You are on page 1of 27

แนวข้อสอบวิชาเภสัชกรรมไทย

วันพุธ ที่ 24 เมษายน พ.ศ.2545 เวลา 09.00 - 12.00 น.

ข้อ 1.      ข้อใดจัดเป็ นยาแผนโบราณตาม พ.ร.บ.ยา


                 1.   ยาที่มุ่งหมายสำหรับการประกอบโรคศิลปะแผน
โบราณ
                 2.   ยาที่รัฐมนตรีประกาศเป็ นยาแผนโบราณ
                 3.   ยาที่ขน
ึ ้ ทะเบียนตำรับยาถูกต้องแล้ว
                 4.   ยาสมุนไพรที่มุ่งหมายใช้บำบัดโรคสัตว์

ข้อ 2.      ถ้าผู้ผลิตลักลอบผสมตัวยาสเตียรอยด์ลงไปในยาแผนโบราณ


ตำรับที่ได้ขน
ึ ้ ทะเบียนไว้  ถือว่าเป็ นการผลิต
                 1.   ยาผลิตมาตราฐาน
                 2.   ยาาปลอม
                 3.   ยาแผนปั จจุบัน
                 4.   ยาอันตราย

ข้อ 3.      นายสุดหล้าเป็ นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทย


ประเภทเวชกรรมไทย ปรุงยาเพื่อขายให้กับผู้ป่วยของตน กรณีใด
สามารถทำได้โดยไม่ต้องขออนุญาตผลิตยาตาม พ.ร.บ.ยา
                 1.   ปรุงยาสูตรพิเศษที่คิดค้นขึน
้ เอง
                 2.   ปรุงยาตามตำรับแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
                 3.   ปรุงยาตามหลักที่ผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณใช้
สืบต่อกันมา
                 4.   ปรุงยาตามตำรับแบบไทย
ข้อ 4.      ผู้รับอนุญาตผู้ใดเลิกกิจการที่ได้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัติ
ยา พ.ศ. 2510 ต้องแจ้งการเลิกกิจการเป็ นหนังสือให้ผู้รับอนุญาต ทราบ
ไม่เกินกี่วัน นับแต่วันเลิกกิจการและให้ถือว่าใบอนุญาตหมดอายุตงั ้ แต่วัน
เลิกกิจการตามที่แจ้งไว้นน
ั้
                 1.   10 วัน
                 2.   15 วัน
                 3.   7 วัน
                 4.   5 วัน

ข้อ 5.      พ่อหมอทองหล้าไม่ได้เป็ นผู้ประกอบโรคศิลปะเก็บตัวยา


สมุนไพรหลายชนิดมาหั่นและสับเป็ นชิน
้ ๆ ใส่ถุงรวมกัน ปิ ดฉลากว่า "ยา
โลหิตสตรี บำรุงร่างกาย ทำให้เลือดลมดี ประจำเดือนมาปกติ แก้มุตกิต"
และนำไปขายในงานวัด พ่อหมอทองหล้ามีความผิดตาม พ.ร.บ.ยา หรือ
ไม่
                 1.   ไม่ผิด เพราะเป็ นการขายยาสมุนไพร กฎหมายยกเว้น
ให้ไม่ต้องขออนุญาตผลิตยา
                 2.   ไม่ผิด เพราะเป็ นการขายยาสมุนไพร ยังไม่ปรุงเป็ นยา
                 3.   ผิด เพราะแสดงสรรพคุณบนฉลากว่าเป็ นยา โดยไม่ได้
รับอนุญาต
                 4.   ข้อ 1 และ 2 ถูก

ข้อ 6.      คณะกรรมการสถานพยาบาลซึ่งเป็ นผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ใน


ตำแหน่งคราวละ กี่ปี
                 1.   1 ปี
                 2.   2 ปี
                 3.   3 ปี
                 4.   ไม่กำหนดวาระ

ข้อ 7.       คำว่า ผู้อนุญาต ในพระราชบัญญัตสถานพยาบาล พ.ศ.2541


หมายความว่า
                 1.   รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
                 2.   ผู้อำนวยการกองการประกอบโรคศิลปะ
                 3.   ปลัดกระทรวงสาธารณสุขหรือผู้ที่ปลัดมอบหมาย
                 4.   อธิบดีกรมการแพทย์

ข้อ 8.    ถ้าผู้รับอนุญาตตายและมีบค


ุ คลแสดงความจำนงเพื่อขอ
ประกอบกิจการต่อ ต้องแสดงความจำนงต่อผู้อนุญาตภายในกี่วัน นับ
ตัง้ แต่ วันที่  ผู้รับอนุญาตตาย
                 1.   ภายใน 7 วัน
                 2.   ภายใน 15 วัน
                 3.   ภายใน 30 วัน
                 4.   ภายใน 15 วัน

ข้อ 9.      ใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลมีอายุ


                 1.   1 ปี
                 2.   2 ปี
                 3.   10 ปี
                 4.   ไม่มีอายุ

ข้อ 10.    สถานพยาบาลหมายความว่า


                 1.   สถานที่จัดไว้เพื่อประกอบโรคศิลปะโดยตรง
                 2.   สถานที่จัดไว้เพื่อช่วยเหลือและรักษาผู้ป่วย ตาม
กฎหมาย
                 3.   สถานที่จัดไว้เพื่อรักษาผู้ป่วยและขายยา
                 4.   สถานที่รวมถึงยานพาหนะซึ่งจัดแสดงไว้เพื่อประกอบ
โรคศิลปะ ตามกฎหมายโดยกระทำเป็ นปกติธุระ

ข้อ 11.    กรรมการวิชาชีพซึ่งได้รับเลือกตัง้ โดยผู้ประกอบโรคศิลปะสาขา


การแพทย์แผนไทย มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละกี่ปี
                 1.   1 ปี
                 2.   2 ปี
                 3.   3 ปี
                 4.   ไม่กำหนดวาระ

ข้อ 12.  การขอขึน


้ ทะเบียนและรับใบอนุญาตการออกใบอนุญาต การ
ออกหนังสือรับรองความรู้ความชำนาญเฉพาะทางในการประกอบโรค
ศิลปะ  การขอรับใบแทนใบอนุญาต และการออกใบแทนใบอนุญาตให้
เป็ นไปตามข้อใด
                 1.   ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎ
กระทรวง
                 2.   ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดใน
ระเบียบ
                 3.   ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดใน
ประกาศ
                 4.   ผิดทุกข้อ

ข้อ 13.    การประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทย อาจเพิ่มประ


เภทใหม่ๆขึน
้ ได้โดย
                 1.   การประกาศกำหนดของคณะกรรมการการประกอบ
โรคศิลปะ
                 2.   การประกาศกำหนดของคณะกรรมการวิชาชีพสาขา
การแพทย์แผนไทย
                 3.   รัฐมนตรีประกาศกำหนด
                 4.   รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยคำแนะนำของคณะ
กรรมการการประกอบโรคศิลปะ

ข้อ 14.    ณ วันที่ 25 มีค. 2545 นาย ก.หยิบหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่ง


ประจำวันที่ 24 มีค. 2544 มาอ่าน พบว่ามีการโฆษณาการประกอบโรค
ศิลปะของนาย ข.ดังนี ้ นาย ก.จะนำเรื่องร้องเรียนได้หรือไม่
                 1.   ร้องเรียนได้ เพราะนาย ข. กระทำผิด
                 2.   ร้องเรียนไม่ได้ เพราะขาดอายุความ
                 3.   ร้อนเรียนได้ โดยทำหนังสือกล่าวหาต่อคณะกรรมการ
วิชาชีพ
                 4.   ร้องเรียนได้ เพราะยังไม่ขาดอายุความ

ข้อ 15.    นส.วนิดา ช้าเหลือเกิน รับใบอณุญาตเป็ นผู้ประกอบโรคศิลปะ


ประจำปี 2543 ทำไมในใบอนุญาตจึงยังมีข้อความว่า " อาศัยอำนาจ ตาม
พ.ร.บ. ควบคุมการประกอบโรคศิลปะ"
                1.   ยังอยู่ในระหว่างเปลี่ยนแปลง พรบ.
                2.   ยังต้องใช้กฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศเดิม
จนกว่าจะได้มีฉบับใหม่
                3.   กฎหมายใหม่ยังไม่ได้กำหนดเรื่องใบอนุญาต
                4.   เป็ นการปฎิบัติตามกฎหมายเดิมที่ยังไม่ได้แก้ไข
ข้อ 16.    นางสาวขวัญ รักคุณ มีความรู้เรื่องการประกอบโรคศิลปะโดย
การเรียนรู้สืบทอดจากบรรพบุรุษ แต่ไม่มีใบอนุญาตเป็ นผู้ประกอบโรค
ศิลปะ ทำการตรวจรักษาผู้ป่วย และเรียกค่าตอบแทนนางสาวขวัญ รัก
คุณ มีความผิดหรือไม่
                1.   ไม่มีความผิด เพราะได้รับการยกเว้น
                2.   มีความผิดฐานประกอบโรคศิลปะโดยไม่มีใบอนุญาต
                3.   ไม่มีความผิดเพราะไม่เกิดอันตราย
                4.   มีความผิดเพราะกฎหมายบัญญัติห้าม

ข้อ 17.    นาย ก.เป็ นผู้ประกอบโรคศิลปะที่ถูกคณะกรรมการวิชาชีพ


ลงโทษสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ต่อมา นาย ก. ได้พบเห็นผู้ป่วยจึงช่วยเหลือ
ดังนี ้ ถือว่า นาย ก.
                1.   ทำการประกอบโรคศิลปะ โดยไม่มีใบอนุญาต ผิด
กฎหมาย
                2.   ทำการประกอบโรคศิลปะ โดยเข้าข้อยกเว้นกฎหมาย
                3.   ทำการประกอบโรคศิลปะ โดยผิดกฎหมาย แต่ได้รับ
โทษเบากว่าผู้ไม่มีใบอนุญาต
                4.   ทำการประกอบโรคศิลปะไม่ได้ เพราะถือว่า ไม่มีใบ
อนุญาตแล้ว

ข้อ 18.  ผู้ประกอบโรคศิลปะซึง่ ถูกกล่าวหาว่าประพฤติผิดจรรยาบรรณ


จะได้รับหนังสือแจ้งข้อหา พร้อมทัง้ ส่งสำเนาเรื่องที่กล่าวหาจากใคร ภาย
ในกี่วัน  
                1.   จากผู้อำนวยการกองการประกอบโรคศิลปะ ภายใน
เวลาไม่น้อยกว่า 15 วัน ก่อนวันเริ่มทำการสอบสวน
                2.   จากประธานอนุกรรมการวิชาชีพ ซึง่ ทำหน้าที่สอบสวน
ภายในเวลาไม่น้อยกว่า 15 วัน ก่อนวันเริ่มทำการสอบสวน
                3.   จากผู้อำนวยการกองการประกอบโรคศิลปะ ภายใน
เวลาไม่น้อยกว่า 30 วัน ก่อนวันเริ่มทำการสอบสวน
                4.   จากประธานอนุกรรมการวิชาชีพซึ่งทำหน้าที่สอบสวน
ภายในเวลาไม่น้อยกว่า 30 วัน ก่อนวันเริ่มทำการสอบสวน

ข้อ 19.    รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข มีอำนาจตามพระราช


บัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ.2542 ตรงตามข้อใด
                1.   แต่งตัง้ พนักงานเจ้าหน้าที่
                2.   ออกกฎกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียม
                3.   กำหนดกิจการอื่น ออกระเบียบและประกาศ
                4.   ถูกหมดทุกข้อ

ข้อ 20.    หากผูป


้ ระกอบโรคศิลปะถูกกล่าวหาเรื่องการประพฤติผิด
จรรยาบรรณ และคณะกรรมการวิชาชีพพิจารณาวินิจฉัย มีคำสั่งให้พักใช้
ใบอนุญาต ผู้ประกอบโรคศิลปะผู้นน ์ ุทธรณ์อย่างไร
ั ้ มีสิทธิอ
                1.   อุทธรณ์เป็ นหนังสือต่อคณะกรรมการวิชาชีพภายใน 30
วัน นับแต่วันที่มคำ
ี สั่ง
                2.   อุทธรณ์เป็ นหนังสือต่อคณะกรรมการภายใน 30 วัน
นับแต่วันที่มคำ
ี สั่ง
                3.   อุทธรณืเป็ นหนังสือต่อคณะกรรมการวิชาชีพภายใน 30
วัน นับแต่วันที่ทราบคำสั่ง
                4.   อุทธรณ์เป็ นหนังสือต่อคณะกรรมการภายใน 30 วัน
นับแต่วันที่ทราบคำสั่ง
ข้อ 21.    1 หาบ หนักกี่กิโลกรัม
                1.   60 กิโลกรัม
                2.   80 กิโลกรัม
                3.   100 กิโลกรัม
                4.   120 กิโลกรัม

ข้อ 22.    กัญชา จัดเป็ นยาเสพติดชนิดหนึ่ง แต่มีสรรพคุณในทางรักษา


โรคอย่างไร
                1.   ชูกำลัง เจริญอาหาร ทำให้นอนหลับ
                2.   ระงับประสาท และระงับอาการปวด
                3.   กระตุ้นหัวใจให้เต้นแรงและบำรุงหัวใจ
                4.   แก้อาการปวดเมื่อยตามร่างกาย

ข้อ 23.    การทำความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์สำหรับการทำยาเม็ด


ควรทำด้วยวิธีใด
                1.   นำน้ำเดือดราดพิมพ์มือทองเหลือง เช็ดให้แห้งสนิทด้วย
ผ้าสะอาด และใช้สำลีชุบแอลกอฮอล์เช็ดอีกครัง้
                2.   แช่พิมพ์มือทองเหลืองในน้ำอุ่น แอลกอฮอล์ เช็ดให้แห้ง
สนิท และใช้สำลีชุบอีกครัง้ หนึ่ง
                3.   แช่พิมพ์มือทองเหลืองในแอลกอฮอล์เช็ดอีกครัง้
                4.   น้ำเดือดราดพิมพ์มือทองเหลืองแล้วเช็ดให้แห้งด้วยผ้า
สะอาด

ข้อ 24.    การบูรตัด หมายถึง


                1.   นำการบูรตำเป็ นผงผสมกับน้ำไปผสมยา
                2.   นำเอาการบูรแทรกลงไปผสมกับยาเล็กน้อย แล้วรับ
ประทาน
                3.   นำการบูรไปสะตุเสียก่อนแล้วนำมาผสมกับยาต้ม
                4.   นำเอาการบูรผสมตำรับยาเพื่อให้ได้สรรพคุณดีขน
ึ้

ข้อ 25.   การปรุงยาแผนโบราณในปั จจุบันนีอ


้ ยู่มีกี่วิธี
                1.   23 วิธี
                2.   24 วิธี
                3.   25 วิธี
                4.   28 วิธี

ข้อ 26.    การสะตุ ยาดำ มีวิธีการอย่างไร


                1.   นำยาดำมาทุบให้แตก ห่อด้วยใบบัว นำไปปิ ้ งไฟจน
ยาดำกรอบดำเป็ นถ่าน
                2.   นำยาดำใส่หม้อดิน เติมน้ำเล็กน้อย ตัง้ ไฟจนยาดำแห้ง
กรอบ
                3.   นำยาดำใส่หม้อดิน บีบมะนาวหรือมะกรูด ตัง้ ไฟให้
ยาดำแห้งกรอบ ทำให้ครบ 3 ครัง้
                4.   นำยาดำมาพรมด้วยส้มสายชูแล้วนึ่งจนยาดำสุก

ข้อ 27.    การสะตุ รงทอง เพื่อนำไปปรุงยานัน


้ หลังจากบดรงทองแล้ว
จะใช้ใบของพืชชนิดใดห่อปิ ้ งไฟ
                1.   ใบข่า-ใบบัว
                2.   ใบข่า-ใบพลวง
                3.   ใบข่า-ใบพลู
                4.   ใบบัว-ใบพลู
ข้อ 28.   การสะตุน้ำประสานทอง ทำอย่างไร
                1.   เอาน้ำประสานทองใส่หม้อดิน ยกตัง้ ไฟจนฟู ทิง้ ไว้ให้
เย็น จึงนำไปทำยา
                2.   เอาน้ำประสานทองใส่หม้อดิน บีบน้ำมะนาวลงผสม 17
ยกตัง้ ไฟจนฟูจึงนำไปทำยา
                3.   เอาน้ำประสานทองใส่หม้อดินต้มจนแห้งฟู ผสมน้ำกลั่น
จึงนำไปทำยา
                4.   เอาน้ำประสานทองใส่หม้อดิน เติมสารส้มต้มจนแห้ง
จึงนำไปทำยา

ข้อ 29.    การอบยาเพื่อง่ายในการบด ควรใช้อุณหภูมิเท่าไร


                1.   50-55 องศาเซลเซียส
                2.   40-45 องศาเซลเซียส
                3.   60-65 องศาเซลเซียส
                4.   65-70 องศาเซลเซียส

ข้อ 30.    ข้อใดเป็ นพิษของสารหนู


                1.   กัดกระเพาะและลำไส้
                2.   ประสาทหลอน
                3.   ชักกระตุกทำให้ตายได้
                4.   ทำให้หมดกำลังอ่อนเพลีย

ข้อ 31.    คนป่ วยเบื่ออาหาร ควรใช้น้ำกระสาย


                1.   น้ำดีปลีต้ม
                2.   ใบฝรั่งต้ม
                3.   น้ำรากระย่อมต้ม
                4.   น้ำต้มลูกผักชีลา

ข้อ 32.    คนเป็ นไข้ระส่ำระสาย ใช้ตัวยาใดต้มเป็ นน้ำกระสายยา


                1.   รากมะละกอ
                2.   รากคนทีสอ
                3.   รากบัว
                4.   น้ำมูตร

ข้อ 33.    คำตอบข้อใดมีความหมายตรงกับคำว่า ประสะกะเพรา


                1.   การทำความสะอาดกะเพรา
                2.   การฆ่าหรือสะตุกะเพรา
                3.   การนำกะเพรามาทำยา
                4.   กะเพราหนักเท่ายาอื่นทัง้ หมดรวมกัน

ข้อ 34.    คำว่า " รำหัด" มีความหมายตรงกับข้อใด


                1.   ใช้ปลายนิว้ กลางและปลายนิว้ หัวแม่มือหยิบขึน
้ มือ
                2.   ใช้นว
ิ ้ หัวแม่มือและนิว้ ชีห
้ ยิบขึน
้ มา
                3.   ใช้ปลายนิว้ ก้อยกับนิว้ หัวแม่มือหยิบขึน
้ มา
                4.   มีปริมาณเท่ากับครึ่งช้อนกาแฟ

ข้อ 35.    ช่วงเวลา 14.00 - 18.00 น. เกิดโรคเพื่อลม ท่านควรจะใช้น้ำ


กระสายยารสอะไร
                1.   ใช้น้ำกระสายยารสร้อน
                2.   ใช้น้ำกระสายยารสเปรีย
้ ว
                3.   ใช้น้ำกระสายยารสสุขุม
                4.   ใช้กระสายยารสหอมเย็น
ข้อ 36.    ตัวยา เนื้อสมอพิเภก เนื้อลูกมะขามป้ อม ลูกผักชีลา หนักสิ่งละ
4 ส่วน เป็ นส่วนประกอบของยาสามัญประจำบ้านตำรับยาใด
                1.   ยาตรีหอม
                2.   ยาจันทลีลา
                3.   ยาบำรุงโลหิต
                4.   ยาหอมอินทจักร์

ข้อ 37.    ถ้าต้องการร่อนยาผ่านตะแกรงหรือแร่ง ให้ได้ผงยาที่ละเอียด


มากๆ ต้องใช้ตะแกรงขนาดเบอร์อะไร
                1.   เบอร์ 0
                2.   เบอร์ 100
                3.   เบอร์ 80
                4.   เบอร์ 60

ข้อ 38.    ถ้าต้องการให้เด็กที่เป็ นไข้หัดรับประทานยามหานิลแท่งทอง


จะให้รับประทานอย่างไร
                1.   ครัง้ ละ 1-2 เม็ด วันละ 3 ครัง้
                2.   ครัง้ ละ 2-4 เม็ด วันละ 2 ครัง้
                3.   ครัง้ ละ 2-4 เม็ด วันละ 3 ครัง้
                4.   ครัง้ ละ 1-2 เม็ด วันละ 2 ครัง้

ข้อ 39.    ใบทองหลางใบมนต้มเอาน้ำเป็ นกระสาย สรรพคุณตรงกับข้อ


ใด
                1.   แก้ท้องขึน

                2.   แก้หอบ
                3.   แก้อาเจียน
                4.   ไม่มีข้อใดถูก

ข้อ 40.    เมล็ดลำโพง ถ้ากินมากจะมีอาการอย่างไร


                1.   ทำให้เสียสติ
                2.   ทำให้เหงื่อออกมากเกินไป
                3.   ถ่ายอย่างแรง
                4.   ชักกระตุก

ข้อ 41.    ยาชนิดใดใส่กล่องเป่ าบาดแผลและฐานฝี


                1.   ยากลั่นเอาน้ำเหงื่อ
                2.   ยาเผาเป็ นด่าง
                3.   ยาหุงด้วยน้ำมัน
                4.   ยากัดด้วยเหล้า

ข้อ 42.    ยาต้มที่มีแก่นไม้ เครื่องเทศ โกฐเทียน เป็ นองค์ประกอบ จะ


มีอายุเท่าใดจึงเริ่มเสื่อมคุณภาพ
                1.   ต้มครัง้ เดียว
                2.   ภายใน 7-10 วัน
                3.   ภายใน 7-15 วัน
                4.   ไม่มีข้อใดถูก

ข้อ 43.    ยาในข้อใด ให้รับประทานและมีชโลมคู่กันไปด้วย


                1.   ยาเขียวหอม
                2.   ยาประสะจันทร์แดง
                3.   ยาวิมานฉิมพลี
                4.   ยามหานิลแท่งทอง
ข้อ 44.    ยาไฟประลัยกัลป์ มีสรรพคุณ
                1.   แก้ธาตุไม่ปกติ
                2.   บำรุงโลหิต
                3.   แก้กระษัยจุกเสียด
                4.   ขับน้ำคาวปลา ช่วยให้มดลูกเข้าอู่

ข้อ 45.    ยาสามัญประจำบ้านขนานใด ที่มีสรรพคุณขับลม บำรุงธาตุ


                1.   ยาหอมเนาวโกฎ ยามหาจักร์ใหญ่
                2.   ยาประสะกะเพรา ยาวิสัมพญาใหญ่
                3.   ยาประสะกานพลู ยาเนาวหอย
                4.   ยาตรีหอม ยาหอมอินทรจักร์

ข้อ 46.    รากเหมือดคน รากมะปรางหวาน รากมะนาว เปราะหอม โกฐ


หัวบัว จันทร์เทศ ฝางเสน หนักสิ่งละ 4 ส่วน เกสรบัวหลวง ดอกบุน นาค
ดอกสารภี ดอกมะลิ หนักสิ่งละ 1 ส่วน จันทน์แดง 32 ส่วน ยาขนานนีม
้ ี
สรรพคุณตรงในข้อใด
                1.   แก้ลมขึน
้ เบื้องสูง วิงเวียน บำรุงหัวใจ
                2.   แก้ลมจุกเสียดแน่น ท้องขึน
้ อืดเฟ้ อ
                3.   แก้ลมทราง ท้องผูก ระบายพิษไข้
                4.   แก้ไข้ ตัวร้อน กระหายน้ำ

ข้อ 47.    ลูกของนายแดง ท้องผูก และมีไข้ หมอควรใช้ยาขนานใด


                1.   ยาประสะมะแว้ง
                2.   ยาเขียวหอม
                3.   ยาตรีหอม
                4.   ยามันทธาตุ
ข้อ 48.    "พิกัดตรีญาณรส" มีสรรพคุณอย่างไร
                1.   แก้ร้อนในกระหายน้ำ แก้ดีพก
ิ าร
                2.   แก้ไข้ดับพิษร้อน ขับเสมหะ แก้โลหิตเสีย
                3.   บำรุงธาตุ แก้กำเดา แก้ไข้ตรีโทษ

ข้อ 49.    กระพังโหมทัง้ สองต่างกันอย่างไร


                1.   ต่างกันที่รส
                2.   ต่างกันที่ชนิด
                3.   ต่างกันที่ขนาด
                4.   ต่างกันที่สี

ข้อ 50.    โกฐกระดูก เนื้อไม้ อบเชยไทย อยู่ในพิกัดใด


                1.   พิกัดตรีสค
ุ นธ์
                2.   พิกัดตรีทิพย์รส
                3.   พิกัดตรีสินธุรส
                4.   พิกัดตรีสุรผล

ข้อ 51.    โกฐกะกลิง้ อยู่ในพิกัดอะไร?


                1.   โกฐทัง้ 5
                2.   โกฐทัง้ 7
                3.   โกฐทัง้ 9
                4.   โกฐพิเศษ

ข้อ 52.    ดอกดีปลี 16 ส่วน ลูกมะขามป้ อม 8 ส่วน รากช้าพลู 4 ส่วน


รากเจตมูลเพลิง 1 ส่วน เถาสะค้าน 3 ส่วน เหง้าขิงแห้ง 2 ส่วน เมล็ด
พริกไทยระคน 1/2 ส่วน เป็ นตัวยาประจำธาตุสมุฎฐานใด
                1.   ปถวีธาตุหย่อน
                2.   อาโปธาตุพิการ
                3.   ปถวีธาตุกำเริบ
                4.   อาโปธาตุหย่อน

ข้อ 53.    ตัวยาใดต่อไปนีไ้ ม่อยู่ในพิกัดดีทงั ้ 5


                1.   ดีงูเหลือม
                2.   ดีหมูป่า
                3.   ดีวัวป่ า
                4.   ดีงูเห่า

ข้อ 54.    ตัวยาต่อไปนี ้ ตัวยาใดอยู่ในพิกัดจตุผลาธิกะ


                1.   ลูกสะค้าน
                2.   ลูกช้าพลู
                3.   ลูกมะขามป้ อม
                4.   ลูกดีปลี

ข้อ 55.    ตัวยาที่มีน้ำหนักมากที่สุดในมหาพิกัดเบญจกูลคือตัวยาในข้อ


ใด
                1.   ดอกดีปลี
                2.   รากช้าพลู
                3.   เถาสะค้าน
                4.   รากเจตมูลเพลิง

ข้อ 56.   ตัวยาในข้อใดอยู่ในพิกัดตรีผลธาตุ
                1.   ดอกจันทน์ กระวาน อบเชย
                2.   ลูกช้าพลู รากดีปลี รากมะกล่ำเครือ
                3.   เหง้ากระทือ หัวตะไคร้หอม เหง้าไพล
                4.   ลูกมะตูม ลูกยอ ลูกผักชีลา

ข้อ 57.   รากกระเพราแดง หัวกระชาย เหง้าข่า อยู่ในพิกัดอะไร


                1.  พิกัดตรีกาฬพิษ
                2.   พิกัดตรีชาต
                3.   พิกัดตรีผลธาตุ
                4.   พิกัดตรีพิษจักร์

ข้อ 58.    รากเจตมูลเพลิง 16 ส่วน เหง้าขิงแห้ง 8 ส่วน ลูกสมอพิเภก 4


ส่วน รากช้าพลู 2 ส่วน ดอกดีปลี 1 ส่วน เถาสะค้าน 3 ส่วน เป็ นตัวยา
ประจำธาตุสมุฎฐานใด
                1.   เตโชธาตุกำเริบ
                2.   เตโชธาตุหย่อน
                3.   เตโชธาตุพิการ
                4.   วาโยธาตุกำเริบ

ข้อ 59.    รากเจตมูลเพลิง 8 ส่วน เถาสะค้าน 4 ส่วน รากช้าพลู 12 ส่วน


เป็ นมหาพิกัดใด แก้ธาตุสมุฎฐานใด
                1.   มหาพิกัดตรีสาร กองปิ ตตะ
                2.   มหาพิกัดตรีสาร กองเสมหะ
                3.   มหาพิกัดตรีสาร กองเสมหะ
                4.   มหาพิกัดกฎก
ุ กองเสมหะ

ข้อ 60.    ลูกสมอพิเภก เหง้าขิงแห้ง รากเจตมูลเพลิง เป็ นตัวยาประจำ


กองธาตุใด?
                1.   ปิ ตตะสมุฎฐาน
                2.   วาตะสมุฎฐาน
                3.   เสมหะสมุฎฐาน
                4.   ประเทศสมุฎฐาน

ข้อ 61.    สรรพคุณของพิกัดสัตตะปะระเมหะ คือข้อใด


                1.   ถอนพิษผิดสำแดง ดับพิษร้อน แก้ไข้เรื้อรัง
                2.   ดับพิษในช้อในกระดูก บำรุงเส้นเอ็น แก้บวม
                3.   แก้โรคกระษัย แก้เส้นเอ็นพิการ แก้ลมในลำไส้
                4    ชำระมลทินโทษให้ตก ชำระเมือกมันในลำไส้ แก้ปะระ
เมหะ 20 ประการ

ข้อ 62.    ไส้หมาก รากสะเดา เถาบอระเพ็ด สรรพคุณแก้ไข้ ดับพิษร้อน


ขับปั สสาวะ บำรุงไฟธาตุ เจริญอาหาร อยู่ในพิกัดอะไร
                1.   พิกัดสินธุรส
                2.   พิกัดตรีมธุรส
                3.   พิกัดตรีทิพยรส
                4.   พิกัดตรีญาณรส

ข้อ 63.    กะสาวะ คือยารสอะไร


                1.   ฝาด
                2.   หวาน
                3.   เผ็ดร้อน
                4.   สุขุม

ข้อ 64.    การจำแนกประเภทของตัวยารสที่นิยม ใช้ตามคำภีร์วรโยคสาร


ตัวยาที่มีช่ อ
ื ว่า ติดติกะ หมายถึงอะไร?
                1.   ยารสฝาด
                2.   ยารสหวาน
                3.   ยารสเปรีย
้ ว
                4.   ยารสขม

ข้อ 65.    โทษของรสยา รสเผ็ด รสเปรีย


้ ว รสเค็ม ทำให้โรคใดกำเริบ
                1.   โรคลม
                2.   โรคดี
                3.   โรคเสลด
                4.   โรคโลหิต

ข้อ 66.    ในสรรพคุณเภสัชได้จัดรสยาแก้ธาตุทงั ้ 4 พิการไว้ ข้อใดถูก


ต้อง
                1.   ถ้าปถวีธาตุพิการ ใช้ยารสหวาน มัน เมาเบื่อ
                2.   ถ้าอาโปธาตุพิการ ใช้ยารส เปรีย
้ ว ขม เมาเบื่อ
                3.   ถ้าวาโยธาตุพิการ ใช้ยารสเผ็ดร้อน ฝาด
                4.   ถูกทุกข้อ

ข้อ 67.    ในสรรพคุณเภสัช ได้จำแนกรสยาไว้ 9 รส มีรสอะไรบ้าง


                1.   ฝาด หวาน เมาเบื่อ ขม เผ็ดร้อน มัน หอมเย็น เค็ม
เปรีย
้ ว
                2.   ฝาด หวาน มัน เค็ม เมาเบื่อ ขม เผ็ดร้อน เปรีย
้ ว เย็น
จืด
                3.   ฝาด หวาน เมาเบื่อ ขม เผ็ดร้อน มัน หอมเย็น เค็ม
สุขุม
                4.   ไม่มีข้อใดถูกเลย

ข้อ 68.    ยาเขียว สรรพคุณหลักให้แก้อะไร?


                1.   แก้ไข้ตัวร้อน
                2.   แก้ปวดประจำเดือน
                3.   แก้เริม
                4.   แก้ผดผื่นคัน

้ข้อ 69.    ยาปรุงสำเร็จแล้วนัน


้ มีหลายขนาน แต่เมื่อชิมดูแล้วมีกี่รส?
                1.   2 รส
                2.   3 รส
                3.   9 รส
                4.   10 รส

์ างสมาน แสลงกับโรคอะไรบ้าง?
ข้อ 70.    ยารสฝาดมีฤทธิท
                1.   ไอ ท้องผูก โรคลม
                2.   ไอ ท้องเสีย โรคกระดูก
                3.   ไอ หัวใจ แผล
                4.   นอนไม่หลับ อาเจียน ท้องเสีย

ข้อ 71.    ยารสหวานแสลงกับโรคอะไร


                1.   ท้องผูกเป็ นพรรดึก
                2.   โรคเสมหะเฟื่ องและบาดแผล
                3.   หัวใจพิการ
                4.   ไข้ที่มีพิษร้อน

ข้อ 72.    รสยา มีสรรพคุณแก้พิษ ถอนพิษ เช่นพิษดี พิษโลหิต พิษ


เสมหะ และพิษสัตว์กัดต่อย คือรสใด
                1.   รสเผ็ดร้อน
                2.   รสมัน
                3.   รสขม
                4.   รสเบื่อเมา

ข้อ 73.    รสยาแก้ตามวัย คืออายุแรกถึง 16 ปี ควรจะใช้รสยาข้อใดที่ถูก


ต้อง?
                1.   เปรีย
้ ว ขม หวาน
                2.   ขม เมา เบื่อ
                3.   มัน เค็ม
                4.   จืด เปรีย
้ ว

ข้อ 74.    รสยาสุขุม เผ็ดร้อน เป็ นรสยาประจำธาตุอะไร


                1.   ไฟ
                2.   ดิน
                3.   ลม
                4.   น้ำ

ข้อ 75.    เวลากลางวันตัง้ แต่เวลา 14.00-18.00 น. และเวลากลางคืน


ตัง้ แต่เวลา 02.00-06.00 น. ควรใช้ยาที่มีรสใด
                1.   เปรีย
้ ว
                2.   ร้อน
                3.   ขม
                4.   เย็น

ข้อ 76.    อายุ 16-32 ปี เมื่อเป็ นไข้ ควรใช้ยารสใด?


                1.   ขม-เปรีย
้ ว
                2.   ฝาด-เค็ม
                3.   จืด-เผ็ด
                4.   ข้อ 1. และข้อ 2. ถูก
ข้อ 77.    "พระขรรค์ไชยศรี " หมายถึงตัวยาในข้อใด
                1.   ตะโกนา
                2.   ต้นทิง้ ถ่อน
                3.   หนาวเดือนห้า
                4.   ร้อนเดือนห้า

ข้อ 78.    การเก็บตัวยาตามฤดูนน


ั ้ ท่านคิดว่าข้อใดถูกต้อง
                1.   ฤดูร้อน (คิมหันตฤดู) เก็บ เปลือก แก่น เนื้อไม้ ราก
                2.   ฤดูฝน (วสันตฤดู) เก็บ หัว เหง้า เนื้อไม้ ใบ
                3.   ฤดูหนาว(เหมันตฤดู) เก็บ กระพี ้ เปลือก เนื้อไม้
                4.   ถูกทุกข้อ

ข้อ 79.    แก่นกาแล รสขมขื่น มีสรรพคุณแก้โรคอะไร


                1.   บำรุงน้ำเหลือง ให้เป็ นปกติ บำรุงกำลัง
                2.   บำรุงโลหิต บำรุงกำลัง แก้ธาตุพิการ
                3.   ขับโลหิตในสตรีที่เน่าเสีย ทำให้เกิดโรคต่างๆ
                4.   แก้ไข้ที่มีพิษ แก้ไข้ตรีโทษ แก้ไข้เพื่อเสมหะ

ข้อ 80.    โกฐจุฬาลัมพา มีสรรพคุณเสมอกับ


                1.   หญ้าตีนนก
                2.   ทรงบาดาล
                3.   เปลือกนนทรี
                4.   หัวเปราะป่ า

ข้อ 81.    ชาวบ้านรู้จักใช้ลูกมะเกลือถ่ายพยาธิมานานแล้ว ได้ผลดี


สำหรับพยาธิปากขอ พยาธิเส้นด้าย จำนวนและขนาดเท่าอายุคนไข้ 1 ปี
ต่อ 1 ผล และจำกัดไว้ไม่เกินกีผ
่ ลต่ออายุ 40 ปี
                1.   25 ผล
                2.   30 ผล
                3.   35 ผล
                4.   40 ผล

ข้อ 82.    ใช้ดีทำยา สรรพคุณแก้ตาต้อ หางตาแห้ง แก้โรคในปากเป็ น


เม็ด ตัวร้อนนอนสะดุ้ง
                1.   ปลาช่อน
                2.   ปลาหมอ
                3.   ปลากระเบน
                4.   ปลานิล

ข้อ 83.    ต้นกาหลงใช้ทำยาแก้ปวดศีรษะ ลดความดันเลือดสูง มักใช้


ส่วน
                1.   ราก
                2.   ใบ
                3.   ดอก
                4.   ฝั ก

ข้อ 84.    ตัวยาชนิดหนึ่งได้จากแผลของค่างที่เป็ นปรวดแข็ง มีสรรพคุณ


ดับพิษกาฬ ดับพิษทัง้ ปวง ตัวยาชนิดนีค
้ ือ
                1.   คุลก
ิ ่า
                2.   โคโรค
                3.   ชะมดเชียง
                4.   อำพันทอง
ข้อ 85.    ธาตุใดผสมกับน้ำมัน มีสรรพคุณรักษาบาดแผล และแก้พิษ
อักเสบได้
                1.   ตะกั่วนม
                2.   ดินถนำถ้ำ
                3.   ดินถนำส้วม
                4.   สารหนู

ข้อ 86.     ใบมะนาว ใช้ทำยาในพิกัดกี่ใบ(กัดฟอกเสมหะและระดู)


                1.   9 ใบ
                2.   50 ใบ
                3.   60 ใบ
                4.   108 ใบ

ข้อ 87.    พระยาฉัตรทัน อีกชื่อหนึ่งเรียกว่าอะไร?


                1.   ทิง้ ถ่อน
                2.   เทพธาโร
                3.   จำปาขอม
                4.   ตะโกนา

ข้อ 88.    พืชวัตถุที่ใช้ส่วนทัง้ 5 คือ


                1.   หัว ราก ใบ ดอก ฝั ก
                2.   ราก ต้น ใบ แก่น ฝั ก
                3.   ต้น ดอก ใบ ลูกหรือฝั ก ราก
                4.   ราก ใบ ดอก ลูก ฝั ก

ข้อ 89.    รงทอง ได้มาจากอะไร และมีสรรพคุณทางใด


                1.   ได้มาจากธาตุวัตถุ มีสรรพคุณถ่ายน้ำเหลือง ถ่าย
กระษัย
                2.   ได้มาจากสัตว์วัตถุ มีสรรคุณแก้โรคตา โรคเสมหะ
                3.   ได้มาจากยางต้นรงทอง มีสรรพคุณแก้ลมอันมีพิษทัง้
ปวง
                4.   ได้มาจากพืชวัตถุ มีสรรพคุณแก้ลมอันมีพิษทัง้ ปวง

ข้อ 90.    รากตองแตกหรือรากทนดี มีสรรพคุณอย่างไร


                1.   ขับพยาธิตัวตืด ขับพยาธิไส้เดือน
                2.   ระบายพิษไข้ แก้หืด ไอ แก้พิษฝี
                3.   ดับพิษตับ ปอด แก้หัวใจพิการ
                4.   ระบายอ่อนๆ ถ่ายลม ถ่ายเสมหะ

ข้อ 91.    รากมะพร้าว มีสรรพคุณดังนี ้


                1.   แก้พิษตามซาง
                2.   แก้ไข้ท้องเสีย
                3.   แก้อ่อนเพลีย
                4.   แก้ผิดสำแดง

ข้อ 92.    ลักษณะของ ชลูดขาว เป็ นไม้ชนิดใด


                1.   เป็ นพุ่มไม้ชนิดกลาง
                2.   เป็ นไม้เถา
                3.   เป็ นไม้ชนิดล้มลุก
                4.   เป็ นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่

ข้อ 93.    สมุนไพรตัวใดที่หมอไทยใช้บำรุงโลหิต


                1.   สิงหโมรา
                2.   ผักเป็ ดแดง
                3.   หญ้าฝรั่น
                4.   รากสามสิบ

ข้อ 94.    สีผสมอาหารจากธรรมชาติ คือข้อใด


                1.   สีเสียดเทศ สีเสียดไทย
                2.   ชะเอมเทศ ชะเอมไทย
                3.   ฝาง ดอกคำฝอย
                4.   ดอกอัญชัญ ช้าพลู ใบเตย

ข้อ 95.    หญ้าฝรั่น ใช้ส่วนใดทำยา


                1.   ใบ
                2.   ต้น
                3.   เกสร
                4.   ราก

ข้อ 96.    หนามคาใบ เป็ นชื่อของต้นอะไร


                1.   หนามหัน
                2.   ช้างงาเดียว
                3.   ระกำ
                4.   หนามเล็บเหยี่ยว

ข้อ 97.    หมอจะใช้ส่วนใดของโกฐน้ำเต้า ขับลมในลำไส้ ขับปั สสาวะ


และอุจจาระให้เดินสะดวก
                1.   ใช้ใบ
                2.   ใช้ราก
                3.   ใช้แก่น
                4.   ใช้ผล

ข้อ 98.    "กฎหมายพนักงานพระโอสถถวาย"ได้ตราขึน


้ ในสมัยใด
                1.   รัชกาลที่ 1
                2.   รัชกาลที่ 2
                3.   รัชกาลที่ 3
                4.   รัชกาลที่ 4

ข้อ 99.    เมื่อตรวจพบว่าใบสั่งยาผิด หรือมีความสงสัยในตำรับยาใน


ใบสั่งยานัน
้ เภสัชกรทีดีควรปฎิบัติอย่างไร
                1.   ปรุงยาตามใบสั่งยาได้เลย เพราะผู้สั่งยาเป็ นผู้รับผิด
ชอบ
                2.   แก้ไขให้ถูกต้องด้วยตนเอง และปรุงไปตามที่แก้ไข
                3.   สอบถามแพทย์ผู้เขียนใบสั่งยาก่อนปรุงยา
                4.   ปรึกษาผู้ชำนาญก่อนการปรุงยา

ข้อ 100.  สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ได้มีการตรากฎเสนบดีแบ่งการประกอบ


โรคศิลปะออกเป็ นแผนปั จจุบัน และแผนโบราณขึน
้ ใช้บังคับในรัชสมัย
ใด?
                1.  รัชกาลที่ 6
                2.   รัชกาลที่ 7
                3.   รัชกาลที่ 8
                4.   รัชกาลที่ 9

You might also like