You are on page 1of 29

แนวข้อสอบวิชาเภสัชกรรมไทย

วันพุธ ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ.2546 เวลา 09.00 - 12.00 น.

ข้อ 1.      ตามความในพระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 และฉบับที่มีผล


บังคับใช้ในปั จจุบันได้ให้ผู้รับอนุญาตเกี่ยวกับยาประเภทใดบ้างที่สามารถ
ขายยาแผนโบราณได้
                 1.   ผู้รับอนุญาตขายยาแผนโบราณ
                 2.   ผู้รับอนุญาตขายยาแผนปั จจุบันและผู้รับอนุญาตขาย
ยาแผนโบราณ
                 3.   ผู้รับอนุญาตขายยาแผนโบราณ และผู้รับอนุญาตขาย
ยาบรรจุเสร็จฯ
                 4.   ผู้รับอนุญาตขายยาแผนปั จจุบันและผู้รับอนุญาตขาย
ยาแผนโบราณ หรือผู้ที่รับอนุญาตขายยาบรรจุเสร็จฯ

ข้อ 2. นายสมชายเป็ นผู้รับอนุญาตผลิตยาแผนโบราณทำการแจกยาแก่


ประชาชนเพื่อส่งเสริมการขายยาในงานนิทรรศการ เช่นนี ้ นาย สมชาย
สามารถกระทำได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
                 1.   ไม่ได้ เพราะเป็ นการขายยาโดยไม่ได้รับอนุญาต
                 2.   ไม่ได้ เพราะเป็ นการขายยานอกสถานที่
                 3.   ได้ เพราะเป็ นการแจก ไม่ได้ขายยา
                 4.   ได้ เพราะเป็ นการส่งเสริมให้ประชาชนหันมาใช้ยาแผน
โบราณ

ข้อ 3.      นายสมศักดิข์ น


ึ ้ ทะเบียนตำรับยาเม็ดลูกกลอนยาแผนโบราณไว้
ตำรับหนึ่ง โดยระบุว่ามีน้ำหนักเม็ดละ 1 กรัม ต่อมาต้องการลดต้นทุน จึง
เปลี่ยนทำน้ำหนักเม็ดยาเป็ นเม็ดละ 0.8 กรัม ออกขายโดยไม่ได้แจ้งขอ
์ ีความผิดตามกฎหมาย ยา
แก้ไขทะเบียนตำรับยา กรรณีนี ้ นายสมศักดิม
หรือไม่ อย่างไร
                 1.   ไม่เป็ นความผิด เพราะไม่ได้แก้ไขสูตรยา
                 2.   เป็ น ความผิดฐานทำยาปลอม
                 3.   เป็ น ความผิดฐานทำยาผิดมาตรฐาน
                 4.   เป็ น ความผิดฐานทำยาที่ไม่ได้ขน
ึ ้ ทะเบียน

ข้อ 4.     ในกรณีใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทำลายในสาระสำคัญผู้รับ
อนุญาตต้องแจ้งต่อผู้อนุญาต เพื่อรับใบแทนใบอนุญาต ภายในกี่วัน
                 1.   5 วัน
                 2.   15 วัน
                 3.   20 วัน
                 4.   30 วัน

ข้อ 5.     ในกรณีผู้อนุญาตไม่ออกใบอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ต่ออายุใบ
อนุญาตนัน
้ ผู้ขออนุญาตหรือผู้ขอต่ออายุใบอนุญาตมีสิทธิอุทธรณ์เป็ น
หนังสือต่อรัฐมนตรีภายในกี่วัน นับแต่วันได้รับหนังสือของผู้อนุญาตแจ้ง
การไม่ออกใบอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ต่ออายุใบอนุญาต
                 1.   15 วัน
                 2.   20 วัน
                 3.   25 วัน
                 4.   30 วัน

ข้อ 6.     กรณีใดที่โรงพยาบาลเอกชนสามารถรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนเกิน
จำนวนเตียงที่ขออนุญาตไว้ได้
                 1.   มีโรคระบาดรุนแรง
                 2.   มีผู้ป่วยมารักษาจำนวนมาก
                 3.   กรณีมีอุบัติเหตุกับคนหมู่มาก
                 4.   กรณีฉุกเฉิน ซึ่งหากไม่รับไว้ผู้ป่วยอาจมีอันตราย

ข้อ 7.      การกระทำในข้อใดที่ผู้รับอนุญาตจะต้องดำเนินการเสมือนการ


ขออนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาลใหม่
                 1.   เปลี่ยนตัวผู้ดำเนินการสถานพยาบาล
                 2.   เปลี่ยนตัวผู้รับอนุญาต
                 3.   เปลี่ยนชื่อสถานพยาบาลใหม่
                 4.   ย้ายสถานพยาบาลไปประกอบกิจการที่อ่ น

ข้อ 8.     ผู้ใดต่อไปนีม
้ ีลักษณะต้องห้ามเป็ นผู้ขอรับใบอนุญาตประกอบ
กิจการสถานพยาบาล
                 1.   นายแก่อายุ 90 ปี
                 2.   นายอ่อนป่ วยเป็ นโรคความดันสูง
                 3.   นายพลาดต้องคำพิพากษาของศาลถึงที่สุดให้จำคุก
หนึ่งปี ในความผิดทำให้คนตายโดยประมาท
                 4.   นาย จ. ดื่มสุราเป็ นอาจิณ จนเป็ นโรคพิษสุราเรื้อรัง

ข้อ 9.     ผู้ที่มอำ
ี นาจประกาศกำหนดมาตรฐานการบริการของสถาน
พยาบาล
                 1.   รัฐมนตรี
                 2.   ปลัดกระทรวง
                 3.   คณะกรรมการ
                 4.   อนุกรรมการ

ข้อ 10.    สมศรีมีความประสงค์จะขออนุญาตเป็ นผู้ประกอบกิจการโรง


พยาบาล แต่ผู้อนุญาตไม่ยอมออกใบอนุญาตให้ สมศรีควรทำอย่างไร
                 1.   อุทธรณ์ต่อปลัดกระทรวงสาธารณสุข
                 2.   อุทธรณ์ ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
                 3.   อุทธรณ์ต่อนายกรัฐมนตรี
                 4.   อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการสถานพยาบาล

ข้อ 11.    การปฎิบัติงานตาม พ.ร.บ.การประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542


ที่ออกเป็ นกฎกระทรวงคือ
                 1.   การออกหนังสือรับรองความรู้ความชำนาญในการ
ประกอบโรคศิลปะ
                 2.   การออกข้อจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบโรค
ศิลปะ
                 3.   การออกหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการประกอบโรค
ศิลปะ
                 4.   การออกหลักเกณฑ์การให้บุคคลประกอบโรคศิลปะ
โดยอาศัยศาสตร์ต่างประเทศ

ข้อ 12.    การประกอบวิชาชีพใดต่อไปนีท
้ ี่ไม่ใช่การประกอบโรคศิลปะ
ตามความหมายของ พ.ร.บ.ประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542
                 1.   เวชกรรมไทย
                 2.   กายภาพบำบัด
                 3.   การพยาบาล
                 4.   เทคนิคการแพทย์

ข้อ 13.    ข้อใดที่ไม่ถือเป็ นการปฎิบัติตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ


                 1.   การที่ผู้ประกอบโรคศิลปะคิดค่ารักษาผู้ป่วยในราคาสูง
                 2.   การที่ผู้ประกอบโรคศิลปะพูดจาโอ้โลมผู้ป่วย
                 3.   การที่ผู้ประกอบโรคศิลปะไม่แจ้งความจริงให้ผู้ป่วย
ทราบ
                 4.   การที่ผู้ประกอบโรคศิลปะได้ทำการรักษาผู้ป่วยเกิน
ความจำเป็ น

ข้อ 14.    คณะกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทย ตามพระราช


บัญญัตการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ.2542 มีจำนวน
                 1.   ไม่น้อยกว่า 12 คน แต่ไม่เกิน 17 คน
                 2.   ไม่น้อยกว่า 13 คน แต่ไม่เกิน 17 คน
                 3.   ไม่น้อยกว่า 14 คน แต่ไม่เกิน 17 คน
                 4.   ผิดทุกข้อ

ข้อ 15.    นาย ก. ทำการปรุงยาโดยใส่สเตียรอยด์ผสมด้วย ดังนีถ


้ ือว่า
เป็ นความหมายของเภสัชกรรมไทยหรือไม่
                 1.   ไม่เป็ นเภสัชกรรมไทย เพราะนาย ก.ใส่เสตียรอยด์ซึ่ง
เป็ นยาแผนปั จจุบัน
                 2.   ไม่เป็ นเภสัชกรรมไทย เพราะวิธีดังกล่าวไม่ใช่กรรมวิธี
การแพทย์แผนไทย
                 3.   ไม่เป็ นเภสัชกรรมไทย เพราะเสตียรอยด์ เป็ นยา
อันตราย
                 4.   ไม่เป็ นเภสัชกรรมไทย เพราะยาดังกล่าวไม่มีสรรพคุณ
ตามหลักเภสัช

ข้อ 16.    นาย ก. เป็ นเจ้าของสถานบริการตาม พ.ร.บ.สถานบริการ ได้


จ้างนาย ข. ซึ่งเป็ นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทย ไป
ทำการนวด กรณีเช่นนีถ
้ ือว่า
                 1.   นาย ข. ไม่สมควรไป เพราะกฎหมายไม่อนุญาต
                 2.   นาย ข. ไม่สมควรไป เพราะผิดจรรยาบรรณแห่ง
วิชาชีพ
                 3.   นาย ข. สามารถไปได้ เพราะเป็ นสิทธิที่จะทำการ
ประกอบโรคศิลปะ
                 4.   นาย ข. สามารถไปได้ เพราะเป็ นเรื่องที่ไม่ขัดต่อ
กฎหมาย

ข้อ 17.    นาย ก.มีความรู้เรื่องรักษาโรค โดยการเรียนรู้สืบทอดจาก


บรรพบุรุษ โดยอาศัยกรรมวิธีของแพทย์แผนไทย นาย ก. ไม่ได้ขน
ึ้
ทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็ นผู้ประกอบโรคศิลปะ ถ้า นาย ก.ไปตรวจ
รักษาผู้ป่วยแล้ว เรียกร้องค่าตอบแทน นาย ก.จะถูกลงโทษอย่างไร
                 1.   อาจถูกจำคุกหรือปรับ หรือทัง้ จำทัง้ ปรับ
                 2.   ถูกยึดทรัพทย์เรียกค่าตอบแทนที่เคยได้รับ
                 3.   ถูกว่ากล่าวตักเตือน
                 4.   ทุกข้อที่กล่าวมาแล้ว

ข้อ 18.    นายชอบ เป็ นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทย


ประเภทเวชกรรมไทย ทำการรักษาโรคโดยฝั งเข็ม จะต้องรับผิดทาง
กฎหมายอย่างไร
                 1.   ประกอบโรคศิลปะผิดสาขา
                 2.   ประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยมิได้ขน
ึ ้ ทะเบียนและรับ
ใบอนุญาต
                 3.   ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนจีน โดยมิได้ขน
ั้
ทะเบียนและรับใบอนุญาต
                 4.   ไม่มีความผิด

ข้อ 19.    ผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทย ไม่พึงกระทำการ


ใดในข้อต่อไปนี ้
                 1.   ศึกษาหาความรู้วิชาการฝั งเข็ม
                 2.   ติดประกาศใบอนุญาตที่ตนได้รับทุกประเภทและทุก
สาขาเป็ นที่เปิ ดเผยในสถานพยาบาล
                 3.   ให้ค่าตอบแทนแก่คนขับรถแท็กซี่ที่หาผู้ป่วยมาส่งที่
สถานพยาบาลของตน
                 4.   แจ้งวิธีการประกอบโรคศิลปะให้ผู้ป่วยทราบ

ข้อ 20.    พ.ร.บ.การประกอบโรคศิลปะ พ.ศ.2542 ห้ามมิให้ผู้ใดทำการ


ประกอบโรคศิลปะโดยมิได้ขน
ึ ้ ทะเบียนและรับใบอนุญาต เว้นแต่ใน กรณี
อย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี ้
                 1.   ทำการวินิจฉัยโรคเท่านัน

                 2.   ประกอบโรคศิลปะในสถานพยาบาล
                 3.   รับทำคลอดให้เฉพาะคนในหมู่บ้านโดยติดต่อค่า
บริการรายละ 30 บาท
                 4.   การประกอบโรคศิลปะที่กระทำต่อตนเอง

ข้อ 21.    กระสายยา มีไว้เพื่อประโยชน์อย่างไร


                 1.   เพื่อให้ยานัน
้ มีรสเข้มข้นขึน

์ ากขึน
                 2.   เพื่อให้ยามีฤทธิม ้ โดยลดฤทธิข์ องตัวยาที่ออก
ฤทธิข์ ัดกัน
                 3.   เพื่อให้ยาออกฤทธิเ์ ร็วขึน

                 4.   เพื่อให้ยาดูดซึมเร็วขึน

ข้อ 22.    การกระทุ้งพิษไข้หัด นิยมใช้พืชวัตถุใดต้มเอาน้ำเป็ นกระสาย


ยา
                 1.   ลูกผักชี
                 2.   รากผักชี
                 3.   รากชุมเห็ดไทย
                 4.   รากบัว

ข้อ 23.    การทำเม็ดลูกกลอน ต้องใช้กระสายยาตัวใด


                 1.   น้ำผึง้ หรือน้ำตาลอ้อยเคี่ยวข้น
                 2.   น้ำแป้ งเปี ยก
                 3.   น้ำเชื่อม
                 4.   ถูกทุกข้อ

ข้อ 24.    การทำให้พิษไข้ข้างในออกมาภายนอกตามผิวกาย เราเรียกว่า


                 1.   ถอนพิษไข้
                 2.   ดับพิษไข้
                 3.   กระทุ้งพิษไข้
                 4.   ดอกพิษไข้

ข้อ 25.    การสะตุตัวยาข้อใดไม่ถูก


                 1.   สารส้มใส่หม้อดินตัง้ ไฟให้ร้อน
                 2.   ดินสอพอง ใส่หม้อดินตัง้ ไฟให้ร้อน
                 3.   น้ำประสานทอง ใส่กระทะทองแดงตัง้ ไฟให้ร้อน
                 4.   ยาดำ ใส่หม้อดินเติมน้ำเล็กน้อยตัง้ ไฟจนน้ำยาดำแห้ง
กรอบ

ข้อ 26.     การสะตุรงทอง มีวิธีการทำอย่างไร


                 1.   นำรงทองใส่หม้อดิน เติมน้ำเล็กน้อย นำไปตัง้ ไฟจนรง
ทองแห้งกรอบ
                 2.   นำใบบัวห่อรงทอง แล้วนำไปปิ ้ งไฟจนสุกกรอบ
                 3.   นำรงทองใส่ถ้วย พรมด้วยน้ำส้ม นำไปนึ่งให้สุก
                 4.   ผิดทุกข้อ

ข้อ 27.     การสะตุสารส้ม ควรปฎิบัติอย่างไร


                 1.   นำสารส้มมาคั่วในกระทะ สารส้มจะละลายเป็ นน้ำ
แล้วทิง้ ไว้ให้แห้ง
                 2.   ต้มสารส้มในน้ำที่เดือดจัด สารส้มจะฟูเป็ นแผ่นขาว
ทิง้ ไว้ให้เย็น
                 3.   นำสารส้มที่ตำละเอียดมาใส่หม้อดิน ตัง้ ไฟจนสารส้ม
ละลาย เมื่อแห้งได้ที่จะฟูเป็ นแผ่นขาว
                 4.   นำสารส้มมาโรยในน้ำเดือด เมื่อแห้งแล้วจะฟูเป็ นแผ่น
ขาว

ข้อ 28.     แก่นขีเ้ หล็ก 1 บาท เท่ากับหนักกี่กรัม


                 1.   14 กรัม
                 2.   15 กรัม
                 3.   16 กรัม
                 4.   17 กรัม

ข้อ 29.     ข้อใดเป็ นตัวยาที่ปรุงกับตัวยาอื่นใช้สำหรับขับลม กระจายลม


                 1.   พริกไทย
                 2.   กระเทียม
                 3.   ตะไคร้หอม
                 4.   หัวหอม

ข้อ 30.     ข้อไหนมิใช่ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ?


                  1.   ยาธาตุบรรจบ
                  2.   ยาธาตุน้ำแดง
                  3.   ยาเขียวหอม
                  4.   ยาเขียวใหญ่

ข้อ 31.     คนไข้มีอาการตัวร้อน เป็ นไข้ ขัดเบา ท่านควรใช้น้ำกระสาย


ยาข้อใด
                  1.   รากหญ้าคา หญ้าใต้ใบ
                  2.   หญ้าชันกาด ว่านนางคำ
                  3.   ไพล รากมะละกอ
                  4.   ฝ้ ายแดง บอระเพ็ด

ข้อ 32.     ยาจันทลีลา อยู่ในกลุ่มยาอะไร


                  1.   กลุ่มยาถ่าย
                  2.   กลุ่มยาขับลม
                  3.   กลุ่มยาบำรุงโลหิต
                  4.   กลุ่มยาแก้ไอ

ข้อ 33.     ตัวยาชนิดใดที่มีฤทธิแ์ รงในทางกัดทำลาย


                  1.   จุนสี
                  2.   ยางตาตุ่ม
                  3.   ยางรักดำ
                  4.   ยางฝิ่ น

ข้อ 34.     ตัวยารากมะปรางหวาน รากมะนาว เปราะหอม เป็ นส่วน


ประกอบตัวยาสามัญประจำบ้านตำรับใด
                  1.   ยาประสะกะเพรา
                  2.   ยาประสะจันทน์แดง
                  3.   ยาหอมอินทจักร์
                  4.   ยาประสะไพล

ข้อ 35.     ถ้าใช้ยาสามัญประจำบ้าน ถ้าแก้กษัย เถาดาน ท้องผูก จะใช้


ข้อใด
                  1.   ยาธาตุบรรจบ
                  2.   ยาธรณีสันฑฆาต
                  3.   ยาไฟห้ากอง
                  4.   ยาประสะไพล

ข้อ 36.     น้ำกระสายยา ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ในข้อใด


                  1.   เพื่อให้กลืนยาได้ง่ายๆ ไม่ติดคอ
                  2.   เพื่อช่วยทำให้ยามีรส สี กลิ่น น่ารับประทาน
                  3.   เพื่อช่วยเสริมฤทธิย์ าให้ตรงกับโรค ทันต่ออาการโรค
                  4.   ถูกทุกข้อ

ข้อ 37.     น้ำกระสายยาที่นำมาใช้แก้โรคนอนไม่หลับ จะใช้ตัวยา


สมุนไพรต้มเพื่อใช้รักษาโรคคือ
                  1.   กาฝากมะม่วง
                  2.   ลูกผักชีลา
                  3.   รากชุมเห็ดไทย
                  4.   รากบัว

ข้อ 38.     น้ำกระสายยาอะไรที่แก้อาเจียน


                  1.   น้ำดอกไม้เทศ ละลายน้ำ
                  2.   กะเพราและข่าต้ม
                  3.   ลูกยอหมกไฟ ลูกผักชี และเทียนดำต้ม
                  4.   ใบสะระแหน่ และตะไคร้ต้ม

ต้อ 39.     น้ำต้มกาฝากมะม่วงพรวน สรรพคุณเป็ นน้ำกระสายตรงกับข้อ


ใด
                  1.   ระบาย
                  2.   ขับปั สสาวะ(ขัดเบา)
                  3.   แก้ความดันเฉียบพลัน
                  4.   ไม่มีข้อถูก

ข้อ 40.     เมื่อมีอาการปวดกล้ามเนื้อ แก้ลมแล่นตามเส้น ตามกล้ามเนื้อ


ลิน
้ กระด้างคางแข็ง และมือชา เท้าชา ควรใช้ยาในข้อใด
                  1.   ยาหอมบำรุงหัวใจ
                  2.   ยาสหัสธารา
                  3.   ยาหอมอินทรจักร
                  4.   ยาฤทธิจร

ข้อ 41.     ยาใดแก้กษัยเส้น เถาดาน ท้องผูก


                  1.   ยาธรณีสัณฑะฆาต
                  2.   ยาไฟประลัยกัลป์
                  3.   ยามหาจักรใหญ่
                  4.   ยาอัมฤควาที

ข้อ 42.     ยาน้ำหนัก 5 ตำลึง มีกี่กรัม?


                  1.   300 กรัม
                  2.   400 กรัม
                  3.   500 กรัม
                  4.   600 กรัม

ข้อ 43.     ยาลูกกลอนที่ผสมด้วย หัว เหง้า แก่น โกฐ เทียน แร่ธาตุ


มีอายุเท่าใดจึงจะเริ่มเสื่อมคุณภาพ
                  1.   6 เดือน
                  2.   8 เดือน
                  3.   12 เดือน
                  4.   18 เดือน

ข้อ 44.     ยาสามัญประจำบ้านขนานใด ที่มีสรรพคุณเป็ นยาแก้ท้องเสีย


                  1.   ยามันฑธาตุ
                  2.   ยาประสะไพล
                  3.   ยาเหลืองปิ ดสมุทร
                  4.   ยาตรีหอม

ข้อ 45.     ยาสามัญประจำบ้านชื่อ ยาประสะไพล ประกอบด้วยตัวยา


คือ ว่านน้ำ พริกไทย กระเทียม ผิวมะกรูด หัวหอม ขิง เกลือสินเธาว์
เทียน ดำ การบูร รวมทัง้ ไพล แต่ยังขาตัวยาคือ
                  1.   ขมิน
้ อ้อย ข่า
                  2.   ดีปลี กระทือ
                  3.   กระทือ ขมิน
้ อ้อย
                  4.   ดีปลี ขมิน
้ อ้อย

ข้อ 46.     วิธีการทำให้ลูกสลอดหมดฤทธิ ์ หรือมีฤทธิน


์ ้อย เรียกว่า
อย่างไร
                  1.   การสะตุลูกสลอด
                  2.   การประสะลูกสลอด
                  3.   การฆ่าฤทธิล์ ูกสลอด
                  4.   ถูกทุกข้อ
ข้อ 47.     หลังจากทำยาลูกกลอนแล้วนำเม็ดยาที่ได้ไปวางในถาดไม้ ให้
เม็ดยาชนกัน แล้วนำไปอบในอุณหภูมิกี่องศา
                  1.   40-45 องศาเซลเซียส
                  2.   46-50 องศาเซลเซียส
                  3.   50-55 องศาเซลเซียส
                  4.   55-60 องศาเซลเซียส

ข้อ 48.     กระดูกไก่ทงั ้ สองต่างกันอย่างไร


                  1.   ต่างกันที่รส
                  2.   ต่างกันที่ชนิด
                  3.   ต่างกันที่ขนาด
                  4.   ต่างกันที่สี

ข้อ 49.     ดอกดีปลี 1 ส่วน เถาสะค้าน 8 ส่วน รากช้าพลู 4 ส่วน เจต


มูลเพลิง 2 ส่วน เหง้าขิงแห้ง 1 ส่วน เมล็ดพริกไทย 3 ส่วน ตรีผลาระคน
อย่างละ 1/2 ส่วน เป็ นตัวยาประจำธาตุสมุฎฐานใด
                 1.   อาโปธาตุพิการ
                 2.   ปถวีธาตุหย่อน
                 3.   อาโปธาตุกำเริบ
                 4.   ปถวีธาตุพิการ

ข้อ 50.     ดอกดีปลี 16 ส่วน รากช้าพลู 8 ส่วน เถาสะค้าน 6 ส่วน ราก


เจตมูลเพลิง 4 ส่วน เหง้าขิงแห้ง 2 ส่วน แก้ในโสฬสเบญจกูลกองใด
                 1.   โสฬสเบญจกูล แก้ในกองปถวีธาตุ
                 2.   โสฬสเบญจกูล แก้ในกองอาโปธาตุ
                 3.   โสฬสเบญจกูล แก้ในกองวาโยธาตุ
                 4.   โสฬสเบญจกูล แก้ในกองเตโชธาตุ

ข้อ 51.     ตรีเสมหะผล ประกอบด้วยตัวยาตามข้อใด


                 1.   ลูกช้าพลู ลูกมะขามป้ อม รากชะเอมเทศ
                 2.   รากมะกล่ำเครือ รากพริกไทย ผลดีปลี
                 3.   รากกะเพรา รากพริกไทย ผลดีปลี
                 4.   ลูกช้าพลู ลูกกระวาน ลูกผักชีลา

ข้อ 52.     ตัวยาของจุลพิกัดที่แตกต่างกันที่สี ได้แก่ตัวยาในข้อใด?


                  1.   ผักเป็ ดทัง้ 2 ได้แก่ผักเป็ ดแดง ผักเป็ ดขาว กระวานทัง้
2 ได้แก่ กระวานแดง กระวานขาว
                  2.   การบูรทัง้ 2 ได้แก่ การบูรขาว การบูรดำ จันทน์ทงั ้ 2
ได้แก่ จันทน์ขาว จันทน์แดง
                  3.   พริกไทยทัง้ 2 ได้แก่ พริกไทยขาว พริกไทยดำ เทียน
ทัง้ 2 ได้แก่ เทียนดำ เทียนขาว
                  4.   ถูกทุกข้อ

ข้อ 53.     ตัวยาใดต่อไปนี ้ ไม่อยู่ในพิกัดเกษรทัง้ 5


                  1.   ดอกพิกล

                  2.   ดอกสารภี
                  3.   ดอกบุนนาค
                  4.   ดอกจำปา
ข้อ 54.     ตัวยาใดต่อไปนีไ้ ม่อยู่ในพิกัดเนาวหอย
                  1.   หอยแครง
                  2.   หอยลาย
                  3.   หอยมุก
                  4.   หอยสังข์

ข้อ 55.      ตัวยาต่อไปนีอ


้ ยู่ในพิกัดจตุทิพยคันทา
                  1.   ดอกมะลิ
                  2.   ดอกพิกล

                  3.   ดอกบุนนาค
                  4.   หัวแห้วหมู
ข้อ 56.     ตัวยาใดต่อไปนีอ
้ ยู่ในพิกัดตรีสุคติสมุฎฐาน
                  1.   รากกะเพรา
                  2.   รากราชพฤกษ์
                  3.   รากแคแดง
                  4.   รากมะขามเทศ

ข้อ 57.     ตัวยาใดที่เพิ่มในเทียนทัง้ ห้า และเป็ นเทียนทัง้ เจ็ด


                  1.   เทียนสัตตะบุษย์ เทียนเยาวภาณี
                  2.   เทียนดำ เทียนแดง
                  3.   เทียนดำ เทียยเยาวภาณี
                  4.   เทียนขาว เทียนเยาวภาณี

ข้อ 58.     บัวขมอยู่ในพิกัดใด


                  1.   บัวทัง้ 5
                  2.   บัวทัง้ 7
                  3.   บัวทัง้ 9
                  4.   บัวพิเศษ

ข้อ 59.     พิกัดตรีทิพย์รสกำหนดตัวยา 3 อย่าง ที่มีรสดั่งน้ำทิพย์ มีตัว


ยาอะไรบ้าง?
                  1.   โกฐกระดูก เนื้อไม้ อบเชยไทย
                  2.   โกฐกระดูก เนื้อไม้ เทพธาโร
                  3.   โกฐกระดูก อบเชยไทย รากไทรย้อย
                  4.   เนื้อไม้ อบเชยไทย เทพธาโร

ข้อ 60.     พิกัดตรีวาตผล มี รากพริกไทย เหง้าข่า ลูกสะค้าน มีรสใด


                  1.   รสจืด
                  2.   รสเย็น
                  3.   รสสุขุม
                  4.   รสร้อน

ข้อ 61.      มหาพิกัดเบญจกูล ใช้ส่วนตัวยาอย่างไร


                  1.   ดอกดีปลี 20 ส่วน รากช้าพลู 6 ส่วน เถาสะค้าน 12
ส่วน รากเจตมูลเพลิง 4 ส่วน เหง้าขิงแห้ง 10 ส่วน
                  2.   ดอกดีปลี 20 ส่วน รากช้าพลู 12 ส่วน เถาสะค้าน 6
ส่วน รากเจตมูลเพลิง 4 ส่วน เหง้าขิงแห้ง 10 ส่วน
                  3.   ดอกดีปลี 20 ส่วน รากช้าพลู 12 ส่วน เถาสะค้าน 16
ส่วน รากเจตมูลเพลิง 8 ส่วน เหง้าขิงแห้ง 10 ส่วน
                  4.   ดอกดีปลี 16 ส่วน รากช้าพลู 8 ส่วน เถาสะค้าน 6
ส่วน รากเจตมูลเพลิง 4 ส่วน เหง้าขิงแห้ง 10 ส่วน

ข้อ 62.     เร่วทัง้ สอง คืออะไร


                  1.   ใบเร่ว ลูกเร่ว
                  2.   เร่วขาว เร่วแดง
                  3.   เร่วน้อย เร่วใหญ่
                  4.   เร่วไทย เร่วเทศ

ข้อ 63.     ข้อไหนเป็ นตัวยารสจืด?


                  1.   หญ้าใต้ใบ
                  2.   หญ้าฝรั่น
                  3.   หญ้าแห้วหมู
                  4.   หญ้าถอดปล้อง

ข้อ 64.     คนไข้เกิดโรควาโยพิการ ควรใช้ยารสใดแก้


                  1.   รสร้อนและรสเย็น
                  2.   รสร้อนและรสสุขุม
                  3.   รสร้อนและรสเปรีย
้ ว
                  4.   รสสุขุมและรสเย็น

ข้อ 65.     ชนิดของยาแก้โรคตามธาตุสมุฎฐานประกอบด้วย ดิน น้ำ ลม


ไฟ ซึ่งตัวยาประจำธาตุดินคือข้อใด?
                  1.   รากช้าพลู
                  2.   เถาสะค้าน
                  3.   ดอกดีปลี
                  4.   เจตมูลเพลิง

ข้อ 66.     ตัวยาในข้อใดมีรสเค็ม


                  1.   หญ้าปี นตอ
                  2.   หญ้าหนวดปลาดุก
                  3.   หญ้าถอดปล้อง
                  4.   ใบเหงือกปลาหมอ

ข้อ 67.     ตัวยารสเผ็ดร้อนแก้ลม แก้ปวดท้อง แน่นจุกเสียด ท้องอืดเฟ้ อ


คือตัวยาใด?
                  1    กานพลู เมล็ดพริกไทย ใบแก้ว
                  2.   กานพลู เมล็ดพริกไทย ลูกกระดอม
                  3.   กานพลู เมล็ดพริกไทย ใบสะเดา
                  4.   กานพลู เมล็ดพริกไทย ใบมะดัน

ข้อ 68.     ถ้าบังเกิดโรคขึน


้ ในวสันตฤดู(ฤดูฝน) จะใช้ยารสอะไรแก้โรค
                  1.   ใช้ยา รสเผ็ดร้อน รสสุขุม
                  2.   ใช้ยา รสฝาดร้อน รสเปรีย
้ ว รสสุขุม
                  3.   ใช้ยา รสหอมเย็น รสหวาน รสสุขุม
                  4.   ใช้ยา รสฝาด รสหวาน รสมันเค็ม

ข้อ 69.     ยาตำรับที่นำตัวยาพวกเกสรดอกไม้ ใบไม้ เขาสัตว์ เขีย


้ วสัตว์
เมื่อปรุงเป็ นยาสำเร็จแล้วจะมีรสใด
                  1.   รสร้อน
                  2.   รสเย็น
                  3.   รสสุขุม
                  4.   รสขม

ข้อ 70.     ยารสเปรีย


้ ว แสลงกับโรคใด
                  1.   ไข้ต่างๆ
                  2.   ท้องเสีย
                  3.   กระเพาะอาหารเป็ นแผล
                  4.   โรคไอ

ข้อ 71.     ยารสฝาดแสลงกับโรคอะไร


                  1.   โรคท้องผูกเป็ นพรรดึก
                  2.   หัวใจพิการ
                  3.   โรคเสมหะเฟื่ องและบาดแผล
                  4.   ไข้ที่มีพิษร้อน

ข้อ 72.    รสยา 6 รส หมายถึงรสอะไรบ้าง


                  1.   มธุระ อัมพิระ ละวณะ กฎกะ ติตติกะ  สุราระ
                  2.   มธุระ อัมพิระ ละวณะ ติตติกะ กะสาวะ กฎกะ

                  3.   มธุระ อัมพิระ ละวณะ สรรพาระ กฎกะุ ชิวระ
                  4.   ผิดหมดทุกข้อ

ข้อ 73.    วัยของคนเราแบ่งออกได้เป็ น 3 วัยด้วยกัน อยากทราบว่าวัย


สุดท้ายมีอายุเท่าใด
                  1.   32-55 ปี
                  2.   32-58 ปี
                  3.   32-60 ปี
                  4.   ไม่มีข้อใดถูก

ข้อ 74.    วัยปฐมวัย คือข้อใด?


                  1.   อายุ 1 วัน-12 ปี
                  2.   อายุ 1 วัน-13 ปี
                  3.   อายุ 1 วัน-15 ปี
                  4.   อายุ 1 วัน-16 ปี

ข้อ 75.     สมุนไพรรสฝาด ตรงกับข้อใด


                  1.   เปลือกขีอ
้ ้าย
                  2.   เปลือกต้นตะแบกเลือด
                  3.   เปลือกต้นนนทรี
                  4.   ถูกทุกข้อ

ข้อ 76.     เหมันตฤดู(ฤดูหนาว) เกิดโรคเพื่ออาโปธาตุพิการ หรือโรค


เสมหะ ควรใช้ยารสอะไรเข้าไปรักษา
                  1.   เปรีย
้ ว สุขุม
                  2.   เย็น จืด สุขุม
                  3.   หอม เย็น เค็ม
                  4.   เปรีย
้ ว ขม เค็ม

ข้อ 77.     กุ่มน้ำเป็ นพืชวัตถุจำพวกไหน?


                  1.   จำพวกยืนต้น
                  2.   จำพวกเถา เครือ
                  3.   จำพวกหัว-เหง้า
                  4.   จำพวกผักหรือหญ้า

ข้อ 78.     โกฐกักกรา มีสรรพคุณรักษาโรคใด


                  1.   แก้ริดสีดวงทวาร
                  2.   แก้เบาหวาน
                  3.   แก้อัมพาต
                  4.   แก้มะเร็ง

ข้อ 79.    ข้อใดเป็ นการพิจารณาตัวยาในหัวข้อ รูป


                  1.   กฤษณามีกลิ่นหอม
                  2.   ไข่เน่าเป็ นพืชยืนต้น
                  3.   กระดูกสัตว์สีขาว
                  4.   พริกไทยมีรสร้อน

ข้อ 80.     คำกล่าวข้อใด มีความหมายตรงกับคำว่า น้ำเต้าใต้ดิน


                  1.   หินงอกหินย้อยอยู่ในถ้ำนำมารักษาโรคได้
                  2.   จอมปลวกหรือโพรงปลวกทำรังอยู่
                  3.   ผลของน้ำเต้าที่แก่แล้วนำมาปรุงแก้โรคแก้ไข้
                  4.   โพรงไม้ที่ผุเกิดเชื้อราขึน
้ ที่เราเรียกว่าขอนดอก

ข้อ 81.     โคคลานเป็ นพืชชนิดใด


                  1.   ไม้ใหญ่ยืนต้น
                  2.   ไม้เถากึ่งไม้พุ่ม
                  3.   หญ้า
                  4.   ไม้ยืนต้นขนาดกลาง

ข้อ 82.    โคโรค มีสรรพคุณอย่างไร


                  1.   แก้เสมหะเหนียว แก้โรคตา แก้ลมเพลมพัด
                  2.   แก้ไข้ เจริญอาหาร บำรุงธาตุ
                  3.   ขับโลหิต แก้น้ำเหลืองเสีย แก้ระดู
                  4.   แก้ตาแดง แก้ตาแฉะ แก้ตาเจ็บมัว
                                                                       
ข้อ 83.     จุนสี มีลักษณะอย่างไร
                  1.   มีสีแดงอ่อนๆ
                  2.   มีสีแดงเข้ม
                  3.   มีสีขาวๆคล้ายสารส้ม
                  4.   มีสีเขียว คล้ายสารส้ม

ข้อ 84.     ตัวยาขับปั สสาวะคือข้อใด


                  1.   โคกกระสุน-หญ้าชันกาด
                  2.   ใบกุ่มน้ำ-ใบสะระแหน่
                  3.   ใบตำลึง-รากระย่อม
                  4.   ชะเอมเทศ-รากหญ้านาง

ข้อ 85.     ตัวยาใดที่ใช้บำรุงโลหิต


                  1.   ผักเป็ ดแดง
                  2.   เมล็ดสลอด
                  3.   เมล็ดสบู่ขาว
                  4.   ยางสลัดได
ข้อ 86.     ตัวยาในข้อใดเป็ นยารักษาฝี แผลพุพอง
                  1.   ใบชุมเห็ดเทศ เทียนบ้าน
                  2.   บัวบก ว่านมหากาฬ
                  3.   บัวบก ว่านหางจระเข้
                  4.   ดอกดีปลี ใบกะเพรา

ข้อ 87.    นายสมควรเป็ นโรคกลาก เภสัชกรจะใช้สมุนไพรข้อใดรักษา


                  1.   ขมิน
้ -ขิง
                  2.   ข่า-กระเทียม
                  3.   กระชาย-กระทือ
                  4.   ทองพันชั่ง-ชุมเห็ดไทย

ข้อ 88.    ใบเตย นำใบมาคัน


้ กรองจะได้สีอะไร
                  1.   สีน้ำเงิน
                  2.   สีเขียว
                  3.   สีม่วง
                  4.   สีแดง

ข้อ 89.    ใบฝ้ ายแดง รสเย็น มีสรรพคุณแก้โรคอะไร


                  1.   ขับเหงื่อ แก้ไข้ แก้ตานทราง แก้ร้อนในกระหายน้ำ
                  2.   แก้ปวดท้อง ขับลมในลำไส้ แก้อาเจียน แก้ปวดหัว
                  3.   บำรุงโลหิต แก้โลหิตพิการ แก้พิษฝี
                  4.   แก้ลมกองละเอียด แก้ตาลาย แก้ลมวิงเวียน
ข้อ 90.    ใบไม้ข้อใดมีสรรพคุณแก้เสมหะพอกเลือด
                 1.   ใบส้มป่ อย ส้มเสีย
้ ว
                 2.   ใบมะแว้งต้น ใบมะแว้งเครือ
                 3.   ใบลำพู ใบพิมเสน
                 4.   ใบยอป่ า ใบข่อย ใบพุทรา

ข้อ 91.    เปลือกขีอ


้ ้ายใช้ปรุงยาแก้อะไร?
                 1.   แก้อุจจาระธาตุพิการ
                 2.   แก้ปวดบัน
้ เอว
                 3.   ขับปั สสาวะ
                 4.   แก้กามโรค

ข้อ 92.    เปลือกส้มที่ใช้แก้ลม วิงเวียน หน้ามืดตาลาย หัวใจสั่น คือข้อ


ใด
                 1.   ส้มเช้า
                 2.   ส้มเสีย
้ ว
                 3.   ส้มจีน
                 4.   ส้มป่ อย

ข้อ 93.    ผักกาดนา มีสรรพคุณ


                 1.   แก้วิงเวียน
                 2.   แก้อ่อนเพลีย
                 3.   แก้จุกเสียด
                 4.   แก้ไข้พิษ ขับเหงื่อ
ข้อ 94.    ลูกมะขามป้ อม มีสรรพคุณแก้อะไร
                 1.   แก้บิด ท้องเสีย
                 2.   แก้ไข้ตัวร้อน
                 3.   ขับเสมหะ แก้ศอเสมหะ
                 4.   บำรุงหัวใจ แก้ลม

ข้อ 95.    ว่านชักมดลูก ใช้ส่วนไหนทำยาร่วมกับยาขับน้ำคาวปลารัด


มดลูก
                 1.   ใบ
                 2.   ดอก
                 3.   ราก
                 4.   หัว

ข้อ 96.    หวายตะคล้ามีสรรพคุณแก้อะไร?


                 1.   ไข้พิษ ไข้กาฬ
                 2.   บำรุงโลหิต
                 3.   พิษฝี เรื้อรัง
                 4.   แก้ไข้ท้องเสีย

ข้อ 97.    อัคคีทวาร ใช้ส่วนไหนทำยา


                 1.   ต้นและใบ
                 2.   ต้นและผล
                 3.   ใบและราก
                 4.   ใช้ทุกส่วน
ข้อ 98.    ในรัชสมัยรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีการจัดตัง้ กรม
หมอหลวงและโรงพระโอสถ มีส่วนคล้ายกับในสมัยใด
                 1.   สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7
                 2.   สมัยทวาราวดี
                 3.   สมัยสุโขทัย
                 4.   สมัยอยุธยา

ข้อ 99.    พระไภสัชยคุรุไวฑูรย์ประภา คือ


                 1.   พระโพธิสัตว์ตามคติพุทธศาสนามหายาน
                 2.   พระโพธิสัตว์ซึ่งก็คือพระชัยวรมันที่ 7
                 3.   พระโพธิสัตว์ซึ่งสร้างอโรคยาศาล
                 4.   ผู้เป็ นประธานในพิธีบวงสรวงก่อนแจกจ่ายยาให้ผู้ป่วย

ข้อ 100.  ยาที่พระฤาษีทงั ้ 6 ตน ได้บริโภคไปแล้วสามารถบำรุงธาตุทงั ้ 4


ได้นน
ั ้ ชื่อยาเบญจกูล ประกอบด้วยตัวยาอะไรบ้าง?
                 1.   ดอกดีปลี รากช้าพลู เท้ายายม่อม รากเจตมูลเพลิง
เหง้าขิงแห้ง
                 2.   ดอกดีปลี รากชิงชี่ เถาสะค้าน รากเจตมูลเพลิง เหง้า
ขิงแห้ง
                 3.   ผลดีปลี รากช้าพลู เถาสะค้าน รากเจตมูลเพลิง เหง้า
ขิงแห้ง
                 4.   ดอกดีปลี รากย่านาง เถาสะค้าน รากเจตมูลเพลิง
เหง้าขิงแห้ง
============================================
===

You might also like