You are on page 1of 20

คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม

นวดแผนไทย
เสนอ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

ส�ำนักกิจการในพระด�ำริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์
ชั้น 9 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
โทรศัพท์ 0-2141-5140-1 โทรสาร 0-2143-8245 โดย โครงการพัฒนาสุขภาวะและคุณภาพชีวิตผู้ต้องขังผู้หญิง
www.kamlangjai.or.th
ด้วยกิจกรรมทางกายและใจในชีวิตประจ�ำวัน
นวดแผนไทย

การแพทย์แผนไทย (Thai Traditional Medicine)


หมายถึง กระบวนการทางการแพทย์เกีย่ วกับการตรวจ
วินิจฉัย บ�ำบัด หรือการป้องกันโรค หรือการส่งเสริม
ฟื้นฟูสุขภาพ การผดุงครรภ์ การนวดไทย รวมทั้งการ
ผลิตยาไทย การประดิษฐ์อุปกรณ์ และเครื่องมือทาง
การแพทย์ ทั้ง นี้ โดยอาศัยความรู้หรือต�ำราที่ได้
ถ่ายทอดและพัฒนาสืบต่อกันมาการแพทย์แผนไทย
คือ ปรัชญา องค์ความรู้ และวิถีการปฏิบัติเพื่อการ
ดูแลสุขภาพและการบ�ำบัดรักษาโรค ความเจ็บป่วย
ของประชาชนแบบดัง้ เดิมสอดคล้องกับขนบธรรมเนียม
วัฒนธรรมไทยและวิถีชีวิตแบบไทย วิถีการปฏิบัติของ
การแพทย์แผนไทยประกอบด้วยการใช้สมุนไพร (คือ
การต้ม การอบ การประคบ การปั้นเป็นลูกกลอน)
หัตถบ�ำบัดการรักษากระดูกแบบดั้งเดิม การใช้บ�ำบัด
ซึ่งได้จากการสะสมและถ่ายทอดประสบการณ์อย่าง
เป็นระบบ โดยการบอกเล่าการสังเกตการณ์บนั ทึกการ
วิเคราะห์ และวิจัย (สมพร ภูติยานันต์ 2542 : 42-43)

คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย 1
ปัทมาวดี กสิกรรม (2545 : 373) ได้ให้ความหมายว่า การแพทย์แผนไทย คนไทยโดยอาศัยแนวทางของพระพุทธศาสนาเป็นหลัก และยังเกี่ยวข้องกับ
หมายถึงระบบการแพทย์แผนดั้งเดิมของไทย ซึ่งมาจากการผสมผสานระหว่าง พิธีกรรมตามธรรมชาติ มีแบบแผนเป็นวัฒนธรรม ในการด�ำรงชีวิตตามทฤษฎี
การแพทย์พื้นบ้านที่มีการจัดระบบองค์ความรู้แล้วกับการแพทย์อายุรเวทของ ของการแพทย์แผนไทยมิได้มองความเจ็บป่วยเป็นเพียงเชื้อโรคเท่านั้น แต่เชื่อว่า
อินเดีย ซึ่งเข้ามามีอิทธิพลพร้อมๆ กับการเผยแพร่ของศาสนา พราหมณ์ และ ความเจ็บไข้ได้ปว่ ยของมนุษย์มาจากสิง่ เหนือธรรมชาติ โดยมีสาเหตุมาจากอิทธิพล
พุทธศาสนา โดยมีต�ำราต่างๆ ที่สืบทอดมาเป็นเวลานานและใช้เป็นแม่บทหลัก ดังต่อไปนี้ (เพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ 2538 : 18)
ของระบบองค์ ค วามรู้ ซึ่ง อาศัยหลักการปรับสมดุลของธาตุภ ายในร่า งกาย
1. มูลเหตุ ทั้ง 4 (ธาตุสมุฎฐาน) ซึ่งประกอบด้วย ดิน น�้ำ ลม ไฟ โดยมีดิน
โดยใช้ยาต�ำรับซึ่งปรุงจากสมุนไพรหลายชนิด การนวด รวมไปถึงการให้ค�ำแนะน�ำ
อย่างน้อย 20 น�้ำ 12 ลม 6 และไฟ 4 รวม 42 ประการ ซึ่งตามปกติจะอยู่
เกีย่ วกับการปรับพฤติกรรมและอาหารให้เหมาะสกับธาตุเจ้าเรือนและความเจ็บป่วย
ในลักษณะสมดุลเป็นธาตุภายใน และธาตุภายนอก ธาตุภายนอก หมายถึง
กลุ่มงานพัฒนาวิชาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร (2548 : 4) ได้อ้างถึง สิ่งแวดล้อมได้แก่ ดิน น�้ำ ลม ไฟ อากาศ ธาตุภายใน หมายถึงธาตุ
การแพทย์แผนไทยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการ เจ้าเรือนซึ่งเป็นอิทธิพลของธาตุมารดา และบิดา รวมทั้งอาหารและน�้ำที่
แพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 หมายความว่ากระบวนการทางการแพทย์ที่เกี่ยวกับ มารดาดื่มกิน ตลอดจนภูมิอากาศในขณะปฎิสนธิ การเกิดโรคจึงอาจมี
การตรวจ วินิจฉัย บ�ำบัด รักษา หรือป้องกันโรค หรือส่งเสริมสุขภาพของมนุษย์ สาเหตุมาจากธาตุ 4 ไม่สมดุล
หรือสัตว์ การผดุงครรภ์ การนวดไทย และให้หมายถึงรวมการเตรียมการผลิตยา
2. อิทธิพลของฤดูกาล (อุตุสมุฎฐาน) ฤดูการอาจเป็นสาเหตุของโรคได้ ภูมิ
แผนไทย และการประดิษฐ์อุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ ทั้งนี้ โดยอาศัย
อากาศร้อนฝนหนาว ที่มนุษย์ต้องปรับตัวอยู่เสมอ ความร้อนความเย็นที่
ความรู้หรือต�ำราที่ได้ถ่ายทอดและพัฒนาสืบต่อกันมา
ร่างกายสัมผัสระหว่างรอยต่อของฤดูการจะมีผลต่อสุขภาพของร่างกาย
จากความหมายของการแพทย์แผนไทยที่กล่าวมาสรุปได้ว่า การแพทย์ โดยสามารถสรุปเป็นทฤษฎีได้ว่า ฤดูร้อนจะเจ็บป่วยด้วยธาตุไฟ ฤดูฝน
แผนไทย เป็นวิธีการดูแลสุขภาพและการบ�ำบัดรักษาความเจ็บป่วยของคนไทยที่ เจ็บป่วยด้วยธาตุน�้ำ ฤดูหนาวเจ็บป่วยด้วยธาตุลม และยังสามารถแบ่ง
สอดคล้องกับวัฒนธรรมอันดีของไทย มีการใช้สมุนไพร การอบ การประคบ และ ย่อยละเอียดลงไปตามการเจือปนของอากาศระหว่างฤดูอีก 18 คาบๆ
การนวดไทย ที่มีเอกลักษณ์เป็นแบบแผนไทย ละ 20 วัน รวม 360 ในแต่ละคาบจะมีการเจ็บป่วยเสียสมดุลด้วยธาตุ
ทั้ง 4 แตกต่างกันไป

3. อายุที่เปลี่ยนไปตามวัย (อายุสมุฎฐาน) โรคอาจเกิดจากความแตกต่าง


แนวคิดทฤษฎีการแพทย์แผนไทย
ของอายุแพทย์แผนไทยแบ่งอายุคนออกเป็น 3 วัน คือ ปฐมวัย (0 -16)
ทฤษฎีการแพทย์แผนไทย เป็นการแพทย์แบบองค์รวมเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของ มัชฌิมาวัย (16 – 32) และปัจฉิมวัย (32 ปี ขึ้นไป) การเจ็บป่วยในแต่ละวัย

2 คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย 3


จะแตกต่างกัน โดยวัยเด็กมักเจ็บป่วยด้วยธาตุน�้ำ วัยกลางคนเจ็บป่วย ประดง เป็นต้น หากเป็นกลุ่มอาการที่ไม่ชัดแจ้งจะใช้ทฤษฎีตรวจสอบที่
ด้วยธาตุไฟ ส่วนวัยชรามักเจ็บป่วยด้วยธาตุลม เรียกว่าการคูณธาตุ (ค�ำนวณธาตุ) แล้วแต่ยาหม้อให้ผู้ป่วยแต่ละคนแตก
ต่างกันไป
4. ถิ่นที่อยู่อาศัย (ประเทศสมุฎฐาน) สถานที่แตกต่างกัน จะท�ำให้เกิดโรคได้
ต่ า งกั น ไปแสดงถึง ความส�ำคัญ ของสิ่ง แวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ เช่น สรุ ป ได้ ว ่ า รั ก ษาตามแนวคิ ด การแพทย์ แ ผนไทยเป็ น ไปตามความเชื่ อ
ฝนตกชุก แห้งแล้ง น�้ำเค็ม เขาสูง จะมีผลต่อโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ คือ มีทั้งการใช้พิธีกรรม เช่น การบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ การบวงสรวงเทพเจ้า การเสียง
เคราะห์ต่อชะตา การใช้สมุนไพร การกินอาหารปรับสมดุลของร่างกาย การนวด
5. อิทธิพลของกาลเวลาและสุริยจักรวาล (กาลสมุฎฐาน) เวลาที่แตกต่างกัน การอบ การประคบ และการปรับสมดุลจิตด้วยสมาธิ
ในรอบ 24 ชั่วโมง ย่อมท�ำให้เกิดโรคแตกต่างกันไป เวลา 6.00 – 10.00
น. และ 18.00 – 22.00 น. เจ็บป่วยด้วยธาตุน�้ำ มักมีอาการน�้ำมูกไหล
หรือท้องเสีย เวลา 10.00 -14.00 น. และ 22.00 – 02.00 น. เจ็บป่วยด้วย การเจ็บป่วย
ธาตุไฟมักมีอาการไข้ แสบท้องหรือปวดท้อง เวลา 14.00 – 18.00 น.
และ 02.00 – 16.00 น. มักเจ็บป่วยด้วยธาตุลม มีอาการวิงเวียน การสมดุลก่อให้เกิดการเจ็บป่วย พฤติกรรมก่อให้โรคมี 8 ประการ
ปวดเมื่อยอ่อนเพลีย เป็นลมในยามบ่าย 1. การกินอาหาร ไม่ถกู กันธาตุ ไม่สะอาด บูดเน่า การกินอิม่ เกิน น้อยเกินไป
6. พฤติกรรมที่เป็นมูลเหตุก่อโรค ได้แก่พฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเสียสมดุล 2. อิริยาบถที่ผิดปกติ ฝืนธรรมชาติ
หรือการฝืนธรรมชาติ เช่นการอั้นอุจจาระ ปัสสาวะ การฝืนอิริยาบถหรือ 3. กระทบร้อนจัด เย็นจัดเกินไป
มีอิริยาบถผิดปกติด้วยท่าทางต่างๆ จะเห็นได้ว่าสมดุลแห่งสุขภาพตาม 4. อดนอน อดข้าว อดน�้ำ
5. กลั้นอุจจาระ กลั้นปัสสาวะ
ทฤษฎีการแพทย์แผนไทย เป็นองค์รวมที่เป็นธรรมชาติเน้นการท�ำให้
6. ท�ำงานเกินก�ำลัง หมกมุ่นในกามารมณ์เกินไป
ร่างกายสมดุล แม้มิได้กล่าวถึงเชื่อโรค แต่เน้นที่ก่อโรคอย่างทันสมัย
7. โศกเศร้าเสียใจเกินไป ดีใจเกินไป ขาดอุเบกขา
เน้นระบาดวิทยา อายุ ฤดูกาล เวลา ที่อยู่อาศัย และพันธุกรรม (ธาตุ
8. มีโทสะมาก มีความโกรธเป็นนิจ
เจ้าเรือน) ส�ำหรับการบ�ำบัดรักษานั้นแพทย์จะตรวจร่างกายเน้น วัน เดือน
ปีเกิด และอายุ เพื่อตรวจดูว่าธาตุเจ้าเรือนเป็นอย่างไร มีอาการของธาตุ นอกจากนี้ การแพทย์แผนไทยยังเน้นการกินอาหารตามธาตุ และละเว้น
อย่างไร กล่าวคือดูความสมดุลของธาตุทั้ง 4 ว่าธาตุอะไรหย่อน ก�ำเริบ อาหารที่ไม่สอดคล้องกับธาตุ เช่น ธาตุดินให้กินอาหารฝาดมัน ธาตุน�้ำกินอาหาร
หรือพิการอย่างไรอาการ ที่เจ็บป่วยหากมีการตั้งเชื่อไว้ และมีแบบแผน รสเปรี้ยว หลีกเลี่ยงอาหารมันจัดธาตุลมกินอาหารรสเผ็ดร้อน ไม่ควรกินอาหาร
การรักษาตามต�ำราแน่นอนจะแต่งยาตามนัน้ เช่นกษัยปู ปัดฆาต สันฑฆาต รสหวานจัด ธาตุไฟให้กินอาหารรสขม ไม่กินรสร้อน เป็นต้น

4 คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย 5


วิธีการรักษานอกจากใช้อาหาร และยาสมุนไพรแล้ว ยังมีการอบประคบ 2.1 กายานามัย การออกก�ำลัง การดัดตนด้วยตนเอง การกินอาหารให้
และนวดไทยซึ่งเป็นศาสตร์ที่ทรงคุณค่ายิ่งนัก คน ไทยโบราณได้สรุปเป็นท่านวด ถูกกับธาตุกินแต่พอเหมาะมีสติในการกิน การนอน ด�ำรงชีวิตด้วย
และจุดต่างๆ ที่ส�ำคัญไว้มากมายและยังมีท่าดัดตน ที่สามารถฝึกท�ำได้ด้วย ความไม่ประมาท
ตนเองอีกเป็นร้อยท่า นอกจากนี้คนไทยยังมีศาสนาซึ่งเน้นการปฏิบัติเพื่อความ
2.2 จิตตานามัย การออกก�ำลัง การดัดตนด้วยตนเอง การกิจอาหารให้
สงบทางจิตใจ การมีวัดทั่วประเทศเกือบครบทุกหมู่บ้าน เป็นศูนย์รวมจิตใจการ
ถูกกับธาตุกินแต่พอเหมาะ มีสติในการกิน การนอน ด�ำรงชีวิตด้วย
ปฏิบัติธรรมและการนั่งสมาธิ ช่วยให้คนไทยมีจิตใจที่สงบ มีทางสายกลาง คือ
ความไม่ประมาท
การด�ำเนินชีวิตกินอยู่หลับนอน และมีเพศสัมพันธ์แต่พอเหมาะพอควรไม่มาก
ไปไม่น้อยเกินไป จะท�ำให้มีกายอนามัยที่สมบูรณ์ จิตตานามัยที่บริสุทธิ์ และ 2.3 จิตตามัย การฝึกสมาธิให้จิตเข้มแข็ง จิตมีพลัง เกิดปัญญา เกิด
ชีวิตตามนามัยเข้มแข็ง ความสงบสุขจะท�ำให้ความด้านทางโรคดีขึ้น มีพฤติกรรมที่ส่งเสริม
สุขภาพ ไม่ตามใจตนเองด้วยกิเลส และความอยากคือ ตัณหา
2.4 ชีวิตตานามัย การด�ำรงชีวิตด้วยทางสายกลาง เลี้ยงชีวิตชอบย่อม
การรักษาแบบองค์รวม ไม่เกิดความเครียด ไม่ผิด ศีล รักษาศีล 5 ให้บริสุทธิ์ รักษาสิ่ง
การแพทย์แผนไทยเป็นการแพทย์แบบองค์รวม จึงต้องพิจารณาปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้อง แวดล้อมให้สะอาด สมดุลด้วยธาตุทั้ง 4 ภายนอก มีวินัย ไร้มลภาวะ
ควบคู่ไปกับการรักษาในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ 3. ให้อาหารหรือยาสมุนไพร แต่งแก้เพื่อปรับให้ธาตุสมดุล
1. ปัจจัยซึง่ เป็นสิง่ ทีธ่ รรมชาติกำ� หนด ได้แก่ ธาตุเจ้าเรือน ฤดูกาล สุรยิ จักรวาล 4. การรักษาด้วยการนวด อบสมุนไพร ประคบสมุนไพร และนึ่งหม้อเกลือ
ฯลฯ มนุษย์ต้องพยายามปรับตัวให้เข้ากับปัจจัย หรือสมุฎฐานต่างๆ ด้วย เป็นวิธีการที่น�ำมาเสริมการบ�ำบัดรักษาด้วยการนวดไทย ในการนวดถ้ามี
การกินอาหาร สมุนไพร ยาสมุนไพรและการปรับปรุงพฤติกรรม อาการเจ็บ ปวดขัดตามบริเวณต่างๆ ของร่างกายหลายแห่ง หมอนวดจะ
2. ปรับปรุงพฤติกรรมทีเ่ ป็นมูลเหตุเกิดโรคทัง้ 8 ประการ คือ หลีกเลีย่ งการฝืน ให้ผู้ป่วยอบตัวเสียก่อนแล้วนวดจุดที่เหลือ
อิริยาบถจนท�ำให้ร่างกายเสียสมดุลเพราะจะท�ำให้ธาตุทั้ง 4 แปรปรวนได้ ธาตุเจ้าเรือน
การแก้ไขคือ การออก�ำลังกายจนดัดตนด้วยท่าฤาษีดัดตน (การจัด
โครงสร้างให้เข้าที่ด้วยตนเอง) การนวดไทย (การแก้ปัญหากระดูกเส้นเอ็น องค์ประกอบของธาตุที่รวมกันอยู่อย่างปกตินั้น จะมีธาตุอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ
พิการต่างๆ ) และการแก้ไขปัญหา สุขภาพจิต ซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องเน้นเป็น มากกว่าอย่างหนึ่งที่เด่น เรียกว่า “เจ้าเรือน” ซึ่งจะมีลักษณะแตกต่างกันใจแต่ละ
อย่างยิ่ง โดยใช้หลักการ “ธรรมานามัย” ได้แก่ คน โดยแต่ละธาตุหลักทั้ง 4 จะมีลักษณะที่แสดงออกเป็นเจ้าเรือน ดังนี้

6 คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย 7


ธาตุเจ้าเรือน จะรูปร่างสูงใหญ่ ผิวค่อนข้างคล�้ำ ผมดกด�ำ เสียงดังฟังชัด ด้วยธาตุทั้งสี่ คือ ดิน น�้ำ ลม ไฟ ซึ่งในแต่ละคนจะมีธาตุหลักเป็นธาตุประจ�ำตัว
ข้อกระดูกแข็งแรง กระดูกใหญ่ น�้ำหนักตัวมาก ล�่ำสัน อวัยวะสมบูรณ์ เรียกว่า “ธาตุเจ้าเรือน” ซึ่งธาตุเจ้าเรือนนี้มี 2 ลักษณะ คือ ธาตุเจ้าเรือนเกิด
ซึ่งเป็นไปตามวันเดือนปีเกิด และธาตุเจ้าเรือนปัจจุบัน
ธาตุน�้ำเจ้าเรือน จะมีรูปร่างสมบูรณ์ อวัยวะสมบูรณ์ สมส่วน ผิวพรรณ
สดใส เต่งตึง ตาหวาน น�้ำในตามาก ท่าทางเดินมั่นคง ผมดกด�ำงาม กินช้า ท�ำ
อะไรชักช้า ทนหิว ทนร้อน ทนเย็นได้ดี เสียงโปร่ง มีลูกดก หรือมีความรู้สึกทาง แนวคิดเกี่ยวกับการนวดแผนไทย
เพศดี แต่มักเฉื่อยและค่อนข้างเกียจคร้าน
การนวดแผนไทย หรือการนวดแผนโบราณ เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างหนึ่งใน
ธาตุลมเจ้าเรือน จะมีผิวหนังหยาบแห้ง รูปร่างโปร่ง ผอม ผมบาง ข้อ ด้านการแพทย์แผนไทย ซึง่ มีการสืบทอดจากบรรพบุรษุ แต่ชา้ นานจนถึงปัจจุบนั นี้
กระดูกมักลั่นเมื่อเคลื่อนไหว ขี้อิจฉา รักง่ายหน่ายเร็ว ทนหนาวไม่ค่อยได้ นอน ประวัติความเป็ น มาความหายของการนวดไทย ประเภทของการนวดไทย
ไม่ค่อยหลับ ช่างพูด เสียงต�่ำออกเสียง ไม่ชัดเจน มีลูกไม่ดก คือ ความรู้สึกทาง ความแตกต่างที่ส�ำคัญระหว่างการนวดแบบราชส�ำนักและการนวดแบบทั่วไป
เพศไม่ค่อยดี ลักษณะการนวดไทย การเตรียมตัวส�ำหรับการนวด และผลของการนวด
ธาตุไฟเจ้าเรือน มักขี้ร้อนทนร้อนไม่ค่อยได้ หิวบ่อย กินเก่งผมหงอกเร็ว รายละเอียดดังนี้
มักหัวล้านหนังย่นผม ขนหนวดอ่อนนิ่ม ไม่ค่อยอดทน ใจร้อน ข้อกระดูกหลวม
มีกลิ่นปาก กลิ่นตัวแรงความต้องการทางเพศปานกลางลักษณะที่เป็นอยู่ใน
ปัจจุบันอาจสอดคล้อง หรือไม่สอดคล้องกันลักษณะที่เป็นมาตั้งแต่ปฎิสนธิใน ประวัติความเป็นมา
ครรภ์มารดา ทั้งนี้เป็นเพราะการเลี้ยงดูพฤติกรรมการกิน และสิ่งแวดล้อมท�ำให้ การนวดเป็นศาสตร์และศิลป์เพื่อการรักษาความเจ็บป่วยของมนุษย์มาช้านาน
ธาตุเปลี่ยน โดยทั่วไปและธาตุเจ้าเรือนเดิมนะไม่เปลี่ยนแปลงในช่วง 6 ปีแรก ในสังคมตะวันตกและตะวันออก ใช้ประโยชน์เพื่อการดูแลสุขภาพอย่างกว้าง
ของชีวติ โดยสรุปแล้วกล่าวได้วา่ การเจ็บป่วยเกิดขึน้ ได้ จากการเสียสมดุลของธาตุ ขวางแพร่หลาย มีท่านผู้รู้หลายท่าน ได้กล่าวถึงประวัติความเป็นมาของการนวด
ทั้ง 4 แล้ว ยังต้องค�ำนึงถึงธาตุเจ้าเรือนด้วย ว่าธาตุก�ำเนิดขณะปฏิสนธิในครรภ์ แผนไทย ไว้ดังนี้
มารดาเป็นอย่างไร บุคลิกลักษณะนิสัยในปัจจุบันเป็นอย่างไรเปลี่ยนแปลงหรือ
ไม่ อาการที่เจ็บป่วยอยู่เสมอและการเจ็บป่วยในปัจจุบันเป็นอาการของธาตุใด สถาบันการแพทย์แผนไทย (2546 : 18 – 19) ได้อธิบายประวัติความเป็น
เป็นการสมุฎฐานว่าเจ็บป่วยด้วยธาตุนั่นเอง มาของการนวดแผนไทยว่า การนวดแผนไทย หรือที่บางครั้งเรียกว่า หัตถเวช
หรือ หัตถศาสตร์ ซึ่งเป็นวิธีการรักษาความเจ็บป่วยที่เก่าแก่วิธีหนึ่ง และนับเป็น
สรุปได้วา่ ตามทฤษฎีการแพทย์ไทย กล่าวว่าคนเราเกิดมาในร่างกายประกอบ วิ ท ยาการสาขาหนึ่ ง ของการแพทย์ แ บบดั้ ง เดิ ม ของไทยในยุ ค ประวั ติ ศ าสตร์

8 คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย 9


หลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับการนวดเก่าแก่ที่สุด คือ ศิลาจารึกสมัย เลือกสรร และปรับปรุงต�ำรายาสมุนไพรรอบพระอารามและทรงโปรดฯ ให้ปั้น
สุโขทัยที่ขุดพบป่ามะม่วง จังหวัดสุโขทัยราว พ.ศ. 1900 ในสมัยพ่อขุนรามค�ำแหง รูปฤาษีดัดตนซึ่งเป็นรูปหล่อด้วนสังกะสีผสมดีบุกเพิ่มเติมจนครบ 80 ท่า พร้อม
จารึกเกี่ยวกับการปลูกสวนสมุนไพร การปรุงยาสมุนไพร และยังรอยจารึดเป็น โปรดให้เขียนโคลงอธิบายท่าแต่ละท่าว่าแก้โรคนั้นจนครบ 80 ท่า และจารึก
รูปการรักษาโดยการนวด สรรพวิชาการนวดไทยลงบนแผ่นหินอ่อน 60 ภาพ แสดงถึงจุดนวดอย่างละเอียด
ประดับบนผนังศาลารายและบนเสาภายในวัดโพธิ์ ต่อมารัชสมัยพระบาทสมเด็จ
เพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ (2540 : 1-2) ได้สรุปเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลักฐานจากการแบ่งส่วนราชการสมัยรัตนโกสินทร์
ของการนวดแผนไทยไว้วา่ สมัยกรุงศรีอยุธยา รัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
ยังคงมีกรมหมอนวดเช่นเดียวกับสมัยอยุธยา และพระองค์ทรงให้หมอนวดถวาย
หลักฐานจากจดหมายเหตุของราชทูตลาซ์ลูแบร์ ประเทศฝรั่งเศส ได้บันทึกเรื่อง
การรักษาความเจ็บป่วยยามทรงพระประชวร และในรัชสมัยสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
หมอนวดไทยในแผ่นดินสยามมีความว่า “ในกรุงสยามนั้นถ้าใครป่วยไข้ลงก็เริ่ม
เจ้าอยู่หัวพระองค์ทรงโปรดการรวดเป็นที่สุด ยามพระองค์เสด็จประพาสแห่งใด
ให้ยืดเส้นยืดสาย โดยให้ผู้มีความรู้ความช�ำนาญทางด้านนี้ขึ้นไปใช้เท้าเหยียบ”
จะต้องมีหมอนวดถวายงานนวดทุกครั้ง และพระองค์ทรงโปรดฯ ให้มีการช�ำระ
และ “ถ้ามีใครป่วยไข้ในกรุงสยามก็ใช้หมอนวด บีบ ขย�ำ ให้ทั่วเนื้อตัว บางทีก็ขึ้น
พระคัมภีร์แพทย์ทั้งมวลให้ถูกต้อง และในปี พ.ศ. 2449 กรมหมื่นภูบดีราชหฤทัย
เดินเอาเท้าเหยียบๆ บนกาย ถึงผู้เล่าให้ข้าพเจ้าฟังว่า แม้สตรีมีครรภ์ก็พอใจให้
กรมหมื่นอักษรสาสน์โสภณ และหลวงสารประเสริฐ์ ได้ช�ำระต�ำราการนวดไทย
เด็กเหยียบที่หลัง เพื่อจะให้คลอดบุตรง่ายไม่พักเจ็บปวดมาก” และในรัชสมัย
และเขียนต�ำราฉบับนี้ว่า “ต�ำราแผนนวดฉบับหลวง” ต�ำรานวดนี้ใช้เรียกในหมู่
พระบรมไตรโลกนาถ ปรากฏหลักฐานจากกฎหมายตราสามดวงใน “นาพลเรือน”
แพทย์หลวง หรือแพทย์ไนพระราชส�ำนัก ต่อมาเมื่อเพื่อแผนตะวันตกเข้ามาใน
ได้กล่าวถึงการแบ่งส่วนราชการด้านการแพทย์ให้กรมหมอนวด (ส�ำคัญเทียบเท่า
กรมหมอยา) ซ้าย และขวาจ�ำแนกต�ำแหน่งเป็นหลวง ขุนหมื่นพัน และมีศักดินา สังคมไทย การนวดจึงหมดบทบาทจากราชส�ำนักในรัชสมัยพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั
เช่นเดียวกับข้าราชการสมัยนั้น ส่วนหมอนวดแบบชาวบ้านยังคงใช้การนวดแบบดัง้ เดิมทีถ่ า่ ยทอดจากบรรพบุรษุ

ปรีชา หนูทิม และคณะ (2546 : 18 -19) ได้กล่าวถึงประวัติความเป็นมา สมบัติ ตาปัญญา (2540 : 27-28) ได้สรุปเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของ
ของการนวดแผนไทยไว้ว่า ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธ การนวดแผนไทยไว้ว่า มีต้นเค้ามาจากวิชาแพทย์ของท่านชีวโกมารภัจจ์ ซึ่งเป็น
ยอดฟ้าจุฬาโลกทรงโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสังขรณ์วัดโพธาราม และสถาปนาเป็น แพทย์หลวงของพระเจ้าพิมพิสารและถือเป็นบรมครูของแพทย์แผนโบราณมาถึง
วัดหลวง ให้นามว่า “วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม” (วัดโพธิ์) ได้รวบรวมผู้มี ปัจจุบันนี้ เราได้รับการถ่ายทอดวิชานวดนี้มาจากอินเดียพร้อมกับพุทธศาสนา
ความรู้ทางการแพทย์และทรงโปรดฯ ให้จารึกต�ำรายาสมุนไพรไว้ตามศาลา และวัฒนธรรมประเพณีบางอย่างทีซ่ มึ ซาบเข้ามาสูส่ งั คมไทย ก็คงไม่หา่ งไกลจาก
รายรอบอุโบสถ และยังทรงโปรดฯ ให้สร้างภาพฤาษีดัดตนไว้ให้ประชาชนศึกษา ความเป็นจริงมากนัก และตลอดเวลาหลายร้อยปีที่ผ่านมา แพทย์แผนโบราณ
และน�ำไปปฏิบัติเพื่อให้ร่างกายสมบูรณ์ ต่อมารัชสมัยของพระบาทสมเด็จ ของไทยก็ได้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวิธีการนวดนี้เรื่อยๆ จนกลายมาเป็น “นวด
พระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงประสงค์ให้วดั โพธิเ์ ป็นมหาวิทยาลัยของปวงชนทรงให้ แผนโบราณ” หรือการนวดแผนไทยดังที่ปฏิบัติกันอยู่ทุกวันนี้ และปัจจุบันในโลก

10 คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย 11


ตะวันตกได้มีการพัฒนาการนวดออกเป็นหลายแบบผสมผสานวิชาต่างๆ เข้ากับ ไทยไว้ว่า “การที่คนเรามีอาการปวดเมื่อยหรือเจ็บป่วย ผู้อยู่ใกล้เคียงมักจะลูบไล้
การนวด เพื่อให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น มีการสอนเผยแพร่ มีโรงเรียนและ บีบนวดบริเวณดังกล่าวท�ำให้อาการคลายลงแรกๆ อาจจะเป็นไปโดยมิได้ตั้งใจ
สถาบันสอนวิชานวดโดยเฉพาะหลายแห่งในหลายๆ ประเทศ โดยมีวิธีนวดแบบ ต่อๆ มาเริ่มสังเกตเห็นผลของการบีบนวดในบางจุดหรือบางวิธีได้ผลจึงเก็บไว้
ญี่ปุ่นและแบบสวีดิช เป็นวิธีที่นิยมศึกษากันแพร่หลายที่สุด ส�ำหรับการนวดแผน เป็นประโยชน์ และกลายเป็นความรู้ที่สืบทอดกันต่อๆ มาจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คน
ไทย ทุกวันนี้วิชาการนวดแผนไทยยังมีสอนอยู่ที่วัดพระเชตุพนฯ กรุงเทพฯ โดย อีกคนหนึ่ง ความรู้ที่ได้จึงสะสมจากวิธีการง่ายๆ ไปสู่ความสลับซับซ้อน กระทั่ง
อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของสมาคมการแพทย์แผนไทย ฝ่ายวิชาหัตถศาสตร์ มีผนู้ ำ� มาสร้างขึน้ เป็นทฤษฎี การนวดจึงกลายมาเป็นศาสตร์แขนงหนึง่ ทีม่ บี ทบาท
นอกจากนี้ก็ยังมีการสอนอยู่ตามวัดบางแห่งอีกมากมายจากที่กล่าวมาข้างต้น บ�ำบัดรักษาอาการหรือโรคภัยบางอย่าง”
พอสรุปได้วา่ ประวัตคิ วามเป็นมาของการนวดแผนไทย มีมาตัง้ แต่ยคุ ประวัตศิ าสตร์
มานพ ประภาษานนท์ (2549 : 13-14) ได้น�ำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับความ
ได้มีหลักฐานที่จารึกไว้ในหลายร้อยปีที่ผ่านมา ได้แก่ สมัยสุโขทัย สมัยกรุง
หมายของการนวดแผนไทย ไว้ว่า การนวดเป็นศาสตร์แห่งการถ่ายทอดความรัก
ศรีอยุธยาและสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ จะเห็นได้ว่า การนวดจะมีอยู่ในทุกยุคทุก
และความปรารถนาดีอย่างหนึง่ โดยการสัมผัสลูบไล้ทำ� ให้เกิดความรูส้ กึ ผ่อนคลาย
สมัยจนมาถึงปัจจุบันสืบเนื่องมาจากบรรพบุรุษได้รับการสืบทอดต่อๆ กันจนชั่ว
ทั้งร่างกายและจิตใจ สัมผัสที่ผู้นวดและผู้ถูกนวดได้รับจะแสดงออกถึงความรัก
ลูกชั่วหลาน วิชาการนวดจึงไม่ล้มหายตายจากไป เพราะมีความเกี่ยวข้องกับวิถี
เมตตา มันจะส่งผ่านมือของเราลงไป ผู้ถูกนวดสามารถรับรู้ได้ถึงความอ่อนโยน
ชีวิตของมนุษย์ การนวดจะช่วยแก้อาการปวดเมื่อยและบ�ำบัดรักษาโรค ซึ่งมีมา
และแต่มั่นคงของสัมผัสนั้นจากความหมายของการนวดแผนไทย
แต่เช้านาน
จากที่กล่าวมาพอสรุปได้ว่า การนวดช่วยผ่อนคลายความเครียด บรรเทา
อาการปวดเมื่อยรวมทั้งบ�ำบัดโรคมาแต่โบราณ ซึ่งถือว่า การนวดแผนไทยเป็น
ความหมายของการนวดแผนไทย
ทั้งศาสตร์ และศิลป์มเี อกลักษณ์เฉพาะสามารถถ่ายทอดการเรียนรูเ้ ป็นกิจจะลักษณะ
การนวดแผนไทยเป็นศาสตร์และศิลป์ของไทยที่มีมาช้านานแล้ว ตั้งแต่สมัย ที่ลึกซึ้ง
โบราณกาลสืบเนื่องมาจนถึงทุกวันนี้ ซึ่งอยู่คู่กับคนไทยมาโดยตลอด แม้ว่าการ
แพทย์แผนไทยโบราณจะเสื่อมความนิยมไป แต่การนวดไทยก็ยังคงได้รับการ
ถ่ายทอดความรู้ต่อเนื่องกันมาจนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ท่านผู้รู้ได้ให้ความหมายของ ประเภทของการนวดแผนไทย
การนวดแผนไทย ไว้ดังนี้
การนวดแผนไทย เป็นวิธีการบ�ำบัดและรักษาโรคของไทยที่มีมาตั้งแต่เดิม เพื่อ
ประโยชน์ บุญสินสุข (2543 : 13) ได้กล่าวถึงความหมายของการนวดแผน บรรเทาอาการปวดเมื่อย ฟกช�้ำ ด้วยการสัมผัสจับต้อง หรือกดบริเวณที่เจ็บเพื่อ

12 คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย 13


ช่วยเหลือตนเอง และสะสมภูมิปัญญาด้านการนวดจนกลายมาเป็นองค์ความรู้ ท้องเฟ้อ ท้องผูก ปวดหลัง เจ็บเอว ปวดเข่า ตะคริว ปวดศีรษะ นอนไม่
หนึ่งของการแพทย์แผนไทย จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์และแหล่งที่มาของ หลับ อาการวิงเวียน ช่วยคลายความเครียดทางกายและใจและช่วยให้ข้อ
วิทยาการนวดแบบเดิมของไทย ได้มีท่านผู้รู้ ได้กล่าวถึงประเภทของการนวด ที่เคลื่อนกลับเข้าที่ เป็นต้น
แผนไทย ไว้ดังนี้
2. การนวดแบบราชส�ำนัก หมายถึง การนวดเพื่อถวายกษัตริย์ และเจ้านาย
สถาบันการแพทย์แผนไทย (2547 : 111-112) ได้แบ่งการนวดไทยออก ชั้นสูงของราชส�ำนัก ผู้นวดจะต้องเดินเข่าเข้าหาผู้ป่วยที่นอนบนพื้นเมื่อ
เป็น 2 ประเภท คือ อยู่ห่างผู้ป่วยราว 2 ศอก การนวดแบบราชส�ำนักพิจารณาถึงคุณสมบัติ
ของผู้เรียนอย่างประณีตถี่ถ้วน และการสอนมีขั้นตอนจรรยามารยาทของ
1. การนวดไทยแบบทั่วไป (แบบเชลยศักดิ์) หมายถึง การนวดไทยแบบ
การนวด การนวดต้องสุภาพมาก ใช้อวัยวะได้น้อย และต้องตรงตามจุด
สามัญชน มีการสืบทอดฝึกฝนแบบแผน การนวดตามวัฒนธรรมท้องถิ่น
ซึ่งเหมาะส�ำหรับชาวบ้านจะนวดกันเองใช้สองมือและอวัยวะส่วนอื่นโดย จึงกล่าวได้ว่าการฝึกมือและการนวดต้องมีเอกลักษณ์เฉพาะ การนวดไทย
ไม่ต้องใช้ยา ในปัจจุบันจึงเป็นที่รู้จัก และแพร่หลายในสังคมไทยการนวด เป็นที่นิยมมาก และเป็นที่ยอมรับมากในสมัยโบราณ และเป็นผู้ใกล้ชิด
แบบเชลยศักดิ์เป็นการนวดบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ ของร่างกาย และเป็นที่ไว้วางใจของพระมหากษัตริย์ ในสมัยนั้นจนได้รับการแต่งตั้ง
เป็ น การนวดที่ ป รากฎอยู ่ ใ นวั ด และสั ง คมไทยทั่ ว ไปมี ก ารสอนแบบ ให้มีกรมหมอนวดซ้าย และกรมหมอนวดขวา ท�ำให้หมอนวดสามารถ
สืบทอดกันมาจากคนรุ่นเก่าและมีแบบแผนการนวดตามวัฒนธรรมท้อง รับราชการอยู่ในต�ำแหน่งระดับสูงได้ปัจจุบันมีผู้สืบทอดการนวดแบบนี้
ถิ่น ก่อนนวดผู้นวดจะจ้องพนมมือไหว้ครูเสียก่อน ในขณะนวดอยู่บนพื้น น้อยมาก เนื่องจากส่วนใหญ่จะเป็นการถ่ายทอดกันในครอบครัว และผู้รู้
หลังจากนั้นผู้นวดจึงเริ่มนวดจากเท้าขึ้นไปยังหัวเข่า แล้วไปสู่โคนขามีการ มักหวงวิชา ท�ำให้การนวดได้รับการถ่ายทอดกระท่อนกระแท่นเต็มทีกา
นวดท้อง หลัง ไหล่ ต้นคอและแขน จนทั่วตัว การนวดแบบเชลยศักดิ์เป็น รนวดไทยนี้มีคุณค่าต่อการพึ่งตนเองเป็นอย่างมากสามารถบรรเทาโรค
ที่รู้จักกันทั่วไปว่า “จับเส้น” เพื่อให้เลือดลมเดินได้สะดวกขึ้น ซึ่งตรงกับ และอาการปวดต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพในความรู้สึกของผู้ใช้บริการ
แพทย์แผนปัจจุบันคือ การนวดเพื่อเพิ่มหรือส่งเสริมการไหลเวียนของ เช่น อาการปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อลดการติดขัดของข้อต่อช่วยกระตุ้น
เลือดและน�้ำเหลือง นอกจากนี้ยังมีผลสะท้อนให้การท�ำงานของอวัยวะที่ กล้ามเนื้อที่อ่อนแรง เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตาม การนวดที่ไม่ถูกต้อง
อยู่ห่างออกไปจากบริเวณนวดซึ่งเดิมมีน้อยกลับเพิ่มขึ้นกลับสู่ภาวะปกติ อาจเป็นการซ�้ำเติมหรือเพิ่มการบาดเจ็บได้ ฉะนั้นผู้ที่จะน�ำการนวดไปใช้
ฉะนั้นข้อบ่งชี้ของการนวดจึงมีมากมาย เช่น การรักษาหรือบรรเทาอาการ จึงควรมีความรู้ในการใช้อย่างถูกต้องเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ
เคล็ด ขัดยอก ซ้น คอแข็ง จากการตกหมอน รักษาอาการอาหารไม่ย่อย อย่างแท้จริง

14 คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย 15


มณีวรรณ เจีย และ แมกซ์ เจีย (2548 : 21) ได้แบ่งประเภทของการนวด มีความสุภาพเรียบร้อยมีมารยาทดี มีความเคารพ มีความอ่อนน้อมถ่อมตน
แผนไทยออกเป็น 2 แบบ คือ การนวดจึงถูกออกแบบให้มีความสุภาพ นั่นคือ จะใช้เพียงนิ้วมือ และมือ
เท่านั้นในการนวดสัมผัสกับผู้ถูกนวด จะไม่ใช้ศอก เข่า เท้า อะไร ใดๆ
1. การนวดแบบราชส�ำนัก เป็นการนวดที่ปรับปรุง เพื่อใช้ในราชส�ำนัก
ส�ำหรับนวดพระมหากษัตริย์ และข้าราชส�ำนัก ความรู้ และวิธีการนวด ทั้งสิ้นและก็ต้องเลือกผู้ที่จะมาเรียนการนวดแบบนี้อย่างพิถีพิถัน ต้องดู
จะถู ก ถ่ า ยทอดจากช่ า งนวดหลวงหรื อ หมอหลวงไปยั ง ผู ้ ม ารั บ หน้ า ที่ ความตั้งใจจริง ต้องดูรูปร่างว่าเหมาะสมจะเป็นหมอนวด หรือไม่ ดูนิสัย
คนต่อๆ ไป การนวดต้องท�ำด้วยความนุ่มนวล เบา แม่นย�ำ และตรงจุด ใจคิว่าเป็นอย่างไร ฯลฯ
การนวดแบบราชส�ำนักนี้ใช้เพียง 3 ท่าเท่านั้น คือ
2. การนวดแบบเชลยศักดิ์ การนวดแบบนี้จะเรียกว่า เป็นการนวดแบบทั่วไป
1.1 ท่านอนหงาย ก็ได้ เพราะกลุ่มเป้าหมาย คือ ชาวบ้านทั่วๆ ไป ไม่ได้มียศศักดิ์อะไร
1.2 ท่านอนตะแคง ฉะนัน้ แนวทางการนวดจึงค่อนข้างจะเป็นกันเอง ไม่ตอ้ งมีสขุ ภาพมากมาย
1.3 ท่านั่ง อะไรนัก สามารถใช้ทั้งมือ เท้า ศอก เข่า ได้ตามสบาย มีทั้งการดัด การดึง
การลูบ ใช้เทคนิคต่างๆ ได้อย่างครบถ้วน และมีความใกล้ชิดกับลูกค้าได้
2. การนวดแบบเชลยศักดิ์ เป็นการนวดแบบชาวบ้าน ความรู้ และเทคนิค
แห่งการนวดได้รับการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษจากชั่วคนหนึ่งสู่อีกชั่วคน มากกว่าการเรียนการสอนก็จะไม่เคร่งครัดมากนัก มักจะเป็นการเรียน
หนึ่งสู่ลูกหลาน ผู้รับการนวดจะอยู่ในท่าต่างๆ รวม 4 ท่าด้วยกัน คือ แบบตัวต่อตัว เน้นที่ภาคปฏิบัติมากกว่าใครอยากเรียนก็สมัครเรียนได้
ไม่ตอ้ งเลือกเฟ้นลูกศิษย์มากนัก ระยะเวลาเรียนก็แล้วแต่ตกลงกับอาจารย์
2.1 ท่านอนหงาย เรียนจนอาจารย์พิจารณาว่าใช้ได้แล้วก็ถือว่าจบออกไปเป็นหมอนวดได้
2.2 ท่านอนตะแคง ซึง่ ในปัจจุบนั ก็มกี ารเรียนการสอนแบบนัน้ กันอยู่ เช่นทีว่ ดั โพธิ์ วัดสามพระยา
2.3 ท่านอนคว�่ำ
และวัดปรินายก เป็นต้น
2.4 ท่านั่ง
จากที่กล่าวมาประเภทของการนวดแผนไทย โดยสรุปว่า คนไทยนิยมการ
มานพ ประภาษานนท์ (2549 : 22-23) ได้จัดล�ำดับประเภทของการนวด
แผนไทยออกเป็น 2 แบบเช่นกัน คือ นวดมาแต่โบราณ หลักฐานก่อนประวัติศาสตร์ไม่ปรากฏและในยุคประวัติศาสตร์
การนวดมีการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง ปัจจุบนั การนวดแผนไทยสามารถจ�ำแนกเป็น
1. การนวดแบบราชส�ำนัก กลุ่มเป้าหมายของการนวดนี้ คือ เจ้านายชั้นใหญ่ การนวดแบบราชส�ำนัก และการนวดแบบเชลยศักดิ์ หรือการนวดแบบทั่วไป
ผู้มียศถาบรรดาศักดิ์ที่อยู่ในรั้วในวัง เป็นต้น ฉะนั้นการนวดจึงจ�ำเป็นต้อง เป็นที่รู้จักและใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลายในสังคมไทย

16 คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย 17


ความแตกต่างทีส
่ �ำ คัญระหว่างการนวดแบบราชสำ�นัก 5. หมอนวดแบบราชส�ำนัก ไม่ใช้การดัดงอข้อหรือส่วนใดของร่างกายด้วย
และการนวดแบบทัว ่ ไป ก�ำลังแรง และไม่มีการนวดโดยใช้เท้า เข่า ข้อศอก ฯลฯ แต่หมอนวดแบบ
มีทา่ นผูร้ ู้ ได้กล่าวถึงความแตกต่างทีส่ ำ� คัญระหว่างการนวดแบบราชส�ำนัก ทั่วไป ไม่งดเว้นการปฏิบัติดังกล่าวและอาจมีหมอนวด 1 คน ช่วยกันนวด
และการนวดแบบทั่วไป ไว้ดังนี้ ในขณะเดียวกันต่อผู้ป่วย 1 คน

เพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ (2538 : 9) ได้กล่าวถึงความแตกต่างทีส่ ำ� คัญระหว่าง 6. หมอนวดแบบราชส�ำนัก ต้องการท�ำให้เกิดผลต่ออวัยวะและเนื้อเยื่อที่อยู่


การนวดแบบราชส�ำนัก และการนวดแบบทั่วไป ไว้ดังนี้ ลึกๆ โดยการเพิม่ การไหลเวียนของเลือดและเพิม่ การท�ำงานของเส้นประสาท
ในกรณีนี้หมอนวดจะต้องมีความรู้ทางกายวิภาคศาสตร์เชิงปฏิบัติการ
1. หมอนวดแบบราชส�ำนัก ต้องมีกริ ยิ ามารยาทเรียบร้อย เดินเข่าเข้าหาผูป้ ว่ ย อย่างดีพอสมควร ส�ำหรับหมอนวดแบบทั่วไป หวังผลโดยตรงจากการกด
ไม่หายใจรดผู้ป่วย ขณะท�ำการนวดต้อง หันหน้าตรง ไม่ก้มหน้าจนหายใจ
นวดเป็นส่วนใหญ่ และจากการนวดคลึงเป็นครัง้ คราว ซึง่ การไม่ระมัดระวัง
รดผู้ป่วย และไม่เงยหน้าจนเป็นการไม่เคารพ ส่วนหมอนวดแบบทั่วไป
จุดส�ำคัญตามความรู้ทางกายวิภาคศาสตร์ดีพออาจเกิดอันตรายได้
มิได้เพ่งเล็งถึงเรือ่ งเหล่านี้ แต่มลี กั ษณะการนวดเป็นกันเองกับผูป้ ว่ ยมากกว่า
บางครั้งจึงอาจดูไม่ส�ำรวม และระวังตัวมากนัก พิศษิ ฐ เบญจมงคลวารี (2545 : 3) ได้กำ� หนดความแตกต่างทีส่ ำ� คัญระหว่าง
การนวดแบบราชส�ำนัก และการนวดแบบทั่วไปไว้ว่า การนวดแบบราชส�ำนักนั้น
2. หมอนวดแบบราชส�ำนัก จะไม่เริ่มนวดฝ่าเท้า นอกจากจ�ำเป็นจริงๆ มัก
มีกระบวนการถ่ายทอดสู่ผู้เรียนเป็นไปด้วยความประณีตถี่ถ้วน และการสอนมี
เริ่มนวดตั้งแต่ใต้เข่าลงมาข้อเท้า หรือจาก ต้นขาลงมาถึงข้อเท้า ส่วนหมอ
ขึน้ ตอน จรรยามารยาทของการนวด ลักษณะแบบแผนการนวดมีเอกลักษณ์เฉพาะ
นวดแบบทั่วจะเริ่มนวดที่ฝ่าเท้า
ส่วนการนวดแบบทั่วไป จะไม่มีกระบวนการ และขั้นตอนที่สลับซับซ้อน ฝึกฝน
3. หมอนวดแบบราชส�ำนัก จะใช้เฉพาะมือ คือ นิ้วหัวแม่มือ และปลายนิ้ว แบบแผนเป็นการนวดตามวัฒนธรรมท้องถิน่ ซึง่ เหมาะสมกับชาวบ้านนวดกันเอง
อืน่ ๆ และอุง้ มือในการนวดเท่านัน้ และไม่ใช้การนวดคลึงในขณะกด(นวด)
มานพ ประภาษานนท์ (2549 : 24) ได้สรุปความแตกต่างที่ส�ำคัญระหว่าง
แขนจะต้องเหยียดตรงเสมอส่วนหมอนวดแบบทั่วไป มิได้ค�ำนึงถึงท่าทาง
ของแขนว่า จะตรงหรือไม่ การนวดแบบราชส�ำนัก และการนวดแบบทั่วไป ไว้ว่า การนวดไทยทั้งสองแบบนี้
จะมีความแตกต่างกันในวิธีการนวดอยู่ โดยเฉพาะการเน้นที่ความสุภาพส�ำรวจ
4. หมอนวดแบบราชส�ำนัก ท�ำการนวดผู้ป่วยซึ่งอยู่ในท่านั่งนอนหงายหรือ ของผู้นวด แต่โดยหลักการใหญ่ๆ แล้วจะเหมือนกันคือให้มีการผ่อนคลาย
ตะแคงเท่านั้น ไม่มีการให้ผู้ป่วยนอนคว�่ำเลย แต่การนวดแบบทั่วไปมีการ กล้ามเนื้อ และกดจุดที่มีปัญหาเพื่อบ�ำบัดรักษาโรค ในปัจจุบันเราจะเห็นรูปแบบ
ให้ผู้ป่วยนอนคว�่ำด้วย การนวดแบบทั่วไปนี้ได้มากว่า ซึ่งเปิดบริการนวดกันอยู่มากมายส�ำหรับการนวด

18 คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย 19


แบบราชส�ำนักนั้นจะมีการสอนกันในโรงเรียนอายุเวทวิทยาลัย (ชีวโกมารภัจจ์) ตารางที่ 1 ความแตกต่างการนวดแบบเชลยศักดิ์แบบราชส�ำนัก
ซึ่งถือเป็นการนวดที่ได้มาตรฐานส่วนประชาชนที่สนใจอยากจะเรียนการนวด
นวดแบบราชส�ำนัก นวดแบบเชลยศักดิ์
ไทยก็คงสามารถฝึกเรียนแบบนวดทัว่ ไปได้งา่ ยตามวัดต่างๆ ทีเ่ ปิดสอนอยู่ แต่ถา้
จะเรียนแบบราชส�ำนักคงจะล�ำบากกว่า และใช้เวลาในการเรียนมากกว่า 1.  ต้องมีกริยามารยาทเรียบร้อยเดินเข่า 1.  มีความเป็นกันเองกับผู้ถูกนวด
เข้าหาผู้ป่วย ไม่หายใจรดผู้ป่วย
ปรีชา หนูทิม และคณะ (2546 : 19) ได้กล่าวถึงความแตกต่างที่ส�ำคัญ ไม่เงยหน้า
ระหว่างการนวดแบบราชส�ำนัก และการนวดแบบทั่วไป การนวดแบบราชส�ำนัก
ท่าทางของผู้นวด ลักษณะการนวดจะต้องกระท�ำอย่างสุภาพ ใช้อวัยวะน้อยส่วน 2. เริ่มนวดตั้งแต่ใต้เข่าลงมาข้อเท้าหรือ 2. เริ่มนวดที่ฝ่าเท้า
จาก ต้นขาลงถึงเท้า
เพื่อให้สามารถควบคุมน�้ำหนักในการนวดไม่ให้มากเกินไป จะเน้นหนักในเรื่อง
ของการรักษาโรค ส่วนการนวดแบบทั่วไป ใช้สองมือและอวัยวะส่วนอื่นนวด 3. ใช้เฉพาะมือคือนิ้วหัวแม่มือ ปลายนิ้ว 3. ใช้อวัยวะทุกส่วน เช่น มือ เข่า
โดยไม่ตอ้ งใช้ยา เพือ่ ให้เกิดความผ่อนคลาย เป็นการนวดทีส่ บื ทอดจากคนรุน่ เก่า และอุ้งมือในการนวดเท่านั้น แขนต้อง ศอก ในการนวด
มาสู่คนรุ่นใหม่และเป็นการบอกเล่าต่อๆ กันมา เหยียดตรงเสมอ

4. ท�ำการนวดผู้ป่วยที่อยู่ในท่านั่ง 4. ท�ำการนวดผู้ป่าวท่านั่ง นอน


จากข้างต้นทีก่ ล่าวมาความแตกต่างทีส่ ำ� คัญระหว่างการนวดแบบราชส�ำนัก
นอนหงายและตะแคง ไม่นวดผู้ป่วย หงาย ตะแคง และท่านอนคว�่ำ
และการนวดแบบทัว่ ไป พอสรุปได้วา่ การนวดแบบราชส�ำนักจะใช้นวดกับกษัตริย์ ในท่านนอนคว�่ำ
และเจ้านายชั้นสูงส่วนการนวดแบบทั่วไป จะใช้นวดกับสามัญชน หรือชาวบ้าน
5. ไม่มีการนวดโดยใช้เท้า เข่า ข้อศอก 5. มีการนวดโดยใช้เท้า เข่า
ทั่วไปดังตารางที่ 1
ไม่มีการคัดงอข้อหรือส่วนใดของร่างกาย ข้อศอก มีการดัดงอข้อ และ
ส่วนต่างๆ ของร่างกาย

6. ผู้นวดเน้นให้เกิดผลต่ออวัยวะและ 6. ผู้นวด เน้นผลที่เกิดจากกดและ


เนื้อเยื่อโดยยึดหลักการกายวิภาค นวดคลึงตามจุดต่างๆ
เพื่อเพิ่มการไหลเวียนของเลือดและ
การท�ำงานของเส้นประสาท
ที่มา : กองการแพทย์ทางเลือกกระทรวงสาธารณสุข

20 คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย 21


ความรู้ที่จำ�เป็นสำ�หรับการนวดไทย 2.1.2 ไม่เจ้าชู้ หมายถึง ไม่แสดงกริยาท่าทางลวนลามหรือใช้ค�ำ
พูดแทะโลมคนไข้ที่เป็นหญิง หรือถ้าผู้นวดเป็นผู้หญิงก็ไม่
สถาบันการแพทย์แผนไทย (2542 : 179-183) ได้กำ� หนดความรูท้ จี่ ำ� เป็นส�ำหรับ
ควรแสดงกิริยายั่วยวนคนไข้ที่เป็นผู้ชาย ต้องนวดด้วยความ
การนวดไทยดังนี้
สุภาพเรียบร้อย พูดคุยแต่พอสมควร
1. การเตรียมร่างกายผู้นวด 2.1.3 ไม่หลอกลวง หมายถึง ไม่เลี้ยงไข้ เช่น ถ้าสามารถรักษาโร
คนั้นๆ ให้หายภายใน 1-2 ครั้ง ก็ไม่หลอกลวงว่าต้องนวด
1.1 การฝึ ก ก� ำ ลั ง นิ้ ว สามารถท� ำ ได้ โ ดยฝึ ก ซ้ อ มยกกระดานทุ ก วั น
5-6 ครั้ง เพื่อหวังประโยชน์ ลาภ ยศ สรรเสริญ
ด้วยการนั่งขัดสมาธิเพชร และหย่งมือเป็นรูปถ้วยวางไว้ข้างล�ำตัว
แล้วยกตัวให้พ้นจากพื้น อาจใช้การฝึกโดยบีบจี้ผึ้งจนอ่อนตัวหรือ 2.2 การแต่งรสมือ หมายถึง การลงน�้ำหนัก แต่ละรอบและจังหวะของ
อาจฝึกนวดกับผู้ป่วยเลย การฝึกก�ำลังนิ้วจะท�ำให้นิ้วมือมีก�ำลังแข็ง การลงน�้ำหนักซึ่งการลงน�้ำหนักนิ้วมือที่กดมี 3 ระดับ คือ
แรงเมื่อใช้นวดผู้ป่วยจะได้มีก�ำลังเพียงพอ มือไม่สั่น ไม่อ่อนแรง
ท�ำได้ตรงเป้าหมายการรักษาจะท�ำให้การรักษาได้ผลรวดเร็ว 2.2.1 น�้ำหนักเบาประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ ของน�้ำหนักที่สามารถ
ลงได้สูงสุด
1.2 การรักษาสุขภาพทั่วไป ผู้นวดต้องรักษาสุขภาพให้ดีอยู่เสมอทั้งทาง 2.2.2  น�้ำหนักปานกลางประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์ของน�้ำหนักที่
ร่างกายและจิตใจ หมั่นออกก�ำลังกายให้ร่างกายแข็งแรง ถ้ารู้สึกว่า สามารถลงได้
ไม่สบายหรือมีไข้ไม่ควรท�ำการนวดเฉพาะนอกจากการนวดจะไม่ 2.2.3 น�้ำหนักปานมาก ประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์ของน�้ำหนักที่
ได้ผลดีเท่าที่ควรแล้วยังอาจแพร่โรคให้กับผู้ถูกนวดได้และเล็บมือ สามารถลงได้
ควรตัดให้สั้นและดูแลให้สะอาด
2.3 การลงจังหวะนิว้ มือในการนวด จังหวะในการลงน�ำ้ หนักแต่ละครัง้ มี 3
2. แนวทางปฏิบัติการนวด จังหวะ คือ
2.1 ศีลของผู้นวด 2.3.1 หน่วง เป็นการลงน�้ำหนักเบาเพื่อกระตุ้นให้กล้ามเนื้อรู้สึก
2.1.1 ไม่ดื่มสุรา หมายถึง ไม่ดื่มสุราทั้งก่อนและหลังการนวด ตัวไม่เกร็งกับการนวด
รวมทั้งการรับประทานอาหารที่บ้านของคนไข้ เพราะอาจ 2.3.2 เน้น การลงน�้ำหนักเพิ่มขึ้นบนต�ำแหน่งที่ต้องการนวด
ควบคุมตนเองได้ และอาจท�ำให้การนวดไม่ได้ผลรวมทัง้ อาจ 2.3.3 นิ่ง ลงน�้ำหนักมากและกดนิ่งไว้พร้อมกับก�ำหนดลมหายใจ
เป็นการรบกวนคนไข้และญาติ สั้นยาวตามความต้องการ

22 คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย 23


การลงน�ำ้ หนักเพิม่ ขึน้ ทีละน้อย ท�ำให้กล้ามเนือ้ สามารถปรับตัวรับน�้ำหนัก 2.6 มารยาทในขณะท�ำการนวด
ได้ไม่เจ็บมากขึ้น การลงน�้ำหนักมากตั้งแต่เริ่มกดจะท�ำให้กล้ามเนื้อเกร็งรับทันที
2.6.1 ก่อ นท� ำ การนวด ผู ้ น วดควรส� ำ รวมจิ ต ใจให้ เ ป็ น สมาธิ
และอาจท�ำให้ต�ำแหน่งที่กดคลาดเคลื่อนไป และผู้ถูกนวดจะเจ็บมากหรือระบม
ระลึกถึงคุณครูอาจารย์ ส�ำหรับการนวดแบบราชส�ำนักจะมี
ได้เช่นกัน
การยกมื อ ไหว้ ผู ้ ถู ก นวดเพื่ อ เป็ น การขอขมาที่ ล ่ ว งเกิ น
2.4 การก�ำหนดลมหายใจ ต้องฝึกหายใจเข้าออกให้สัมพันธ์กับการลง บนร่างกาย
น�้ำหนักโดยทั่วไปการลงน�้ำหนักควรกดลงไปขณะที่ผู้ถูกนวดหายใจ 2.6.2 ขณะนวดควรนั่งห่างจากผู้ถูกนวดพอสมควรให้ด้านที่จะ
ออกซึ่งเป็นขณะที่ร่างกายผ่อนคลายการหายใจเข้าออกปกติ 1 ครัง้ ท�ำการนวดไม่ควรค่อมตัวผู้ถูกนวด ส�ำหรับการนวดแบบ
เรียกว่า คาบน้อย ส่วนใหญ่ใช้กบั การนวดพืน้ ฐานต่างๆ การหายใจเข้า ราชส�ำนักจะเดินเข้าหาผู้ถูกนวดอย่างน้อย 4 ศอก และ
ลึก หายใจออกยาว 1 ครัง้ เรียกว่า คาบใหญ่ ส่วนใหญ่ใช้กับการนวด นั่งห่างจากผู้ถูกนวดประมาณ 1 ศอก และจับชีพจรดูลม
รักษาโรคต่างๆ และการเปิดประตูลม แต่การเปิดประตูลมมักจะใช้ เบื้องสูงกับลมเบื้องต�่ำ
คาบใหญ่ 3 ครั้ง การกดนวดนานเพียงใดขึ้นกับลักษณะของโรค 2.6.3  ขณะนวดไม่ ค วรก้ ม หน้ าจะท� ำ ให้ ก ารหายใจรดผู ้ ถู ก นวด
ระยะเวลาที่เป็นและลักษณะของผู้ถูกนวด การกดโดยใช้ระยะเวลา ซึ่งการนวดแบบราชส�ำนัก มีค�ำกล่าวไว้ว่า “แม้ลมหายใจ
สั้นเกินไป การรักษาจะไม่ได้ผล การนวดนานเกินไปท�ำให้มือผู้นวด ก็ไม่ให้รดพระวรกาย” ขณะท�ำการนวดจึงมักจะหันหน้าตรง
และต�ำแหน่งที่ถูกนวดระบมได้ ไปข้างหน้า โดยไม่ก้มหน้าและไม่เงยหน้ามองฟ้า อันเป็น
การแสดงความไม่เคารพ
2.5 การก�ำหนดองศามาตราส่วนหรือท่านวดและการวางมือ เป็นการ
2.6.4  ขณะท�ำการนวดห้ามกินอหารหรือสิ่งใดๆ และระมัดระวัง
วางท่านวดของผู้นวดให้เหมาะสมกับผู้ถูกนวดและต�ำแหน่งที่นวด
การพูดทีอ่ าจท�ำให้ผถู้ กู นวดตกใจ สะเทือนใจหรือหวาดกลัว
เพือ่ ให้ใช้แรงทีก่ ดนัน้ ลงตามจุดและมีนำ�้ หนักเพียงพอทีจ่ ะรักษาโรค
ควรซักถามและสังเกตอาหารอยู่เสมอ ควรหยุดนวดเมื่อ
ซึ่งการวางมือ การวางเท้า การนั่งของผู้นวดต้องเหมาะสมกับมือ
ผู้ถูกนวดขอให้พักหรือเจ็บปวดจนทนไม่ไหว
ที่กดลงบนผู้ป่วยเรียกได้ว่าสัดส่วนองศาและทิศทางในการนวด
โดยทัว่ ไปแล้วขณะทีน่ วดแขนจะเหยียดตรง เพือ่ ลงน�ำ้ หนักตามแขน 2.7 ข้อควรระวังในการนวด
ลงไปสู่นิ้วที่นวด หากมีการงอแขนอาจท�ำให้น�้ำหนักลงไม่ตรงจุด
แม้จะใช้น�้ำหนักและท�ำให้การรักษาไม่ได้ผลเลย ซึ่งในการนวดแบบ 2.7.1 ในกรณีทนี่ วดท้องไม่ควรนวดผูท้ รี่ บั ประทานอาหารอิม่ ใหม่ๆ
ราชส�ำนักได้แนวทางไว้ว่า “แขนตึง หน้าตรง องศาได้” (ไม่เกิน 30 นาที)

24 คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย 25


2.7.2 ไม่นวดให้เกิดการฟกช�ำ้ มากขึน้ หรือมีอาการอักเสบซ�ำ้ ซ้อน ลักษณะการนวดแผนไทย
2.7.3  กรณีผู้สูงอายุโรคประจ�ำตัวบางอย่าง เช่น เบาหวาน โรค
การนวดแผนไทย หรือการนวดแผนไทยเดิมนัน้ มีทา่ นผูร้ ู้ ได้กล่าวถึงลักษณะการ
ความดันโลหิตสูงต้องระมัดระวัง
นวดแบบไทย ดังนี้
2.7.4 ไม่ควรนวดผู้ที่มีอาการอักเสบติดเชื้อ คือ มีไข้มากกว่า 38
องศาเซลเซียส ปวด บวม แดง ร้อน ประโยชน์ บุญสินสุข (2543 : 138-140) สามารถแยกรายละเอียดลักษณะ
2.7.5 ไม่ควรนวดผู้ที่หลังประสบอุบัติเหตุใหม่ๆ ควรได้รับการ การนวดแบบไทยไว้ดังนี้
ช่วยเหลือขั้นต้นและตรวจวินิจฉับภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
หากเกินความสามารถควรประสานความร่วมมือกับแพทย์ 1. การกด การกดดันมักจะใช้นิ้วหัวแม่มือกดลงที่ส่วนของร่างกาย เพื่อช่วย
แผนปัจจุบัน ให้กล้ามเนื้อคลายตัว ให้เลือดถูกขับออกจากหลอดเลือดที่บริเวณนั้น
2.7.6 ข้อห้ามหรือข้อควรระวังอื่นๆ ที่กล่าวไว้เฉพาะแต่ละโรค และเมื่อลดแรงกดลงเลือดก็จะพุ่งมาเลี้ยงบริเวณนั้นมากขึ้น ท�ำให้ระบบ
ไหลเวียนของเลือดท�ำหน้าทีไ่ ด้ดี ช่วยการซ่อมแซมส่วนทีส่ กึ หรอได้รวดเร็วขึน้
หรืออาการ
ข้อเสียของการกด คือ ถ้ากดนานเกินไปหรือหนักเกินไปจะท�ำให้หลอดเลือด
3. ข้อปฏิบัติหลังการนวด เป็นอันตรายได้ เช่น ท�ำให้เส้นเลือดฉีกขาด เกิดรอยช�ำ้ เขียวบริเวณทีก่ ดนัน้

3.1 ค�ำแนะน�ำส�ำหรับผู้นวด หากผู้นวดมีอาการปวดนิ้วให้แช่มือในน�้ำ 2. การคลึง คือ การใช้หัวแม่มือ หรือส้นมือออกแรงกดให้ลึกถึงกล้ามเนื้อ


อุ่นเพื่อช่วยให้กล้ามเนื้อผ่อนคลานและการไหลเวียนโลหิตดีขึ้น ให้เคลือ่ นไปมาหรือคลึงเป็นลักษณะวงกลมข้อเสียของการคลึง คือ การคลึงที่
หรือใช้ผ้าชุบน�้ำอุ่นประคบมือ และนวดคลึงบริเวณเนินกล้ามเนื้อ รุนแรงมากอาจท�ำให้เส้นเลือดฉีกขาด หรือถ้าไปคลึงทีเ่ ส้นประสาทบางแห่ง
ฝ่ามือและรอบข้อนิ้วมือ ท�ำให้เกิดความรู้สึกเสียวแปลบ ท�ำให้เส้นประสาทอักเสบได้

3.2 ค�ำแนะน�ำส�ำหรับผู้ถูกนวด 3. การบีบ เป็นการจับกล้ามเนื้อให้เต็มฝ่ามือแล้วออกแรงบีบที่กล้ามเนื้อ


เป็นการเพิม่ การไหลเวียนของเลือดมายังกล้ามเนือ้ ช่วยให้หายจากอาการ
3.2.1 งดอาหารแสลง เช่น อาหารมัน อาหารทอด หน่อไม้ เมื่อยล้า การบีบยังช่วยลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อได้ด้วยข้อเสียของ
ข้าวเหนียว เครื่องในสัตว์ เหล้า เบียร์ ของหมักดอง การบีบ เช่นเดียงกับการกด คือ ถ้าบีบนวดนานเกินไปอาจท�ำให้กล้ามเนื้อ
3.2.2 ห้ามสลัด บีบ ดัด ส่วนที่มีอาการเจ็บปวด ช�้ำเพราะเกิดการฉีดขาดของเส้นเลือดภายในกล้ามเนื้อ
3.2.3 ท่ากายบริหารเฉพาะโรคหรืออาการ
3.3.4 ค�ำแนะน�ำอืน่ ๆ เช่น หลีกเลีย่ งพฤติกรรมทีเ่ ป็นมูลเหตุเกิดโรค 4. การดึง เป็นการออกแรง เพือ่ ทีจ่ ะยึดเส้นเอ็นของกล้ามเนือ้ เพือ่ ให้สว่ นนั้น

26 คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย 27


ท�ำหน้าที่ได้ตามปกติ ในการดึงข้อต่อมักจะได้ยินเสียงลั่นในข้อ ซึ่งแสดง ปวดคอ หรือช่วยในการขับเสมหะเวลาไอข้อเสียของการตบ การตี คือ
ว่า การดึงนั้นได้ผล และไม่ควรดึงต่อไปอีก ส�ำหรับกรณีที่ไม่ได้ยินเสียงก็ ท�ำให้กล้ามเนื้อชอกช�้ำและบาดเจ็บได้
ไม่จ�ำเป็นต้องพยายามท�ำให้เกิดเสียง เสียงลั่นในข้อต่อเกิดจากอากาศที่
8. การเหยียบ เป็นวิธีที่นิยมท�ำกันโดยให้เด็กหรือผู้อื่นขึ้นไปเหยียบหรือเดิน
ซึมเข้าข้อต่อถูกไล่ออกจากข้อต่อ ต้องใช้ระยะเวลาหนึ่งให้อากาศมี
บนหลังข้อเสียของการเหยียบ คือ เป็นท่านวดที่มีอันตรายมากเพราะ จะ
โอกาสซึมเข้าสู่ข้อต่ออีกจึงเกิดเสียงได้ข้อเสียของการดึง คือ อาจท�ำให้
ท�ำให้กระดูกสันหลังหักและอาจทิ่มแทงถูกไขสันหลัง ท�ำให้เป็นอัมพาตได้
เส้นเอ็นหรือพังผืดที่ฉีกขาดอยู่แล้วขาดมากขึ้นดังนั้นจึงไม่ควรท�ำการดึง
เมื่อมีอาการแพลงของข้อต่อในระยะเริ่มแรก ต้องรอให้หลังการบาดเจ็บ หรือท�ำให้เกิดอันตรายต่ออวัยวะภายใน เช่น ตับ ไต เกิดการบาดเจ็บได้
แล้วอย่างน้อย 14 วัน จึงท�ำการดึงได้ มณีวรรณ เจีย และแมกซ์ เจีย (2550 : 2) ได้แบ่งลักษณะการนวดแผนไทยออก
5. การบิด เป็นการออกแรง เพื่อหมุนข้อต่อให้ยืดออกทางด้านขวางข้อเสีย เป็น 2 แบบ คือ
ของการบิดคล้ายกับข้อเสียของการดึง 1. การใช้แรงกดโดยตรง เป็นแรงกดที่เกิดจากการกดด้วยหัวแม่มือ นิ้วอื่นๆ
6. การดัด เป็นการออกแรงเพื่อให้ข้อต่อที่ติดขัดเคลื่อนไหวได้ตามปกติ หรือศอกที่จุดใดจุดหนึ่งโดยตรงจะส่งผลต่อบริเวณแคบที่กดและลึกลงไป
การดัดต้องออกแรงมาก และค่อนข้างรุนแรง ก่อนท�ำการดัดควรจะศึกษา ด้วยการกดบริเวณกว้างด้วยฝ่ามือหรือสันมือหรือฝ่าเท้านั้น แรงกดจะส่ง
เปรียบเทียบช่วงการเคลื่อนไหวของข้อต่อที่จะท�ำการดัดกับข้อต่อปกติ ผลในบริเวณกว้างแต่ไม่ลึกเท่าการกดด้วยนิ้ว
ปกติจะค�ำนึงถึงอายุของผู้ป่วยด้วย โดยถือว่าเด็กย่อมมีการเคลื่อนไหว 1.1 การกดด้วยนิว้ หัวแม่มอื เป็นการใช้นวิ้ หัวแม่มอื กดลงตามส่วนต่างๆ
ของข้อต่อดีกว่าผู้ใหญ่ข้อเสียของการดัด คือ อาจท�ำให้กล้ามเนื้อฉีกขาด ของร่างกายเพื่อช่วยให้กล้ามเนื้อคลายตัว ให้เลือดถูกขับออกจาก
ได้ ถ้าเป็นผู้ป่วยไม่ผ่อนคลายกล้ามเนื้อรอบๆ ข้อต่อนั้น หรือกรณีท�ำ หลอดเลือดบริเวณทีถ่ กู กดชัว่ คราว และเมือ่ ถอนมือขึน้ จะท�ำให้เลือด
การดัดคอให้ผู้สูงอายุซึ่งมีกระดูกค่อนข้างบาง การดัดที่รุนแรงอาจท�ำให้ มาเลีย้ งบริเวณนัน้ มากขึน้ ท�ำให้บริเวณนัน้ มีการไหลเวียนเลือดดีขนึ้
กระดูกหักได้ ในผูป้ ว่ ยทีเ่ ป็นอัมพาตมีกล้ามเนือ้ อ่อนแรงก็ไม่ควรท�ำการดัด ช่วยในการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอได้มากขึ้น การกดและบีบจะช่วย
เพราะอาจท�ำให้ขอ้ ต่อเคลือ่ นออกจากทีเ่ ดิม หรือกรณีขอ้ เท้าแพลงไม่ควร
กระตุ ้ น กล้ า มเนื้ อ ลดอาการตึ ง และเพิ่ ม การไหลเวี ย นโลหิ ต ไปสู ่
ท�ำการดัดทันที อาจท�ำให้มีอาการอักเสบและปวดมากขึ้น
เนื้อเยื่อ ขณะเดียวกันยังก�ำจัดของเสีย (Waste Products) ที่ก่อตัว
7. การตบ การตี หรือากรทุบการสับ เป็นการออกแรงกระตุ้นกล้ามเนื้ออย่าง อยูใ่ นเนือ้ เยือ่ ด้วย (สุทธิพร ชืน่ ชุม่ จิตร์ 2545 : 20) ส�ำหรับการกดนัน้
เป็นจังหวะเรามักใช้วิธีการเหล่านี้กับบริเวณหลังเพื่อช่วยอาการปวดหลัง ผู้นวดควรระมัดระวังการใช้น�้ำหนักในการกดไม่ให้มากจนเกินไป

28 คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย 29


เพราะอาจจะท�ำให้เกิดอาการช�้ำ หรือการเกิดเส้นเลือดฉีกขาดได้ 1.3 การคลึง และการนวดวน เป็นการใช้นิ้วหัวแม่มือ นิ้วมือ สันมือหรือ
ซึ่งการกดด้วยนิ้วหัวแม่มือนี้สามารถกดได้หลายวิธี ได้แก่ ท้องแขนในการออกแรงกดให้ถึงกล้ามเนื้อและนวดวนหรือคลึงไป
มาเป็นวงกลมมักใช้ในกรณีที่มีการติดกันของข้อต่อหรือเกิดการ
1.1.1 การกดด้วยนิ้วหัวแม่มือเดียว เป็นการใช้นิ้วหัวแม่มือกดลง
เกร็งของกล้ามเนือ้ ข้อควรระวังคือหากคลึงโดยใช้แรงทีม่ ากจนเกินไป
ไปบริ เวณที่ ต ้ อ งการนวดโดยเริ่ ม จากน�้ ำ หนั ก ที่ เ บาและ
อาจท�ำให้เส้นเลือดฉีกขาดหรือท�ำให้เส้นประสาทอักเสบได้
ค่อยๆ เพิ่มแรงขึ้นเรื่อยๆ
1.1.2 นวดแบบกดด้วยนิว้ หัวแม่มอื คู่ เป็นการใช้นวิ้ หัวแม่มอื ทัง้ สอง 1.4 การบีบ เป็นการจับกล้ามเนือ้ ให้เต็มฝ่ามือแล้วออกแรงบีบโดยใช้แรง
ในการกดลงในบริเวณที่ต้องการนวดโดยลักษณะการวาง ที่พอเหมาะแล้วปล่อย และเคลื่อนย้ายเพื่อบีบกล้ามเนื้อมัดต่อไป
นิว้ อาจท�ำได้หลายวิธี เช่น การวางนิว้ หัวแม่มอื โดยให้ปลายนิว้ เป็นการช่วยเพิ่มการไหลเวียนโลหิตมายังกล้ามเนื้อช่วยลดอาการ
หันเข้าหากัน การนวดโดยใช้นวิ้ หัวแม่มอื ทัง้ สองข้างไต่สลับกัน เกร็งของกล้ามเนือ้ ช่วยให้คลายอาการเมือ่ ยล้า และท�ำให้กล้ามเนือ้
การนวดโดยใช้หัวแม่มือทั้งสองข้างวางขนานกัน การนวด ผ่อนคลาย (สามไหม ตุ้มวิจิตร 2546 : 51)
แบบใช้นิ้วหัวแม่มือข้างหนึ่งทับอีกข้างหนึ่ง เหล่านี้ เป็นต้น
1.5 การตบ ทุบ สับ เป็นการออกแรงในการกระตุ้นกล้ามเนื้อแบบเป็น
1.2 การกดฝ่ามือ จังหวะการตบตี เป็นการใช้ฝ่ามือโดยท�ำมือโค้งเล็กน้อย หรือก�ำมือ
1.2.1 กดด้วยฝ่ามือเดียว เป็นการกดที่ใช้ในการนวดบริเวณกว้าง ไว้หลวมๆ คว�่ำมือลงเอาสันมือและหนังนิ้วทั้งสี่ตีแต่ออกแรงเฉพาะ
สามารถเพิ่มแรงกดได้โดยการเหยียดแขนข้างที่กดให้ตรง ข้อมือเท่านั้น โดยสลับกันทั้งสองมือ การสับ เป็นการใช้มือทั้งสอง
และใช้นำ�้ หนักตัวส่วนบนของผูน้ วดกดลงไปช้าๆ ทิง้ น�ำ้ หนัก ประกบกันท่าพนมมือ แต่ปล่อยให้นิ้วมือกางออกเล็กน้อย และสับ
ลงโดยไม่ต้องเคลื่อนมือ สันมือทัง้ สองลงไปทีผ่ วิ หนังเป็นจังหวะการทุบ เป็นการก�ำหมัดหลวมๆ
1.2.2 กดด้วยฝ่ามือคู่ เป็นการใช้ฝา่ มือทัง้ สองข้างทับกันและกดลง และทุบลงไปที่กล้ามเนื้อทีละมัด ซึ่งการสับและทุบจะช่วยให้เกิด
ในต�ำแหน่งที่ต้องการนวด เพิ่มแรงกดโดยการเหยียดแขน การไหลเวียนของเลือดขึ้นในบริเวณที่ปวดเมื่อย รวมทั้งช่วยคลาย
ให้ตรงและโน้มตัวไปข้างหน้า อาการเกร็งของกล้ามเนื้อได้ด้วยการนวดแบบนี้เหมาะสมมากกับ
1.2.3 กดด้วยฝ่ามือรูปผีเสือ้ เป็นการใช้ฝา่ มือทัง้ สองข้างในการกด บริเวณไหล่ และหลังตอนบน และถ้าจะให้ดกี ารนวดแบบสับและทุบ
พร้อมๆ กันทัง้ สองมือ วางฝ่ามือลงและให้สนั มือทัง้ สองข้าง ควรท�ำก่อนการนวดแบบไล้และแบบบีบเพื่อให้กล้ามเนื้อคลาย
วางชิดกันและหันปลายนิ้วออก อาการตึงตัวแล้ว

30 คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย 31


1.6 การเขย่า สั่น การเขย่าเป็นการใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วอื่นอีกสี่นิ้ว 2.2 การบิด เป็นการออกแรงเพื่อหมุนข้อต่อหรือกล้ามเนื้อให้ยืดออก
ของแต่ละมือบีบกล้ามเนื้อของผู้ถูกนวดยกขึ้นพร้อมเขย่าไปมา ทางด้านขวางหากใช้แรงในการบิดมากเกินไปอาจท�ำให้เกิดอาการ
ส่วนการสั่นอาจจะใช้ฝ่ามือทั้งสองกดลงและเข่ยาไปมา หรืออาจใช้ บาดเจ็บหรืออักเสบได้
ปลายนิ้วกลางกดเบาๆ ขึ้นลงเร็วๆ แล้วขยับนิ้วซ้ายขวาบริเวณที่
ต้องการนวดเร็วๆ 2.3 การดัด เป็นการออกแรงเพือ่ ให้ขอ้ ต่อทีม่ กี ารติดสามารถเคลือ่ นไหวได้
ในการดั ด นั้ น ต้ อ งอาศั ย การออกแรงมากและค่ อ นข้ า งรุ น แรง
1.7 การกดด้วยอวัยวะอื่นๆ เช่น การกดด้วยศอก การกดด้วยเข่าและ จ�ำเป็นจะต้องมีการเปรียบเทียบความสามารถในการเคลื่อนไหว
การกดด้วยสะโพก เป็นวิธีการที่ช่วยเพิ่มแรงกดของผู้นวด โดยการ
ของข้อต่อของผู้ถูกนวดด้วย ในการดัดจะต้องระมัดระวังเกี่ยวกับ
กดด้ ว ยศอกนั้ น เหมาะส� ำ หรั บ ผู ้ ถู ก นวดที่ มี ก ล้ า มเนื้ อ มั ด ใหญ่ ๆ
การเกิดอาการบาดเจ็บเนือ่ งจากใช้แรงมาก และในบางครัง้ ผูถ้ กู นวด
ผิวหนังหนาๆ ในการกดด้วยเข่านั้นมักใช้ในการนวดบริเวณสะโพก
และขาด้ า นหลั ง แต่ มั ก ใช้ ร ่ ว มกั บ เทคนิ ค ของการยื ด กล้ า มเนื้ อ มีอาการเกร็ง ในผู้ที่มีปัญหาเรื่องกระดูกไม่ควรท�ำการดัด
ร่วมด้วย ส่วนการกดด้วยสะโพกนั้นผู้นวดไม่ควรใช้เทคนิคนี้ในผู้รับ มานพ ประภาษานนท์ (2549 : 69-71) ได้กล่าวถึงลักษณะการนวดแผน
บริการที่ตัวเล็กกว่าและห้ามใช้เทคนิคนี้ที่บริเวณสูงกว่าเอวของ ไทย ที่ใช้กันในการนวดแผนไทย มีดังนี้
ผู้ถูกนวดเกิน 2 นิ้ว
1. การกด มักจะใช้นิ้วมือเป็นตัวส่งผ่านแรง ซึ่งอาจจะใช้เพียงนิ้วเดียวหรือ
1.8 การเหยียบ การยัน เป็นการขึ้นไปเหยียบบริเวณล�ำตัวของผู้ถูกนวด
หลายนิ้วก็ได้โดยทั่วไปนิยมใช้นิ้วหัวแม่มือเป็นตัวหลัก เพราะเป็นนิ้วที่มี
ซึ่งเป็นท่าที่อาจท�ำให้เกิดอันตรายต่อกระดูกสันหลังหรือกระดูกซึ่
ความแข็งแรงกว่านิ้วอื่น
โครงได้

2. การใช้แรงทางอ้อม 2. การคลึง คือการหมุนวนเป็นวงกลม ไม่เพียงแค่กดเฉยๆ ยังมีการเคลื่อนที่


ไปรอบๆ บริเวณนั้นด้วย โดยมากจะใช้กับกล้ามเนื้อมัดใหญ่ที่ต้องการ
2.1 การดึง เป็นการออกแรงเพือ่ ทีจ่ ะยืดเส้นเอ็นของกล้ามเนือ้ หรือพังผืด ออกแรงมากหน่อย อาจใช้นิ้วมือ ฝ่ามือหรือส้นมือในการคลึงก็ได้
ของข้อต่อที่หดสั้นเข้าออกไป เพื่อให้ส่วนนั้นท�ำหน้าที่ได้ตามปกติ
ในการดึงอาจจะได้ยันเสียงลั่นในข้อซึ่งเป็นเสียงที่เกิดจากอากาศ 3. การบีบ วิธีนี้จะใช้กันอยู่ทั่วๆ ไปซึ่งเป็นธรรมชาติอยู่แล้ว การบีบ คือ
ทีซ่ มึ เข้าข้อต่อ หากได้ยนิ เสียงแล้วไม่ควรดึงต่ออีกและการได้ยนิ เสียง การใช้แรงกระท�ำต่อกล้ามเนื้อโดยตรง ต้องการให้กล้ามเนื้อทั้งมัดนั้น
นัน้ แสดงว่าการดึงได้ผลแล้ว มีการผ่อนคลาย

32 คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย 33


4. การบิด คือการเคลือ่ นไหวกล้ามเนือ้ ให้ไปในแนวขวางเป็นการยืดกล้ามเนื้อ การเตรียมตัวสำ�หรับการนวด
เส้นเอ็นและข้อต่างๆ โดยการจับกล้ามเนื้อให้เต็มฝ่ามือ แล้วบิดหมุนเป็น
มีท่านผู้รู้ ได้กล่าวถึงการเตรียมตัวส�ำหรับการนวด ไว้ดังนี้
ลูกคลื่นไปตามกล้ามเนื้อ
สมบัติ ตาปัญญา (2540 : 51-59) ได้สรุปเกี่ยวกับการเตรียมตัวส�ำหรับ
5. การดัด มักจะใช้กับข้อต่อที่มีการติดแข็ง หรือมีอาการขัดในข้อ การดัดนี้
การนวด มีดังต่อไปนี้
ค่อนข้างต้องใช้ความช�ำนาญสูง เพราะอาจเกิดอันตรายได้ง่าย
1. ผู้นวดมีใจเป็นสมาธิ ใส่ใจอยู่กับการนวด และผลที่เกิดขึ้นในแต่ละขณะ
6. การดึง เป็นการหยิบกล้ามเนื้อยืดออก มักใช้กับรายที่มีการหดรั้งของ ไม่คิดถึงเรื่องอื่นๆ ตัดความวิตกกังวล ไม่ควรคุยกันในเรื่องสัพเพเหระ
กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นต่างๆ การดึงนี้ก็ต้องใช้ความช�ำนาญเหมือนกัน
เพราะจะเกี่ยวข้องกับข้อต่อ 2. ขณะที่กดลงไปแต่ละครั้ง บางครั้งอาจใช้นิ้วหัวแม่มือ หรืออุ้งมือ เข่า
หรือเท้าก็ตามให้กดอย่างเนิบช้า ไม่กระแทก และใช้น�้ำหนักตัวโดยการ
7. การทุบ การเคาะ และการสับ เป็นการออกแรงอย่างเป็นจังหวะ ใช้ก�ำปั้น โยกตัวไปข้างหน้า ทิ้งน�้ำหนักตัวลงไปตรงบริเวณที่กดพยายามให้แขนตรง
หลวมๆ ใช้สันมือ หรือใช้ฝ่ามือเคาะสับลงไปตรงบริเวณที่ต้องการเป็น ไหล่ไม่เกร็ง
จังหวะ โดยมากจะใช้กับกล้ามเนื้อใหญ่ เช่น หลัง คอ บ่า ไหล่ เป็นต้น
3. ก่อนที่จะกดมือลงแต่ละครั้งให้หายใจเข้าลึกๆ ช้าๆ ก่อนขณะที่กดมือลง
8. การเหยียบ เป็นเทคนิคที่ชาวบ้านใช้กันมาตั้งแต่สมัยปู่ย่าตายาน ที่ชอบ ก็หายใจออกไปพร้อมๆ กับการกด และแผ่กระจายออกไปตามฝ่ามือหรือ
ให้ลูกหลานขึ้นมาเหยียบนวดให้ แต่อาจเกิดอันตรายได้ง่าย เนื่องจาก ปลายนิ้วเข้าสู่ร่างกายของผู้ถูกนวดเพื่อช่วยให้สบายยิ่งขึ้น
การเหยียบนั้นกะน�้ำหนักไม่ค่อยได้แม่นย�ำนัก บริเวณที่ไม่ควรเหยียบ คือ
กระดูกสันหลัง เพราะเป็นทางเดินของไขสันหลัง ถ้ากระดูกหักหรือทรุดไป 4. จังหวะในการเคลื่อนไหวขณะนวด ควรมีลักษณะเนินนาบ และต่อเนื่อง
ท�ำลายไขสันหลังจะท�ำให้เป็นอัมพาตได้ กันไปตลอดเวลา ไม่เร่งร้อน ลุกลี้ลุกลน หรือชะงักขาดตอน จ�ำไว้ง่ายๆ
ว่าการนวดที่ดีนั้นต้อง “เนิบนาบ นัวเนีย หนักแน่น แต่นุ่มนวล” ค�ำว่า
จากทีก่ ล่าวมาข้างต้น พอสรุปได้วา่ ลักษณะการนวดแบบไทยจะประกอบด้วย นัวเนีย ในที่นี้ หมายถึง ลัษณะการถอนมือซึ่งจะไม่ถอนอย่างเร็วและ
การกด การคลึง การบีบ การบิด การดัด การดึง การทุบ การเคาะ การสับ และ ฉับพลันแต่จะถอนช้าๆ และไม่ให้มอื หลุดออกจากตัวผูร้ บั ท�ำให้การสัมผัส
การเหยียบ อวัยวะที่ใช้ในการนวดเป็นส่วนใหญ่ คือ นิ้วหัวแม่มือ จะเห็นได้ว่า ไม่ขาดเป็นช่วงๆ ก่อนที่จะเคลื่อนไปกดจุดต่อไป ส่วนค�ำว่าหนักแน่นก็
ลักษณะการนวดแบบไทยนี้จะมีเทคนิคและวิธีการนวดที่แตกต่างกันออกไป หมายถึง การกดลงลึก แต่ก็นุ่มนวล คือ ไม่กระแทกนั่นเอง

34 คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย 35


5. ผู้ถูกนวดควรหลับตาอยู่เสมอในขณะรับการนวด แต่ใจต้องตื่นคอนสังเกต 4. ผู้นวดมีคณ
ุ ธรรม และมรรยาท พึงปฏิบตั หิ น้าทีข่ องตนให้เต็มความสามารถ
รับรู้ความรู้สึกที่เกิดขึ้นว่าสบายอย่างไร
5. ส�ำหรับผู้ที่เริ่มฝึกหัดการนวดในระยะแรกๆ อาจมีปัญหานิ้วหัวแม่มือไม่มี
6. ส�ำหรับผู้ถูกนวด เมื่อรู้สึกตัวว่ามีแรงกดลงมา โดยเฉพาะบริเวณหลังหรือ แรงพอที่จะใช้กด จึงขอแนะน�ำวิธีฝึกก�ำลังนิ้วมือ โดยใช้วิธีบีบเทียนหรือ
ท้องให้พยายามหายใจออกเมื่อถูกกดเสมอ อย่าหายใจเข้าเพราะจะท�ำให้ ดินน�้ำมันจนนิ่ม ฝึกเป็นประจ�ำก็จะมีก�ำลังนิ้วมือมากขึ้น
เกิดแรงต้านการกดท�ำให้อึดอัดและไม่สบาย
สถาบันการแพทย์แผนไทย (2546 : 24) ได้แบ่งการเตรียมตัวส�ำหรับ
7. การนวดโดยใช้น�้ำหนักตัว ไม่เกร็งไหล่ แขน และมือ จะช่วยให้นวดได้
การนวดไว้ 3 ด้าน คือ
เรื่อยๆ โดยไม่เหนื่อย ถ้าผู้นวดเกร็งมากผู้ถูกนวดจะรู้สึกถึงคุณภาพของ
การสัมผัสที่ไม่นุ่มนวล 1. การฝึกก�ำลังนิ้ว เพื่อให้นิ้วมือมีก�ำลังแข็งแรงมีก�ำลังเพียงพอ มือไม่สั่น
8. เมื่อฝึกจนช�ำนาญในหลักการต่างๆ ดังกล่าวมานี้ จะเกิดความรู้สึกว่าทั้ง ไม่ออ่ นแรงกดได้ตรงเป้าหมายในการรักษา ได้ผลรวดเร็ว และสามารถท�ำได้
ผู้นวดและผู้ถูกนวดมีการสอดประสานกลมกลืนเป็นหนึ่งเดียว โดยฝึกซ้อมแยกกระดานทุกวันด้วยการนั่งจัดสมาธิเพชรและหย่งมือเป็น
รูปถ้วยวางไว้ข้างล�ำตัวแล้วยกตัวให้พ้นจากพื้น หรืออาจใช้การฝึกโดยบีบ
9. แนะให้ผู้นวดบอกให้รู้ว่า ขณะที่ถูกนวดนั้นเจ็บหรือไม่หรือนวดเร็วไป ขึ้ผึ้งจนอ่อนตัวก็ได้
ช้าไปเพื่อผู้ถูกนวดจะได้ปรับน�้ำหนักและจังหวะให้พอเหมาะกับความ
ต้องการของผู้ถูกนวด 2. การแต่งรสมือ หมายถึง จังหวะการลงน�้ำหนักในการนวด ซึ่งน�้ำหนักของ
นิ้วมือที่กดลงไปมี 3 ระดับ คือ
10.  หลังการนวดเสร็จแล้ว ผู้ถูกนวดไม่ควรลุกขึ้นทันที ควรให้นอนนิ่งๆ อยู่
กับที่สัก 2-3 นาที เป็นอย่างน้อย เพื่อให้ได้สัมผัสกับความรู้สึกผ่อนคลาย 2.1 น�้ำหนักเบา ประมาณ 50% ของน�้ำหนักที่สามารถลงได้สูงสุด
อย่างเต็มที่ 2.2 น�้ำหนักปานกลาง ประมาณ 70% ของน�้ำหนักที่สามารถลงได้สูงสุด
คู่มือการนวดแผนไทย (2540 : 26) ได้กล่าวถึงการเตรียมตัวส�ำหรับ 2.3 น�้ำหนักมาก ประมาณ 90% ของน�้ำหนักที่สามารถลงได้สูงสุด
การนวด ไว้ดังนี้ 3. การรักษาสุขภาพ ผู้นวดจะต้องรักษาสุขภาพให้ดีอยู่เสมอทั้งกายและใจ
1. ผู้นวดต้องรักษาสุขภาพของตนให้ดีทั้งทางกายและทางใจ หมั่นออกก�ำลังกายให้ร่างกายแข็งแรง ถ้ารู้สึกว่าไม่สบายหรือมีไข้ไม่ควร
ท�ำการนวด เพราะนอกจากการนวดไม่ได้ผลดีเท่าที่ควรแล้ว ยังอาจแพร่
2. ผู้นวดต้องตัดเล็บให้สั้น และท�ำความสะอาดทุกครั้ง
โรคให้กับผู้ถูกนวดได้ และเล็บมือควรตัดให้สั้นด้วย
3. ผู้นวดไม่สบายไม่ควรนวดให้ผู้ถูกนวด เพราะจะไม่ได้ผลการนวดที่ดี

36 คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย คู่มือการพัฒนาสุขภาพองค์รวม นวดแผนไทย 37

You might also like