การจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
 ควรระวังการใช้ในผูป
้ ่ วยโรคนิ่ วในถุงน้ าดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์
 ไม่แนะนาให้รบ
ั ประทานในเด็กอายุตา่ กว่า 6 ขวบ
 อาการไม่พึงประสงค์:
 อาการแสบร้อนบริเวณทางเดินอาหาร อาการระคายเคืองบริเวณปากและคอ
ขิง Zingiber officinale Roscoe
 ผลิตภัณฑ์ยาที่มีใน รพ. ป่ าซาง
 ยาแคปซูล450 mg
 ชาชง 1 กรัม/20 ซอง
ขิง Zingiber officinale Roscoe
 การศึกษาทางคลินิก
 ป้องกันอาการคลื่ นไส้ อาเจียน จากการเมารถ เมาเรือ
 ขิงผงขนาด 940 มิลลิกรัม มีผลต้านการอาเจียนได้ดีกว่ายาแก้เมารถเมาเรือ
(dimenhydrinate)
 การรับประทานขิง 1 กรัม/วัน จะทาให้อาการเมาคลื่นน้อยลงเมื่อเทียบกับกลุ่มที่
ได้รบั ยาหลอก
ขิง Zingiber officinale Roscoe
 การอาเจียนจากการตัง้ ครรภ์
 การเปรียบเทียบผลของ ขิง VS. วิตามินบี 6
 ผลลดการคลื่นไส้อาเจียนในหญิงตั้งครรภ์
 ทดลองในหญิงตั้งครรภ์ระยะเริ่มแรก
 ขิงขนาด 1.05 กรัม/วัน มีผลลดการคลื่นไส้ อาเจียนได้ดีเทียบเท่ากับวิตามินบี 6 ขนาด
75 มิลลิกรัม/วัน

 ในระยะ 3 เดือนแรก หญิงตั้งครรภ์ที่รบั ประทานขิงใน รูปแบบต่างๆ เช่น แคปซูล ชาชง ขิง


สด และขิงดอง พบว่ามีฤทธิ์ปานกลางในการแก้อาการคลื่นไส้อาเจียน โดยไม่มีอาการ
ข้างเคียงหรืออาการไม่พึงประสงค์และไม่มีผลเพิ่มอัตราการพิการของทารก
 ยังไม่มีขอ้ มูลมากพอที่จะยืนยันความปลอดภัยได้ 100 %
ขิง Zingiber officinale Roscoe
 การทดสอบฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
 ฤทธิ์บรรเทาอาการแน่ นจุกเสียดน้ ามันหอมระเหย

 ขับลมgingerol, shogaol
 ฤทธิ์ป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียนเพิ่มการคลื่นไหวของกระเพาะอาหาร
 ฤทธิ์ลดการบีบตัวของลาไส้

 ฤทธิ์ตา้ นการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร

 ฤทธิ์ลดการอักเสบ

 ฤทธิ์แก้ ไอ

 ฤทธิ์ขบั น้ าดี
ขิง Zingiber officinale Roscoe
 การใช้ประโยชน์
 การใช้ขิงรักษาอาการอาเจียนและรักษาอาการแน่นจุ กเสียด
 ใช้เหง้าสดขนาดเท่าหัวแม่มือ ทุบให้แตก ต้มเอาน้ าดื่ม
 การใช้ขิงรักษาอาการไอ
 ใช้ขิงฝนกับน้ ามะนาว แทรกเกลือใช้กวาดคอหรือจิบบ่อย
ชุมเห็ดเทศ Senna alata (L.) Roxb., Cassia alata L.

 สารสาคัญ
 hydroxyanthracene derivatives โดยคาานวณเป็ น rhein-8-
glucoside ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 1.0 โดย w/w
 ข้อบ่งใช้
 บรรเทาอาการท้องผูก
 ขนาดและวิธีใช้
 ชนิดชง
รับประทานครั้งละ 3 – 6 กรัม ชงน้ าร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร นาน 10
นาที วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
 ชนิ ดแคปซูล
รับประทานครั้งละ 3 – 6 กรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ชุมเห็ดเทศ Senna alata (L.) Roxb., Cassia alata L.

 ข้อห้ามใช้:
 ผูป้ ่ วยที่มีภาวะทางเดินอาหารอุดตัน (gastrointestinal obstruction) หรือปวดท้องโดย
ไม่ทราบสาเหตุ
 ข้อควรระวัง:
 - ควรระวังการใช้ในเด็กอายุตา่ กว่า 12 ปี หรือในผูป้ ่ วย inflammatory bowel
disease
 - การรับประทานยาในขนาดสูงอาจทาให้เกิดไตอักเสบ (nephritis)

 - ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็ นระยะเวลานาน เพราะจะทาให้ทอ ้ งเสีย ซึ่งส่งผลให้มีการสูญเสียน้ าและ


เกลือแร่มากเกินไปโดยเฉพาะโพแทสเซียม และทาให้ลาไส้ใหญ่ชินต่อยา ถ้าไม่ใช้ยาจะไม่ถ่าย
 - ควรระวังการใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร

 อาการไม่พึงประสงค์:
 อาจทาให้เกิดอาการปวดมวนท้อง เนื่ องจากการบีบตัวของลาไส้ใหญ่
ชุมเห็ดเทศ Senna alata (L.) Roxb., Cassia alata L.

 ยาที่มีใน รพ.ป่ าซาง


 ชาชงชุมเห็ดเทศ 3 กรัม/10ซอง
ชุมเห็ดเทศ Senna alata (L.) Roxb., Cassia alata L.

 การศึกษาทางคลินิก
 บรรเทาอาการท้องผูก
 ศึกษาผลของใบชุมเห็ดเทศ โดยนายาชงถุงละ 3-4 กรัม มาชงน้ าเดือด 120 มิลลิลิตร ทิ้ ง
ไว้นาน 10 นาที
 เปรียบเทียบผลระหว่าง
 กลุ่มที่ได้รบ
ั ยาหลอก จานวน 23 ราย
 กลุ่มที่ได้รบ ั ยามิสต์แอลบา (Mist. Alba) จานวน 7 ราย
 กลุ่มที่ได้รบั ยาชงชุมเห็ดเทศ จานวน12 ราย
 พบว่าชุมเห็ดเทศให้ผลดีกว่ายาหลอก และให้ผลเท่ากับยามิสต์แอลบา
 ซึ่งการใช้ยาชงชุมเห็ดเทศอาจมีทอ้ งเสียร่วมด้วย
 แต่ผปู้ ่ วยพอใจชุมเห็ดเทศมากกว่ายามิสต์แอลบา
ชุมเห็ดเทศ Senna alata (L.) Roxb., Cassia alata L.

 รักษาโรคกลากเกลื้อน
 การศึกษาในอาสาสมัครที่เป็ นโรคเกลื้ อน พบว่าการทาสารสกัดน้ าใบชุมเห็ดเทศ
 ที่ความเข้มข้น 100% ทาบริเวณแขน ขา
 ที่ความเข้มข้น 90% ทาบริเวณคอ มือ
 ที่ความเข้มข้น 80% ทาบริเวณหน้า

 โดยทาวันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน (2 ชัว่ โมง ก่อนนอนและล้างออกในตอนเช้า โดย


ไม่ตอ้ งฟอกสบู่)
 พบว่าภายใน 2-3 สัปดาห์ บริเวณที่เป็ นผื่ นจะค่อยๆ ดีขน ึ้ แต่รอยโรคยังปรากฏ
อยู่
 สีผิวจะปรับเข้าสู่สภาพปกติ โดยต้องใช้เวลาในการรักษาประมาณ 10-12 เดือน
ชุมเห็ดเทศ Senna alata (L.) Roxb., Cassia alata L.

 การทดสอบฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
 บรรเทาอาการท้องผูกกระตุน้ กล้ามเนื้ อเรียบของลาไส้ใหญ่ให้มีการบีบ
ตัว ทาให้ขบั ถ่าย
 ฤทธิ์ตา้ นเชื้ อแบคทีเรียที่ทาให้เกิดอาการท้องเสีย
 ฤทธิ์ตา้ นเชื้ อราและยีสต์ โดยเฉพาะเชื้ อราที่เป็ นสาเหตุของโรคกลากเกลื้ อน
ชุมเห็ดเทศ Senna alata (L.) Roxb., Cassia alata L.

 การใช้ประโยชน์
 การใช้ชุมเห็ดเทศรักษาอาการท้องผูก
 ใช้ใบสดหรือแห้งประมาณ 12 ใบ ต้มกับน้ าดื่มครั้งละแก้ว
 การใช้ชุมเห็ดเทศรักษากลาก เกลื้ อน
 นาใบสดมาตาให้ละเอียดใช้ทาบริเวณที่เป็ นกลากหรือผื่ นคัน
พญายอ Clinacanthus nutans
 ตัวยาสาคัญ
 สารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ของใบพญายอแห้ง
(เสลดพังพอนตัวเมีย)
 รูปแบบยา
 1. ยาครีม สารสกัดพญายอร้อยละ 4 - 5 โดยน้ าหนัก (w/w)
 2. สารละลาย (สาหรับป้ายปาก) สารสกัดพญายอในกลีเซอรีนร้อยละ 2.5 - 4
โดยน้ าหนัก (w/w)
 3. ยาโลชัน ่ สารสกัดพญายอร้อยละ 1.25 โดยน้ าหนัก (w/w)
 4. ยาขี้ ผึ้ ง สารสกัดพญายอ ร้อยละ 4 - 5 โดยน้ าหนัก (w/w)
 5. ยาทิงเจอร์ สารสกัดพญายอสด ร้อยละ 10 โดยน้ าหนักต่อปริมาตร (w/v)
พญายอ Clinacanthus nutans
 ข้อบ่งใช้
 ยาครีม
 บรรเทาอาการของโรคเริม และงูสวัด
 สารละลาย (สาหรับป้ายปาก)
 รักษาแผลในปาก (aphthous ulcer) แผลจากการฉายรังสีและเคมีบาบัด
 โลชัน่
 บรรเทาอาการ ผดผื่นคัน ลมพิษ ตุ่มคัน
 ยาขี้ ผึ้ ง
 บรรเทาอาการอักเสบ ปวด บวมจากแมลงกัดต่อย
 ทิงเจอร์พญายอ
 บรรเทาอาการของเริม และงูสวัด
 ขนาดและวิธีใช้
 ทาบริเวณที่มีอาการ วันละ 5 ครั้ง
พญายอ Clinacanthus nutans
 ยาที่มีใน รพ. ป่ าซาง
 ทิงเจอร์เสลดพังพอน 20 ml
พญายอ Clinacanthus nutans
 การศึกษาทางคลินิก
 การบรรเทาอาการโรคเริม งู สวัด และแผลในปาก
 การติดเชื้ อไวรัส Herpes simplex virus type-2 (HSV-2)
 Randomized controlled trial (n=72)
 ยาเตรียมจากสารสกัดใบพญายอ โดยเปรียบเทียบกับยา acyclovir และ ยา
หลอก
 พบว่ายาเตรียมสารสกัดใบพญายอมีประสิทธิผลในการรักษาได้ดีเทียบเท่ากับยา
acyclovir และดีกว่ายาหลอกอย่างเห็นได้ชดั
 ไม่ทาให้ผใู ้ ช้มีอาการแสบ และระคายเคืองขณะที่ใช้ยา
พญายอ Clinacanthus nutans
 การบรรเทาอาการโรคเริม งู สวัด และแผลในปาก
 การรักษาผูป้ ่ วยโรคงูสวัด(Varicella zoster virus)
 Randomized placebo controlled trial (n=51)

 ยาเตรียมจากสารสกัดจากใบพญายอ เปรียบเทียบกับยาหลอก

้ ่ วยที่รกั ษาด้วยยาจากสารสกัดของใบพญายอ มีการตกสะเก็ดภายใน 3 วันมากกว่า


 ผูป
กลุ่มที่ได้ยาหลอก (มีนัยสาคัญ)
 การหายของแผลภายใน 7และ 10 วัน มากกว่ากลุ่มที่รก ั ษาด้วยยาหลอก (มี
นัยสาคัญ)
 ระดับความเจ็บปวดลดลงเร็วกว่ามากกว่ากลุ่มที่รก
ั ษาด้วยยาหลอก
 ไม่พบผลข้างเคียงใดๆ
พญายอ Clinacanthus nutans
 ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
 ฤทธิ์ตา้ นเชื้ อไวรัสที่ก่อให้เกิดโรคเริม (HSV-1 ,HSV-2)และงูสวัด
 ในหลอดทดลอง สารสกัดใบพญายอสามารถทาลายไวรัส HSV-2 ภายนอกเซลล์
โดยตรง โดยทาให้ไวรัสตาย ไม่สามารถเข้าไปเจริญเติบโตในเซลล์ได้
 สารกลุ่ม monoglycosyl diglycerides,
สารกลุ่ม glycoglycerolipids จากใบ
 ฤทธิ์ตา้ นการอักเสบ (Anti-inflammatory) และฤทธิ์ตา้ นการปวด
(Analgesic)
 สารฟลาโวนอยด์
 ยับยั้งสารก่อการอักเสบ(inflammatory cytokines,PG)ที่ร่างกายสร้างขึ้ น
พญายอ Clinacanthus nutans
 การใช้ประโยชน์
 การใช้พญายอรักษาอาการเนื่องจากแมลงกัดต่อย เริม
 ใช้ใบขยี้ ทาบริเวณที่ถูกแมลงสัตว์กด
ั ต่อย หรือเป็ นเริม
ไพล Zingiber montanum
 สารสาคัญ
 น้ ามันหอมระเหยจากเหง้าไพล ไม่นอ้ ยกว่า 2 %
 Volatile oil , curcumin, Butanoids, B-sitosterol
 ข้อบ่งใช้
 บรรเทาอาการปวดเมื่อย (ยาขี้ ผึ้ ง)
 บรรเทาอาการบวม ฟกช้า เคล็ดยอก (ยาครีม น้ ามันไพล)
 ขนาดและวิธีใช้:
 ทาและถูเบา ๆ บริเวณที่มีอาการวันละ 2 - 3 ครั้ง
 ข้อห้ามใช้:
 ห้ามทาบริเวณขอบตาและเนื้ อเยื่ออ่อน
 ห้ามทาบริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิ ด
ไพล Zingiber montanum
 ยาที่มีใน รพ. ป่ าซาง
 ยาหม่องไพล 20 กรัม
 น้ ามันเหลืองไพล 30 ซีซี
ไพล Zingiber montanum
 การศึกษาทางคลินิก
 ฤทธิบ์ รรเทาอาการอักเสบ ปวด บวม ฟกช้ าของไพล
 Randomized double-blind placebo-controlled study (n=21)
 ประสิทธิผลของครีมไพลจีซาล (น้ ามันไพล14%) ในนักกีฬาที่บาดเจ็บข้อเท้า
แพลง
 โดยแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ได้รบ
ั ยาไพลจีซาล(10) และกลุ่มที่ 2 ได้รบั ยา
หลอก (11)
 กลุ่มที่ได้รบ
ั ยาไพลจีซาล มีอาการปวด และการบวมของข้อเท้าน้อยกว่ากลุ่มที่
ได้รบั ยาหลอก อย่างมีนัยสาคัญ โดยเฉพาะในช่วง 2-3 วันแรกของการรักษา
 ช่วยให้การเคลื่อนไหวของข้อเท้าดีขนด้ ึ้ วย
ไพล Zingiber montanum
 ฤทธิ์บรรเทาอาการบวม ฟกช้ า เคล็ดขัดยอกของไพล
 น้ ามันไพลที่อยูใ่ นรูปของเจล (ไพลเจล)
 ไพลเจลสามารถลดการบวมได้เทียบเท่ากับ piroxicam gel
 ลดความแดงและบรรเทาอาการปวดได้ผล

 ตารับเจลไพลในรูป neosome (มีไพลและสมุนไพรอื่นๆ)


 Case study 26 คน
 มีฤทธิ์แก้ปวดได้ดีเท่ากัน Diclofenac sodium emulgel 1 %
ไพล Zingiber montanum
 ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
 ฤทธิ์ตา้ นการอักเสบ (Anti-inflammatory) การบวม สารเคอร์คิว
มิน น้ ามันหอมระเหย Butanoids
 ฤทธิ์ตา้ นการปวด (Analgesic)
 ฤทธิ์เป็ นยาชาเฉพาะที่

 ฤทธิ์ตา้ นแบคทีเรีย ฤทธิ์ตา้ นเชื้ อรา ฤทธิ์ตา้ นยีสต์

 ฤทธิ์ตา้ นการหดเกร็งของกล้ามเนื้ อเรียบ

 มีฤทธิ์ตา้ นฮิสตามีนซึ่งช่วยในการรักษาโรคหอบหืด
ไพล Zingiber montanum
 การใช้ประโยชน์
 การใช้ไพลรักษาอาการบวม ฟกชา้ อักเสบ
 นาไพลมาฝานเป็ นชิ้ นบางๆ ใช้ถูนวดในบริเวณที่อกั เสบ
 เตรียมน้ ามันไพลด้วยการจี่ ในกระทะ (คัว่ ในกระทะ) จนได้น้ ามันสีเหลือง นามา
ทา ถูนวด
เถาวัลย์เปรียง Derris scandens (Roxb.) Benth.

 ตัวยาสาคัญ
 ผงจากเถาของเถาวัลย์เปรียง : สารกลุ่มฟลาโวนอยด์
 ข้อบ่งใช้
 บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้ อ ลดการอักเสบของกล้ามเนื้ อ
 ขนาดและวิธีใช้
 รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารทันที
เถาวัลย์เปรียง Derris scandens (Roxb.) Benth.

 ข้อห้ามใช้:
 ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์

 ข้อควรระวัง:
- ควรระวังการใช้ในผูป้ ่ วยโรคแผลเปื่ อยเพปติก เนื่ องจากเถาวัลย์เปรียงออกฤทธิ์
คล้ายยาแก้ปวดกลุ่มยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (Nonsteroidal
Anti-Inflammatory Drugs: NSAIDs)
 อาจทาให้เกิดการระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร

 อาการไม่พึงประสงค์:
 ปวดท้อง ท้องผูก ปั สสาวะบ่อย คอแห้ง ใจสัน่
เถาวัลย์เปรียง Derris scandens (Roxb.) Benth.

 ยาที่มีใน รพ.ป่ าซาง


 ชนิ ดแคปซูล 450 mg (เถาวัลย์เปรียง 100%)
เถาวัลย์เปรียง Derris scandens (Roxb.) Benth.

 การศึกษาทางคลินิก
 บรรเทาอาการปวดเมื่อย
 สถาบันวิจย ั สมุนไพร
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ร่วมกับโรงพยาบาลวังน้ า
เย็น จังหวัดสระแก้ว
เถาวัลย์เปรียง Derris scandens (Roxb.) Benth.

 การศึกษาประสิทธิผลและผลข้างเคียงของยาจากสารสกัด
เถาวัลย์เปรียง vs. Diclofenac ในการบรรเทาอาการปวดหลัง
ส่วนล่าง
 กลุ่มเถาวัลย์เปรียง 37 ราย
 ได้รบั แคปซูลสารสกัดของเถาวัลย์เปรียงขนาด 200 มิลลิกรัม วันละ
3 ครั้ง ครั้งละ 1 แคปซูล หลังอาหาร เป็ นเวลา 7 วัน
 กลุ่มควบคุม 33 ราย ได้รบ ั
 ยาไดโคลฟี แนค ขนาด 25 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง ครั้งละ 1 เม็ด
หลังอาหาร เป็ นเวลา7 วัน
เถาวัลย์เปรียง Derris scandens (Roxb.) Benth.

 การศึกษาประสิทธิผลและผลข้างเคียงของยาจากสารสกัดเถาวัลย์เปรียง vs.
Diclofenac ในการบรรเทาอาการปวดหลังส่วนล่าง (ต่อ)
 ค่าทางโลหิตวิทยา
 กลุ่มที่ได้รบั ยาสารสกัดเถาวัลย์เปรียง
 มีจานวนเม็ดเลือดขาวลดลงอย่างมีนัยสาคัญในวันที่ 7ของการรักษา

 ค่ายังที่ตรวจได้อยู่ในระดับปกติ ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของค่าทางชีวเคมีและ
ผลข้างเคียง
 กลุ่มผูท้ ี่ได้รบั ยา Diclofenac
 ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของค่าโลหิตวิทยา ค่าทางชีวเคมีที่แสดงถึงความผิดปกติ และ
ผลข้างเคียงใด

 ผูป้ ่ วยทั้งสองกลุ่มมีระดับความเจ็บปวดที่ประเมินเมื่อวันที่ 3 และ 7 หลังได้รบั ยา


ไม่แตกต่างกัน**
เถาวัลย์เปรียง Derris scandens (Roxb.) Benth.

 ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
 ฤทธิ์ตา้ นอักเสบ  สารในกลุ่มไอโซฟลาโวน (Isoflavone) และไอโซฟลา
โวน , กลัยโคไซด์ (Isoflavone glycoside)
 กระตุน้ ภูมิคุม้ กัน
 ฤทธิ์ยบั ยัง้ การสร้างแอนติเจนชนิ ดผิวของไวรัสตับอักเสบบี (HBsAg)
รางจืด Thunbergia laurifolia Lindl.
 ตัวยาสาคัญ
 ผงของใบรางจืดโตเต็มที่ องค์ประกอบทางเคมี

ได้แก่ ฟลาโวนอยด์, ฟี นอลิก


 ข้อบ่งใช้:
 ถอนพิษเบื่อเมา

 ขนาดและวิธีใช้:
 รับประทานครั้งละ 2 – 3 กรัม ชงน้ าร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3
ครั้ง ก่อนอาหาร หรือเมื่อมีอาการ
 ข้อควรระวัง:
 ควรระวังการใช้ในผูป้ ่ วยเบาหวาน เพราะอาจเกิดภาวะน้ าตาลในเลือดตา่
 ควรระวังการใช้ในผูป ้ ่ วยที่ตอ้ งใช้ยาอื่นอย่างต่อเนื่ องเพราะยารางจืด อาจเร่งการขับยา
เหล่านั้นออกจากร่างกาย ทาให้ประสิทธิผลของยาลดลง
รางจืด Thunbergia laurifolia Lindl.
 ยาที่มีใน รพ.ป่ าซาง
 ชาชงรางจืด 2 กรัม/10 ซอง
รางจืด Thunbergia laurifolia Lindl.
 การศึกษาทางคลินิก
 โรงพยาบาลบางกระทุม่ พิษณุโลก
 ศึกษาประสิทธิผลของสมุนไพรรางจืดโดยวิเคราะห์การเพิ่มขึ้ นของระดับเอนไซม์โคลีน
เอสเทอเรสในซีรมั ่ ของเกษตรกรที่พบพิษสารกาจัดศัตรูพืชในร่างกาย
 โดยแบ่งกลุ่มประชากร 270 คน ออกเป็ น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 90คน

 กลุ่มที่ 1 รักษาด้วยยาชงรางจืดขนาด 6 ก. วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า


 กลุ่มที่ 2รักษาด้วยยาชงรางจืดขนาด 6 ก. วันละ 2 ครั้ง หลังอาหารเช้า และหลัง
อาหารเย็น
 กลุ่มที่ 3รักษาด้วยยาหลอก (ยาชงใบเตย) ขนาด 6 ก. วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า
 กินนาน 7 วัน
รางจืด Thunbergia laurifolia Lindl.
 ศึกษาประสิทธิผลของสมุนไพรรางจืดโดยวิเคราะห์การเพิ่มขึ้น
ของระดับเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสในซีรั ่มของเกษตรกรที่พบพิษ
สารกาจัดศัตรูพืชในร่างกาย (ต่อ)
 ผลการศึกษา พบว่าค่าเฉลี่ยเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสเปรียบเทียบระหว่าง
วันที่ 0 และวันที่ 7 เพิ่มขึ้ นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ(P<0.05) ในทั้ง
3 กลุ่ม
 จานวนครั้งที่รบั ประทานให้คา่ เฉลี่ยของเอนไซด์โคลีนเอสเทอเรสที่เพิ่มขึ้ น
ไม่ตา่ งกัน และไม่พบผลข้างเคียงต่อตับ ไต เม็ดเลือด
รางจืด Thunbergia laurifolia Lindl.
 รายงานการใช้น้ าต้มรางจืดแก้พิษ
 ผูป
้ ่ วยที่ได้รบั พาราควอตจากการรับประทาน แล้วมารับการรักษาที่
โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช จังหวัดสุพรรณบุรี
 ระหว่าง พ.ศ. 2533-2535
 พบว่าในช่วง 3 ปี ที่ใช้น้ าต้มรางจืด มีผไู้ ด้รบั สารพาราควอตทั้งหมด 64 ราย รอดชีวติ
33 ราย คิดเป็ นร้อยละ 51.6 เปรียบเทียบกับผลการรักษา
 ช่วง พ.ศ. 2531-2532 ที่ยงั ไม่ใช้รางจืด
 มีผป
ู้ ่ วย 11 คน เสียชีวติ ทุกราย
 ทั้งนี้ การรักษาที่โรงพยาบาลประกอบด้วย การทาให้อาเจียน ล้างท้อง ให้ยาขับ
ปั สสาวะ ให้วิตามินซีขนาดสูง ให้ยาสเตียรอยด์ และรักษาตามอาการ รวมทั้งยา
ต้มรางจืด
รางจืด Thunbergia laurifolia Lindl.
 ยาต้มรางจืด (โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช จังหวัดสุพรรณบุรี)
 เตรียมโดยใช้เถาและใบตากแห้งหนัก 300 กรัม
 ใส่ในน้ าสะอาด 1 ลิตร ในหม้อดิน
 ต้มใช้ไฟกลางๆให้เดือดนาน 15 นาที แล้วทิ้ งให้เย็น

 ให้ผป
ู ้ ่ วยดื่มหรือให้ทางสายให้อาหารครั้งละ 200 มิลลิลิตร ทุก 2 ชัว่ โมง
ตลอดเวลาที่อยูโ่ รงพยาบาล
รางจืด Thunbergia laurifolia Lindl.
 ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
 ลดระดับน้ าตาลในเลือด

 ลดความดันโลหิต

 ปกป้องตับ ต้านอนุ มลู อิสระ ทาให้สารฆ่าแมลงในร่างกายลดลง


 ลดพิษของสารฆ่าแมลงออกาโนฟอสเฟต พาราควอท และพาราไธออนในหนู

 ป้องกันการเสื่อมของระบบประสาทจากพิษตะกัว่
รางจืด Thunbergia laurifolia Lindl.
 การใช้ประโยชน์
 ในทางการแพทย์แผนไทย จะใช้ใบหรือราก ตาและคั้นน้ าซาวข้าว รับประทานแก้
พิษผิดสาแดง
หญ้าดอกขาว Vernonia cinerea (L.) Less.

 ตัวยาสาคัญ
 ผงหญ้าดอกขาว มีสารในกลุ่ม sterols,
triterpenoid, flavonoids และ saponin
 ข้อบ่งใช้:
 ลดความอยากบุหรี่

 ขนาดและวิธีใช้:
 รับประทานครั้งละ 2 กรัม ชงน้ าร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร หลังอาหาร วัน
ละ 3 - 4 ครั้ง
 ข้อควรระวัง
 ควรระวังการใช้ในผูป
้ ่ วยโรคหัวใจ และโรคไต เนื่ องจากยาหญ้าดอกขาวมีโพแทสเซียมสูง
 อาการไม่พึงประสงค์:
 ปากแห้ง คอแห้ง
หญ้าดอกขาว Vernonia cinerea (L.) Less.

 ยาที่มีใน รพ. ป่ าซาง


 ชาชงหญ้าดอกขาว 2 กรัม/ 10 ซอง
หญ้าดอกขาว Vernonia cinerea (L.) Less.

 ข้อมูลการศึกษาวิจยั
 ศูนย์วิจย
ั และจัดการความรูเ้ พื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.)
มหาวิทยาลัยมหิดล
 การใช้สมุนไพรหญ้าดอกขาวติดต่อกันนาน 2 เดือน สามารถช่วยลดอัตราการสูบ
บุหรี่ได้ถึง 60%
 หากใช้ร่วมกับการออกกาลังกาย จะสามารถช่วยลดอัตราการสูบบุหรี่ลงถึง 62%

 มีผลข้างเคียงในการเลิกบุหรี่ เช่น กระวนกระวาย สมาธิแปรปรวนหรือหงุดหงิด


น้อยมาก
หญ้าดอกขาว Vernonia cinerea (L.) Less.

 ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
 Potassium choride ใบ ลาต้น ราก
K supplement
 GI irritate, ระวังการใช้ในผูป
้ ่ วย โรคหัวใจ ไต
 Potassium nitrate ลาต้น ราก
 Osmotic dieresis, reduce pain of hypertensive teeth
 GI irritate, vertigo, headache, flushing, cyanosis

ในสารสกัดหยาบจากใบและดอกที่ได้จากการเคี่ยวมีสารสาคัญคือ
นิโคติน (nicotine) ในปริมาณต ่า
หญ้าหนวดแมว Orthosiphon aristatus
 ตัวยาสาคัญ
 ผงจากใบและส่วนยอดของหญ้าหนวดแมว

 Potassium Salt Orthosiphonoside,


Tannin, Flavone Organic acid
 ข้อบ่งใช้:
 ขับปั สสาวะ แก้ขด
ั เบา ขับนิ่ วขนาดเล็ก
 ขนาดและวิธีใช้:
 รับประทานครั้งละ 2 - 3 กรัม ชงน้ าร้อนประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร ดื่มวันละ 2
- 3 ครั้ง
หญ้าหนวดแมว Orthosiphon aristatus
 ข้อห้ามใช้:
 ห้ามใช้ในผูป้ ่ วยที่มีการทางานของหัวใจและ/หรือไตบกพร่อง
 ข้อควรระวัง:
 - ควรระวังการใช้ในผูป ้ ่ วยที่ตอ้ งจากัดปริมาณโพแทสเซียม เช่น ผูท้ ี่เป็ น
โรคหัวใจ เนื่ องจากยาหญ้าหนวดแมวมีปริมาณโพแทสเซียมสูง
 - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาลดน้ าตาลในเลือดชนิ ดรับประทาน (Oral
hypoglycemic agents) หรือร่วมกับการฉีดอินสุลิน เพราะอาจทา
ให้เกิดการเสริมฤทธิ์กนั ได้
หญ้าหนวดแมว Orthosiphon aristatus
 ยาที่มีใน รพ. ป่ าซาง
 ชาชงหญ้าหนวดแมว 2กรัม/10 ซอง
หญ้าหนวดแมว Orthosiphon aristatus
 ข้อมูลการศึกษา
 โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
 นายแพทย์ วีรสิงห์ เมืองมัน
่ และคณะ
 ใช้ยาชงจากหญ้าหนวดแมว 4 กรัม ชงกับน้ าเดือด 750 ซีซี. ดื่มต่างน้ าในคนไข้
27 คน
 ทาให้ปัสสาวะคล่องและใส

 อาการปวดนิ่ วลดลงได้และนิ่ วขนาดเล็กลง และหลุดออกมาได้เอง ร้อยละ 40

้ ่ วยหายจากปวดนิ่ ว  ร้อยละ 20
 ผูป
หญ้าหนวดแมว Orthosiphon aristatus
 ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
 ฤทธิ์ขบั ปั สสาวะ
 สาร orthosiphonin glucoside, ซาโปนิ น, phytosterol และแทนนิ น
ประมาณร้อยละ 0.65 มีฤทธิ์ขบั ปั สสาวะ
 โดยเพิ่มการขับออกของโซเดียมและคลอไรด์

 ฤทธิ์ในการรักษานิ่ว
 สารฟลาโวนอยด์ เช่น kaempferol จากหญ้าหนวดแมว
 สามารถยับยัง้ การเพิ่มขนาดของผลึกแคลเซียมออกซาเลทในก้อนนิ่ วในทางเดิน
ปั สสาวะได้
หญ้าหนวดแมว Orthosiphon aristatus
 การใช้หญ้าหนวดแมวรักษาอาการปั สสาวะขัดตามคาแนะนาของ
กระทรวงสาธารณสุข (สาธารณสุขมูลฐาน)
 นาใบและกิ่งแห้ง 4 กรัม มาชงด้วยน้ าร้อน 750 มิลลิลิตร ดื่มน้ าชงต่าง
น้ า ติดต่อกันนาน 1-6 เดือน
 ควรใช้ยอดอ่อนและทาให้แห้งก่อน
เอกสารอ้างอิง
 เอกสารประกอบการบรรยาย ยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ: มุมมอง
จากทฤษฎีการแพทย์แผนไทยและข้อมูลเอกสารทางวิชาการ, 2554
 คูม่ ือการใช้สมุนไพรสาหรับประชาชน, 2555
 บัญชียาหลักแห่งชาติ
(http://drug.fda.moph.go.th:81/nlem.in.th/)
 สานักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
 (http://www.medplant.mahidol.ac.th/new/index.asp)
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่…
 http://drug.fda.moph.go.th:81/nlem.in.th/
http://www.medplant.mahidol.ac.th/new/index.asp
รายการยาสมุนไพร รพ.ป่ าซาง
 ยาผง
รายการยาสมุนไพร รพ.ป่ าซาง
 ชาชง
รายการยาสมุนไพร รพ.ป่ าซาง
 ยาแคปซูล
รายการยาสมุนไพร รพ.ป่ าซาง
ขอบพระคุณ
สวัสดี

You might also like