You are on page 1of 47

ผลการรักษาโรคตาด้ วยหนามหวาย

โดยการตรวจระดับความสามารถในการมองเห็น (VA)
โรงพยาบาลส่ งเสริมสุ ขภาพตาบลปากอ่าง จังหวัดกาแพงเพชร

คณะผู้วจิ ยั
นายชเอม ขุมเพชร
นางวรินทร ทีเวียง
นางสาวเอมอร พรมแก้ว
นางสาวธนวรรณ ทรัพย์ มาก

งานวิจัยนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของโครงการ “การพัฒนางานแพทย์ แผนไทยประจาสู่ งานวิจัย”


เครือข่ ายโรงพยาบาลกาแพงเพชร ปี 2559
กิตติกรรมประกาศ
ผูว้ ิจยั ขอขอบคุณ ขอขอบคุณผูป้ ่ วยที่ม ารับบริ การทุกท่านที่ยนิ ดีให้คณะผูว้ ิจยั ได้สัมภาษณ์
ข้อมูลส่วนตัว ความคิดเห็นต่อการมารับบริ การ ผลการรักษาตลอดจนปั ญหาสุขภาพอื่นๆ ที่เป็ นข้อมูล
ที่มีประโยชน์ต่องานวิจยั และประโยชน์ต่อประชาชนอื่นๆ ในอนาคต

การศึกษาครั้งนี้ สาเร็ จเรี ยบร้อยเป็ นอย่างดีดว้ ยความกรุ ณา และความช่วยเหลือเป็ นอย่างดี


จาก ดร. สานึก หงส์ยมิ้ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ และพท.ชุติกาญจน์ ธนมนตรา แพทย์แผน
ไทยปฏิบตั ิการ โรงพยาบาลอู่ทอง ที่ได้กรุ ณาให้คาปรึ กษา แนะนา ข้อคิดเห็นต่าง ๆ และแนวทางที่
เป็ นประโยชน์ทุกขั้นตอนของการวิจยั ผูว้ ิจยั มีความซาบซึ้ งในความเมตตา และขอกราบขอบพระคุณ
เป็ นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้

ขอขอบคุณโรงพยาบาลกาแพงเพชรที่ได้จดั หางบประมาณเพื่อการศึกษาวิจยั และพัฒนาองค์


ความรู ้ และทาให้เกิดเวทีนาเสนองานวิจยั เพื่อ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ และเป็ นผูแ้ นะนาพร้อมทั้งเป็ นที่
ปรึ กษารวมถึงสถานที่ในการจัดอบรมพัฒนาองค์ความรู ้ให้กบั นักวิจยั ในสังกัดสานักงานสาธารณสุ ข
จังหวัดกาแพงเพชร

นายชเอม ขุมเพชร
นางวริ นทร ทีเวียง
นางสาวเอมอร พรมแก้ว
นางสาวธนวรรณ ทรัพย์มาก
30 กันยายน 2559
ชื่อเรื่องวิจัย ผลการรักษาโรคตาด้วยหนามหวายโดยการตรวจระดับความสามารถในการมองเห็น
(VA) โรงพยาบาลส่งเสริ มสุขภาพตาบลปากอ่าง อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร
คณะผู้วิจัย นายชเอม ขุมเพชร, นางสาวเอมอร พรมแก้ว,นางวริ นทร ทีเวียง,นางธนวรรณ ทรัพย์มาก
ปี ที่วิจัย 2559

บทคัดย่ อ

การวิจยั นี้ เป็ นการวิจยั เชิ งพรรณนา มี วตั ถุ ประสงค์เพื่อ ศึกษาผลการรักษาโรคตาด้วยหนาม


หวาย กลุ่มตัวอย่างคือผูป้ ่ วยโรคตา (ต้อลม/ต้อเนื้ อ/ต้อกระจก/ต้อหิ น) ที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาล
ส่งเสริ มสุขภาพตาบลปากอ่าง จานวน 50 ราย โดยคัดเลือกจากผูป้ ่ วยที่เป็ นโรคตา (ต้อลม/ต้อเนื้ อ/
ต้อกระจก/ต้อหิน) เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูล ซึ่ งประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วนคือ
ข้อ มู ลทัว่ ไปและข้อ มู ลผลการรักษา เก็บรวบรวมข้อ มู ล โดยการสัมภาษณ์ และโดยการตรวจระดับ
ความสามารถในการมองเห็น (VA) ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559- 30 สิ งหาคม 2559 โดยใช้สถิติ
พรรณนา ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจยั มีดงั ต่อไปนี้

ผลการทดสอบโดยการตรวจระดับความสามารถในการมองเห็น (VA) ก่อ นและหลังการ


รักษา แยกตามระดับ พบว่าก่อนการรักษาตาข้างขวาของผูป้ ่ วยอยูใ่ นระดับปกติ คิดเป็ นร้อยละ 36.00 ,
หลังการรักษาคิดเป็ นร้อยละ 54.00 , ตาข้างซ้ายก่อนการรักษาอยูใ่ นระดับปกติคิดเป็ นร้อยละ 48.00 ,
หลังการรักษาคิดเป็ นเป็ นร้อยละ 62.00

จากการศึ กษาเห็ น ว่า ควรส่ งเสริ ม ให้มีการรักษาโรคตาที่มีอ าการไม่ รุ นแรงด้ว ยภูมิ ปัญญา
พื้นบ้านเพือ่ ลดค่าใช้จ่ายและเวลาในการพักฟื้ นของผูป้ ่ วย และควรเพิ่มเวลาในการรักษาและเก็บข้อมูล
เพือ่ ให้เป็ นไปตามแนวทางการรักษาของหมอพื้นบ้านตามคู่มือการรักษาโรคต้อด้วยหนามหวาย โดย
ศาสตร์การแพทย์พ้นื บ้าน และการเก็บข้อมูลครั้งต่อไป ควรมีจกั ษุแพทย์ตรวจตาผูป้ ่ วยก่อนและหลัง
การรักษา เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลที่น่าเชื่อถือ
สารบัญ

หน้า
กิตติกรรมประกาศ ก
บทคัดย่อภาษาไทย ข
สารบัญ ค
บทที 1 1
บทนา 1
ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา 1
วัตถุประสงค์ของงานวิจยั 2
ขอบเขตของงานวิจยั 2
กรอบแนวคิดในการวิจยั 2
นิยามศัพท์เฉพาะ 3
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3
บทที่ 2 4
ทบทวนวรรณกรรม 4
บทที่ 3 32
วิธีการดาเนินการวิจยั 32
รู ปแบบการวิจยั 32
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 32
เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั 32
การเก็บรวบรวมข้อมูล 32
สถิติวเิ คราะห์ขอ้ มูล 32
บทที่ 4 33
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 33
บทที่ 5 36
สรุ ปผลอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 36
อภิปลายผล 36
ข้อเสนอแนะ 37
บรรณานุกรม 38
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ประวัติผวู ้ ิจยั 39
ภาคผนวก ข เครื่ องมือในการวิจยั 40
บทที่ 1
บทนา
ความเป็ นมาและความสาคัญ

ปั จจุบนั มีผปู ้ ่ วยเป็ นโรคตามีจานวนมาก และการรักษาแผนปั จจุบนั มีราคาแพง บางคนต้อง


ผ่าตัดใช้เวลาในการพักฟื้ นนาน ผูป้ ่ วยที่มีอาชีพต้องใช้แรงงานหรื อมีรายรับจากค่าแรงต้องหยุดพักฟื้ น
เป็ นเวลานาน ทาให้เป็ นปั ญหากับการดาเนินชีวติ ประจาวัน อาจส่งผลถึงสุขภาพจิต และร่ างกายด้านอื่น
เนื่องจากไม่มีรายได้สาหรับการใช้จ่าย การบ่งต้อด้วยวิธีทางการแพทย์แผนไทยเป็ นทางเลือกหนึ่ง
สาหรับการรักษาที่เสี ยค่าใช้จ่ายน้อย ผูป้ ่ วยสามารถใช้ชีวติ ประจาวันได้ตามปกติ ไม่ตอ้ งนอนพักฟื้ น
เป็ นเวลานาน

ดวงตา เป็ นอวัยวะสาคัญที่มีบทบาทและมีคุณค่ามากสาหรับเราทุกคน ประมาณกันว่า 70-80 %


ของสิ่งที่เรารับรู ้ และเรี ยนรู ้ ได้มาจากการมองเห็น การมองเห็นที่ชดั เจน จึงมีความสาคัญมากในการมี
ชีวติ อยูอ่ ย่างปกติสุข ตา คือส่วนรับแสงสะท้อนของร่ างกาย ทาให้สามารถมองเห็น และรับรู ้สิ่งต่างๆ
รอบตัวได้ ดวงตาประกอบด้วยส่วนที่มองเห็นจากภายนอก และส่วนที่อยูภ่ ายใน เช่น คิ้ว ขนตา เปลือก
ตา ต่อมน้ าตาและท่อระบายน้ าตาเบ้าตา เยือ่ บุตา กระจกตา ตาขาว ม่านตา แก้วตา จอตาและประสาทตา
กล้ามเนื้อกลอกตา และสารน้ าภายในลูกตา ในดวงตามีตวั รับความรู ้สึกชนิดต่างๆ ที่ไวต่อแสง ระบบ
ประสาทจะนาสัญญาณความรู ้สึกที่ได้รับเข้าสู่สมองและสมองทาหน้าที่แปลความหมายของภาพที่
มองเห็น ความลึกหรื อความสามารถในการบอกมิติและความสามารถในการป้ องกันตนเองดวงตายังมี
ขบวนการป้ องกันอันตรายหรื อการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของระบบการมองเห็น (รี เฟล็กซ์) หากสุขภาพ
ดวงตาเสียไป จะทาให้ไม่สามารถดารงชีวติ ได้ตามปกติ ต้องพึ่งพาผูอ้ ื่นและเป็ นภาระในการดูแลของ
ครอบครัวและสังคม

การแพทย์พน้ื บ้าน (Traditional Medicine) เป็ นภูมิปัญญาในการดูแล และบาบัดรักษาโรค ที่


เกิดจากประสบการณ์ตรงของผูค้ นในชุมชน ที่ผา่ น การลองผิดลองถูก มีการคิดค้น พัฒนา สัง่ สม และ
ถ่ายทอดกันมาหลายชัว่ อายุคน จนกลายเป็ นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปตามแต่สงั คมวัฒนธรรม และ
กลุ่มชาติพนั ธุ์ ทั้งวิธีการวินิจฉัยโรค การเรี ยกชื่อโรค และการรักษาโรค
การรักษาโรคตา ด้วยศาสตร์การแพทย์พ้นื บ้าน มีการสืบต่อกันมาเป็ นเวลาช้านาน แต่ไม่มี
ปรากฏหลักฐานเป็ นลายลักษณ์อกั ษร มีเพียงการสืบต่อกันมาแบบมอบตัวเป็ นศิษย์แล้วศึกษาอยูก่ บั ครู
เมื่อเรี ยนจบแล้วครู เห็นว่าศิษย์มีความรู ้ความสามารถ จึงอนุญาต ให้ออกไปรักษาได้ และครู หนึ่งคน
จะมีศิษย์จานวนไม่มาก
จากเหตุผลดังกล่าวทาให้ผวู ้ จิ ยั สนใจที่จะศึกษาผลของการรักษาโรคตาด้วยหนามหวาย ทั้งเป็ น
ทางเลือกหนึ่งสาหรับการรักษาที่เสียค่าใช้จ่ายน้อย ผูป้ ่ วยสามารถใช้ชีวิตประจาวันได้ตามปกติ ไม่ตอ้ ง
นอนพักฟื้ นเป็ นเวลานาน

วัตถุประสงค์
1. เพือ่ ศึกษาผลการรักษาโรคตาด้วยหนามหวาย โดยการตรวจระดับความสามารถในการมองเห็น
(VA)
ขอบเขตการวิจัย
การวิจ ัย ครั้ ง นี้ เป็ นการเก็ บ ข้อ มู ล การรั ก ษาของผูร้ ั บ การรั ก ษาโรคตา ที่ ม ารั บ การรั ก ษาที่
โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตาบลปากอ่ าง อาเภอเมื อ ง จังหวัดกาแพงเพชร วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษา
ผลการรักษาโรคตาด้วยหนามหวาย โดยการตรวจระดับความสามารถในการมองเห็ น (VA) เป็ น
เครื่ องมื อในการศึกษา ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาในผูป้ ่ วยโรคตา เช่ น โรคต้อลม ต้อเนื้ อ ต้อกระจก และต้อหิ น
ที่ม ารับ การรั ก ษาที่ โ รงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุ ขภาพต าบลปากอ่ า ง อ าเภอเมื อ ง จัง หวัด กาแพงเพชร
ระหว่างเดือนมิถุนายน ‟ สิงหาคม 2559

กรอบแนวคิดในการศึกษา
ตัวแปรต้ น ตัวแปรตาม

ผลการรักษาโรคตาด้วยหนามหวาย
ข้ อมูลทั่วไป
1. เพศ
ผลการรั ก ษาโรคตาด้ ว ย
2. อายุ
หนามหวาย โดยการตรวจ
3. การศึกษา
ระดับความสามารถในการ
4. อาชีพ
มองเห็น (VA)
5. รายได้
6.โรคประจาตัว
7.สิทธิการรักษา
นิยามศัพท์

โรคตา หมายถึง ผูป้ ่ วยที่ป่วยเป็ นโรคตาต้อลม/ต้อเนื้อ/ต้อกระจก


เพศ หมายถึง คือสิ่งที่แสดงลักษณะความแตกต่างระหว่างเพศชายและเพศหญิง
อายุ หมายถึง อายุนบั เป็ นจานวนปี เต็มของกลุ่มตัวอย่าง
ระดับการศึกษา หมายถึงระดับการศึกษาขั้นสูงสุดของกลุ่มตัวอย่าง
รายได้ หมายถึง รายรับ/เดือนของกลุ่มตัวอย่าง
อาชีพ หมายถึง อาชีพหลักของกลุ่มตัวอย่าง
โรคประจาตัว หมายถึง โรคหรื อกลุ่มอาการที่ผปู ้ ่ วยต้องรับประทานยาต่อเนื่อง
สิทธิ์การรักษา หมายถึง ความชอบธรรมที่ผปู ้ ่ วยจะพึงได้รับเพื่อคุม้ ครองหรื อ มีสิทธิเสมอ
กันในการรับบริ การทางสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานและผูย้ ากไร้มีสิทธิ ได้รับการรักษาพยาบาล
ต้นหวาย หมายถึง เป็ นไม้ป่าในพืชตระกูลปาล์มนิ ยมนามาใช้ประโยชน์ในหลายด้าน
โดยเฉพาะในการ จักสานเครื่ อ งใช้ต่างๆ รวมถึ งการนาหน่ อ หวายมาปรุ งอาหารซึ่ งให้รสชาตอร่ อ ย
เหมือนหน่อไม้ทวั่ ไป

ประโยชน์ ที่ได้ รับ


1. ผูป้ ่ วยโรคตามีคุณภาพชีวติ ที่ดีข้ นึ จากการมองเห็นชัดเจนขึ้น
2. เป็ นทางเลือกในการรักษาให้กบั ผูป้ ่ วยโรคตา
บทที่ 2
การทบทวนวรรณกรรม
ผู้วิจัยได้ ทาการศึกษาข้ อมูลต่ างๆที่เกีย่ วข้ อง ดังนี้
1. โรคต้อลม
2. โรคต้อเนื้อ
3. โรคต้อกระจก
4. โรคต้อหิน
5. การรักษาโรคตาด้วยหนามหวาย
6. ต้นหวาย
7. การประเมินความสามารถในการมองเห็นโดยการตรวจระดับความสามารถในการ
มองเห็น (VA)
1. โรคต้ อลม
ต้อลม(Pinguecula) เป็ นการเสื่อมของเยือ่ บุตาขาวที่พบได้บอ่ ย ไม่ใช่เนื้องอก มีลกั ษณะเป็ นก้อน
เนื้อขนาดเล็ก นูน สีขาวหรื อเหลืองอยูบ่ ริ เวณเยือ่ บุตาขาว มักพบบริ เวณทางด้านหัวตามากกว่าทางด้าน
หางตา หากไม่ได้รับการป้ องกันอย่างถูกต้องอาจมีการลุกลามขนาดใหญ่ข้ นึ กลายเป็ นแผ่นเนื้อเข้ามาใน
บริ เวณกระจกตาดาได้เรี ยกว่าต้อเนื้อ

สาเหตุ
ที่เชื่อกันว่าเป็ นตัวต้นเหตุโรคนี้ได้แก่ มลภาวะที่ตากระทบอยูเ่ สมอเป็ นประจา มีอยู่ 5 ประการ
ดังต่อไปนี้
1. ลม ลมในที่น้ ีหมายถึงลมที่พดั ไปมาในอากาศรอบๆตัวเรานี่แหละ โดยเฉพาะลมที่ค่อนข้างร้อนและ
แห้งแล้ง ยิง่ แถวๆ ดินแดนที่แห้งกันดาร ที่ราบสู ง หรื อกล่าวโดยทัว่ ๆ ไป ก็คือ ลมแถวๆ ประเทศที่อยู่
แนวศูนย์สูตรของโลกเรา (tropical zone) ได้แก่ ประเทศไทย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ ศรี ลงั กา เป็ นต้น
สาหรับลมที่มาจากพัดลมบนเพดานหรื อพัดลมตั้งโต๊ะ หรื อลมที่เป่ าออกมาจากเครื่ องปรับอากาศไม่
ค่อยเป็ นสาเหตุ
ลักษณะที่คนจะเกิดโรคนี้ดว้ ยการโดนลมธรรมชาติโกรกก็มีกลไกของมันอยู่ ชนิดที่ยนื อยู่
เฉยๆ ลมพัดเข้าตายังไม่เหมือนกับประเภทที่ขี่รถเครื่ องมอเตอร์ไซค์เดินทางไปไหนมาไหนบ่อยๆ เป็ น
ประจาด้วยตาเปล่า ไม่มีอะไรเป็ นเกราะกาบังลูกตาแม้แต่นอ้ ย ขี่มอเตอร์ไซค์ “ซิ่ง” จนผมลู่ไปด้านหลัง
ลืมตาโพลง บิดน้ ามันเกือบสุดเกย์ แบบนี้ตอ้ ลมชอบมาก พอดีพอร้ายแมลงบินเข้าตาผสมเข้าไปอีกแรง
ยิง่ สนุกกันใหญ่
2. ฝุ่ น ฝุ่ นละอองที่ปลิวอยูใ่ นอากาศ ฝุ่ นจากพื้นถนน จากพื้นที่แห้งแล้งหรื อควันจากท่อไอเสียรถเข้าตา
เป็ นนิจสิน เป็ นสาเหตุให้เกิดโรคนี้ มักจะมากับลมในข้อ 1 ปกติฝนที ุ่ ่ลอยไปมาอยูใ่ นอากาศจะไม่
รุ นแรงเท่าฝุ่ นที่มีความเร็ว หรื อเข้าไปสัมผัสมันด้วยความเร็ว คือ ขี่รถมอเตอร์ไซค์ผา่ นบริ เวณที่มีฝนุ่
มากๆนัน่ เอง จะสังเกตได้วา่ ในประเทศที่พฒั นาแล้วจะพบโรคนี้นอ้ ยมาก เป็ นเพราะบ้านเมืองเขาไม่
ค่อยมีฝนุ่ ตามท้องถนน ถนนหนทางปูลาดด้วยซีเมนต์หรื ออิฐตลอด หาพื้นที่ที่เป็ นดิน เป็ นฝุ่ น อย่างแถว
บ้านเราน้อย บ้านเราพอตกขอบถนนก็เป็ นพืน้ ทีฝ่ นุ่ จนกระทัง่ ถึงขอบตึกแถวรถวิง่ ผ่านไปฝุ่ นคลุง้ เต็มไป
หมด ลักษณะของความไม่เจริ ญยังปรากฏเด่นอยู่ ยิง่ แถวต่างจังหวัดด้วยแล้วแทบจะถือว่าเป็ นเอกลักษณ์
ของต่างจังหวัดทุกจังหวัดเลย คือ ฝุ่ นจากขอบถนน
3. แสงแดด แสงแดดในที่น้ ีหมายถึงแสงแดดที่ค่อนข้างรุ นแรง ที่มีไอร้อนสูง เพราะแสงที่มีความร้อน
ระอุสูงจะมีรังสีอลั ตราไวโอเลตอยูด่ ว้ ย และชนิดนี้มีผลทาให้ผวิ หนังดีๆ เป็ นมะเร็งได้ ดังนั้น เยือ่ บุตา
ซึ่งบางมาก ยิง่ ง่ายต่อการระคายเคืองจนเกิดต้อลม เวลาที่อนั ตรายสาหรับการกระทบแสงชนิดนี้เชื่อว่า
เป็ นช่วงตั้งแต่ 9 โมงเช้าจนถึง 3 โมงเย็น จึงควรพยายามหลีกเลี่ยงที่จะไปลืมตาให้โดนแสงแดดในเวลา
ดังกล่าว ถ้าเลี่ยงไม่ได้ควรสวมแว่นกันแดด ซึ่งอาจช่วยกันได้บา้ งแต่ไม่มากนัก เพราะแสงชนิดนี้
แว่นตากั้นไม่ได้ กั้นได้เฉพาะแสงจ้าๆที่มองเห็นเท่านั้น พอให้มืดสบายตา คนในประเทศทางแถบเขต
ร้อนจึงเป็ นโรคต้อลมกันมาก อีกโรคที่เป็ นมากเหมือนกัน คือ “ต้อเนื้อ” ซึ่งมีลกั ษณะคล้ายกันมาก
เพียงแต่ต่างกันที่รูปร่ าง คือ ต้อเนื้อจะเป็ นรู ปสามเหลี่ยมเล็กๆ แหลมๆ ยืน่ เข้าไปในตาดาคล้ายลิ้นหมา
บางคนจึงเรี ยกว่า “ต้อลิ้นหมา”
4. ความร้ อน ไอความร้อนทั้งหลาย ได้แก่ ความร้อนจากแสงอาทิตย์ ความร้อนจากเตาไฟ ความร้อน
จากสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากอะไรก็ตาม มีผลทาให้เกิดได้ ที่สาคัญคือความร้อนจากแสงแดด คนที่อยูก่ ลาง
แดดนานๆ เป็ นวันๆ เช่น ชาวไร่ ชาวนา คนงานก่อสร้าง ไม่วา่ จะสร้างตึก สร้างบ้าน สร้างทาง หรื อ
สร้างสะพาน เยือ่ ตาจะทนไม่ไหว
5. ไม่ ทราบสาเหตุ ไม่เคยสัมผัสกับสาเหตุ 4 อย่างดังกล่าวข้างต้นเลย แต่ก็ยงั เป็ นได้ กลุ่มนี้อาจมีตน้ ตอ
มาจากพันธุกรรมเช่นเดียวกับต้องเนื้อ ไม่เคยทางานกลางแจ้ง ไม่เคยขี่มอเตอร์ไซค์ ไม่เคยโดนฝุ่ น นัง่
ทางานในห้องแอร์ตลอดวันยังเป็ นต้อเนื้อ อายุก็เพียงยีส่ ิบกว่าๆ นัน่ แสดงว่า ได้รับมรดกมาจากปู่ ย่าตา
ทวดแน่ คือ ถ่ายทอดมาทางกรรมพันธุ์
ลักษณะของโรค
ต้อลมจะมีลกั ษณะเป็ นก้อนนูนสีเหลือง ขนาดหัวไม้ขีดไฟ พบอยูบ่ นเยือ่ ตาขาวใกล้ๆ กับขอบ
ตาด บริ เวณทางด้านหัวตาหรื อด้านหางตา กล่าวง่ายๆ ก็หมายถึง แนวที่เปลือกตาเปิ ดให้เยือ่ ตาขาว
กระทบสิ่งต่างๆ 4 อย่างที่กล่าวมาทั้งหมดนัน่ เอง แนวปิ ดเปิ ดเปลือกตา (palpebral fissure) จะไม่พบ
ก้อนนูนสีเหลืองของโรคนี้บริ เวณด้านบน หรื อด้านล่างของขอบตาดาเป็ นอันขาด ก้อนเหลืองที่วา่ นี้ ถ้า
ตัดออกไปส่องกล้องจุลทรรศน์ดูจะเป็ นชิ้นเนื้อเยือ่ พังผืดยืดหยุน่ (hyaline and elastic tissue) เท่านั้น จึง
สามารถขยายขนาดได้ถา้ ถูกกระตุน้ บ่อยๆ จาก 4 สาเหตุที่กล่าวมาแล้ว อาจเป็ นเพียงตาเดียว และด้าน
เดียว คือ ด้านหัวตาหรื อหางตา บางคนเป็ นสองตาทั้งหัวตาและหางตา จะสังเกตได้ง่ายมากในตาคนที่
อายุต้งั แต่ 40 ปี ขึ้นไป เห็นเป็ นก้อนนูนเหลืองที่ขอบตาดา เล็ก ใหญ่ มากน้อยแล้วแต่คน

อาการ

ต้อลมจะไม่มีอาการผิดปกติเช่นเดียวกับต้อเนื้อ เป็ นเพียงก้อนเหลืองสงบนิ่งที่ขอบตาดาเท่านั้น


บางคนอาจมีเส้นเลือดทอดมาหล่อเลี้ยงมากผิดปกติ เห็นเป็ นปื้ นเนื้อเยือ่ ชัดเจน แต่ถา้ โดนลม โดนฝุ่ น
มากๆ และรุ นแรง บวกกับร่ างกายอ่อนเพลีย ความต้านทานลดต่า ก็อาจเกิดอาการอักเสบที่ตอ้ ลมนี้ได้
จะเห็นเป็ นก้อนเหลืองนูนสูงขึ้นมาชัดเจน รอบๆ จะมีสีแดงของเส้นเลือดฝอยมาเลี้ยงมากมาย มีอาการ
ระคายเคือง น้ าตาไหล เจ็บเล็กน้อย อาจมีข้ ตี าออกมาบ้างเมื่อตื่นนอนตอนเช้าๆ โรคนี้ไม่หายขาด เป็ น
แล้วเป็ นอีก ตราบใดที่ยงั วนเวียนกระทบอยูก่ บั สิ่ งแวดล้อมทั้งสี่

การรักษา
1. ถ้าไม่อกั เสบ ไม่ตอ้ งรักษา แต่ถา้ ก้อนโตมาก อาจให้ยาหยอดตาชนิดแก้แพ้ เพือ่ ให้ยบุ การพองตัวลง
ได้บา้ งแต่ไม่สนิทมิดหมด
2. ถ้าอักเสบ (pingueculitis) ต้องรักษาด้วยการให้ยาหยอดตาแก้อกั เสบ ยาลดบวม ยาแก้แพ้ ไม่ควรออก
กลางแจ้งบ่อย หาแว่นกันแดดสวมใส่กนั ลมและฝุ่ นกระทบ
3. ถ้าก้อนโตมาก จนเกิดความราคาญ อาจผ่าตัดออกด้วยการให้ยาชาเฉพาะที่ (ใช้เวลาไม่เกิน 15 นาที)
จึงพอสรุ ปได้วา่ ต้อลมเป็ นโรคที่เกิดมาจากการโดนลมเป็ นส่วนใหญ่ ลมนี้จะหอบเอาฝุ่ นและ
ไอความร้อนและรังสีอลั ตราไวโอเลตติดมากระทบตาด้วย เมื่อเกิดเป็ นเวลาติดต่อกันนานๆ จนเป็ นผล
ให้เนื้อเยือ่ ที่กระทบเป็ นก้อนนูนขึ้นมา วันดีคนื ดีก็เกิดอักเสบได้ โรคนี้ไม่หายขาด แต่ไม่มีอนั ตราย
ร้ายแรงอะไรจึงเบาใจได้
การป้ องกัน
1. ป้ องกันและหลีกเลี่ยงสาเหตุที่อาจกระตุน้ ให้เกิดการอักเสบได้ เช่น การใส่แว่นป้ องกันแสงแดดหรื อ
ลมเมื่ออยูใ่ นที่กลางแจ้ง หลีกเลี่ยงการอยูใ่ นที่แสงแดดหรื อลมแรง
2. ยาหยอดตาเพือ่ ลดอาการ สาหรับผูท้ ี่เป็ นต้อลมที่มีอาการเคืองตา น้ าตาไหล ตาแดงอักเสบ จักษุแพทย์
อาจพิจารณาให้ยาหยอดตาเพือ่ บรรเทาอาการดังกล่าว ทั้งนี้ยาหยอดตาไม่สามารถทาให้ตอ้ ลมที่มี
หายไปได้ แต่เมื่อไม่มีการอักเสบและได้รับการป้ องกันอย่างถูกวิธี ต้อลมนั้นอาจนูนแดงลดลงได้

3. การผ่าตัดโดยทัว่ ไปต้อลมไม่จาเป็ นต้องได้รับการผ่าตัดเนื่องจากมักมีขนาดเล็กและไม่มีอาการ เป็ น


ภาวะที่ไม่มีอนั ตราย ไม่ทาให้สูญเสียการมองเห็น อาจพิจารณาการผ่าตัดในกรณี ที่ผปู ้ ่ วยมีอาการระคาย
เคืองอักเสบบ่อยและได้รับการรักษาด้วยยาหยอดตาแล้วไม่ทุเลา

2.โรคต้ อเนื้อ

ต้อเนื้อ มีลกั ษณะ เป็ นแผ่นเนื้ อรู ปสามเหลี่ยม งอกจากตาขาวลามเข้าไปในตาดา มักพบริ เวณ
หัวตามากกว่าหางตา ต้อเนื้อจะค่อยๆโต ลุกลามอย่างช้าๆเข้าไปในตาดา ถ้าเป็ นมากจะลามเข้าไปจนถึง
กลางตาดาปิ ดรู ม่านตา ซึ่ งจะปิ ดบังการมองเห็นทาให้ตามัวได้ เนื้ อดังกล่าวไม่ใช่มะเร็ ง ไม่ใช่เนื้ องอก
แต่เป็ นลักษณะของความเสื่อมของเยือ่ บุตาซึ่งเกิดจากแสงอัลตราไวโลเลตเป็ นหลักและไม่เป็ นอันตราย
แต่อ ย่างใดกับดวงตา แต่จะก่ อความราคาญเวลาอักเสบ บวมแดง จะรู ้สึกเคือ งตา ถ้าเป็ นเยอะก็จะมี
ปั ญหาเรื่ องสายตาเอียงได้ เพราะจะไปกดอยูท่ ี่กระจกตา เป็ นโรคกลุ่มเดียวกันกับต้อลม แต่มีการยืน่ เข้า
ไปในส่วนของกระจกตา(ตาดา)

สาเหตุ

-ต้อเนื้ อและต้อลมเป็ นโรคที่คล้ายคลึงกันเกิดจากสาเหตุเดียวกันคือเกิดเนื่ องมาจากแสงอลตราไวโอ


เลตทาให้เยือ่ บุตาบริ เวณนั้นเสื่ อมลง โรคนี้ จึงมักเกิดกับผูท้ ี่ทางานกลางแจ้ง ดังนั้นแพทย์จึงแนะนาให้
ผูป้ ่ วยโรคนี้ใส่แว่นกันแดดไว้เสมอในเวลาออกกลางแจ้ง
- โรคนี้จะเจอเยอะในประเทศที่อยูใ่ นแถบเส้นศูนย์สูตร (แสงอาทิตย์จะมีความร้อนมากกว่าประเทศที่
อยูห่ ่างเส้นศูนย์สูตร)
อาการ
ผูป้ ่ วยเป็ นโรคต้อเนื้อและโรคต้อลมจะมีอาการเคืองตาแสบตา น้ าตาไหล ตาแดง คันตา ถ้าเป็ น
น้อยจะไม่ทาให้ตามัว
การรักษา
การผ่ าตัดต้ อเนื้อ

การผ่าตัดลอกต้อเนื้อควรทาผ่านกล้องจุลทรรศน์โดยจักษุแพทย์เพราะหลังจากลอกต้อเนื้อไปแล้ว
ในบางรายอาจกลับเป็ นใหม่ได้ ซึ่งมักเป็ นมากกว่าเดิม คือต้อเนื้อที่ข้ นึ ใหม่น้ ีจะแดงหนาและอักเสบมาก
กว่าเดิม และการรักษาโดยการลอกใหม่อี กครั้งจะยากกว่าการลอกครั้งแรกด้วย ดังนั้นการดูแลหลัง
ผ่าตัด เป็ นเรื่ องที่สาคัญมาก
การลอกต้ อเนื้อ มีหลายวิธีดงั นี้
วิธีที่ 1 ลอกต้อเนื้อ (Bare sclera) โดยการตัดเนื้อออกจากเยือ่ ตาขาวและลอกต้อส่วนที่ติดอยูบ่ นตาดา
ออกวิธีน้ ีมีอตั ราการเกิดซ้ าเยอะมาก ใช้ในผูป้ ่ วยที่มีอายุมากๆ หรื อในผูป้ ่ วยที่ตอ้ เนื้อไม่มีการอักเสบเลย
วิธีที่ 2 ลอกต้อเนื้อและใช้เยือ่ บุตามาแปะ (Conjunctival graft) ทาตามวิธีที่1 ร่ วมกับการตัดเอาเยือ่ ตา
ขาวจากด้านบนของลูกตา มาแปะลงบริ เวณตาขาวที่ได้รับการลอกต้อเนื้ออกไปแล้ว และเย็บด้วยไหม
หรื อใช้ Fibrin glue การทากราฟ เป็ นวิธีที่ดีมากในการป้ องกันการกลับเป็ นใหม่
วิธีที่ 3 การลอกต้อเนื้อ และเอาเยือ่ หุม้ รกมาแปะ (Amnion graft) จะใช้เยือ่ หุม้ รกซึ่งผ่านการเตรี ยมและ
เก็บรักษาไว้ มาแปะแทนเยือ่ บุตา ใช้ในกรณี ที่เป็ นครั้งแรก,ต้อเนื้อขนาดใหญ่,จาเป็ นต้องเก็บเยือ่ บุตาไว้
รักษาโรคอื่น ข้อดีคือไม่ตอ้ งลอกเยือ่ บุตาของคนไข้เอง แต่ความสวยงามสูใ้ ช้เยือ่ บุตาธรรมชาติของ
คนไข้ไม่ได้ และกรณี ที่ตอ้ เนื้อขนาดใหญ่มากๆ การจะใช้เยือ่ บุตาธรรมชาติอาจจะไม่พอ จึงต้องใช้เยือ่
หุม้ รกมาแปะ
การป้ องกัน
1. ใส่แว่นกันแดด, สวมหมวก, กางร่ ม ในเวลาที่ออกกลางแจ้ง
2. ไม่จาเป็ นต้องรักษาในรายที่มีอาการไม่มาก
3. ใช้ยาหยอดตาในผูท้ ี่มีอาการเคืองตา ตาแดง น้ าตาไหล แต่ยาหยอดตาไม่สามารถทาให้ตอ้ เนื้ อ
หายไป
4. ต้อเนื้อที่เป็ นน้อยไม่จาเป็ นต้องผ่าตัดออกเพราะไม่อนั ตรายต่อตา
5. การผ่าตัดจะทาให้ผูป้ ่ วยต้อเนื้ อที่มี อาการมากหรื อต้อ เนื้ อ ที่ลุกลามเข้าไปบนกระจกตาดามา
พอสมควรและ/หรื อมีผลทาให้ตามัว

3.โรคต้ อกระจก

ต้อกระจก เป็ นโรคที่เกิดจากเลนส์แก้วตาเสื่อมสภาพจนมีความขุ่นมัวเกิดขึ้น ทาให้บดบังแสง


ที่จะผ่านเข้าไปในตา แสงจึงส่งผ่านไปยังประสาทตาไม่เต็มที่ ทาให้การมองเห็นไม่ชดั เจนหรื อมีอาการ
ตามัวได้

สาเหตุ
สาเหตุหลักที่ทาให้เกิดต้อกระจกคือ อายุที่เพิม่ ขึ้น พบว่าต้อกระจกสามารถเกิดขึ้นได้กบั ทุกคน
ไม่ชา้ ก็เร็ว แต่จะพบมากในผูส้ ูงอายุ
ปัจจัยส่ งเสริมที่ทาให้ เกิดโรคต้ อกระจกก่อนวัย
1. การได้รับแสงอัลตราไวโอเลตเข้าตาเป็ นเวลานานๆ
2. โรคเกี่ยวกับตา เช่น ม่านตาอักเสบ ตาติดเชื้อ
3. โรคประจาตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ต่อมไทรอยด์ผดิ ปกติ
4. การเกิดอุบตั ิเหตุที่ดวงตาหรื อดวงตาได้รับการกระทบกระเทือนบ่อยๆ
5. ความผิดปกติแต่กาเนิด เช่น เด็กแรกเกิดที่มารดาเป็ นหัดเยอรมันขณะตั้งครรภ์
6. การใช้ยากลุ่มสเตียรอยด์

อาการ
ตามัว/มองเห็นไม่ชดั เจนโดยไม่มีอาการเจ็บปวด โดยเฉพาะเมื่ออยูใ่ นที่มีแสงสว่างจ้า แต่กลับ
มองเห็นเกือบปกติในที่มืดสลัว มองเห็นภาพซ้อน เกิดจากความขุ่นของเลนส์แก้วตาไม่เท่ากัน การหัก
เหของแสงไปที่จอประสาทตาจึงไม่รวมเป็ นจุดเดียว มองเห็นแสงไฟกระจาย โดยเฉพาะเวลาขณะขับ
รถในตอนกลางคืน เปลี่ยนแว่นตาบ่อย มองเห็นในระยะใกล้ดีข้ นึ หรื อไม่ตอ้ งใส่แว่นตาในระยะมอง
ใกล้ เห็นฝ้ าขาวบริ เวณกลางรู ม่านตา
การรักษา
การรักษาขึ้นกับสภาพของต้อกระจกกล่าวคือ ต้อที่เพิง่ จะเริ่ มเป็ นและเป็ นไม่มาก ต้องรอให้ตอ้
สุกเสียก่อน ระหว่างนี้ก็ให้ตรวจตาตามแพทย์นดั ต้อที่แก่หรื อสุกก็ผา่ ตัดซึ่งไม่จาเป็ นต้องรี บร้อน หาก
เตรี ยมตัวพร้อมก็ผา่ ตัด ต้อที่สุกและเริ่ มมีโรคแทรกซ้อนให้ทาการผ่าตัด
การรักษาต้อกระจกทาได้โดยการผ่าตัดนาเลนส์แก้วตาที่ข่นุ ออกแล้วใส่ เลนส์แก้วตาเทียมเข้า
ไปแทนที่ โดยวิธีการผ่าตัดที่เป็ นที่นิยมในปั จจุบนั ได้แก่
1.การสลายต้ อกระจกด้ วยคลื่นเสี ยงความถี่สูง (phacoemulsification)
2.การผ่ าตัดต้ อกระจกและฝังเลนส์ เทียมโดยใช้ เลเซอร์ (femtosecond laser) เป็ นวิวฒั นาการของ
การผ่าตัดต้อกระจก ซึ่งแต่ก่อนจะต้องทาการผ่าตัดรักษาโดยใช้มีดเปิ ดแผลที่บริ เวณขอบกระจกตาดา
ของผูป้ ่ วย แล้วสอดเครื่ องมือเพือ่ ดูดสลายต้อกระจกด้วยอัลตราซาวนด์ จากนั้นจึงใส่เลนส์แก้วตาเทียม
เข้าไปทดแทน วิธีน้ ีมีขอ้ จากัด คือ การใช้ใบมีดในการเปิ ดแผลและการเปิ ดถุงหุม้ เลนส์อาจมีความ
แม่นยาน้อย ทาให้แผลอาจมีความบอบช้ าสูงได้

การป้ องกัน
1. นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
2. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
3. พักสายตาเป็ นระยะหากต้องใช้สายตาติดต่อกันเป็ นเวลานาน
4. สวมแว่นกันแดดที่กรองแสงอัลตราไวโอเลต ไม่จอ้ งมองดวงอาทิตย์โดยตรง
5. หลีกเลี่ยงอุบตั ิเหตุที่อาจเกิดขึ้นกับดวงตา อย่าให้ดวงตาโดนกระแทก
6. ตรวจสุขภาพตาเป็ นประจา โดยผูท้ ี่มีอายุมากกว่า 40 ปี ขึ้นไปควรตรวจสุขภาพตาทุกปี

4.โรคต้ อหิน
โรคต้อหินเป็ นโรคของดวงตาที่พบบ่อย และมีอนั ตรายอย่างมากถึงขั้นตาบอดสนิท ถ้าไม่รักษา
หรื อรักษาไม่สม่าเสมอ จะทาให้ลานสายตาหรื อความกว้างของการมองเห็นแคบเข้า จนกระทัง่ สู ญเสีย
การมองเห็นไปทั้งหมดได้ ซึ่งการสูญเสียการมองเห็นจากโรคต้อหินนั้น เป็ นการสูญเสียถาวรไม่
สามารถจะแก้ไขให้คืนมาได้
ลักษณะของต้ อหิน
ต้อหินเป็ นหนึ่งในกลุ่มโรคต้อตามที่ประชาชนเรี ยกกันโดยทัว่ ๆไป ที่พบบ่อย ๆ มีตอ้ กระจก ต้อ
เนื้อ ต้อลม และต้อหิน แต่ตอ้ หินเป็ นต้อเพียงชนิดที่ไม่มีตวั ต้อให้เห็น เพราะต้อหินจริ งๆแล้วเป็ นกลุ่ม
โรคที่มีการเปลี่ยนแปลงถูกทาลายของขั้วประสาทตา ซึ่งเป็ นตัวนากระแสการมองเห็นไปสู่สมอง ซึ่ง
เมื่อขั้วประสาทตาถูกทาลายจะมีผลทาให้สูญเสียลานสายตา เมื่อเป็ นมาก ๆ ก็สูญเสียการมองเห็นใน
ที่สุด เป็ นการสูญเสี ยถาวรรักษาให้กลับคืนมามองเห็นไม่ได้ โดยอาการที่พบสาคัญมีแทบในทุกรายก็
คือ มีความดันในลูกตาเพิม่ สูงขึ้น เป็ นปั จจัยเสี่ ยงที่สาคัญที่ทาให้ข้วั ประสาทตาถูกทาลายได้ง่าย

สาเหตุ
สาเหตุส่วนใหญ่จะเกิดจากการเสื่อมของร่ างกายเอง โรคต้อหินเป็ นกลุ่มโรคที่มีการเปลี่ยนแปลง
ทาลายของขั้วประสาทตา ไม่มีสาเหตุปัจจัยภายนอก หรื อพบร่ วมกับโรคทางตาอื่น ๆ ที่แทรกซ้อนมา
จากอุบตั ิเหตุหรื อการผ่าตัดรักษาโรคอื่น ๆ ในดวงตา หรื อแม้แต่เกี่ยวพันกับโรคทางกายอื่น ๆ ปั จจัย
เสี่ยงที่สาคัญที่สุด และเป็ นปั จจัยอย่างเดียวที่ควบคุมเปลี่ยนแปลงได้ก็คอื ความดันในลูกตาที่เพิม่ สูงขึ้น
ซึ่งอาจจะเพิม่ สูงขึ้นเองตามธรรมชาติ เนื่องจากความเสื่อมข้างในลูกตาหรื อเพิม่ สูงขึ้นเนื่อง

กลุ่มผู้ป่วยทีพ่ บมากทีส่ ุ ด
พบได้ต้งั แต่เด็กแรกเกิดจนถึงผูส้ ูงอายุ แต่กลุ่มที่พบมากที่สุด คือกลุ่มผูส้ ูงอายุ โดยผูม้ ีอายุ
มากกว่า 40 ปี ขึ้นไป โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูท้ ี่มีญาติใกล้ชิด เช่น พีน่ อ้ งบิดามารดาเป็ นต้อหิน จะมีความ
เสี่ยงต่อการเกิดโรคต้อหินมากกว่าบุคคลอื่นๆ คนที่มีระดับความดันตาปกติคอ่ นข้างสูงโดยเฉพาะสูง
มากกว่า 21 มิลลิเมตรปรอทขึ้นไป ซึ่งในอนาคตมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหินมากกว่าคนทีม่ ีความ
ดันตาปกติค่อนข้างต่า นอกจากนี้ยงั พบในคนไข้ที่เป็ นเบาหวานได้ ค่อนข้างมาก อาจจะมากกว่าคน
ปกติโดยทัว่ ไป หรื อพบในคนไข้ที่มีโรคการไหลเวียนเลือดไม่ดีทาให้เลือดไปเลี้ยงที่ข้วั ประสาทตาไม่ดี
คนที่สายตาสั้น หรื อยาวมากๆ ก็มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดต้อหินแตกต่างชนิดกันไป

ระยะเวลาของการเกิดโรคต้ อหิน
การดาเนินของโรคจากเริ่ มเป็ นจนถึงการสูญเสียการมองเห็น ใช้เวลานานเป็ นปี ๆ โดยเฉพาะ
อย่างยิง่ ต้อหินที่เกิดจากความเสื่อม ซึ่งไม่มีอาการใด ๆ จนกระทัง่ สูญเสียการมองเห็น ซึ่งใช้เวลา 5 - 10
ปี จะเร็วหรื อช้าขึ้นอยูก่ บั ว่าจะตรวจพบต้อหินระยะใด เช่น พบตั้งแต่ระยะเพิง่ เริ่ มเป็ นจะสามารถคุมไว้
ได้ และอาจจะไม่สูญเสียการมองเห็น แต่ถา้ ตรวจพบต้อหินระยะที่เป็ นมากแล้วหรื อระยะท้ายๆ คนกลุ่ม
นี้อาจสูญเสียการมองเห็นได้ในเวลาอันรวดเร็วอาจจะเป็ นเดือนก็ตาบอด
อย่างไรก็ตาม คนทัว่ ไปจะไม่ทราบว่าตัวเองนั้นเริ่ มเป็ นต้อหิน ยกเว้นต้องมาให้จกั ษุแพทย์ตรวจ
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกลุ่มต้อหินที่เป็ นระยะเรื้ อรังจากความเสื่อมที่ค่อยเป็ นค่อยไป แต่จะมีอีกกลุ่มหนึ่ง
ซึ่งเรี ยกว่า ต้อหินเฉียบพลัน ซึ่งจะมีอาการปวดตา ตาแดงทันทีทนั ใด ปวดมากจนคลื่นไส้อาเจียนต้อง
มาโรงพยาบาล ซึ่งพบได้ไม่นอ้ ย

ขั้นตอนการตรวจหาต้ อหิน
เริ่ มแรกจะต้องวัดการมองเห็นก่อนว่าอยูใ่ นเกณฑ์ปกติหรื อไม่ ที่เน้นสาหรับการตรวจต้อหิ น คือ
การวัดความดันลูกตาซึ่งเป็ นการตรวจที่สาคัญมากของการตรวจต้อหิ นเพราะเป็ นปั จจัยเสี่ ยงเพียงอย่าง
เดียวที่ควบคุมได้นอกจากนั้นยังตรวจการทางานและรู ปร่ างลักษณะของขั้วประสาทตาซึ่ งเป็ นอวัยวะที่
กระทบกระเทือนโดยตรงจากต้อหิน

ลักษณะการสู ญเสี ยของต้ อหิน


การมองในทางตรงจะยังมองเห็นอยู่ โดยที่การมองเห็นนั้นจะค่อย ๆ แคบเข้า ที่เรี ยกว่า ลาน
สายตาผิดปกติ คือโดยปกติคนเรามองตรงไปข้างจะมองเห็น ด้านข้างก็จะพอมองเห็นถึงแม้จะไม่ชดั
เหมือนจุดที่เรามองตรง แต่ในกลุ่มคนที่เป็ นต้อหินนั้น การมองเห็นด้านข้างจะค่อย ๆ แคบเข้า ๆ ช้า ๆ
ส่วนใหญ่แล้วมักจะไม่ทราบและจะบอกไม่ได้เพราะจะใช้สองตาช่วยดูกนั อยูเ่ พราะไม่ได้เปิ ดตาเดินที
ละข้าง และทดสอบตัวเองเป็ นประจา และยังทากิจวัตรประจาวันได้ตามปกติจนกระทัง่ การสูญเสียลาน
สายตานั้นเข้ามาถึงบริ เวณตรงกลางแล้ว ทาให้ภาพที่เรามองนั้นไม่ชดั จึงมาพบแพทย์ ซึ่งอาการดังกล่าว
เป็ นระยะท้าย ๆ แล้ว

วิธีการรักษาโรคต้ อหิน
หลักการรักษา ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น คือลดความดันตา เพราะเป็ นปั จจัยเสี่ ยงเพียงอย่างเดียวที่
ควบคุมได้ การลดความดันในลูกตานั้นมี 3 วิธีหลัก ๆ คือ ใช้ยา ใช้เลเซอร์ผา่ ตัด โดยทัว่ ไปการรักษาต้อ
หินนั้น จะมีบางกลุ่มมีขอ้ บ่งชี้ที่จาเป็ นต้องใช้เลเซอร์ แต่โดยทัว่ ไปนั้นต้องพยายามควบคุมด้วยยาให้ได้
ก่อน เพราะถ้าควบคุมด้วยยาหรื อเลเซอร์ไม่ได้ แล้วจึงผ่าตัดรักษา ความก้าวหน้าของการรักษา แต่เดิมมี
เพียงยาหยอด 5-6 ชนิด ปั จจุบนั มียาหยอดรักษาต้อหิน 14 ชนิด นอกจากจะมียาหยอดตาแล้ว ยังมียากิน
ยาเม็ด ยาน้ าที่ช่วยลดความดันตาได้ ส่วนการรักษาทางด้านเลเซอร์มีขอ้ บ่งชี้เฉพาะของต้อหินแต่ละ
อย่างไป ไม่ได้เปลี่ยนแปลงมากนัก สาหรับการผ่าตัดต้อหินเพือ่ ลดความดันลูกตา แพทย์จะต้องมีการ
เจาะรู ที่ผนังลูกตาให้น้ าข้างในออกมาอยูท่ ี่ใต้เยือ่ บุตาเพือ่ ลดความดันข้างในลูกตา การผ่าตัดต้อหินคงจะ
เป็ นการผ่าตัดเดียวที่ไม่ตอ้ งการให้แผลหาย เพราะต้องการให้น้ าระบายออกมา นอกจากนี้ ยังมีการใช้
สารเคมีบาบัดหรื อยาที่ใช้รักษามะเร็งมาช่วยเสริ มการผ่าตัดไม่ให้ร่างกายสร้างพังผืดขึ้นมาปิ ดรู น้ นั เพือ่
จะได้ระบายน้ าออกจากรู น้ นั ได้นานขึ้นหรื อตลอดชีวติ ถ้าผ่าตัดด้วยวิธีดงั กล่าวแล้วยังไม่เห็นผลร่ างกาย
ยังสร้างพังผืดมาปิ ดแผลหมด ยังได้คิดค้นสร้างท่อระบายฝังท่อเข้าไปในลูกตา แล้วระบายน้ าออกไปใต้
เยือ่ บุตาทางด้านหลังลูกตา ซึ่งโอกาสจะเกิดพังผืดขึ้นมาปิ ดดวงตานั้นน้อยกว่าการผ่าตัดโดยทัว่ ๆ ไป
หลังจากช่วงการผ่าตัดระยะแรกจะมีการอักเสบบ้าง อาจจะมองไม่คอ่ ยชัดในช่วงแรก เมื่อสู่สภาพปกติ
ประมาณ 4-6 สัปดาห์ไปแล้ว ก็จะกลับมามองเห็นเหมือนก่อนการผ่าตัดไม่ได้ดีข้ นึ หรื อแย่ลงไปจากเดิม
ถึงแม้วา่ ผูป้ ่ วยจะได้รับการผ่าตัดแล้ว ก็ยงั จะต้องมีการควบคุมไปตลอดชีวติ จึงต้องหมัน่ มาหาแพทย์
อย่างสม่าเสมอ
ต้อหินเป็ นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดตาบอดชนิดถาวร โดยประมาณมีประชากรโลกคนตาบอด
ร้อยละ 10 จากต้อหิน โรคนี้เมื่อมีการสูญเสียการมองเห็นแล้ว จะไม่กลับคืนมาเป็ นปกติได้ ไม่วา่ จะ
รักษาด้วยวิธีผา่ ตัด ทาได้มากที่สุดก็คือ ควบคมไม่ให้มนั ลุกลามมากขึ้นจากวันที่ตรวจพบ สิ่งที่สาคัญคือ
ถ้าเราตรวจพบยิง่ เร็วก็จะสามารถรักษาการมองเห็นไว้กบั เราได้นานขึ้น ถ้าตรวจพบช้า มีการสูญเสีย
การมองเห็นไปมากแล้ว ไม่สามารถจะนากลับมาเป็ นเหมือนได้ ถ้าพบว่าเป็ นต้อหิน ก็จะต้องได้รับการ
ตรวจ รักษาควบคุมสม่าเสมอ

การป้ องกัน
แม้วา่ โรคทาให้เกิดการทาลายเส้นประสาทตา และทาให้สูญเสียการมองเห็นอย่างถาวร แต่หาก
รักษาตั้งแต่ระยะแรก จะสามารถป้ องกันการสูญเสียการมองเห็น หรื อควบคุมไม่ให้สูญเสียการมองเห็น
เพิม่ ขึ้นได้ จึงควรปฏิบตั ิตวั ดังนี้
1. ตรวจสายตาอย่างสม่าเสมอ โดยเฉพาะเมื่ออายุมากว่า 40 ปี ควรตรวจสายตาทุกปี
2. หยอดยาตามแพทย์สงั่ อย่างสม่าเสมอ และไม่ควรซื้อยาหยอดตาใช้เอง
3. พบแพทย์ตามนัดทุกครั้ง
4. ควบคุมโรคประจาตัวให้อยูใ่ นเกณฑ์ปกติ
5. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ มีวติ ามินบารุ งสายตา
5.การรักษาโรคตาด้ วยหนามหวาย
การแพทย์พ้นื บ้าน (Traditional Medicine) เป็ นภูมิปัญญาในการดูแล และบาบัดรักษาโรค ที่
เกิดจากประสบการณ์ตรงของผูค้ นในชุมชน ที่ผา่ น การลองผิดลองถูก มรการคิดค้น พัฒนา สัง่ สม และ
ถ่ายทอดกันมาหลายชัว่ อายุคน จนกลายเป็ นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปตามแต่สงั คมวัฒนธรรม และ
กลุ่มชาติพนั ธุ์ ทั้งวิธีการวินิจฉัยโรค การเรี ยกชื่อโรค และการรักษาโรค

ลักษณะเด่ นของการแพทย์ พนื้ บ้ านมีดังนี้


๑. เป็ นระบบการแพทย์แบบองค์รวม
๒. วินิจฉัยและรักษาโรคโดยบริ บททางสังคมวัฒนธรรม
๓. รักษาได้ผลดีในกลุ่มอาการทางโรคที่ไม่ชดั เจนระหว่างโรคทางกาย และ โรคทางจิต
๔. สอดคล้องกับวิถีชุมชน
๕. มีประสิทธิภาพในการรักษาโรคบางโรคได้แน่นอน เช่นงูสวัด
๖. เสี ยค่าใช้จ่ายน้อย
๗. ผูป้ ่ วยมีความพอใจในรู ปแบบการบริ การ เพราะไม่ยงุ่ ยากซับซ้อน

ประวัติความเป็ นมา
การรักษาโรคต้อด้วยหนามหวาย ด้วยศาสตร์การแพทย์พ้นื บ้าน มีการสืบต่อกันมาเป็ นเวลาช้า
นาน แต่ไม่มีปรากฏหลักฐานเป็ นลายลักษณ์อกั ษร มีเพียงการสืบต่อกันมาแบบมอบตัวเป็ นศิษย์แล้ว
ศึกษาอยูก่ บั ครู เมื่อเรี ยนจบแล้วครู เห็นว่าศิษย์มีความรู ้ความสามารถ จึงอนุญาต ให้ออกไปรักษาได้
และครู หนึ่งคนจะมีศิษย์จานวนไม่มาก ปั จจุบนั มีผสู ้ ืบทอดต่อวิชานี้คือนายชเอม ขุมเพชร ซึ่งเป็ น
แพทย์แผนไทยประยุกต์ โดยการรักษาจะใช้หนามหวายขม ซึ่งมีความแหลมคม บ่งไปที่บริ เวณ
ด้านหลังของผูป้ ่ วย ซึ่งจะมีจุดเป็ นลักษณะเฉพาะ เรี ยกว่าจุดต้อ แล้วดึงใยสีขาวๆที่อยูใ่ นจุดต้อออกมา
แต่ละคนจะบ่งไม่เกิน 3 จุด โดยจะทาติดต่อกัน 3 วัน ใน 3 วันนี้จะต้องไม่ตรงวันพระ

อุปกรณ์ในการรักษา
1.สาลี
2.แอลกอฮอล์
3.ถุงมือปลอดเชื้อ
4.หนามหวาย
อุปกรณ์ในการไหว้ ครู
1.กล้วยน้ าว้าห่าม 1 หวี
2.เทียนน้ ามนต์ 1 เล่ม
3.เงินสาหรับไหว้ครู จานวน 12 บาท

เวลาในการรักษา
ผูป้ ่ วยจะต้องทาการรักษาต้อเป็ นจานวนทั้งสิ้น 3 วัน ติดกัน

ขั้นตอนการรับบริการและรักษาโรคต้ อ
หากเราคุน้ ชินกับการรักษาด้วยการแพทย์พ้นื บ้านคงจะเข้าใจว่าการรักษานั้นมักจะพ่วงมาด้วย
พิธีกรรม ความเชื่อ ซึ่งล้วนมีผลต่อการรักษาและการหายจากอาการป่ วยของคนไข้ท้ งั สิ้ น โดยมีลาดับ
ขั้นตอนดังต่อไปนี้
1.ซักประวัติ สอบถามอาการของคนไข้และประวัติการรักษา ก่อนทุกครั้ง
2.ไหว้ครู เพือ่ แสดงความเคารพครู บาอาจารย์ที่ได้ถ่ายทอดวิชาความรู ้ เพราะเชื่อว่าจะช่วยให้การรักษา
ประสบความสาเร็จ โดยมีของไหว้ครู คือ กล้วยน้ าว้าห่าม 1 หวี เทียนน้ ามนต์ 1 เล่ม และเงินสาหรับ
ไหว้ครู 12 บาท
3.ตรวจร่ างกาย ตรวจดวงตาและค้นหาจุดบริ เวณหลัง โดยให้คนไข้นั่งหันหลังและเปิ ดเสื้ อออก ซึ่ งจุด
จะมีสีที่แตกต่างกันออกไปตามชนิดของโรคต้อ
4.การรักษา ใช้สาลีชุบแอลกอฮอล์เช็ดบริ เวณจุดที่ตอ้ งการบ่งเพื่อฆ่าเชื้อ และหมอต้องใส่ ถุงมือทุกครั้ง
ขณะการรักษา
5.นาหนามหวายขมที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อแล้ว มาบ่งจุดที่ตรวจเจอ โดยบ่งหนามหวายลงไปที่ตุ่มเพื่อ
เปิ ดแผลเล็กน้อย แล้วใช้หนามเขี่ยเนื้ อเยือ่ ที่มีลกั ษณะเป็ นใยสี ขาวๆออกมา แล้วท่องคาถาเพื่อปิ ดแผล
การบ่งต้อ จะทาครั้งละไม่เกิน 3 จุด
6.เมื่อบ่งต้อเสร็จหมอจะบอกข้อห้ามต่างๆและวิธีการดูแลตัวเอง คือ ห้ามกินกล้วยทุกชนิ ด หลีกเลี่ยง
การกิ นหน่ อ ไม้ ชะอม ของหมักดอง อย่าให้ลมและเหงี่อ เข้าตา รวมไปถึ งไม่ควรยกของหนักและ
ทางานหนัก
คาถาไหว้ ครู
ท่องนะโม (3 จบ) อิติปิโสภะคะวา มือของข้าพเจ้าทั้ง 10 นิ้ ว ยกขึ้นเหนื อคิ้ว ประนมนมัสการ
ข้าพเจ้าจะขอนอบน้อมแด่คุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ คุณบิดามารดา คุณครู บาอาจารย์
ครู อรุ ณ นนทวารี ครู สงคราม อิ นทร์บวั ครู ชะเอม ขุมเพชร ณ บัดนี้ ได้อุบตั ิมาแล้ว ขอให้มาประ
สิทธิ ในการบ่งต้อทาตาของข้าพเจ้า ให้ประสบความสาเร็จด้วยเทอญ
สิทธิกิจจัง สิทธิกมั มัง สิทธิการิ ยะตะถาคะโต สิ ทธิเตโช ชะโยนิ จจัง สิ ทธิลาโภ นิ รันตะรัง
สัพพโสตถี ภะวันตุเม

คาถาขอขมาเจ้ าที่( ท่องเวลาที่ไม่ได้ทาการรักษาในเรื อนนอน )


อิติสุคะโต อะระหังพุทโธ นะโมพุทธายะ ปะถะวีคงคา พระภูมะเทวา ขมามิหงั

คาถาลากล้ วย
เสสังมังคลา ยาจามิ ขอขอบคุณครู บาอาจารย์ ครู อรุ ณ นนทวารี ครู สงคราม อินทร์บวั
ครู ชะเอม ขุมเพชร
หมายเหตุ : หลังจากทาการรักษาครบ 3 วันแล้ว ให้ลากล้วย และแยกเทียนกับกล้วยออกจากกัน โดย
ห้ามให้ผปู ้ ่ วยนากลับไป และห้ามคนในเรื อนนามารับประทาน

คาถาบ่ งต้ อ
ท่องนะโม (3 จบ)
พุทธังมลาย ธัมมังมลาย สังฆังมลาย พุทธังปั จจะขามิ ธัมมังปั จจะขามิ สังคังปั จจะขามิ คิหิ
ติมงั ทาเรถะ ปั จจุธะรามิ
ทุติยมั ปิ พุทธังมลาย ธัมมังมลาย สังฆังมลาย พุทธังปั จจะขามิ ธัมมังปั จจะขามิ สังคังปั จจะ
ขามิ คิหิติมงั ทาเรถะ ปั จจุธะรามิ
ตติยมั ปิ พุทธังมลาย ธัมมังมลาย สังฆังมลาย พุทธังปั จจะขามิ ธัมมังปั จจะขามิ สังคังปั จจะ
ขามิ คิหิติมงั ทาเรถะ ปั จจุธะรามิ
อธิบาย : เมื่อบ่งต้อครบ 3 จุดแล้ว ให้รวมหนามทั้ง 3 อัน วางราบทับไปที่จุดบ่งตามลาดับ มืออีกข้าง
หนึ่ง ( นิ้วชี้ ) แตะที่ปลายหนามทั้ง 3 แล้วท่องคาถาบ่งต้อ จุดละ 1 รอบ โดยตั้งนะโม 3จบ เฉพาะจุด
แรก เมื่อครบ 3 จุดแล้ว ให้หกั หนามให้ขาดจากกัน แล้วบอกให้ผปู ้ ่ วยลุกเร็วๆ
ข้ อห้ ามของหมอ
1. ห้ามกินกล้วยทุกชนิดตลอดชีวติ
2. ห้ามกินของเส้นไหว้ทุกชนิด ยกเว้น - เดนพระ เช่น ทาบุญตักบัตร หรื อ หรื อข้าวพระพุทธ
เป็ นต้น- เดนพ่อแม่ - เดนครู (ครู อรุ ณ, ครู สงคราม และ ครู ชะเอม )
3. ห้ามเรี ยกร้องเงินทองทรัพย์สินในการรักษา
4. ห้ามเผยแพร่ สอนต่อ ห้ามบอกต่อ ห้ามบอกให้รู้

ข้ อห้ ามสาหรับคนไข้
1. ห้ามกินกล้วย รวมทั้งกล้วยแปรรู ปทุกชนิดตลอดเวลาที่รักษา 3 วัน
2. ห้ามกินของหมักของดองทุกชนิด
3. หลีกเลี่ยงการกินหน่อไม้ ชะอม
4. หลีกเลี่ยงการโดนลม โดนแสง โดนฝุ่ น ห้ามเหงื่อเข้าตา หลีกเลี่ยงการยกของหนัก
แนวทางเวชปฏิบัติการแพทย์ แผนไทยด้ วยการบ่งต้ อด้ วยหนามหวาย

ซักประวัติ ตรวจร่ างกาย


คัดกรองผูป้ ่ วย (ดูภาคผนวก)

การรักษา/ฟื้ นฟูดว้ ยการ บ่งต้อ ด้วยหนาม


หวาย

โรคต้อลม โรคต้อเนื้ อ โรคต้อกระจก โรคต้อหิน (Glaucoma) และ


(Pinguecular) (Pterygium) (Cataract) อาการอืน่ ๆ เช่น จอ
ประสาทตาเสื่ อม เป็ นต้น

รักษา ติดต่อกัน 3 ครั้ง ระยะห่ างครั้ง รักษาติดต่อกัน 3 ครั้ง รักษาติดต่อกัน 5 ครั้ง


ละ ไม่เกิน 30 วัน ระยะห่ างครั้งละ ไม่เกิน 15 ระยะห่ างครั้งละ ไม่เกิน 10
-ประเมินผลการรักษาทุกครั้ง วัน วัน
-ประเมินผลการรักษาทุกครั้ง -ประเมินผลการรักษาทุกครั้ง

อาการดีข้ นึ ? พิจารณาการรักษา/ฟื้ นฟูรูปแบบอื่น


-เพิ่มการรักษา/ฟื้ นฟูรูปแบบอืน่ ของ
การแพทย์แผนไทย
-ส่ งต่อเพื่อปรึ กษาแพทย์แผนปั จจุบนั

จาเป็ นต้องให้การรักษา/ฟื้ นฟู


ยุติการรักษา/ฟื้ นฟู
ด้วยศาสตร์ การแพทย์แผนไทยต่อ
หรื อไม่ ด้วยศาสตร์ การแพทย์แผนไทย
-สรุ ปผลการรักษา

รักษา/ฟื้ นฟูดว้ ยศาสตร์ การแพทย์แผนไทยต่อ


-ประเมินผลการรักษาเมื่อสิ้ นสุ ดการรักษา/
ฟื้ นฟู
การติดตามผลการรักษา
1. ต้อเนื้อ นัด 1 เดือน
2. ต้อกระจกนัด 2 สัปดาห์
3. ต้อน้ าตา + ต้อลม ถ้าอาการไม่ดีข้ นึ นัด 1 เดือน
4. ต้อหิน นัด 2 สัปดาห์
ทั้งนี้ให้พจิ ารณาอาการของผูป้ ่ วยเป็ นสาคัญ

6.ต้ นหวาย (Rattan)


เป็ นไม้ป่าในพืชตระกูลปาล์มนิยมนามาใช้ประโยชน์ในหลายด้านโดยเฉพาะในการ จักสาน
เครื่ องใช้ต่างๆ รวมถึงการนาหน่อหวายมาปรุ งอาหารซึ่งให้รสชาตอร่ อยเหมือนหน่อไม้ทวั่ ไป ในทาง
การค้ามีการใช้คาเรี ยกหวาย 2 คา คือ Cane หมายถึง หวายที่มีลาต้นขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า 2
เซนติเมตร และ Rattan หมายถึง หวายที่มีลาต้นขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กกว่า 2 เซนติเมตร
หวายจัด เป็ นไม้ที่มีความสาคัญทางงานหัตถกรรมต่างๆ เนื่องจากหวายมีเนื้อเหนียว แข็งแรง
และยืดหยุน่ ได้ดีกว่าไม้ไผ่หรื อไม้จกั สานชนิดอื่นๆ สามารถจักเป็ นเส้นหรื อแผ่นบางได้ง่าย โค้งงอได้ดี
นอกจากนั้น ยอดอ่อน และหน่อหวายยังนิยมนามารับประทาน และปรุ งเป็ นอาหารได้หลายอย่าง
หวาย เป็ นพืชตระกูลปาล์ม ทัว่ โลกมีมากว่า 14 สกุล และมากกว่า 600 ชนิด พบแพร่ กระจาย
บริ เวณที่มีความชื้นสูง มีฝนตกชุก พบได้ในหลายประเทศในแถบเอเชีย และพื้นที่ใกล้เส้นศูนย์สูตร
ตั้งแต่ประเทศไทย พม่า ลาว มาเลเชีย เวียดนาม มาเลเชีย อินโดนีเชีย อินเดีย ทางตอนเหนื อของ
ออสเตรเลีย และตามหมู่เกาะบริ เวณใกล้เส้นศูนย์สูตร ในแถบประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้พบ
ประมาณ 9 สกุล มีมากกว่า 310 ชนิด และพบในประทศไทยประมาณ 6 สกุล ประมาณ 50 ชนิด

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
พืชในสกุลหวายทุกชนิดมีลกั ษณะลาต้นปี นป่ าย มีท้งั ลาต้นเดี่ยวหรื อเป็ นกอ ซึ่งหวายต้นเดี่ยว
เมื่อตัดลาต้นแล้งจะไม่แตกต้นใหม่ ส่วนหวายกอสามารถทยอยตัดได้ และมีการแตกต้นใหม่ที่ตาใกล้
ซอกใบบริ เวณโคนต้น ข้อที่ 2-3 หวายบางชนิด เช่น Calamus trachycoleus หน่อที่แตกใหม่จะพัฒนา
เป็ นไหลยาวได้มากกว่า 3 เมตร
1. ราก
รากหวายมีระบบรากแขนง และรากฝอย ที่แตกรากแขนงออกในแนวราบ และแนวดิ่ง แต่มกั
เจริ ญเป็ นรากแขนงในแนวราบใกล้ผวิ ดิน และสานกันแน่น อาจแพร่ ไกลได้ถึง 5-8 เมตร รอบลาต้น

2. ลาต้ น
ลาต้นหวายมีลกั ษณะกลม แต่บางชนิดมีรูปทรงสามเหลี่ยม ขนาดลาต้นเล็กจนถึงใหญ่ ขนาด
ตั้งแต่ 15 มิลลิเมตร จนถึง 10 เซนติเมตร ถูกห่อหุม้ ด้วยกาบใบหรื อกาบหุม้ ลา ลาต้นสูงได้มากกว่า 2
เมตร บริ เวณโคนต้นใหญ่ และเรี ยวเล็กลงเรื่ อยๆจนถึงปลาย ลาต้นเป็ นปล้อง มีขอ้ ต้นอ่อนมีสีขาวครี ม
ใช้นาประกอบอาหาร มีรสฝาด และขมเล็กน้อย เมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็ นสีเขียว และมีเส้นใยเหนี ยวแข็ง
บางชนิดมีมือเกาะ แทงออกบริ เวณส่วนข้อของลาต้น ส่วนยอดอ่อนนิยมนามาปรุ งเป็ นอาหารได้เช่นกัน

3. ใบ
ใบหวายประกอบด้วย 3 ส่วน คือ กาบใบ (leaf sheath) ก้านใบ (rachis) และใบ (leaflet) แทง
ออกบริ เวณ
„ กาบใบหรื อกาบหุม้ ลา จะแทงออกบริ เวณข้อ หุม้ สลับทับเหลี่ยมกันตลอดลาต้นตอนบน เมื่อแก่จะ
หลุดร่ วงทิ้งรอยแผลตามข้อ กาบหุม้ ลานี้จะเป็ นส่วนโคนของใบ และเป็ นส่วนที่มีหนามเกิดในลักษณะ
แตกต่างกันตามพันธุ์ ทั้งขนาด สี และการเรี ยงตัว ซึ่งช่วยในการจาแนกชนิดหวายได้ แต่หวายบางชนิด
อาจไม่มีหนามบริ เวณกาบใบ ส่วนบริ เวณด้านในบริ เวณตอนบนของโคนกาบใบจะมีเยือ่ บางๆทีเ่ รี ยกว่า
ocrea ซึ่งจะผุกร่ อนเมื่อใบแก่ และร่ วง บางชนิดจะมี ocrea ที่เด่นชัดจากการพองโตออกมาให้เห็น
„ ก้านใบ ลักษณะก้านใบ และหนามที่เกิดจะแตกต่างกันตามพันธุแ์ ต่ละชนิด บางชนิดบริ เวณกาบหุม้ ลา
บริ เวณด้านล่างของโคนกาบใบที่เป็ น ocrea จะพองโตเป็ นสันนูน เรี ยกว่า เข่า (knee) ที่เชื่อว่าทาหน้าที่
จัดเรี ยงตัวใบหวายจากแนวดิ่งมาสู่แนวราบ
„ ทางใบ หรื อก้านใบย่อย ที่เริ่ มมีใบย่อยแทงออกด้านซ้าย-ขวา มีลกั ษณะโค้งลงด้านล่างบริ เวณส่วน
ปลาย ทางใบด้านบนมีสีเขียวเข้มกว่าทางใบด้านล่าง และเกิดหนามรู ปเล็บเหยีย่ วตลอดแนว มักพบ
หนามในด้านล่าง ส่วนด้านบนพบหนามในบางสายพันธุ์ และบางพันธุอ์ าจพบหนามบริ เวณด้านข้าง
ของทางใบด้วย
„ ใบย่อย มีลกั ษณะแตกต่างกันตามสายพันธุ์ อาจเป็ นรู ปสี่เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน หรื อรู ปยาวรี หรื อรู ปรี มี
ลักษณะโค้งลงด้านล่างบริ เวณปลายใบ ขอบใบหยัก เรี ยงตัวหลายแบบในแต่ละพันธุ์ เช่น แบบตรงข้าม
กัน แบบเยือ้ ง และแบบสลับ
„ มือเกาะ หรื ออวัยวะปี นป่ าย เป็ นส่วนที่ใช้สาหรับปี นป่ ายเพือ่ อิงลาต้นให้เลื้อย และเติบโตสาหรับรับ
แสง พบเจริ ญออกในหวายที่โตเต็มที่ ไม่พบในระยะกล้า มี 2 รู ปแบบ คือ
‟ มือเกาะที่เกิดบริ เวณส่วนปลายของทางใบ เรี ยกว่า cirrus มีความยาวประมาณ 2-3 เมตร บริ เวณ
ด้านล่างมีหนามรู ปเล็บเหยีย่ ว
‟ มือเกาะที่เกิดบนลาต้นบริ เวณบริ เวณเดีียวกับช่อดอก เรี ยกว่า flagellum มีความยาวประมาณ 1-5 เมตร
มีหนามรู ปเล็บเหยีย่ วกระจายตลอดความยาว

4. ดอก และช่ อดอก


หวายออกดอกเป็ นช่อเหมือนพืชในตะกูลปาล์มทุกชนิด ช่อดอกมีลกั ษณะเป็ นพวงสีขาว ช่อ
ดอกที่แทงออกใหม่จะมีปลีหุม้ เมื่อดอกแก่ปลีจะคลี่ออก มองเห็นลูกหวายเป็ นตุ่มสีขาวนวลภายใน
ภายในช่อดอกอาจมีท้งั ดอกเพศผู ้ และดอกเพศเมีย แต่หวายส่ วนมากจะมีดอกเพศผู ้ และเพศเมียอยูค่ น
ละต้นกัน
ลักษณะดอกของหวายมี 2 แบบ คือ Hapaxanthic ออกดอกเป็ นช่อบริ เวณยอดลาหวาย และ Pleonanthic
ออกดอกเป็ นช่อบริ เวณข้อของลาต้น ทั้งนี้ ดอกในช่อจะสุกไม่พร้อมกัน

5. ผล และเมล็ด
ผลหวายมีลกั ษณะเป็ นเกล็ดเรี ยงซ้อนกันในทิศปลายผลมาฐานผล แต่ผลหวายบางชนิดจะมี
ลักษณะเกร็ดแบบหนามคล้ายผลระกา สีของเปลือกผลมีหลายสีตามชนิดหวาย ผลอ่อนจะมีสีเขียวอ่อน
และเขียวเข้มเมื่อแก่ และเมื่อสุกจะเปลี้ยนเป็ นได้หลายสี เช่น สี เหลือง สีแดง และสีขาว แตกต่างกันตาม
สายพันธุ์ เมื่อสุกจัดจะมีสีคล้ าดา ขนาดผลมีต้งั แต่เท่าเมล็ดข้าวโพดจนถึงเท่าลูกพุดทราหรื อเท่าหัวแม่
มือ และเปลือกผลเมื่อสุกสามารถรับประทานได้ เนื้อมีรสหวาน ส่วนด้านในเป็ นเมล็ด อาจมีเมล็ดเดียว
หรื อบางพันธุม์ ีได้ 2-3 เมล็ด/ผล ลักษณะเมล็ดค่อนข้างกลม และแบนรี

ชนิดหวายในไทย
1. หวายลิง เป็ นหวายเลื้อย ยาวได้มากกว่า 3 เมตร ที่ชอบขึ้นตามชายทะเล ลาห้วย หนองบึง
เป็ นชนิดที่ไม่มีหนาม ใบคล้ายใบผักปราบ นิยมนามาจักตอก
2. หวายโปร่ ง เป็ นหวายที่มีขนาดพอๆกับไผ่รวก นิยมนามาจักสานเครื่ องหัตถกรรม ข้าวของ
เครื่ องใช้ต่างๆ ผลมีขนาดประมาณลูกพุดทราหรื อเมล็ดบัวหลวง เปลือกเมล็ดแข็งเป็ นเกร็ด เมื่อสุกผลมี
สีเหลือง ดอกใช้รับประทานได้
3. หวายพรวน เป็ นหวายที่มีขนาดลาต้นใหญ่ที่สุด ขนาดประมาณเท่าข้อมือ พบมากในจังหวัด
ตรัง พังงา และภูเก็ต เนื้อหวายมีความเหนี ยว และทนทาน นิยมนามาทาเชือก ล่ามช้าง ล่ามวัว รวมถึง
นิยมใช้ทาเฟอร์นิเจอร์ต่างๆ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ เตียงนอน และฝ้ าผนังบ้าน เนื่องจากสามารถจักเป็ นแผ่น
ขนาดใหญ่ได้ดี
4. หวายขม เป็ นหวายที่มีขนาดประมาณหัวแม่มือ ใบเล็กยาวคล้ายใบระกา เนื้อเปราะง่าย ไม่
ทนทาน ไม่นิยมนามาจักสาน แต่หน่อ และยอดใช้รับประทานได้ มีรสขมเล็กน้อย เมล็ดหวายมีขนาด
เล็กประมาณเท่าเมล็ดข้าวโพด เปลือกเมล็ดเป็ นเกล็ดสีขาว นิยมใช้ทายา
5. หวายน้ า เป็ นหวายที่มีขนาดลาต้นประมาณนิ้วก้อย ชอบขึ้นบริ เวณที่ชุ่ม น้ าท่วมขัง เนื้อ
หวายมีความเหนียวทน นิยมนามาจักสานข้าวของเครื่ องใช้ต่างๆ เช่น ตะกร้า ถาดใส่อาหาร หมวก เป็ น
ต้น
6. หวายตะค้าทอง เป็ นหวายเลื้อย ยาวได้มากกว่า 6 เมตร ลาต้นขนาดเท่าหัวแม่มือ ที่ชอบขึ้น
บริ เวณที่ชุ่ม และน้ าท่วมขัง เนื้อหวายเหนียว ทนทาน นิยมใช้จกั สานงานหัตถกรรมทุกชนิด เมล็ดใช้ทา
ยา พบมากในจังหวัดภาคใต้
7. หวายชุมพร เป็ นหวายขนาดเล็กกว่านิ้วก้อย เนื้อหวายหยาบเหนียวมาก นิยมใช้จกั ตอก ทา
เชือก และจักสานงานหัตถกรรม
8. หวายชะอัง เป็ นหวายขนาดเล็ก เนื้อหวายเนียว ทนทาน นิยมใช้ทาเชือก ทาตอก และเครื่ อง
จักสาน พบมากในภาคใต้ โดยเฉพาะตาบลนาชะอัง อาเภอเมือง จังหวัดชุมพร
9. หวายสะเดา และหวายสมิง เป็ นหวายที่พบในภาคตะวันออก
10. ชนิดหวายที่เรี ยกในชื่ออื่นๆ เช่น หวายขี้เสี้ยน หวายงวย หวายเดาใหญ่ หวายข้อดา หวาย
ขี้ผ้ งึ หวายแดง หวายกาหลง หวายขี้ไก่ หวายช้าง หวายพังกา หวายผิวเบาะ หวายแดง หวายเจียน หวาย
หัวตัด หวายพุน หวายขี้บาง หวายนางนวล หวายหางหนู หวายนัง่ หวายโคก และหวายดง เป็ นต้น

ประโยชน์ ของหวาย
1. ลาต้นนามาจักสานเป็ นเฟอร์นิเจอร์ เช่น โต๊ะ ม้านัง่ เตียงนอน เป็ นต้น มักใช้หวายขนาดใหญ่
เช่น หวายโป่ ง หวายกาพวน หวายข้อดา หวายตะค้าทอง เป็ นต้น
2. ใช้จกั สานเป็ นเครื่ องเรื อน เครื่ องใช้ เช่น ถาด ตะกร้า หมวก เป็ นต้น มักใช้หวายขนาดเล็กที่
เหนียว และโค้งงอได้ดี เช่น หวายกาหลง หวายหอม หวายดง หวายขี้บาง หวายพุน เป็ นต้น
3. ใช้จกั สานเป็ นวัสดุก่อสร้าง เช่น ฝ้ า ผนัง หน้าต่าง เป็ นต้น มักใช้หวายขนาดใหญ่
4. ลาต้นแก่จกั หรื อกรี ดเป็ นเส้น แล้วตากแห้ง นามาใช้ทาเป็ นเชือกคล้องช้าง คล้องโค หรื อทา
เป็ นเชือกรัดของ
5. ยอดอ่อน ดอกอ่อน หน่ออ่อน นามาปรุ งอาหารได้หลายเมนู อาทิ แกงอ่อม แกงหวาย แกงจืด
รวมถึงลวกเป็ นผักจิ้มน้ าพริ ก เช่น หวายโคก หวายดง หวายหางหนู หวายนัง่ หวายขม เป็ นต้น
6. ราก ใบ แก่น/เนื้อไม้ ดอก และผล นามาใช้เป็ นยาสมุนไพร ใช้ได้ในหวายทุกชนิด ได้แก่
รักษาไข้ ลดพิษจากสัตว์ต่อย ใช้ขบั พยาธิ แก้อาการชัก แก้เป็ นลม แก้หอบหืด ช่วยขับปั สสาวะ รักษา
โรคท้องร่ วง ท้องเสีย และช่วยเจริ ญอาหาร

ต้ นหวายขม
ชื่ออื่น เสือครอง, หวายนัง่ หวายบุ่น (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), หวายสยาม (ภาคกลาง)
ชื่อสามัญ Rattam
ชื่อวิทยาศาสตร์ Calamus rotang Linn., C. viminalis Wild.
ชื่อวงศ์ PALMACEAE

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
รากแบบระบบรากฝอย (fibrous root system) รากเป็ นรากเกิดใหม่ที่โคนต้นลาต้นเป็ นลาต้น
เกี่ยวพันหรื อเลื้อยเกาะ เป็ นลาต้นแตกกอ (multiple trunk) ลาต้นสามารถแตกหน่อด้านข้างในตาแหน่ง
ใต้ดินหรื อใกล้ผวิ ดินเป็ นกอ เป็ นกอขนาดเล็ก มีหนามบริ เวณลาต้น ลาต้นมีสีเขียวปนน้ าตาลใบเป็ นรู ป
ขนนกเป็ นพวง (plumose) รู ปใบเรี ยวแหลม ฐานใบแหลม ใบมีสีเขียวทั้งหลังใบและใต้ใบช่อดอกแบบ
แตกแขนงเป็ นช่อดอกเล็กๆ ช่อดอกจะผลิดอกย่อยออกมาจากภายใต้กา้ น ช่อดอกประกอบด้วย ดอกเพศ
ผูส้ ีเหลืองนวล ดอกเพศเมียสี เหลือง ผลมีลกั ษณะรู ปร่ างกลม ขนาด 1-2 เซนติเมตร ผลอ่อนมีสีเขียว
ผลแก่มีสีน้ าตาล

สรรพคุณทางสมุนไพร
ตารายาไทย หัวหรื อรากและยอดหวาย มีรสขมเย็นเมาเล็กน้อย ใช้ปรุ งยากินดับพิษร้อน พิษไข้
แก้เซื่องซึม แก้พษิ ตับปอดพิการ แก้ไอ บารุ งน้ าดี แก้ร้อนในกระหายน้ า หน่อหวาย คือลาต้นอ่อนของ
หวาย แทงขึ้นจากเหง้าใต้ดิน มีกาบแข็งเต็มไปด้วยหนามหุม้ เนื้อในอ่อน กรอบ สีขาว มีรสขม นามา
ปรุ งอาหาร ก่อนนาไปปรุ งอาหารต้องนาไปต้มให้หายขม จากนั้นนาไปทาแกง ดอง หรื อจิ้มน้ าพริ ก
หน่อหวาย มีธาตุสงั กะสี ในปริ มาณสูง ใช้เสริ มธาตุสงั กะสี ช่วยเจริ ญอาหาร ลดภาวะเครี ยด ช่วย
ส่งเสริ มสมรรถภาพทางเพศชาย เนื้อหุม้ เมล็ด รับประทานได้
ตามคัมภีวถิ ีกุฏโรค ยังพบว่า หนามหวายมีรสหอมเย็น ช่วยในการรักษาโรคผิวหนัง ลดการ
อักเสบ

7.การประเมินความสามารถในการมองเห็น
ตาเป็ นอวัยวะที่สาคัญที่สุดในการรับรู ้สิ่งต่างๆ ที่อยูร่ อบตัวมนุษย์ หากมีอะไรเกิดขึ้นอันทาให้
สูญเสียการมองเห็น ก็จะส่งผลกระทบต่อการดารงชีวติ ของบุคคลเป็ นอย่างมากในทุกๆด้าน สาหรับ
พยาบาลการทาความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการให้การพยาบาลผูป้ ่ วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับจักษุวทิ ยาเป็ น
สิ่งจาเป็ น เพือ่ ที่จะสามารถให้การพยาบาลดูแลได้อย่างถูกต้อง อันจะส่งผลต่อประสิทธิภาพในการ
บาบัดรักษาผูป้ ่ วย ขั้นตอนที่สาคัญขั้นตอนหนึ่งในการบาบัดผูป้ ่ วยทางจักษุวทิ ยาก็คือการประเมิน
ความสามารถในการมองเห็น ( visual acuity ) หรื อที่เรี ยกกันว่า การวัดสายตา ( V.A. ) เพือ่ ค้นหาปั ญหา
ของผูป้ ่ วยแต่ละรายหากสามารถประเมินปั ญหาเบื้องต้นได้ถูกต้องรวดเร็ว ก็จะทาให้การรักษามี
ประสิทธิภาพมากยิง่ ขึ้นด้วย
Visual Acuity คือความสามารถในการมองเห็น มีไว้เพือ่ ช่วยในการเปรี ยบเทียบความสามารถ
ในการมองเห็นของแต่ละคน เพราะคาว่ามองเห็นได้ชดั ของแต่ละคนต่างกันขึ้นอยูก่ บั ความจาเป็ นใน
การใช้สายตาและความพอใจในการมองเห็นของแต่ละคน บางคนอาจจะบอกว่ามองเห็นหมายเลข
รถเมล์ที่มาแต่ไกลไม่ชดั ต้องรอให้เข้ามาใกล้ถึงจะมองเห็นในขณะที่เพือ่ นมองเห็นได้แต่ไกล บางคน
อาจจะกังวลที่เห็นไม่ชดั แต่บางคนอาจจะเฉยๆ ไม่รู้สึกอะไร หรื อในกรณี ขบั รถมองป้ ายบอกทางไม่
เห็นต้องขับรถเข้าไปใกล้ถึงจะอ่านป้ ายบอกทางได้บางทีกว่าจะอ่านได้ก็ใกล้เกินไปที่จะเปลี่ยนช่องทาง
ไปในทางที่ตนเองต้องการ สายตาของเรามีปัญหาหรื อไม่ แก้ไขได้หรื อไม่
ในเบื้องต้นถ้าเราตรวจเช็ค VA จะทาให้รู้ได้วา่ ความสามารถในการมองเห็นของเราเมื่อเทียบ
กับคนทัว่ ไปต่างกันมากหรื อไม่ ค่า VA กาหนดขึ้นโดยการให้อ่านตัวอักษรที่ขนาดต่างกันโดยตัวอักษร
แต่ละขนาดจะมีค่า VA กากับอยู่ ขนาดของตัวอักษรจะถูกคานวณมาแล้วว่าถ้าชาร์ตนั้นถูกออกแบบให้
มาตรวจวัด VA โดยวางชาร์ตห่างจากผูถ้ ูกตรวจวัดที่ระยะ 6 เมตร ขนาดของตัวอักษรที่ VA 20/20 จะมี
ขนาดความสูงของตัวอักษรเท่าไหร่ ถ้าชาร์ตนั้นถูกออกแบบให้ใช้ตรวจวัดที่ระยะ 3 เมตร ขนาดของ
ตัวอักษรของ VA 20/20 ก็จะมีขนาดที่ต่างกันกับขนาดของตัวอักษรของ VA 20/20 ที่ใช้ที่ระยะ 6 เมตร
เพือ่ ให้ได้ค่าการตรวจวัด VA ที่ถูกต้องเราจะต้องใช้ชาร์ตให้ถูกต้องกับระยะของชาร์ตที่กาหนดมาด้วย
ซึ่งการวัดค่า VA เราสามารถวัดได้ในหลายระบบ เราจะให้ค่า VA ในระบบ Snellen acuity เป็ น 20/20
หรื อ 6/6 หรื อในระบบ Decimal acuity เป็ น 1.0 ก็ได้
ค่า 20/20 หรื อ 6/6 หมายถึงอะไร 20/20 เราใช้หน่วยในระบบอังกฤษเป็ นฟุต หมายถึงตัวอักษร
ขนาดนี้โดยเฉลี่ยคนทัว่ ไปสามารถอ่านได้ที่ระยะ 20 ฟุตและเราก็สามารถอ่านได้ที่ระยะ 20 ฟุต
เช่นเดียวกัน 20/40 จะหมายถึงตัวอักษรขนาดนี้คนทัว่ ไปสามารถอ่านได้ที่ระยะ 40 ฟุตแต่เราจะต้องเดิน
เข้าไปใกล้ถึงระยะ 20 ฟุตเราจึงจะอ่านได้ ซึ่งแปลว่าเราเห็นได้แย่กว่าคนทัว่ ไป 6/6 ก็เหมือนกันต่างกัน
ในหน่วยที่ใช้ 6/6 จะเป็ นระบบเมตริ กใช้หน่วยเป็ นเมตร 6/6 ก็จะหมายถึงคนทัว่ ไปสามารถอ่านได้ที่
ระยะ 6 เมตรและเราก็สามารถอ่านได้ที่ระยะ 6 เมตรเช่นกัน 6/3 ก็จะหมายถึงคนทัว่ ไปสามารถอ่านได้
ต้องเดินเข้าไปใกล้ที่ระยะ 3 เมตรแต่เราสามารถอ่านได้ที่ระยะ 6 เมตรซึ่ งหมายถึงเราสามารถเห็นได้
ดีกว่าเกณฑ์เฉลี่ยของคนทัว่ ไป ถ้าเราต้องการเปรี ยบเทียบใน 2 ระบบเราก็สามารถเอาตัวเลขตัวบนหาร
ด้วยตัวเลขตัวล่าง เช่น 20/20 หรื อ 6/6 จะได้เป็ น 1.0 ในระบบ Decimal acuity
ขนาดของตัวอักษรนั้นหาได้โดยนิยามพื้นฐานของขนาดตัวอักษร 20/20 จะมีความสูงตัวอักษร
เท่ากับ 5 min of arc และแต่ละขีดของตัวอักษรหรื อช่องไฟระหว่างขีดของตัวอักษรมีขนาดเท่ากับ 1
min of arc (ภาพที่ 1) ซึ่ง 1 min of arc หรื อ 5 min of arc คือมุมองศาที่ทากับตา(ภาพที่ 2)

ฉะนั้นขนาดของตัวอักษรจะขึ้นกับระยะของชาร์ตที่ห่างจากตา คานวณได้โดยแต่ละขีดของ
ตัวอักษรเท่ากับ 1 min of arc หาขนาดโดยใช้ tan (1/60) = 0.000291 ดังนั้นขนาดของตัวอักษร 5 min of
arc จะได้เท่ากับ 0.000291x5 ถ้าชาร์ตออกแบบมาให้ใช้ที่ระยะ 6 เมตรขนาดตัวอักษร 20/20 จะเท่ากับ
0.000291x5x6 = 0.00873 เมตร = 0.873 เซนติเมตร ถ้าชาร์ตออกแบบมาให้ใช้ที่ระยะ 3 เมตรขนาด
ตัวอักษร 20/20 จะเท่ากับ 0.000291x5x3 = 0.004365 เมตร = 0.4365 เซนติเมตร ถ้าชาร์ตออกแบบมา
ให้ใช้ที่ระยะ 6 เมตรขนาดตัวอักษร 20/40 จะเท่ากับ 0.873x2 = 1.746 เซนติเมตร
การวัด VA จะต้องวัดทีละตาและสองตาร่ วมกันด้วย โดยธรรมชาติคนเราใช้ตาสองข้างร่ วมกัน
เสมอไม่วา่ เราจะมองอะไรรอบตัว เราเปิ ดตาสองข้างใช้งานพร้อมกัน แต่การที่เรายังมอง 2 ตาเห็นได้ชดั
ไม่ได้แปลว่าตาทั้ง 2 ข้างของเราเห็นชัดเท่ากัน คนเรามีตา 2 ข้างใช้ในการมองแต่เมื่อภาพไปถึงสมอง
สมองจะรวมภาพเป็ นภาพเดียวทาให้เราเห็นชัดโดยไม่รู้วา่ ภาพที่เห็นชัดเกิดจากภาพที่ชดั จากทั้ง 2 ตา
รวมกัน หรื อภาพจากตา 1 ชัดอีกตาไม่ชดั รวมกันออกมาเป็ นภาพที่ชดั ในสมองของเรา ดังนั้นการวัด
VA จึงต้องทาทีละตาด้วยเพือ่ จะได้รู้ความสามารถในการเห็นของแต่ละตาเป็ นอย่างไร เพราะถ้าตาทั้ง 2
ข้างเห็นได้ต่างกันมากจะทาให้ความสามารถในการเห็นภาพ 3 มิติลดลง หรื ออาจถึงขั้นที่เมื่อมองด้วย 2
ตาแต่สมองเลือกรับภาพมาแค่ตาเดียวและตัดสัญญาณภาพอีกตาหนึ่งไปโดยที่เราไม่รู้ถา้ ไม่ตรวจ
เพิม่ เติม
ในกรณี ที่ VA ของตาเราไม่อยูใ่ นเกณฑ์ปกติ เราสามารถแก้ไขการมองเห็นให้สามารถเห็นได้
เท่าคนอื่นหรื อไม่ เราสามารถทดสอบได้โดยใช้ pinhole ซึ่งก็คือการมองผ่านแผ่นทึบสีดาที่มีรูเล็กๆ อยู่
ถ้าเมื่อเรามองชาร์ต VA โดยผ่าน pinhole นี้แล้วทาให้เราสามารถอ่านตัวอักษรบนชาร์ตได้ดีข้ นึ ทาให้
VA ของเราดีข้ นึ แปลว่าการแก้ไขการมองเห็นสามารถทาได้โดยการใช้แว่นสายตา และเมื่อเราวัดสายตา
ได้ค่าสายตามาแล้วเมื่อเราใส่แว่นตามค่าสายตานั้นเราก็สามารถตรวจวัด VA ของเราที่เมื่อมองผ่านแว่น
แล้วค่า VA ของเราดีข้ นึ แค่ไหนเทียบเท่าคนทัว่ ไปหรื อไม่ ในกรณี ที่มองผ่าน pinhole แล้ว VA ไม่ดีข้ นึ
เลยแปลว่าปั ญหาการมองเห็นของเราไม่สามารถแก้ไขได้ดว้ ยแว่นสายตา ควรไปพบจักษุแพทย์เพือ่
ตรวจหาสาเหตุการมองเห็นไม่ชดั ของเราที่ไม่ได้เกิดจากค่าสายตา อาจจะเกิดจากปั ญหาสุขภาพทางตา
โรคตาเพือ่ จะได้แก้ไขให้ตรงกับปั ญหาต่อไปอย่าได้นิ่งนอนใจ

ดังนั้นทุกครั้งเมื่อเราได้ทาการตรวจวัดสายตาแล้วได้ค่าสายตามาในใบสัง่ ค่าสายตาควรต้อระบุ
ด้วยว่า เมื่อเราแก้ไขการมองเห็นของเราด้วยแว่นตามค่าสายตานั้นแล้ว ความสามารถในการมองเห็น
หรื อ VA ของเราได้เท่าไร เพือ่ เราจะได้สามารถเปรี ยบเทียบความสามารถในการมองเห็น ของเราว่า
สามารถเห็นได้ดีข้ นึ หรื อแย่ลงอย่างไร ไม่ใช่ทราบแต่ค่าสายตาเปลี่ยน แต่ไม่ทราบว่าความสามารถใน
การมองเห็น หรื อ VA เปลี่ยนแปลงด้วยหรื อไม่ ซึ่งในบางครั้งเมื่อเราไปตรวจวัดสายตาและพบว่าค่า
สายตาเท่าเดิมแต่ความสามารถในการเห็นหรื อ VA ลดลงก็อาจเป็ นตัวบ่งชี้ได้วา่ ตาของเราอาจจะมี
ปั ญหาอื่นนอกจากค่าสายตา อาจจะมีโรคตาร่ วมด้วย ทาให้เรามีโอกาสไปพบจักษุแพทย์เพือ่ ตรวจหา
ความผิดปกติเพิม่ เติมก่อนสายเกินไป
ในกรณี ที่เราตรวจสายตาได้แต่ค่าสายตาแต่ไม่มีค่า VA ประกอบทาให้เราไม่สามารถรู ้ได้วา่
ความสามารถในการเห็นของเราแต่ก่อนกับปั จจุบนั มีความต่างกันมากน้อยแค่ไหน ความสามารถใน
การเห็นอยูใ่ นเกณฑ์ปกติเหมือนคนทัว่ ไปหรื อไม่ ดังนั้นทุกครั้งที่ตรวจสายตาได้ค่าสายตามาแล้ว
จะต้องมีค่า VA ประกอบด้วยเสมอ

ค่าระดับสายตา
ระบบฟุต ระบบเมตร

20/200 6/60

20/100 6/30

20/70 6/24

20/50 6/18

20/40 6/12

20/30 6/9

6/6

หลักในการวัดสายตา
1.ตรวจทีละตา
2.ให้ผปู ้ ่ วยอยูท่ ี่ระยะ 6 เมตร หรื อ 20 ฟุตห่างจากแผ่นทดสอบ จากนั้นเริ่ มอ่านตัวทดสอบจาก
บนสุด (ตัวโตสุด) ลงมาเรื่ อยๆที่ละแถวจนถึงตัวเล็กที่สุดเท่าที่อ่านได้ บันทึกค่าไว้ เช่น หากอ่านได้
ถูกต้องสองแถว เท่ากับ VA 6/36 หมายความว่า ผูป้ ่ วยมองเห็นที่ระยะ 6 เมตร ในขณะที่คนปกติเห็นที่
ระยะ 36 เมตร หรื อหากอ่านได้จนถึงแถว 6/6 หมายความว่า ผูป้ ่ วยเห็นที่ระยะ 6 เมตร และคนปกติเห็น
ที่ 6 เมตรเช่นกัน
3.หากผูป้ ่ วยอ่านไม่ได้ถึงแถว 6/6 ให้สวมแว่นสายตาอ่านหากมีแว่นสายตาอยู่ หรื ออ่านผ่าน
พินโฮล ( pinhole ) เช่น หากตาเปล่าอ่านได้แถวเดียว เมื่อสวมแว่นอ่านได้สองแถว และเมื่อมองผ่าน
pinhole แล้วอ่านได้ปกติ ให้บนั ทึกว่า
VA 6/60 อ่านรอบที่1 ถ้าอ่านไม่ได้ในแถว 6/6 ทุกกรณี ตอ้ งอ่านผ่านพินโฮลทุกราย
VA c PH 6/6(c PH = with pinhole) อ่านรอบที2่ อ่านผ่านพินโฮล ผลการอ่านจะต้องดีกว่าอ่ายตาเปล่า
เสมอ
4. หากที่ระยะ 6 เมตรไม่สามารถอ่านแถวทีอ่ ยูบ่ นสุดได้ ให้ค่อยๆขยับเข้าไปใกล้ที่ละ เมตร หากอ่านได้
ที่ระยะ 5 เมตร ให้บนั ทึกว่า VA 5/60 หรื อหากอ่านได้ที่ระยะ 1 เมตร เท่ากับ VA 1/60 เป็ นต้น
5. ถ้าอยูห่ ่าง chart ที่ 1 เมตรแล้วยังอ่านไม่ได้ให้ผตู ้ รวจ ชูนิ้วมือไว้หน้าตาผูป้ ่ วยแล้วถามว่าเห็นกี่นิ้ว
เช่นหากนับนิ้วได้ถูกต้องที่ระยะ 2 ฟุตให้บนั ทึกว่า FC 2 ft.(FC = counting finger), หรื อ หากนับได้ที่
ระยะ 1 ฟุตให้บนั ทึกว่า FC 1 ft
6. หากนับนิ้วไม่ได้แสดงว่าสายตามัวมาก ให้แกว่งมือหน้าตาผูป้ ่ วยแล้วถามว่าเห็นอะไรเคลื่อนไหว
หรื อไม่ ถ้าเห็น ให้บนั ทึกเป็ น HM (hand movementอ่านว่าแฮนมูฟเม้น คือการเคลื่อนไหวของมือ) ควร
ระวังไม่แกว่งมือไปโดนคิ้ว หรื อขนตาผูป้ ่ วย
7. หากมองไม่เห็นวัตถุเคลื่อนไหว ให้ใช้ไฟฉายส่องหน้าตาผูป้ ่ วย แล้วถามว่าเห็นไฟ หรื อไม่ ถ้าเห็น
แสงจากไฟที่ส่อง แต่ไม่สามารถบอกทิศทางของแสงไฟ ให้บนั ทึกว่า PL (perception of light) หาก
สามารถบอกทิศทางของแสงที่ส่องมาจากทิศต่างๆ ได้ถูกต้องให้บนั ทึกว่า PJ (projection of light)
8. แต่ถา้ มองไม่เห็นแสงไฟที่ส่องเลย ให้บนั ทึกว่า No PL (no light perception) บ่งว่าบอดสนิท อย่างไร
ก็ตามการทดสอบควรใช้ไฟที่มีความสว่างที่สุด ก่อนที่จะระบุวา่ No PL

การบันทึกผลการวัดระดับสายตา
1.สามารถบันทึกได้หลายแบบ โดยทัว่ ไปมักบันทึกเป็ นสัดส่วน เช่น 6/6(ระบบเมตริ ก) หรื อ
20/20 (ระบบฟุต) โดยสรุ ป ลาดับสายตาจากปกติไปจนมองไม่เห็น (ระบบเมตริ ก)
6/6 ความหมาย ผูป้ ่ วยเห็นที่ระยะ 6 เมตร และคนปกติเห็นที่ 6 เมตรเช่นกัน
6/9 ความหมาย ผูป้ ่ วยเห็นที่ระยะ 6 เมตร และคนปกติเห็นที่ 9 เมตร
6/12 ความหมาย ผูป้ ่ วยเห็นที่ระยะ 6 เมตร และคนปกติเห็นที่ 12 เมตร
6/18 ความหมาย ผูป้ ่ วยเห็นที่ระยะ 6 เมตร และคนปกติเห็นที่ 18 เมตร
6/24 ความหมาย ผูป้ ่ วยเห็นที่ระยะ 6 เมตร และคนปกติเห็นที่ 24 เมตร
6/36 ความหมาย ผูป้ ่ วยเห็นที่ระยะ 6 เมตร และคนปกติเห็นที่ 36 เมตร
6/60 ความหมาย ผูป้ ่ วยเห็นที่ระยะ 6 เมตร และคนปกติเห็นที่ 60 เมตร
2.หากอ่านไม่ได้ในระยะ 6 เมตร ให้ขยับเข้ามาครั้งละ 1 เมตร เช่น
อ่านได้ที่ระยะ 5 เมตร บันทึก VA 5/60
อ่านได้ที่ระยะ 4 เมตร บันทึก VA 4/60
อ่านได้ที่ระยะ 3 เมตร บันทึก VA 3/60
อ่านได้ที่ระยะ 2 เมตร บันทึก VA 2/60
อ่านได้ที่ระยะ 1 เมตร บันทึก VA 1/60
3.ถ้าในระยะที่ 1 เมตรแล้วยังอ่านไม่ได้ ให้นบั จานวนนิ้ว FC (counting finger) ความหมาย
ทดสอบจานวนนิ้วมือที่ผปู ้ ่ วยมองเห็น การบันทึก
หากนับนิ้วได้ถูกต้องที่ระยะ 2 ฟุต ให้บนั ทึกว่า FC 2 ft
หากนับนิ้วได้ถูกต้องที่ระยะ 1 ฟุต ให้บนั ทึกว่า FC 1 ft
4.หากนับนิ้วไม่ได้ให้แกว่งมือหน้าผูป้ ่ วยแล้วถามว่าเห็นอะไรเคลื่อนไหวหรื อไม่ การบันทึก
ถ้าเห็น ให้บนั ทึกเป็ น HM ( Hand movement )
5.ถ้ายังไม่เห็นให้ใช้ไฟฉายส่องหน้าตาผูป้ ่ วยการบันทึก ถ้าผูป้ ่ วยสามารถบอกทิศทางของแสง
ที่ส่องมาจากทิศต่างๆได้ให้บนั ทึก PJ (projection of light) แต่ถา้ มองเห็นแต่ไม่สามารถบอกทิศทางได้
บันทึก PL (Perception of light ) แต่ถา้ มองไม่เห็นเลยให้บนั ทึก No PL (no light perception หรื อ total
blindness) แสดงว่าตาบอดสนิท

เครื่องมือที่ใช้
1. Snellen chart ทั้งชนิดที่เป็ นตัวเลขและ E chart
2. ความสว่างของแสงไฟ 100 แรงเทียน ส่องบริ เวณ Snellen chart
3. กรอบแว่นตาที่เป็ นโลหะ ( trial frame )
4. ที่ปิดตา ( occluder )
5. Pinhole ( PH )
6. ไฟฉาย
7. แผ่น E game เดี่ยว ๆซึ่งมีค่าเทียบเท่าเลขเศษส่วน 20/200
วิธีการวัด จะวัดตามลาดับขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. วัดตาเปล่า ( uncorrected หรื อ sc )
1. ให้ผปู ้ ่ วยนัง่ บนเก้าอี้ที่วางไว้ขา้ งหน้าแผ่นป้ ายตามระยะทางที่กาหนด คือ 20 ฟุต หรื อ 6
เมตร โดยให้นงั่ ตัวตรง ห้านโน้มตัวไปข้างหน้าขณะอ่านเพราะระยะทางจะคลาดเคลื่อน และห้ามเอียง
คอขณะอ่านเพราะนัน่ คือผูป้ ่ วยแอบใช้ตาข้างที่ปกติมาช่วยอ่านทาให้ไม่ได้คา่ สายตาที่แท้จริ ง
2. วัดสายตาทีละข้าง โดยให้วดั ตาขวาก่อนเสมอ ทั้งนี้เพือ่ ความถูกต้องในการบันทึกผลและ
ป้ องกันความสับสน ( ยกเว้นกรณี ที่เกิดจากอุบตั ิเหตุ ให้วดั สายตาข้างที่บาดเจ็บก่อน ) โดยให้ผปู ้ ่ วยใช้ที่
ปิ ดตาชนิดทึบแสงปิ ดตาอีกข้างหนึ่งไว้ให้มิดชิด
3. ให้อ่านตัวเลขบนแผ่นป้ ายตั้งแต่แถวที่ 1 โดยอ่านลงไปเรื่ อยๆ ถ้าสายตาปกติจะอ่านได้ถึง
แถวที่ 7 ให้ลงบันทึกในช่อง sc 20/20 เป็ นอันเสร็ จสิ้นการวัดสายตาข้างนั้น
ถ้าผูท้ ี่มีสายตาผิดปกติ มักจะอ่านตัวเลขในแต่ละแถวได้ไม่ถูกต้องทุกตัวโดยถ้าอ่านได้ถูกต้อง
มากกว่าครึ่ งหนึ่ง ของแต่ละแถวให้อ่านไปเรื่ อยๆ จนกระทัง่ ถึงแถวใดแถวหนึ่งที่อ่านผิดมากกว่า
ครึ่ งหนึ่ง หรื ออ่านไม่ได้เลย ให้บนั ทึกผลตามตัวอย่าง เช่น
ถ้าอ่านมาถึงแถวที่ 5 ( ตัวเลขเศษส่วนจะเท่ากับ 20/40 ) ซึ่งมีจานวนตัวเลขในแถวนี้ 6 ตัว
ผูป้ ่ วยอ่านผิด 2 ตัว และ เมื่อให้อ่านต่อไปในแถวที่ 6 ก็อ่านผิดมากกว่าครึ่ งหนึ่ง หรื ออ่านไม่ได้ ให้
บันทึกว่า 20/40-2 แต่ถา้ อ่านตัวเลขในแถวที่ 5 ได้ถูกหมดทุกตัว และสามารถอ่านแถวที่ 6 ได้เพิม่ อีก 2
ตัว ให้บนั ทึกว่า 20/40+2
2. วัดขณะมองผ่าน Pinhole หรื อ c PH
เมื่อให้ผปู ้ ่ วยอ่านด้วยตาเปล่าแล้ว แต่อ่านได้ไม่ถึงแถวที่ 7 ขั้นต่อไปจึงให้ผปู ้ ่ วยอ่านตัวเลขบน
แผ่นป้ ายโดยมองผ่าน pinhole ( ยกเว้นในผูท้ ี่มีกาลังสายตาผิดปกติ เช่น สายตาสั้น และมีแว่นสายตา
แล้วให้สวมแว่นตาอ่านได้เลย) ถ้าผูป้ ่ วยสามารถอ่านตัวเลขได้เพิม่ ขึ้น หรื ออ่านได้ถึงแถวที่ 7 แสดงว่า
สายตาที่ผดิ ปกติน้ นั อาจเกิดจากกาลังสายตาผิดปกติ ( refractive error ) แต่ถา้ มองผ่าน pinhole แล้วยัง
เห็นไม่ชดั หรื อมัวมากกว่าอ่านด้วยตาเปล่าแสดงว่าเป็ นโรคตาโรคใดโรคหนึ่ง
3. วัดขณะสวมแว่นตา
สาหรับผูท้ ี่มีแว่นสายตาซึ่ งจะต้องเป็ นแว่นตาสาหรับมองระยะไกลเท่านั้นจึงจะใช้ได้ถา้ เป็ น
แว่นสาหรับอ่านหนังสือในบุคคลที่อายุ 40 ปี ขึ้นไปเรี ยกว่า presbyopia จะใช้ไม่ได้เพราะเป็ นแว่นตาที่
ใช้มองระยะใกล้เท่านั้น ซึ่งวิธีการวัดให้ปฏิบตั ิเช่นเดียวกับวิธีวดั ด้วยตาเปล่า เพียงแต่ให้ลงบันทึกใน
ช่อง cc ถ้าอ่านได้ถูกต้องจนถึงแถวที่ 7 ให้ใช้ pinhole วางต่อหน้ากระจกแว่นตาแล้วให้อ่านอีกครั้งหนึ่ง
จากนั้นบันทึกค่าที่วดั ได้ในช่อง c PH แต่ถา้ ผูป้ ่ วยใส่ เลนส์สมั ผัส ( contact lens ) มาตรวจก็ให้วดั ขณะที่
ใส่เลนส์สมั ผัสก่อนวัดก่อนด้วยตาเปล่า โดยวิธีการเดียวกับการวัดขณะสวมแว่นตา หลังจากนั้นจึงให้
ผูป้ ่ วยถอดเลนส์สมั ผัสออกแล้วกลับมาวัดในขั้นตอนแรก คือมองด้วยตาเปล่า
4. การเลื่อนระยะทาง
กรณี ที่ผปู ้ ่ วยมีสายตาผิดปกติมากจนกระทัง่ ไม่สามารถมองเห็นตัวเลขในแถวที่ 1 ได้ ให้ใช้วิธี
เลื่อนระยะทางเข้าไปใกล้ผปู ้ ่ วยโดยใช้ อี -เกมส์ ( E-game ) ครั้งละ 5 ฟุต โดยผูว้ ดั ถือ อี-เกมส์ ซึ่งมีค่า
เท่ากับตัวเลขแถวที่ 1 คือ 20/200 ยืนห่างจากผูป้ ่ วยในระยะ 15 ฟุต . 10 ฟุต หรื อ 5 ฟุต ระยะใด ระยะ
หนึ่ง ถ้าผูป้ ่ วยบอกได้ถูกต้องว่าขาตัวอีช้ ีไปทิศทางใดถูกต้องทั้ง 4 ทิศทาง คือ บน ล่าง ซ้าย ขวา หรื อ
บอกทิศทางได้ถูกต้อง
บทที่ 3
ระเบียบวิธีวจิ ยั
รู ปแบบการวิจัย
การวิจยั ครั้งนี้ เป็ นการวิจยั แบบพรรณนา

ประชากรกลุ่มตัวอย่าง
ผูป้ ่ วยที่เป็ นโรคตา (ต้อลม/ต้อเนื้อ/ต้อกระจก/ต้อหิน) 50 ราย

กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกโดยผูป้ ่ วยที่ป่วยเป็ นโรคตา จากการวินิจฉัยจากแพทย์แผนปั จจุบนั มาแล้ว

เครื่องมือที่ใช้ ในงานวิจัย
เครื่ องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ใช้แบบบันทึกข้อมูลที่สร้างขึ้นโดยศึกษาเอกสาร
แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 1 ชุดแบ่งออกเป็ น 2 ส่วนคือ
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป ประกอบด้วยคาถาม ปลายปิ ดและเปิ ด จานวน 7 ข้อ
ส่วนที่ 2 ผลการรักษาโรคตาโดยการตรวจระดับความสามารถในการมองเห็น (VA)

การเก็บรวบรวมข้ อมูล
ผูว้ ิจยั ทาแบบบันทึกข้อมูลใช้เวลาประมาณ 90 วัน เมื่ อเก็บแบบบันทึกข้อมูลที่สมบูรณ์นามา
วิเคราะห์ จานวน 50 ฉบับ

สถิติการวิเคราะห์ ข้อมูล
ผูว้ จิ ยั นาแบบบันทึกข้อมูลที่ได้บนั ทึกเรี ยบร้อยแล้วมาตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูล แล้ว
ประมวลผลเบื้องต้นด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสาเร็ จรู ปโดยแบ่งวิเคราะห์ โดยสถิ ติ
พรรณนา ได้แก่ จานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
การศึกษาผลการรักษาโรคตาด้วยหนามหวาย ของผูป้ ่ วยที่เป็ นโรคตาที่มารับการรักษาใน
โรงพยาบาลส่งเสริ มสุขภาพตาบลปากอ่าง ตาบลอ่างทอง อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร

1.ข้อมูลทัว่ ไป
2.ผลการตรวจระดับความสามารถในการมองเห็น (VA)
1. ข้อมูลทัว่ ไป ผูป้ ่ วยโรคตาส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิงร้อยละ 62.00 , มีอายุอยูใ่ นช่วงปั จฉิมวัย
ร้อยละ 72.0 , มีการศึกษาระดับประถมศึกษาร้อยละ 74.00 , ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 52.00
, มีรายได้ 5,001-10,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 54.00 , มีโรคประจาตัวร้อยละ 64.00 , สิทธิการรักษา
บัตรทอง ร้อยละ 74.00 ดังรายละเอียดในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 จานวนและร้ อยละของผู้ป่วยโรคตาจาแนกตามข้ อมูลทั่วไป

ข้ อมูลทั่วไป จานวน(คน) ร้ อยละ

เพศ

ชาย 19 38.00

หญิง 31 62.00

อายุ (ปี )

ปฐมวัย (0-16) 0 0.00

มัชฌิมวัย (16-32) 14 28.00

ปัจฉิมวัย (32-สิ้นอายุขัย) 36 72.00

ระดับการศึกษา

ไม่ ได้ เรียน 8 16.00


ประถมศึกษา 37 74.00

มัธยมศึกษา 3 6.00

อนุปริญญา 0 0.00

ปริญญาตรี 2 4.00

อาชีพ

เกษตรกรรม 26 52.00

รับจ้ าง 11 22.00

ค้าขาย 6 12.00

รับราชการ 2 4.00

อื่นๆ 5 10.00

รายได้ (บาท/เดือน)

0-5,000 11 22.00

5,001-10,000 27 54.00

10,001-20,000 12 24.00

มากกว่า 20,000 ขึน้ ไป 0 0.00

โรคประจาตัว

มีโรคประจาตัว 32 64.00

ไม่ มีโรคประจาตัว 18 36.00

สิ ทธิการรักษา
เบิกต้ นสั งกัด 8 16.00

บัตรทอง 37 74.00

ชาระเงินเอง 5 10.00

2. ผลการรักษา
ผลการรักษาโดยการตรวจระดับความสามารถในการมองเห็น (VA) หลังการรักษา แยกตาม
ระดับ พบว่าก่อนการรักษาตาข้างขวาของผูป้ ่ วยอยูใ่ นระดับปกติ คิดเป็ นร้อยละ 36.00 , หลังการรักษา
คิดเป็ นร้อยละ 54.00 , ตาข้างซ้ายก่อนการรักษาอยูใ่ นระดับปกติคิดเป็ นร้อยละ 48.00 , หลังการรักษา
คิดเป็ นเป็ นร้อยละ 62.00 , ดังรายละเอียดในตารางที่ 2
ตารางที่ 2 ผลการรักษาโดยการตรวจระดับความสามารถในการมองเห็น (VA)
ผลการตรวจตา จานวนคน จานวนคน ร้ อยละ ร้ อยละ
(VA) ก่ อนการรักษา ก่ อนการรักษา หลังการรักษา หลังการรักษา
ตาข้ างขวา

ปกติ 18 36.00 27 54.00

ผิดปกติเล็กน้ อย 13 26.00 14 28.00

ผิดปกติปานกลาง 11 22.00 5 10.00

ผิดปกติมาก 8 16.00 4 8.00

ตาข้ างซ้ าย

ปกติ 24 48.00 31 62.00

ผิดปกติเล็กน้ อย 7 14.00 10 20.00

ผิดปกติปานกลาง 11 22.00 5 10.00

ผิดปกติมาก 8 16.00 4 8.00


บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผลและข้ อเสนอแนะ
สรุปผล

การวิจยั นี้ เป็ นการวิจยั เชิ งพรรณนา มี วตั ถุ ประสงค์เพื่อ ศึกษาผลการรักษาโรคตาด้วยหนาม


หวาย กลุ่มตัวอย่างคือผูป้ ่ วยโรคตา (ต้อลม/ต้อเนื้ อ/ต้อกระจก/ต้อหิ น) ที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาล
ส่งเสริ มสุขภาพตาบลปากอ่าง จานวน 50 ราย โดยคัดเลือกจากผูป้ ่ วยที่เป็ นโรคตา (ต้อลม/ต้อเนื้ อ/
ต้อกระจก/ต้อหิน) เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูล ซึ่งประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วนคือ
ข้อ มู ลทัว่ ไปและข้อ มู ลผลการรักษา เก็บรวบรวมข้อ มู ลโดยการสัมภาษณ์ และโดยการตรวจระดับ
ความสามารถในการมองเห็น (VA) ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559- 30 สิ งหาคม 2559 โดยใช้สถิติ
พรรณนา ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจยั มีดงั ต่อไปนี้

ผลการทดสอบโดยการตรวจระดับความสามารถในการมองเห็น (VA) ก่อนและหลังการรักษา


แยกตามระดับ พบว่าก่อนการรักษาตาข้างขวาของผูป้ ่ วยอยูใ่ นระดับปกติ คิดเป็ นร้อยละ 36.00 , หลัง
การรักษาคิดเป็ นร้อยละ 54.00 , ตาข้างซ้ายก่อนการรักษาอยูใ่ นระดับปกติคิดเป็ นร้อยละ 48.00 , หลัง
การรักษาคิดเป็ นเป็ นร้อยละ 62.00

อภิปรายผล

จากการศึกษารู ปแบบการรักษาโรคตาด้วยหนามหวาย ผูป้ ่ วยโรคตาส่ วนใหญ่เป็ นเพศหญิงร้อย


ละ 62.00 , มีอายุอยูใ่ นช่วงปั จฉิมวัยร้อยละ 72.0 , มีการศึกษาระดับประถมศึกษาร้อยละ 74.00 ,
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 52.00 , มีรายได้ 5,001-10,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 54.00 , มีโรค
ประจาตัวร้อยละ 64.00 , สิทธิการรักษาบัตรทอง ร้อยละ 74.00 และผลการทดสอบโดยการตรวจ
ระดับความสามารถในการมองเห็น (VA) ก่อนและหลังการรักษา แยกตามระดับ พบว่าก่อนการรักษา
ตาข้างขวาของผูป้ ่ วยอยูใ่ นระดับปกติ คิดเป็ นร้อยละ 36.00 , หลังการรักษาคิดเป็ นร้อยละ 54.00 , ตา
ข้างซ้ายก่อนการรักษาอยูใ่ นระดับปกติคิดเป็ นร้อยละ 48.00 , หลังการรักษาคิดเป็ นเป็ นร้อยละ 62.00
ทาให้ผปู ้ ่ วยโรคตามีคุณภาพชีวติ ที่ดีข้ นึ อธิบายได้วา่ ผลการรักษาโรคตาด้วยหนามหวาย โดยใช้หนาม
หวายบ่งที่บริ เวณแผ่นหลัง จานวน 3 จุด ต่อเนื่อง 3 วัน มีผลทาให้ระดับการมองเห็นของผูป้ ่ วยโรคตาดี
ขึ้น เป็ นไปตามการบอกเล่าของหมอพื้นบ้าน ซึ่งใช้เวลาในการรักษาไม่นาน และยังเป็ นการส่งเสริ ม
และอนุรักษ์ภูมิปัญญาการรักษาโรคตาแบบพื้นบ้านให้มีสืบไป

ข้ อเสนอแนะ

จากผลการวิจยั พบว่า ผูป้ ่ วยโรคตา มีคุณภาพดีชิตดีข้ ึนจาการมองเห็นที่ชดั ขึ้น มีค่าใช้จ่ายน้อย


และไม่ตอ้ งใช้เวลาในการพักฟื้ นนาน จึงมีขอ้ เสนอแนะดังนี้

1. เนื่องจากการรักษาโรคตาทางการแพทย์แผนปั จจุบนั มีค่าใช่จ่ายที่สูง และต้องเสี ยเวลาใน


การพักฟื้ นนาน จึงควรนาการแพทย์พ้ืนบ้านเข้ามาเสริ มการรักษาผูป้ ่ วยที่มีอาการไม่รุ่น
แรงเพือ่ ลดภาระค่าใช้จ่ายและเวลาในการพักฟื้ นของผูป้ ่ วย
2. การทาวิจยั ครั้งต่อไป ควรเพิ่มระยะเวลาการรักษาและเก็บข้อมูล เพื่อให้เป็ นไปตามแนว
ทางการรักษาของหมอพื้นบ้านตามคู่ มือ การรักษาโรคต้อ ด้วยหนามหวาย โดยศาสตร์
การแพทย์พ้นื บ้าน
3. การเก็บข้อมูลครั้งต่อไป ควรมีจกั ษุแพทย์ตรวจตาผูป้ ่ วยก่อนและหลังการรักษา เพื่อให้ได้
ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
บรรณานุกรม

ชเอม ขุมเพชร คู่มือการรักษาโรคตาต้อด้วยหนามหวาย

การศึกษาภูมิปัญญาการแพทย์พ้นื บ้านจังหวัดกาแพงเพชร กรณี ศึกษาของหมอชเอม ขุมเพชร

มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ . ภาควิ ช าจั ก ษุ วิ ท ยา. 2558. ต้ อ กระจก. (ออนไลน์ ) . แหล่ ง ที่ ม า :
http://www.med.cmu.ac.th/dept/eye/2012/ index.php?option=com_content&view=article&id
=143:ต้อกระจก&catid=17&Itemid=298.

โรงพยาบาลจุ ฬ าลงกรณ์ สภากาชาดไทย. 2558. ต้อ เนื้ อ และต้อ ลม. (ออนไลน์ ) . แหล่ ง ที่ ม า :
6http://www.chulalongkornhospital.go.th/chulahospital/index.php?option=com_content&tas
k=view&id= 40.
ศักดิ์ชยั วงศกิตติรักษ์ แนวทางจักษุวิทยาสาหรับเวชปฏิบตั ิทวั่ ไป พิมพ์ครั้งที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2552
สานักพิมพ์หมอชาวบ้าน หน้า 45-46
ภาคผนวก
ประวัติผู้วิจัย
ชื่อ –สกุล นายชเอม ขุมเพชร
การศึกษา ปริญญาตรี คณะสาธารณสุขศาสตร์ สาขาแพทย์แผนไทยประยุกต์มหาวิทยาลัย
นเรศวร (2555)
ตาแหน่ง แพทย์แผนไทย
สถานที่ปฏิบัติทางาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลปากอ่าง

ชื่อ –สกุล นางสาวเอมอร พรมแก้ว


การศึกษา ปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โปรแกรมวิชาสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร (2554)
ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุข
สถานที่ปฏิบัติทางาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลปากอ่าง

ชื่อ –สกุล นางวรินทร ทีเวียง


การศึกษา ปริญญาตรี คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2554)
ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุข ชานาญการ
สถานที่ปฏิบัติทางาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลปากอ่าง

ชื่อ –สกุล นางสาวธนวรรณ ทรัพย์มาก


การศึกษา พยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล/วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยมหิดล ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ ปฏิบัติงานผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์
แผนไทย
สถานที่ปฏิบัติงาน โรงพยาบาลนครนายก
แบบบันทึกข้อมูล
การวิจัยเรื่องการศึกษาผลการรักษาโรคตาด้วยหนามหวาย
โดยการตรวจระดับความสามารถในการมองเห็น (VA)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลปากอ่าง อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร ประจาปี 2559
*****************************************************
แบบสอบถามชุดนี้ ประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป
ส่วนที่ 2 แบบบันทึกผลการตรวจระดับความสามารถในการมองเห็น (VA)
คาชี้แจง เพื่อให้การประเมินผลและวิเคราะห์ การวิจัยเรื่องการศึกษาผลการรักษาโรคตาด้วยหนาม
หวาย ได้ผลใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุด ขอให้ท่านปฏิบัติดังนี้
1. โปรดตอบคาถามแต่ละข้อให้ตรงกับความเป็นจริง
2. โปรดตอบแบบสอบถามทุกตอนและทุกข้อ เพื่อที่จะได้นาคาตอบของท่านไปเป็นข้อมูลในการ
วิจัยได้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานด้านการแพทย์แผนไทยต่อไป
โปรดกาเครื่องหมาย /ลงใน ( ) และ/หรือเติมข้อความลงในช่องว่างตรงตามความเป็นจริง
ตอนที่1 ข้อมูลทั่วไป
1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง
2. อายุ ………..ปี
3. การศึกษา ( ) ไม่ได้เรียน ( ) ปฐมศึกษา ( ) มัธยมศึกษา ( ) อนุปริญญา
( ) ปริญญาตรีขึ้นไป
4. อาชีพ ( ) เกษตรกรรม ( ) รับจ้าง ( ) ค้าขาย ( ) รับราชการ ( ) อื่น………
5. รายได้…………………………………………………………………….บาท/เดือน
6. โรคประจาตัว ( ) มีโรคประจาตัว ( ) ไม่มีมีโรคประจาตัว ระบุ..........................
7. สิทธิการรักษา ( ) เบิกได้ ( ) บัตรทอง ( ) ชาระเงินเอง ( ) อื่น………
ตอนที่2 ผลการรักษา
ตาขวา
VA ก่อนการรักษา
ตาซ้าย

ตาขวา
VA หลังการรักษา
ตาซ้าย
ข้อเสนอแนะ
......................................................................................................................................................................

You might also like