You are on page 1of 16

แบบฝึ กหัดวิชาเวชกรรมไทย ชุด๑

แบบทดสอบวิชาเวชกรรมไทย
ชุดที54
จงเลือกคําตอบทีถ4 ูกต้ องทีส4 ุ ดเพียงข้ อเดียวเท่ านัEน
1. กิจ H ประการยกเว้นการรู ้จกั ยาสําหรับแก้โรค หรื อหลักเภสัชแล้ว คงเหลือ L ประการ ข้อ
ใดไม่ใช่ กิจ L ประการ
ก. รู ้จกั ทีQตS งั แรกเกิดของโรค ข.รู ้จกั อาการของโรคทีQเกิดขึSน
ค. รู ้จกั ชืQอของโรคทีQเกิดขึSน ง.รู ้จกั ว่าโรคใดควรแก้ตวั ยาชนิดใด
2. สมุฏฐานของโรค H ประการ หรื อทีQตS งั แรกเกิดโรคของโรค H ประการ ข้อใดมีความถูกต้อง
ทีQสุด
ก. ธาตุ อุตุ อายุ ประเทศ ข. ธาตุ อายุ ประเทศ กาล
ค. ธาตุ อายุ อุตุ กาล ค. ธาตุ อุตุ อายุ ประเทศ
3. ธาตุสมุฏฐาน คือทีQตS งั แรกของโรค หรื อสาเหตุของโรคทีQเกิดจากธาตุ ข้อใดถูกน้อยทีQสุด
ก. ปถวีธาตุ วาโยธาตุ อากาศธาตุ เตโชชาติ
ข. ปถวีธาตุ อาโปธาตุ วาโยธาตุ เตโชชาติ
ค. ธาตุดิน ธาตุนS าํ ธาตุลม ธาตุไฟ
ง. วีสติปถวีธาตุ ทวาทสอาโปธาตุ ฉกาลวาโยธาตุ
4. ทวาทสาถาโร แปลว่าอะไร ได้แก่ธาตุอะไร ข้อใดถูกต้องทีQสุด
ก. อาการ ]] ได้แก่ธาตุทีQเป็ น อาโปธาตุ และอากาศธาตุ
ข. อาการ L] ได้แก่ ปถวีธาตุ และ อาโปธาตุ
ค. อาการ H] ได้แก่ ปถวีธาตุ อาโปธาตุ วาโยธาตุ และเตโชธาตุ
ง. อาการ _] ได้แก่ธาตุทS งั H และอากาศธาตุ
5. วีสติปถวีธาตุ หรื อ วีสปถวีธาตุ และจตุเตโชธาตุ แปลว่า ธาตุอะไร มีจาํ นวนเท่าใด ข้อใด
ถูกต้องทีQสุด
ก. ธาตุดิน ]a และ ธาตุนS าํ b] รวม L]
ข. ธาตุดิน ]a และธาตุลม c รวม ]c
ค. ธาตุนS าํ b] ธาตุลม c และ ธาตุไฟ H รวม ]]
ง. ธาตุดิน ]a และธาตุไฟH รวมเป็ น ]H
6. ธาตุ _] ประการให้เหลือ H] ประการ เมืQอตัดธาตุลมและธาตุไฟออกแล้ว ข้อใดถูกต้องทีQสุด
ก. ปถวีธาตุ อาโปธาตุ อากาศธาตุ

โกมารภัจจ์ สหคลินิก อ.ประสิ ทธิC คงทรัพย์ หน้า 1


แบบฝึ กหัดวิชาเวชกรรมไทย ชุด๑

ข. ปถวีธาตุ วาโยธาตุ อากาศธาตุ


ค. อาโปธาตุ เตโชธาตุ อากาศธาตุ
ง. ปถวีธาตุ เตโชธาตุ อาโปธาตุ

7. คําศัพท์ต่อไปนีS ข้อใดแปลถูกต้องทีQสุด คือ วักกัง ยกนัง กิโลมนัง อันตัง อุทริ ยงั


ก. ม้าม หัวใจ ตับ ลําไส้นอ้ ย ลําไส้ใหญ่
ข. พังผืด หัวใจ ลําไส้นอ้ ย อาหารใหม่ ตับ
ค. ม้าม ตับ พังผืด ลําไส้นอ้ ย อาหารเก่า
ง. ม้าม ตับ พังผืด ลําไส้ใหญ่ อาหารใหม่
8. อวัยวะต่อไปนีS ถ้าเป็ นคําศัพท์ทีQเป็ นภาษาบาลี ข้อใดมีความหมายถูกต้องทีQสุด ไต ไข
กระดูก เส้นเอ็น ลําไส้นอ้ ย และปอด
ก. ปิ หกัง อัฎฐิมิญชัง นหารู อันตคุนงั กิโลมกัง
ข. ปิ หกัง อัฎฐิ นขา นหารู ปั ปผาสัง
ค. ปิ หกัง อัฎฐิมิญชัง นหารู อันตคุนงั ปั ปผาสัง
ง. กิโลมกัง ปิ หกัง ยกนัง อันตคุนงั ปั ปผาสัง
9. คําศัพท์ต่อไปนีSแปลว่าอะไร เป็ นธาตุอะไร ปุพโพ เสโท เมโท วสา ลสิ กา
ก. นํSาหนองหรื อนํSาเหลือง เหงืQอ มันข้น มันเหลว ไขข้อ เป็ นธาตุนS าํ
ข. นํSาหนอง โลหิ ต ไขกระดูก ไขข้อ มันเหลว เป็ นธาตุนS าํ และธาตุดิน
ค. นํSาหนองหรื อนํSาเหลือง โลหิ ต ไขมัน มันเหลว เยือQ ในกระดูก
ง. นํSาหนองหรื อนํSาเหลือง มันเหลว มันข้น ไขข้อ ไขกระดูก
10. ธาตุต่อไปนีSถา้ เป็ นภาษาบาลีหรื อคําศัพท์ ข้อใดถูกต้องทีQสุด อุจจาระ ปั สสาวะ นํSาลาย
นํSามูก มันสมอง
ก.มุตตัง อุจจารัง เขฬัง สังฆิกงั มัตถลุงกัง
ข.มุตตัง คูถถัง เขฬัง สังฆิกงั มัตถเภลัง
ค. กรี สงั มุตตัง สังฆานิกา เขโฬ มัตถโกกัง
ง. กรี สงั มุตตัง เขโฬ สิ งฆานิกา มัตถเกมัตถลุงคัง
11. อุทธังคมาวาท และอโธคมาวาท ได้แก่ลมตามข้อใด
ก. ลมพัดลงเบืSองตํQา และลมพัดในลําไส้
ข. ลมพัดขึSนเบืSองสู ง และลมพัดขึSนเบืSองบน
ค. ลมพัดขึSนเบืSองบน ลมพัดลงเบืSองตํQา
ง. ลมพัดในลําไส้ และลมพัดทัวQ ร่ างกาย

โกมารภัจจ์ สหคลินิก อ.ประสิ ทธิC คงทรัพย์ หน้า 2


แบบฝึ กหัดวิชาเวชกรรมไทย ชุด๑

12. ลมพัดในลําไส้หรื อในกระเพาะ และลมในท้องคือข้อใด


ก. กุจฉิ สยาวาต ข. โกฎฐาสยาวาต สุ นทรยสาวาต
ค. โกฎฐาสยาวาต ง. อุทรสยาวาต โกฎฐาสยาวาต
13.ปริ ทยั หัคคี และปริ ณามัคคี ได้แก่ไฟตามข้อใด
ก.ไฟทีQทาํ ให้แก่ครํQาคร่ า และไฟเผาอาหาร หรื อไฟทําให้ยอ่ ยอาหาร
ข.ไฟทําให้ร่างกายระสํQาระส่ าย และไฟทีQทาํ ให้ยอ่ ยอาหาร
ค. ไฟทีQทาํ ให้ร่างกายอบอุ่น และไฟทีQทาํ ให้แก่ครํQาครา
ง. ไฟทีQทาํ ให้ร่างกายอบอุ่น และไฟทีQทาํ ให้ร่างกายร้อนระสํQาระส่ าย
14. ธาตุไฟทีQทาํ ให้ร่างกายอบอุ่น และไฟทีQทาํ ให้ร่างกายทรุ ดโทรมหรื อแก่ครํQาคร่ าหรื อชราภาพ
ได้แก่ธาตุไฟตามข้อใด
ก. สันตัปปัคคี ข. ปริ ทยั หัคคี ชิรณัคคี
ค. ชิรณัคคี ปริ ณามัคคี ง. สันตัปปั คคี ชิรณัคคี
15. ธาตุ H หรื อ ธาตุ H] ประการ เมืQอย่อให้เหลือน้อยทีQสุด คือธาตุตามข้อใด
ก. ธาตุดิน ธาตุนS าํ ธาตุลม ธาตุไฟ ข.ปิ ตตะ วาตะ เสมหะ
ค. โลหิ ต กําเดา นํSาดี ง. นํSาดี เสลด เสมหะ
16. ส่ วนของอวัยวะทีQมีหน้าทีQต่อไปนีS คือ ส่ งนํSาย่อยอาหารเข้าไปเลีSยงกระเพาะอาหาร หรื อถ่าย
โลหิ ตเสี ยไปตามเส้นโลหิ ตดําก็ดี มีหน้าทีQยอ่ ยอาหารแล้วย่อยลงไปสู่ ลาํ ไส้นอ้ ยก็ดี มีหน้าทีQ
กลันQ นํSาดีไปสู่ ลาํ ไส้ใหญ่กด็ ี ประการดังกล่าว ได้แก่อวัยวะข้อใด
ก. ม้าม ตับอ่อน ตับแก่ ข. ม้าม กระเพาะ ตับอ่อน
ค. กระเพาะ ตับอ่อน ตับแก่ ง. ม้าม ตับแก่ กระเพาะ
17. ลักษณะของอวัยวะต่อไปนีSได้แก่อะไร ยาวรี เหมือนลิSนโคก็ดี มีสีแดงคลํSาคล้ายตับสุ กรก็ดี
คล้ายสะบ้ามอน หรื อคล้ายเม็ดทองหลาง ตอนต้นใหญ่ ปลายเรี ยวก็ดี เป็ นอวัยวะตามข้อใด
ก. ตับอ่อน ตับแก่ ไต ข. ม้าม ตับอ่อน ตับแก่
ค. ตับแก่ ไต กระเพาะ ง. กระเพาะ ตับอ่อน ตับแก่
18. อวัยวะทีQมี]อย่าง หรื อทีQมีคู่ในร่ างกาย มีหลายอย่าง ข้อใดถูกต้องทีQสุด
ก. ม้าม หัวใจ ตับ ไต ข. ตับ ไต ปอด หัวใจ
ค. ปอด ตับ ไต กระบังลม ง. ไม่มีขอ้ ใดถูกต้อง
19. ทีQตS งั ของอวัยวะต่อไปนีSคือ อยูห่ ลังกระเพาะอาหารเบืSองซ้ายก็ดี อยูภ่ ายในท้องตรงกลาง
ท้องใต้ลิSนปีQ หรื อลําไส้ตอนบนก็ดี อยูร่ ะหว่างชายโครงเบืSองขวาก็ดี อวัยวะตามทีQกล่าวมา
คือข้อใด
ก. ตับอ่อน ตับแก่ ปอด ข.ม้าม หัวใจ ไต

โกมารภัจจ์ สหคลินิก อ.ประสิ ทธิC คงทรัพย์ หน้า 3


แบบฝึ กหัดวิชาเวชกรรมไทย ชุด๑

ค. ตับ ไต ไส้ติQง ง. ม้าม ตับแก่ กระเพาะ


20.อวัยวะทีQตS งั อยูใ่ นช่องท้องหัวเหน่าทํางานหนักตอนคลอดบุตร หรื อทีQอยูต่ รงขัSวปอดและ
หลอดลมก็ดีอยูต่ ิดกับกระเพาะปั สสาวะก็ดี อยูช่ ่องท้องส่ วนล่างต่อจากลําไส้ใหญ่กด็ ี
อวัยวะดังทีQกล่าวมาข้อใดถกต้องทีQสุด
ก. กระเพาะอาหาร กระบังลม ไส้ติQง
ข. กระบังลม ต่อมลูกหมาก ไส้ติQง
ค. กระเพาะปั สสาวะ ต่อมลูกหมาก ไส้ติQง
ง. ปอด ต่อมลูกหมาก กระบังลม
21. อวัยวะทีQมีหน้าทีQสาํ คัญ สู บฉี ดโลหิ ตไปยังส่ วนต่างๆของร่ างกายก็ดี กรองปั สสาวะให้ลงสู่
กระเพาะปั สสาวะก็ดี ฟอกโลหิ ตดําให้เป็ นโลหิ ตแดงก็ดี ได้แก่อวัยวะตามข้อใด
ก. หัวใจ ตับ ไต ข. ม้าม ตับ ไต
ค.หัวใจ ไต ปอด ง. หัวใจ ตับ ปอด
22. อาการฟกบวม ชํSา เป็ นไฝ เป็ นพรายนํSา เป็ นลมพิษร้อนและคันตามผิวหนัง เป็ นผืนQ เป็ นผด
และเป็ นหูด กลาก เกลืSอนก็ดี อาการดังกล่าวคืออะไรพิการ
ก. ขน หนัง ข. เนืSอ หนัง
ค. ขน เนืSอ ง. พังผืด เนืSอ
23. อาการ อกแห้ง อิดโรย กระหายนํSา ไอ ร้อนในอกก็ดี ร้อนใน กระหายนํSา หอบ หื ด ไอ
อาเจียนก็ดี อาการเหล่านีSอะไรพิการ
ก. พังผืด ปอด ข. ปอด ไต
ค. พังผืด ไต ง. ลําไส้ใหญ่ ลําไส้นอ้ ย
24. อาการ ปวดเมืQอยตามร่ างกาย สวิงสวาย ปวดศีรษะก็ดี อาการเจ็บปวด เป็ นเหน็บชา ปวด
ศีรษะบ่อยก็ดี อาการเหล่านีS ข้อใดถูกต้องทีQสุด
ก. กระดูก เส้นเอ็น ข.ไขข้อ เส้นเอ็น
ค. เส้นเอ็น เยือQ ในกระดูก หรื อไขกระดูก ง.ไขข้อ ไขกระดูก
25. อาการ ขัดอก แน่นอก ท้องขึSนท้องพอง แน่นท้อง มือเท้าเย็น ปั สสาวะขัดก็ดี เจ็บทัวQ ร่ างกาย
ขนลุกพองและหลุดร่ วงก็ดี อาการเหล่านีS อะไรพิการ
ก. พังผืด ไต ข. ปอด ไต
ค. ขน ไต ง. พังผืด ปอด
26. อาการ ลงท้อง ปวดท้อง แน่นท้อง สะอึก หาวเรอก็ดี อาการร้อนท้อง ร้อนคอ อุจจาระเป็ น
เลือดก็ดี อาการเหล่านีSอะไรพิการ
ก. อาหารใหม่ อาหารเก่า ข. อาหารใหม่ ลําไส้นอ้ ย

โกมารภัจจ์ สหคลินิก อ.ประสิ ทธิC คงทรัพย์ หน้า 4


แบบฝึ กหัดวิชาเวชกรรมไทย ชุด๑

ค. ลําไส้ใหญ่ อาหารใหม่ ง. ลําไส้ใหญ่ ลําไส้นอ้ ย


27. อาการ สะอึก ขัดอก พะอืดพะอม จุกเสี ยดก็ดี อาการ อุจจาระเสี ย อุจจาระไม่ปกติ เป็ น
ริ ดสี ดวงทวารก็ดีอาการเหล่านีS อะไรพิการ
ก. อาหารใหม่ อาหารเก่า ข. ลําไส้นอ้ ย ลําไส้ใหญ่
ค. พังผืด ไต ง. กระดูก เยือQ ในกระดูก
28. นหารู คือเส้นเอ็น มีลกั ษณะต่างกันHอย่าง ข้อใดไม่ใช่ลกั ษณะความแตกต่างของเส้นทัSงH
ประการ
ก. เส้นโลหิ ตแดง เส้นโลหิ ตขาว ข.เส้นโลหิ ตดํา เส้นโลหิ ตแดง
ค. เส้นขาว หรื อ เส้นประสาท ง. เส้นยึดเหนีQยวทัวQ ร่ างกายหรื อเส้นเอ็น
29. เส้นประสาท ba เส้น เส้นอิทา เส้นปิ งคลา เส้นสุ มนา เส้นกาพิธารี เส้นสหัสรังสี เส้นทวารี
เส้นลาอุรัง เส้นอุลงั กะ เส้นนันทกระหวัด และเส้นคิชฌะ เป็ นเส้นออกจากหรื อผ่านอวัยวะ
ตามข้อใดถูกต้องทีQสุด
ก. ตา หู จมูก ลิSน ปาก ข. ตา หู จมูก ลิSน กาย
ค. จมูก ลิSน ตา หู สะดือ ง. จมูก ลิSน ตา หู กาย
30. อาการของเส้นเอ็นพิการ มีหลายอาการ ข้อใดถูกต้องทีQสุด
ก. ขัดในอก แน่นอก ท้องขึSนท้องพอง แน่นท้อง มือเท้าเย็น
ข. เจ็บตามข้อกระดูก ฟกชํSา เมืQอย เหน็บชา
ค. ตึงไปทัวQ ร่ างกาย สวิงสวาย อ่อนเพลีย ยอกขัด ปวดเมืQอย เบืQออาหาร
ง. อกแห้ง อิดโรย กระหายนํSา อ่อนเพลีย เป็ นริ ดสี ดวงแห้ง
31. ระบบสรี ศาสตร์ทีQสาํ คัญ L ระบบ คือ ระบบขับถ่ายของธาตุดิน ระบบขับถ่ายของธาตุนS าํ
และระบบประสาทหรื อลม ข้อใด เรี ยงลําดับไม่ถูก
ก. ตับ ปอด หัวใจ ลําไส้นอ้ ย ลําไส้ใหญ่
ข. สมอง ไขสันหลัง ประสาทย่อย
ค. ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลําไส้เล็ก ลําไส้ใหญ่ ตับ
ง. ปอด ลําไส้ ไต ผิวหนัง กระเพาะปั สสาวะ
32. อาโปธาตุ ปิ ตตะนํSาดี ท่านแบ่งออกเป็ น ] อย่างใน ] อย่างเท่านัSน ข้อใดถูกน้อยทีQสุด
ก. พัทธปิ ตตะ อพัทธปิ ตตะ ข. พันธนปิ ตตะ อพันธนปิ ตตะ
ค. ดีในฝัก ดีนอกฝัก ง. ดีทวัQ ร่ างกาย ดีในถุงนํSาดี
33. นํSาดีพิการ มีอาการหลายอย่าง ข้อใดเป็ นอาการพิการของนํSาดี ทีQถูกน้อยทีQสุด
ก. พัทธปิ ตตะพิการ มีอาการ คลังQ เสมอ เพ้อ พูดพล่าม ถ่ายเป็ นสี เหลืองแดง
ข. อพัทธปิ ตตะพิการ มีอาการ ปวดศีรษะ ตัวร้อน นอนผวา ตาเหลือง

โกมารภัจจ์ สหคลินิก อ.ประสิ ทธิC คงทรัพย์ หน้า 5


แบบฝึ กหัดวิชาเวชกรรมไทย ชุด๑

ค. อาการซึม หาสติไม่ได้ คลังQ เป็ นคราวๆ โลดโผนกระโจนไป บริ โภคอาหารไม่อยูท่ อ้ ง


เป็ นอาการของดีซึม ดีพลุ่ง ดีลน้ และดีรัQว
ง. อาการตาแดง ปั สสาวะแดง เพ้อคลังQ ผุดขึSนเป็ นเม็ด เป็ นวงแดง เขียว เหลือง เป็ นอาการ
ของดีแตก ดีฝ่อ ดีซ่าน
34. ดีทีQอยูใ่ นถุงนํSาดี ตัSงอยูร่ ะหว่างซอกตับ คือดีอะไร
ก. พัทธปิ ตตะ ข. อพัทธปิ ตตะ
ค. ดรนอกฝัก ง. ดีทวัQ ไป
35. อาโปธาตุ เสมหัง คือเสมหะหรื อเสลด ซึQงมีลกั ษณะสี ขาว มัวขุ่นข้น มีทีQตS งั ทีQสาํ คัญอยู่ L
แห่งข้อใดไม่ใช่ทีQตS งั ของเสมหะ
ก. มูตรเสมหะ อยูท่ ีQทอ้ งน้อย ข. คูถเสมหะ อยูท่ ีQลาํ ไส้ใหญ่ตอนล่าง
ค. อุระเสมหะ อยูใ่ นทรวงอก ในปอด ง. ศอเสมหะ เสมหะอยูใ่ นลําคอ
36. อาการ ถ่ายเสมหะ เป็ นโลหิ ตเน่า ปวดมวน ปวดเบ่ง เป็ นบิด เ ป็ นริ ดสี ดวง อาการดังกล่าว
อะไรพิการ
ก. อุระเสมหะ ข. คูถเสมหะ
ค. ศอเสมหะ ง. มูตรเสมหะ
37. อาโปธาตุ โลหิ ตงั คือโลหิ ตหรื อเลือด มีลกั ษณะเป็ น ] ประการ คือลักษณะตามข้อใด
ก. โลหิ ตแดง โลหิ ตขาว ข. โลหิ ตแดง โลหิ ตดํา
ค. โลหิ ตขาว โลหิ ตดํา ง. โลหิ ตขาว โลหิ ตเขียว
38. เรืQ องของโลหิ ต ข้อใดมีความสัมพันธ์กนั น้อยทีQสุด หรื อเป็ นคํากล่าวทีQถูกน้อยทีQสุด
ก. โลหิ ตแดง เกิดจากหัวใจ เป็ นโลหิ ตทีQหวั ใจฉี ดไปเลีSยงร่ างกาย
ข. โลหิ ตแดง เมืQอกระทบความร้อนหรื อความเย็นเป็ นสี ดาํ ไหลไปให้ปอดฟอก
ค. ประโยชน์ของโลหิ ตทําให้อุณหภูมิร่างกายเป็ นปกตินาํ อาหารไปเลีSยงร่ างกาย ขับสิQ งทีQไม่
ต้องการออก
ง. โลหิ ตดําทําให้เกิดการไหลเวียนของโลหิ ต นําโลหิ ตแดงไปเลีSยงร่ างกายและขับของเสี ย
ออก
39. อาการของโรคคือ ผิวกายเหลือง ตาเหลือง ท้องเดิน และอาเจียนก็ดี เมืQอยในข้อในกระดูก
เจ็บตามข้อและท่อนกระดูกขัดและตึงทุกข้อก็ดี ผุดเป็ นแผ่นตามผิวหนัง เป็ นวงเป็ นดวง
เป็ นนํSาเหลืองไหล ปวดแสบปวดร้อนและคันก็ดี อะไรพิการ
ก. นํSาดี เส้นเอ็น โลหิ ต ข. มันเหลว ไขข้อ มันข้น
ค. มันข้น มันเหลว โลหิ ต ง.มันเหลว นํSาดี โลหิ ต

โกมารภัจจ์ สหคลินิก อ.ประสิ ทธิC คงทรัพย์ หน้า 6


แบบฝึ กหัดวิชาเวชกรรมไทย ชุด๑

40. อาการของโรค ตัวเย็น ตัวขาวซีด สวิงสวาย อ่อนเพลีย เหงืQอออกมาก สากชาไปทัSงตัวก็ดี


ซูบซีบ ผอมแห้ง ไอ รับประทานอาหารไม่รู้รส เป็ นเม็ด พุพอง คัน เป็ นฝี กด็ ี อะไรพิการ
ก. โลหิ ตและนํSาดี ข. เหงืQอและนํSาหนอง หรื อนํSาเหลือง
ค. มันข้น มันเหลว ง. นํSาเหลืองและโลหิ ต
41. ลักษณะอาโปธาตุ สี ขาวปนสี เขียวก็ดี สี ขาวขุ่นก็ดี เป็ นเนืSอมันสี ขาวแกมเหลืองก็ดี เป็ น
นํSามันเหลวและนํSาเหลืองก็ดี ได้แก่อะไร
ก. เหงืQอ มันเหลว มันข้น ไขมัน ข. นํSาเหลือง นํSามูก นํSาลาย นํSาปั สสาวะ
ค. นํSามูก นํSาเหลือง นํSาลาย นํSาตา ง. นํSาหนอง นํSาลาย มันข้น มันเหลว
42. วาโยธาตุ คือธาตุลมมี c กอง มีอาการมากมาย เมืQอย่อแล้วเหลือเพียง ] กองเท่านัSน คือข้อใด
ก. ลมมีพิษ ลมไม่มีพิษ ข.ลมกองหยาบ ลมกองละเอียด
ค. ลมร้าย ลมไม่ร้าย ง. ลมทีQเป็ นวาโยธาตุ และ อากาศธาตุ
43. อาการ เจ็บปวดสองหน้าขา นัยน์ตาฝ้าฟาง เจ็บตามกระดูกสันหลังและต้นคอ อาเจียนแต่ลม
เปล่า เบืQออาหาร กินอาหารไม่รู้รส สะบัดร้อน สะบัดหนาว โสตประสาทตึง ลมอะไรพิการ
ก. ลม กุจฉิ สยาวาต ข. ลม โกฏฐาสยาวาท
ค. ลม อโรคมาวาต ง. ลม อังคมังคานุสารี วาต
44. อาการของโรคลมพิการ คือขัดในอก จุกเสี ยดในอก คลืQนเหี ยน อาเจียนแต่ลมป่ าว เบืQอ
อาหาร เหม็นข้าวก็ดี ยกมือเท้าไม่ขS ึน เมืQอยขบ ขัดทุกข้อกระดูก เจ็บปวดมากก็ดี คือลม
อะไรพิการ
ก. ลมในท้อง ลมในลําไส้ ข. ลมพัดขึSนเบืSองบน ลมพัดลงเบืSองตํQา
ค. ลมพัดขึSนเบืSองบน ลมพัดทัวQ ร่ างกาย ง. ลมพัดในลําไส้ ลมพัดลงเบืSองตํQา
45. อาการเจ็บปวด ท้องขึSน ท้องพอง ท้องลันQ แดกขึSนแดกลง สวิงสวายก็ดี มือและเท้าขวักไขว่
ร้อนในท้องหาวเรอ ทุรนทุราย เสมหะเพ้อ คับอกก็ดี คือลมอะไรพิการ
ก. ลมในท้อง ลมพัดขึSนเบืSองบน ข. ลมในลําไส้ ลมพัดลงเบืSองตํQา
ค. ลมพัดขึSนเบืSองบน ลมในลําไส้ ง. ลมพัดทัวQ ร่ างกาย ลมในท้อง
46. เมืQอกล่าวตามลําดับ ลมต่อไปนีS เป็ นภาษาบาลี คือข้อใด ลมในลํSาไส้หรื อลมในกระเพาะ ลม
พัดทัวQ ร่ างกาย ลมพัดขึSนเบืSองบน ลมในท้อง ลมพัดลงเบืSองตํQา
ก. ลมโกฏฐาสยาวาต ลมอังคมังคนุสารี วาต ลมอุทธังคมาวาต ลมกุจฉิ สยาวาต ลมอโธค
มาวาต
ข. ลม โกฏฐาสยาวาต ลม อังคมังคนุสารี วาต ลม อังคมังคนุสารี วาต กุจฉิ สยาวาต ลม
อโธคมาวาต

โกมารภัจจ์ สหคลินิก อ.ประสิ ทธิC คงทรัพย์ หน้า 7


แบบฝึ กหัดวิชาเวชกรรมไทย ชุด๑

ค. ลมอโธคมาวาต ลมอุทธังคมาวาต ลมโกฏฐาสยาวาต ลมกุจฉิ สยาวาต ลมอังคมังคนุสารี


วาต
ง. ลม อังคมังคนุสารี วาต ลม โกฏฐาสยาวาต ลม กุจฉิ สยาวาต ลม อโรคมาวาต ลม
อุทธังคมาวาต
47.ลมอัสสาสปัสสาสวาต คือลมอะไร
ก. ลมหายใจเข้า ข. ลมหายใจออก
ค. ลมหายใจเข้าและหายใจออก ง. ถูกทุกข้อ
48. โอฬาริ กวาต ก็ดี สุ ขมุ าวาตก็ดี คือลมอะไร
ก. ลมโอฬาร ลมสุ ขมุ ข. ลมวาโยธาตุ ลมอากาศธาตุ
ค. ลมกองหยาบ ลมกองละเอียด ง. ลมพัดทัวQ ไปภายในและภายนอก
49. โรคลมซึQงมีอาการ วิงเวียน หน้ามืด ตาลาย หัวใจสันQ หนักศีรษะ เสี ยวตามมือตามเท้า นํSามูก
ตกก็ดี อาการจุกเสี ยดแน่น ปวด ท้องขึSน อึดเฟ้อ บริ โภคอาหารไม่ได้ หายใจขัดก็ดี อาการ
ทัSงสองดังกล่าวมา คือลมอะไร
ก. ลมสุ มนาวาต ลมสัตถกวาต ข. ลมสะแกเวียน ลมจับโปง
ค. ลมโอฬาริ กวาต ลมสุ ขมุ าวาต ง. ลมปะตัง ลมพัดขึSนเบืSองบน
50. จตุเตโชธาตุ คือ ธาตุไฟ H ประการ ไฟต่อไปนีSกล่าวตามลําดับทีQเป็ นคําศัพท์คือข้อใด ไฟเผา
อาหารให้ยอ่ ย ไฟทีQทาํ ให้ร่างกายอบอุ่น ไฟทําให้แก่ชรา และไฟทําให้ร่างกายร้อน
ระสํQาระสาย
ก. สันตัปปัคคี ปริ ทยั หัคคี ชิรณัคคี ปริ ณามัคคี
ข. ปริ ทยั หัคคี ปริ ณามัคคี สันตัปปั คคี ชาณัคคี
ค. ปริ ณามัคคี สันตัปปัคคี ชิรณัคคี ปริ ทยั หัคคี
ง. ชิรณัคคี ปริ ณามัคคี ปริ ทยั หัคคี สันตัปปั คคี
51. อาการต่อไปนีS ร้อนในอกร้อนในใจ บวมตามมือตามเท้า ไอเป็ นมองคร่ อ พะอึดพะอม ปวด
ฝ่ ามือฝ่ าเท้า ท้องแข็ง แน่นท้อง ขัดหน้าอก เป็ นอาการของธาตุไฟชืQออะไรพิการ
ก. ชิรณัคคี ข. ปริ ณามัคคี
ค. ปริ ทยั หัคคี ง.สันตัปปั คคี
52. เบญจอินทรี ยเ์ ปลีQยนแปลงหรื อพิการไป เพราะธาตุไฟกองใด
ก. สันตัปปัคคี ข. ชิรณัคคี
ค. ปริ ณามัคคี ง. ปริ ทยั หัคคี
53. อาการ มือและเท้าเย็น ชีพจรเดินไม่ปกติ ร้อนภายในเย็นภายนอก เหงืQอตกเป็ นเมล็ด
ข้าวโพด อาการดังกล่าว ธาตุไฟชืQออะไรพิการ

โกมารภัจจ์ สหคลินิก อ.ประสิ ทธิC คงทรัพย์ หน้า 8


แบบฝึ กหัดวิชาเวชกรรมไทย ชุด๑

ก. ปริ ณามัคคี ข.สันตัปปั คคี


ค. ชิรณัคคี ง. ปริ ทยั หัคคี
54.อุตุสมุฏฐาน ได้แก่สมุฏฐานแห่งโรคทีQเกิดจากฤดู ท่านแบ่งตามฤดูขอ้ ใด ไม่ถูกต้อง
ก. ฤดู L แบ่งเป็ นฤดูละ H เดือน ข. ฤดู H แบ่งเป็ นฤดูละ L เดือน
ค. ฤดู L และ ฤดู H แบ่งเป็ นฤดู L เดือนและ Hเดือน
ง. ฤดู L แบ่งเป็ นฤดูละ ] เดือน
55. วัสสานฤดู และสันนิบาตฤดู อยูใ่ นฤดูอะไร
ก. ฤดู L ฤดู H ข. ฤดู L ฤดู c
ค. ฤดู c ฤดู H ง. ถูกทุกข้อ
56. การนับฤดูแบบไทย ตามอุตุสมุฏฐาน เริQ มต้นตามข้อใด
ก. นับตัSงแต่แรม b คํQาเดือน b (เดือนอ้าย) ข. นับตัSงแต่วนั แรม b คํQา เดือน ] (เดือนยี)Q
ค.นับตัSงแต่วนั แรม b คํQา เดือน L ง. นับตัSงแต่วนั แรม b คํQา เดือน H
57. ฤดูทีQเป็ นอุตุสมุฏฐาน ข้อใดมีความสัมพันธ์กนั หรื อแปลตรงกัน
ก. คิมหันตฤดู ฤดูร้อน วสันตฤดู ฤดูฝน ข. เหมันตะฤดู ฤดูหนาวสรทฤดู ฤดูสาทร์
ค. สันนิปาตฤดู ฤดูฝน เหมันตฤดู ฤดูใบไม้ล่วง
ง. วัสสานฤดู สิS นสุ ดฤดูฝน และศิศิรฤดู ฤดูพระอาทิตย์ตรงศีรษะ (เข้าสู่ ราศีเมษ)
58. พิกดั สมุฏฐานแห่งธาตุ กับอุตุสมุฏฐาน ต้องมีความสัมพันธ์กนั ข้อใดมีความสัมพันธ์กนั ทีQ
ไม่ถูกต้อง
ก. คิมหันฤดู พิกดั สมุฏฐานวาโย ข. เหมันตฤดู พิกดั สมุฏฐานอาโป
ค. คิมหันฤดู พิกดั สมุฏฐานเตโช ง. สันนิบาตฤดู พิกดั สมุฏฐานปฐวี
59. อายุสมุฏฐาน เหตุเกิดแห่งโรคเนืQองจากอายุ แบ่งตามข้อใด
ก. วัยต้น วัยกลาง วัยสู งอายุ ข.วัยเด็ก วัยหนุ่มสาว วันสู งอายุ
ค. วัยเด็ก วัยผูใ้ หญ่ วัยกลางคน ง. ปฐมวัย มัชฌิมวัย ปั จฉิ มวัย
60. การแบ่งอายุตามข้อ _v ข้อใดแบ่งไม่ถูกต้อง และพิกดั ไม่ถูกต้อง
ก. อายุแรกเกิดถึง w ปี และอายุ w ปี ถึง bc ปี พิกดั เสมหะ และโลหิ ต
ข. อายุ bc ปี ถึง L] ปี หรื อ La ปี พิกดั ปิ ตตะและโลหิ ต
ค. อายุ La ปี ถึง _a ปี หรื อ H_ ปี พิกดั ปิ ตตะและกําเดา
ง. อายุ L] ปี ถึงอายุ cH ปี หรื อ ถึงอายุขยั พิกดั เสมหะและเหงืQอ
61. กาลสมุฏฐาน ทีQตS งั แรกเกิดแห่งโรคคือ กาลหรื อเวลา แบ่งไว้ตามข้อใดถูกต้องทีQสุด
ก. แบ่งเป็ นกาล L กลางวันและกลางคืน กาลละ L ยาม
ข. แบ่งเป็ นกาล H กลางวันและกลางคืน กาลละ H ยาม

โกมารภัจจ์ สหคลินิก อ.ประสิ ทธิC คงทรัพย์ หน้า 9


แบบฝึ กหัดวิชาเวชกรรมไทย ชุด๑

ค. แบ่งเป็ นกาล c กลางวันและกลางคืน กาลละ ] ยาม


ง. แบ่งเป็ นกาล L และ H กลางวันและกลางคืน กาลละ H ยาม และ L ยาม
62.กาลสมุฏฐานทีQมีความสัมพันธ์กบั พิกดั สมุฏฐาน ข้อใดมีความสัมพันธ์ไม่ถูกต้อง
ก. เวลา ac.aa – av.aa น. หรื อ bw.ab – ]b.aa น. พิกดั เสมหะ
ข. เวลา av.ab – b].aa น. หรื อ ]b.ab – ]H.aa น. พิกดั โลหิ ต
ค. เวลา b].ab – b_.aa น. หรื อ ]H.ab – aL.aa น. พิกดั กําเดา
ง. เวลา b_.ab – bw.aa น. หรื อ aL.ab – ac.aa น. พิกดั ปิ ตตะ และเสมหะ
63. กาล L ซึQงท่านแบ่งเป็ นกลางคืน และกลางวัน มีความสัมพันธ์กบั พิกดั ข้อใดมีความสัมพันธ์
ไม่ถูกต้อง
ก. เวลา ac.aa – ba.aa น. หรื อ bw.aa – ]].aa น. พิกดั เสมหะ
ข. เวลา bb.aa – bH.aa น. หรื อ ]L.aa – a].aa น. พิกดั ปิ ตตะ
ค. เวลา b_.aa – bw.aa น. หรื อ ]L.aa – a].aa น. พิกดั วาตะ
ง. สมุฏฐานแห่งกาลสมุฏฐาน และพิกดั สมุฏฐาน พิกดั ธาตุทS งั H
64. ฤดูL ซึQงเป็ นอุตุสมุฏฐาน มีความสัมพันธ์กบั พิกดั สมุฏฐาน ข้อใดมีความสัมพันธ์กนั ไม่
ถูกต้อง
ก. คิมหันตฤดู พิกดั สันตัปปั คคี ข. คิมหันตฤดู พิกดั โลหิ ต
ค. วสันตฤดู พิกดั วาตะ ง. เหมันตฤดู พิกดั เสมหะ
65. อุตุสมุฏฐาน มีสมุฏฐานเจ้าเรื อน และถ้าเกิดโรคก็มีกาํ ลังแห่งโรค อยากทราบว่า สมุฏฐาน
เจ้าเรื อนและกําลังแห่งโรค ข้อใดไม่สมั พันธ์กนั
ก. ปฐมวัย มีเสมหะเป็ นเจ้าเรื อน มีกาํ ลัง b] องศา เป็ นกําหนด
ข. มัชฌิมวัย มีปิตตะเป็ นเจ้าเรื อน มีกาํ ลัง y องศา เป็ นกําหนด
ค. ปั จฉิ มวัย มีวาตะเป็ นเจ้าเรื อน มีกาํ ลัง ba องศา เป็ นกําหนด
ง. วัยทัSง L ดังกล่าว มีธาตุ H เป็ นเจ้าเรื อน มีกาํ ลัง Lb องศา
66. อุตุสมุฏฐาน คือ สมุฏฐานเกิดจากฤดู เฉพาะฤดูทีQ L พิกดั ธาตุสมุฏฐาน ซึQงเป็ นเหตุให้กาํ เริ บ
หย่อนพิการหรื อเป็ นชาติ จลนะ และ ภินนะนัSน ข้อใดมีความสัมพันธ์ไม่ถูกต้อง
ก. คิมหันตฤดู กับ พัทธปิ ตตะ (ดีในฝัก) อพัทธะปิ ตตะ (ดีนอกฝัก) และกําเดา
ข. วสันตฤดู กับหทัยวาตะ (ลมทีQหวั ใจ) สัตถกะวาต (ลมมีพิษ) สุ มนาวาตะ (ลมในเส้น)
ค. เหมันตฤดู กับ ศอเสมหะ (เสมหะในคอ) อุระเสมหะ (เสมหะทีQอก) คูถเสมหะ (เสมหะ
ในฤดูคูถทวาร)
ง. วัสสานฤดู กับ หทัยวัตถุ (หัวใจ) อุทริ ยะ (อาหารใหม่) กรี สงั (อาหารเก่า)
67.ตามข้อ cc ดังกล่าว พิกดั ทีQเป็ นธาตุสมุฏฐาน หรื อธาตุ H ทีQเป็ นพิกดั สมุฏฐาน หากกล่าว

โกมารภัจจ์ สหคลินิก อ.ประสิ ทธิC คงทรัพย์ หน้า 10


แบบฝึ กหัดวิชาเวชกรรมไทย ชุด๑

ตามลําดับข้อความเฉลยข้างต้น ธาตุHตรงกับข้อใด
ก. ปถวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ
ข. ปถวีธาตุ อาโอธาตุ วาโยธาตุ เตโชธาตุ
ค.เตโชธาตุ วาโยธาตุ อาโปธาตุ ปถวีธาตุ
ง. เตโชธาตุ ปถวีธาตุ อาโปธาตุ วาโยธาตุ
68. ฤดูทีQ c ทีQพิกดั สมุฏฐานกับธาตุทS งั H ข้อใดมีความสัมพันธ์กนั กับฤดูทS งั c ไม่ถูกต้อง
ก. ปถวีธาตุ สัมพันธ์กบั วสันตฤดู และวัสสานฤดู
ข. อาโปธาตุ สัมพันธ์กบั เหมันตฤดู และศิศิระฤดู
ค. วาโยธาตุ สัมพันธ์กบั วัสสานฤดู และ สะระทะฤดู
ง. เตโชธาตุ สัมพันธ์กบั คิมหันตฤดู กับ วสันตฤดู
69. ประเทศสมุฏฐาน ซึQงเป็ นสมุฏฐานของโรคอย่างหนึQง ข้อใดถูกต้องทีQสุด
ก. ประเทศทีQสูง ทีQเป็ นนํSากรวดทราย ทีQเป็ นนํSาฝนเมือกตม และทีQเป็ นนํSาเค็มเมือกตม
ข. ประเทศสู ง ประเทศตํQา ประเทศมีภูเขาแม่นS าํ ประเทศทีQเป็ นนํSาเค็ม
ค. ประเทศหนาว ประเทศร้อน ประเทศอบอุ่น ประเทศทีQมีฝนตกชุก
ง. ประเทศทีQมีราบสู งมีเขา ประเทศตํQามีแม่นS าํ ประเทศเค็มมีทะเล ประเทศร้อน
70. ประเทศทีQมีลกั ษณะดังกล่าวตามข้อ cv เรี ยกว่าประเทศอะไร
ก. ประเทศหนาว ประเทศร้อน ประเทศเย็น ประเทศอบอุ่น
ข. ประเทศหนาวจัด ประเทศร้อน ประเทศมีฝนตกชุก ประเทศแห้งแล้ง
ค. ประเทศทะเลทราย ประเทศทีQมีลุ่มราบ ประเทศแห้งแล้ง ประเทศเยือกเย็น
ง. ประเทศขัSวโลกเหนือ ประเทศขัSวโลกใต้ ประเทศมีหิมะ ประเทศทีQราบลุ่ม
71. มูลเหตุให้เกิดโรคมีหลายประการ ข้อใดไม่ใช่มูลเหตุสาํ คัญ
ก. อาหาร รับประทานอาหารเสี ย ไม่เปลีQยนแปลงอิริยาบท
ข. ขาดแคลนอาหาร ขาดยารักษาโรค ขาดหมอ ขาดอากาศหายใจ
ค. อดกลัSนอุจจาระปั สสาวะ อดนอน อากาศเปลีQยนแปลง
ง. ทํางานหนักเกินกําลัง ทํางานนาน เศร้าโศก เสี ยใจ มีโทสะโมหะมาก
72. เด็กทีQเป็ นโรคตาลขโมย หรื อซางขโมย ซึQงมีอาการผอมแห้ง แรงน้อย ท้องรุ ้ง พุงโร ก้น
ปอด มีสาเหตุทีQสาํ คัญคือข้อใด
ก. ขาดอาหาร ข. ขาดยารักษาโรค
ค. ยากจน ง. ขาดการดูแลด้านสาธารณสุ ข
73.ธาตุสมุฏฐาน ซึQงเป็ นทีQตS งั แรกเกิดแห่งโรคนัSนมี H] ประการ ในธาตุH]ประการ ทีQสาํ คัญทีQสุด
คือข้อใด

โกมารภัจจ์ สหคลินิก อ.ประสิ ทธิC คงทรัพย์ หน้า 11


แบบฝึ กหัดวิชาเวชกรรมไทย ชุด๑

ก. ธาตุลม ธาตุไฟ อากาศธาตุ ข. ธาตุนS าํ ธาตุลม ธาตุไฟ


ค. ปิ ตตะ วาตะ เสมหะ ง. โลหิ ต เสมหะ กําเดา
74. ผูป้ ระกอบโรคศิลปะ สาขาเวชกรรม จะต้องมีจรรยาแพทย์ ข้อใดทีQไม่ใช่จรรยาแพทย์
ก. มีเมตตาจิต มีหิริโอตตัปปะ มีความละเอียดรอบคอบ
ข. มีเมตตากรุ ณา มีมนุษยธรรม มีความอดทน จิตใจเป็ นกุศล
ค.ไม่มีความโลภ ไม่โอ้อวด ไม่มีอคติ ไม่หวันQ ไหวด้วยโลกธรรม
ง. ไม่มวั เมาอบายมุข ไม่เกียจคร้าน ไม่กีดกันหมออืQน ไม่มกั ง่าย
75. อคติ H ประการข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ฉันทาคติ โทสาคติ
ข. โมหาคติ ภยาคติ
ค. โลภาคติ ราคาคติ
ง. ลําเอียงเพราะความรัก ความโกรธ ความหลง และความกลัว
76. ธรรมทีQคุม้ ครองโลกหรื อธรรมของเทวดา และธรรมทีQประจําโลก ทีQทุกคนจะต้องประสบ
คือข้อใด
ก. พรหมวิหาร H อคติ H ข. เบญจศีล _ เบญจธรรม _
ค. หิ ริโอตัปปะ และโลกธรรม w ง. ขันติ สติ และอคติ H
77. การทีQแพทย์ประพฤติปฏิบตั ิโดยขาดคุณธรรมนัSน ก็ดว้ ยเหตุHประการตามข้อใด
ก. ไม่ละอายต่อความทุจริ ต ไม่มีความรู ้ มีความสงสัย และความสําคัญเข้าใจในสิQ งทีQไม่ควร
ทํา
ข. ไม่เกรงกลัวต่อบาป ขาดเมตตากรุ ณา ขาดเบญจศีล ขาดสติ
ค. มีความโอ้อวด มีความสงสัย มีความโลภมาก มีโทสะมาก
ง. มีความสําคัญว่าตนเองเก่ง ขาดความกตัญzู มีความสงสัย
78. การรู ้จกั ชืQอโรค ซึQงเป็ นกิจสําคัญของหมอเวชกรรม คือการรู ้จกั ตามข้อใดถูกต้องทีQสุด
ก. รู ้ตามอาการของ เสมหะพิการ ปิ ตตะพิการ และวาตะพิการ
ข. รู ้ตามธาตุ H พิการ รู ้ตามเบญจอินทรี ย ์ รู ้ตามหมอสมมุติ
ค. รู ้ตามธาตุ H กําเริ บ หย่อน พิการ และรู ้ตามคัมภีร์ใบลานเก่า
ง. รู ้ตามการตรวจ ตามอาการทีQปรากฏ รู ้ตามลักษณะของเชืSอโรค
79. คําว่า เบญจอินทรี ย ์ คือข้อใดถูกต้องทีQสุด
ก. ตา หู จมูก ลิSน กาย ข. รู ป เสี ยง กลิQน รส กาย
ค. รู ป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ง. ตา หู จมูก ลิSน ใจ
80. กายโรโค คือโรคทีQเกิดขึSนทีQตวั หรื อทีQร่างกายนัSนคือข้อใด

โกมารภัจจ์ สหคลินิก อ.ประสิ ทธิC คงทรัพย์ หน้า 12


แบบฝึ กหัดวิชาเวชกรรมไทย ชุด๑

ก. พหิ ทธโรโค โรคภายในกาย อันตโรโค โรคภายนอกร่ างกาย


ข. พหิ ทธโรโค โรคภายในกาย อนันตโรโค โรคภายนอกร่ างกาย
ค. พหิ ทธโรโค โรคภายนอกร่ างกาย อันตโรโค โรคภายในร่ างกาย
ง. พหิ ทธโรโค โรคภายนอกร่ างกาย อันตโรโค โรคภายในร่ างกาย
81..อาการท้องขึSน ท้องเฟ้อ เป็ นท้องมาน เป็ นกระษัย ลงท้อง ตกมูกเลือดก็ดี มักลงท้อง ลงแดง
.... ทีQกล่าวมานีSหมายถึงธาตุใดพิการ
ก.ลําไส้นอ้ ย ลําไส้ใหญ่ ข. อาหารใหม่ อาหารเก่า
ค. พังผืด ไต ง. ลําไส้นอ้ ย อาหารใหม่
82. อาการมือเท้าและตัวเย็นดุจนํSา ชีพจรไม่เดินแต่ภายในร้อนและให้เสโทตกดุจเมล็ดข้าวโพดก็
ดี ขัดในอก มือเท้าบวม ไอเป็ นมองคร่ อก็ดี อาการดังกล่าว ธาตุอะไรแตก
ก. เตโชธาตุ ชืQอ ปริ ทยั หัคคี และปริ ณามัคคี แตก
ข. เตโชธาตุ ชืQอ ปริ ณามัคคี และ ชิรณัคคั แตก
ค. เตโชธาตุ สันตัปปัคคี และ ปริ ทยั หัคคี แตก
ง. เตธาตุ อาโปธาตุ ปถวีธาตุ (หัวใจ) แตก
83. การรู ้จกั ยารักษาโรค ซึQงเป็ นสิQ งสําคัญในกิจ H ประการ จะต้องรู ้จกั ตามข้อใดถูกต้องทีQสุด
ก. รู ้จกั พืชวัตถุ สัตว์วตั ถุ ธาตุวตั ถุ เภสัชวัตถุ
ข. รู ้จกั เภสัชวัตถุ รู ้จกั สมุนไพร พืชวัตถุ และ ธาตุ วัตถุ
ค. รู ้จกั ยารักษาโรค รู ้สรรพคุณยา รู ้จกั พิกดั ยา และรู ้จกั การปรุ งยา
ง. รู ้จกั สรรพคุณยา รู ้จกั ตํารับยา รู ้จกั วิธีการปรุ งยา รู ้จกั สมุนไพร
84. การรู ้จกั ตัวยารักษาโรค เป็ นเรืQ องสําคัญ ท่านจะมีหลักการรู ้จกั ตัวยารักษาโรคตามข้อใดถูก
ทีQสุด
ก. รู ป เสี ยง กลิQน รส สี ข. รู ป สี เสี ยง กลิQน ลักษณะ
ค. ลักษณะ สี เสี ยง ส่ วนของพืช สัตว์ ธาตุ ง. ชืQอ ลักษณะ สี กลิQน รส
85. รสยา เป็ นสิQ งสําคัญทีQจะให้รู้สรรพคุณยา รสยาทีQเป็ นประธาน ทีQเป็ นรสสําคัญ ซึQงสัมพันธ์
กับธาตุ H คือข้อใดถูกต้องทีQสุด
ก. รสร้อนแก้ทางวาโยธาตุ รสเย็นแก้ทางเตโชธาตุ รสสุ ขมุ แก้ทางอาโปธาตุ
ข. รสเผ็ดร้อนแก้ทางวาโยธาตุ รสหอมเย็นแก้ทางเตโชธาตุ รสจืดเย็นแก้อากาศธาตุ
ค. รสร้อนแก้ทางอาโปธาตุ รสเย็นแก้ปถวีธาตุ และสุ ขมุ แก้ทางวาโยธาตุ
ง. รสร้อนแก้อากาศธาตุ รสเย็นแก้วาโยธาตุ รสสุ ขมุ แก้อาโปธาตุ
86. รสยา ฝาด หวาน มัน เค็ม และรสสุ ขมุ เผ็ดร้อน แก้ธาตุอะไรพิการ
ก. ปถวีธาตุและอาโปธาตุ ข. อาโปธาตุและวาโยธาตุ

โกมารภัจจ์ สหคลินิก อ.ประสิ ทธิC คงทรัพย์ หน้า 13


แบบฝึ กหัดวิชาเวชกรรมไทย ชุด๑

ค. วาโยธาตุและเตโชธาตุ ง. ปถวีธาตุและวาโยธาตุ
87. พิกดั ยาทีQแก้โรคตามฤดู ซึQงเป็ นมหาพิกดั แก้โรคตามฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว คือพิกดั
ตามข้อใด
ก. ตรี สมอ ตรี เสมหะ ตรี กฎก ข. ตรี ผลา ตรี กฎุก ตรี สาร
ค. ตรี ปิตตผล ตรี ผลธาตุ ตรี ผลา ง. ตรี ทิพย์รส ตรี ญาณรส ตรี มธุรส
88. พิกดั พิเศษมีหลายพิกดั พิกดั ตามข้อใดถูกต้องทีQสุด
ก. เทียน เกสร ด่าง เหลือ ข. เทียน บัว โหรา เกลือ ด่าง
ค. โกศ เทียน บัว โหรา เกลือ ด่าง ง. โกศ เกสร เทียน ด่าง เกลือ
89. การรู ้จกั ว่ายาใดควรจะรักษาโรคใดนัSน จะต้องมีการตรวจโรคหรื อตรวจไข้ จึงจะวางยาได้
ถูกต้องหลักการทีQจะนํามาปฏิบตั ิในการซักประวัติและตรวจคนไข้ คือข้อใดถูกต้องทีQสุด
ก. ประวัติบุคคล ประวัติครอบครัว ประวัติการรักษา ตรวจร่ างกายและจิตใจ
ข. ประวัติของบุคคล ประวัติของโรค การตรวจร่ างกาย การตรวจอาการ
ค. ประวัติบุคคล ประวัติสุขภาพ ประวัติโรค ประวัติการรักษา
ง. ประวัติโรค ตรวจร่ างกาย ตรวจจิตใจ ตรวจทัSงภายในและภายนอก
90. การตรวจโรคด้วยการวัดชีพจร การหายใจ การตรวจหัวใจ ปอด ลิSน ตา ผิวพรรณ และการ
ตรวจเฉพาะทีQป่วยเป็ นการตรวจตามข้อใด
ก. ตรวจร่ างกาย ข. ตรวจจิตใจ
ค. ตรวจอาการ ง. ตรวจภายใน และ ภายนอก
91. การตรวจโรคด้วยการวัด ปรอท ตรวจดูเหงืQอ อุจจาระ ปั สสาวะ การบริ โภคอาหาร เสี ยง
และการหลับนอนเป็ นการตรวจตามข้อใด
ก. ตรวจภายนอก และ ภายใน ข. ตรวจร่ างกายและจิตใจ
ค. ตรวจอาการ ง. ตรวจภายใน และ ภายนอก
92. การตรวจโรคด้วยการซักประวัติของโรค เช่น การถามถึงการล้มเจ็บเมืQอไรก็ดี การถาม
อาการป่ วยแต่ละวันก็ดี การถามอายุทีQเกิดก็ดี เป็ นสมุฏฐานตามข้อใด
ก. กาล เวลา อายุ ประเทศ ข. ธาตุ อุตุ อายุ กาล
ค. ธาตุ ประเทศ อุตุ อายุ ง. กาล อุตุ อายุ ประเทศ
93. การวินิจฉัยโรค จะต้องพิจารณาสิQ งต่างๆและข้อมูลต่างๆทีQเกีQยวข้องกับคนไข้ ข้อใดถูกน้อย
ทีQสุด
ก. คนเจ็บมีอาการหนัก
ข. คนเจ็บมีอาการเช่นใด มีโรคชนิดใด ชืQออะไร
ค. โรคนัSนๆ เกิดแต่อะไร และจะเยียวยาด้วยวิธีใด

โกมารภัจจ์ สหคลินิก อ.ประสิ ทธิC คงทรัพย์ หน้า 14


แบบฝึ กหัดวิชาเวชกรรมไทย ชุด๑

ง. สรรพคุณของยาทีQจะบําบัดโรคเช่นนัSน จะใช้สรรพคุณยาอะไร
94. สิQ งทีQหมอจะต้องพิเคราะห์ขอ้ มูลต่างๆ ก่อนทีQจะให้การเยียวยาหรื อทําการบําบัดรักษา จะ
ยึดถือตามหลักข้อใด
ก. การตรวจ วินิจฉัย การรักษา
ข. การตรวจผล การค้นต้นเหตุ และการหาทางแก้ไข
ค. การตรวจผล การใช้ยา การวินิจฉัย
ง. การค้นหาสาเหตุ การวินิจฉัย การใช้ยาทีQสรรพคุณตรงกับโรค
95.การตรวจผลของโรคของคนไข้นS นั จะต้องดูตามข้อมูล ข้อมูลสําคัญก่อนทีQจะเยียวยานัSน
คือข้อใด
ก. สมุฏฐานทีQสาํ คัญ คือ Hธาตุ ข. สมุฏฐานจากปิ ตตะ วาตะ เสมหะ
ค. สมุฏฐานเกีQยวกับมูลเหตุของโรค ง.สมุฏฐานต่างๆและพิกดั ต่างๆ
96. การนับฤดู L ฤดู H และ ฤดู c เริQ มนับตัSงแต่วนั ใดถึงวันใด ตามข้อใดถูกต้องทีQสุด
ก. นับตัSงแต่วนั ขึSน b คํQา เดือนอ้าย ถึงวันแรม b_ คํQา เดือน _,6 และ]
ข. นับตัSงแต่วนั แรม b คํQา เดือน H ถึงวันขึSน b_ คํQา เดือน 8,7,6
ค. วันแรม b คํQา เดือน _ ถึง b_ คํQา เดือน 6,7,8
ง. วันแรม b คํQา เดือน c ถึง ขึSน b_ คํQาเดือน 8,9,10
97. พัทธปิ ตตะ อพัทธปิ ตตะ และกําเดา มีความเกีQยวข้องกับฤดู c โดยแบ่งเป็ นฤดูละ ca วัน ข้อ
ใดถูกต้อง
ก. คิมหันตฤดู วสันตฤดู ข.วัสสานฤดู สรทฤดู
ค. เหมันตฤดู ศิศิรฤดู ง. คิมหันตฤดู เหมันตฤดู
98. หทัยวาตะ สัตถกวาตะ และสุ มนาวาตะ มีความเกีQยวข้องกับฤดู L มีกาํ ลังสิQ งละ Haวันและ
ฤดู c มีกาํ ลังสิQ งละ ]a วัน ฤดู L กับฤดู c คือข้อใด
ก. คิมหันตฤดู เหมันตฤดู วสันตฤดู ข. เหมันตฤดู วัสสานฤดู สรทฤดู
ค. วสันตฤดู ศิศิรฤดู คิมหันตฤดู ง. วสันตฤดู วัสสานฤดู สรทฤดู
99. คอเสมหะ อุระเสมหะ คูถเสมหะ เกีQยวข้องกับฤดู L มีกาํ ลังสิQ งละ Ha วัน และ ฤดู c มีกาํ ลัง
สิQ งละ ]a วัน ฤดู L กับ ฤดู c คือข้อใด
ก. คิมหันตฤดู เหมันตฤดู วสันตฤดู ข. เหมันตฤดู ศิศิรฤดู
ค. คิมหันตฤดู วสันตฤดู ง. วสันตฤดู วัสสานฤดู
100. สมุฏฐานซึQงเป็ นเหตุให้ปถวีธาตุเป็ น ชาติ จลนะ ภินนะ (กําเริ บ หย่อน พิการ) คือข้อใด
ก. อุทรี ยะ กรี สะ มุตตัง ข. หทัยวัตถุ อุทริ ยะ กรี สะ
ข. อันตัง อันตคุณงั มุตจัง ง. หทัยวัตถุ ปั ปผาสัง วักกัง

โกมารภัจจ์ สหคลินิก อ.ประสิ ทธิC คงทรัพย์ หน้า 15


แบบฝึ กหัดวิชาเวชกรรมไทย ชุด๑

โกมารภัจจ์ สหคลินิก อ.ประสิ ทธิC คงทรัพย์ หน้า 16

You might also like