You are on page 1of 19

แบบฝกหัด พรบ.

ยา by ครูปาลม
1. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันใด ขอใดถูกตองที่สุด

1. 2 กุมภาพันธ 2510

2. 13 มีนาคม 2510

3. 20 ตุลาคม 2510

4. 21 ตุลาคม 2510

5. 19 ธันวาคม 2510

2. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ใหใชบังคับวันใด ขอใดถูกตองที่สุด

1. 2 กุมภาพันธ 2510

2. 13 มีนาคม 2510

3. 20 ตุลาคม 2510

4. 21 ตุลาคม 2510

5. 19 ธันวาคม 2510

3. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดกี่วันนับแตวันประกาศ ขอใดถูกตองที่สุด

1. 1 วัน

2. 30 วัน

3. 60 วัน

4. 90 วัน

5. 180 วัน

4. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ใหยกเลิก พรบ.ฉบับใดลาสุด กอนหนานั้น ขอใดถูกตองที่สุด

1. พระราชบัญญัติการขายยา พ.ศ. 2493

พท.จิรัฐพล มณีกูล(พท.ภ, พท.ผ, พท.ว, พท.น, บธ.ม, อส.บ) หนาที่ 1


2. พระราชบัญญัติการขายยา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2498

3. พระราชบัญญัติการขายยา (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2498

4. พระราชบัญญัติการขายยา (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2500

5. พระราชบัญญัติการขายยา (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2505

5. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ขอใดไมใชความหมายของคําวา “ยา” ขอใดถูกตองที่สุด

1. วัตถุที่รับรองไวในตํารายาที่รัฐมนตรีประกาศ

2. วัตถุที่มุงหมายสําหรับใชในการวินิจฉัย บําบัด บรรเทา รักษา หรือปองกันโรคหรือความเจ็บปวย-

ของมนุษยหรือสัตว

3. วัตถุที่เปนเภสัชเคมีภัณฑ หรือเภสัชเคมีภัณฑกึ่งสําเร็จรูป

4. วัตถุที่มุงหมายสําหรับใหเกิดผลแกสุขภาพ โครงสราง หรือการกระทําหนาที่ใดๆ ของรางกายของ-

มนุษยหรือสัตว

5. วัตถุที่มุงหมายสําหรับใชในการเกษตรหรือการอุตสาหกรรมตามที่รัฐมนตรีประกาศ

6. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ขอใดคือความหมายของคําวา “ยา” ขอใดถูกตองที่สุด

1. วัตถุที่มุงหมายสําหรับใชเปนอาหารสําหรับมนุษย เครื่องกีฬา เครื่องมือเครื่องใชในการสงเสริม-


สุขภาพ เครื่องสําอาง

2. วัตถุที่มุงหมายสําหรับใชในหองวิทยาศาสตรสําหรับการ วิจัย การวิเคราะห หรือการชันสูตรโรค-

ซึ่งมิไดกระทําโดยตรงตอรางกายของมนุษย

3. วัตถุที่เปนเภสัชเคมีภัณฑ หรือเภสัชเคมีภัณฑกึ่งสําเร็จรูป

4. วัตถุที่มุงหมายสําหรับใชเปนเครื่องมือและสวนประกอบของเครื่องมือที่ใชใน-

การประกอบโรคศิลปะหรือวิชาชีพเวชกรรม

5. วัตถุที่มุงหมายสําหรับใชในการเกษตรหรือการอุตสาหกรรมตามที่รัฐมนตรีประกาศ

พท.จิรัฐพล มณีกูล(พท.ภ, พท.ผ, พท.ว, พท.น, บธ.ม, อส.บ) หนาที่ 2


7. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ยาแผนปจจุบันหรือยาแผนโบราณที่มุงหมายใชเฉพาะที่กับหู ตา จมูก ปาก ทวาร-
หนัก ชองคลอด หรือทอปสสาวะ คือความหมายของคําใด ขอใดถูกตองที่สุด

1. ยาอันตราย

2. ยาควบคุมพิเศษ

3. ยาใชภายนอก

4. ยาใชเฉพาะที่

5. ยาแผนโบราณ

8. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ยาที่มุงหมายสําหรับใชในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ หรือการบําบัดโรคสัตว


ซึ่งอยูในตํารายาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศหรือยาที่รัฐมนตรีประกาศเปนยาแผนโบราณ หรือยาที่ไดรับ
อนุญาตใหขึ้นทะเบียนตํารับยาเปนยาแผนโบราณ คือความหมายของคําใด ขอใดถูกตองที่สุด

1. ยาอันตราย

2. ยาควบคุมพิเศษ

3. ยาใชภายนอก

4. ยาใชเฉพาะที่

5. ยาแผนโบราณ

9. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 สารอินทรียเคมีหรืออนินทรียเคมีทั้งที่เปนสารเดี่ยวหรือสารผสมที่อยูในลักษณะ


พรอมที่จะนํามาใชประกอบในการผลิตเปนยาสําเร็จรูป คือความหมายของสิ่งใด ขอใดถูกตองที่สุด

1. เภสัชเคมีภัณฑ

2. เภสัชเคมีภัณฑกึ่งสําเร็จรูป

3. ยาบรรจุเสร็จ

4. ยาใชเฉพาะที่

5. ยาควบคุมพิเศษ

พท.จิรัฐพล มณีกูล(พท.ภ, พท.ผ, พท.ว, พท.น, บธ.ม, อส.บ) หนาที่ 3


10. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 “ผูอนุญาต” สําหรับอนุญาตขายยาในจังหวัดที่อยูในเขตอํานาจนอกจาก
กรุงเทพมหานคร ขอใดถูกตองที่สุด

1. เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา

2. ผูซึ่งเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยามอบหมาย

3. ผูวาราชการจังหวัด

4. รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข

5. ผูซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขมอบหมาย

11. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ตําแหนงใดไมไดอยูในคณะกรรมการยา ขอใดถูกตองที่สุด

1. เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา

2. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

3. อธิบดีกรมสุขภาพจิต

4. รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา

5. ผูอํานวจการกอง กองควบคุมยา สํานักคณะกรรมการอาหารและยา

12. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 กรรมการผูทรงคุณวุฒิอยูในตําแหนงคราวละกี่ป ขอใดถูกตองที่สุด

1. คราวละ 3 ป

2. คราวละ 3 ป ไมเกิน 2 วาระติดตอกัน

3. คราวละ 2 ป

4. คราวละ 2 ป ไมเกิน 2 วาระติดตอกัน

5. คราวละ 2 ป ไมเกิน 3 วาระติดตอกัน

13. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 กรรมการผูทรงคุณวุฒิพนตําแหนงกรณีใด ขอใดไมถูกตองที่สุด

1. ตาย

พท.จิรัฐพล มณีกูล(พท.ภ, พท.ผ, พท.ว, พท.น, บธ.ม, อส.บ) หนาที่ 4


2. ลาออก

3. รัฐมนตรีใหออก

4. เปนบุคคลลมละลาย

5. ไดรับโทษจําคุกความผิดอันไดกระทําโดยประมาท

14. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 การประชุมคณะกรรมการ ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวาเทาใดจึงจะเปน


องคประชุม ขอใดถูกตองที่สุด

1. กรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด

2. กรรมการมาประชุมไมนอยกวาสองในสามของจํานวนกรรมการทั้งหมด

3. กรรมการมาประชุมไมนอยกวาหนึ่งในสามของจํานวนกรรมการทั้งหมด

4. กรรมการมาประชุมไมนอยกวาสองในสามของจํานวนกรรมการทีม่ ีอยูในขณะนั้น

5. กรรมการมาประชุมไมนอยกวาหนึ่งในสามของจํานวนกรรมการทีม่ ีอยูในขณะนั้น

15. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ใหคณะกรรมการมีหนาที่ใหคําแนะนําหรือความเห็นในเรื่องใด ขอใดไมถูกตอง


ที่สุด

1. การอนุญาตผลิตยา ขายยา หรือนําหรือสั่งยาเขามาในราชอาณาจักรและการขึ้นทะเบียนตํารับยา

2. การพักใชใบอนุญาต การเพิกถอนใบอนุญาตหรือการเพิกถอนทะเบียนตํารับยา

3. การกําหนดหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการผลิตยา การขายยา การนําหรือสั่งยาเขามา-

ในราชอาณาจักร การนํายามาเปนตัวอยางเพื่อตรวจ และการตรวจสอบสถานทีผ่ ลิตยาสถานที่ขายยา-

สถานที่นําหรือสั่งยาเขามาในราชอาณาจักรและสถานที่เก็บยา

4. การแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ ออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราในบัญชีทาย-

พระราชบัญญัตินี้

5. เรื่องอื่นตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย

16. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 การขออนุญาตและออกใบอนุญาตเกีย่ วกับยาแผนโบราณ ขอใดไมถูกตองที่สุด


พท.จิรัฐพล มณีกูล(พท.ภ, พท.ผ, พท.ว, พท.น, บธ.ม, อส.บ) หนาที่ 5
1. การผลิตยาซึ่งผลิตโดยกระทรวง ทบวง กรม ในหนาที่ปองกันหรือบําบัดโรคสภากาชาดไทย และ

องคการเภสัชกรรม

2. การปรุงยาแผนโบราณตามตํารายาที่รัฐมนตรีประกาศตามมาตรา ๗๖ (๑) โดยผูประกอบโรค

ศิลปะแผนโบราณ เพื่อขายเฉพาะสําหรับคนไขของตน

3. ขายปลีก (๒ ทวิ) ๔๓ การขายยาแผนโบราณโดยผูรับอนุญาตขายยาแผนปจจุบัน

ผูรับอนุญาตขายสงยาแผนปจจุบัน และผูรับอนุญาตขายยาแผนปจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จที่ไมใชยา

อันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ

4. การขายยาสมุนไพรที่ไมใชยาอันตรายหรือการขายยาสามัญประจําบาน

5. การนํายาติดตัวเขามาในราชอาณาจักรซึ่งไมเกินจํานวนที่จําเปนจะตองใชเฉพาะตัวไดหกสิบวัน

และการนําหรือสั่งยาเขามาในราชอาณาจักรโดยกระทรวง ทบวง กรม ในหนาที่ปองกันหรือ

บําบัดโรค สภากาชาดไทยและองคการเภสัชกรรม

17. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ผูขออนุญาตตองมีคุณสมบัติใด ขอใดไมถูกตองที่สุด

1. เปนเจาของกิจการและเปนผูมีทรัพยสินหรือฐานะพอที่จะตั้งและดําเนินกิจการได

2. มีอายุไมต่ํากวายี่สิบปบริบูรณ

3. มีถิ่นที่อยูในประเทศไทย

4. ไมเคยไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดหรือคําสั่งที่ชอบดวยกฎหมายใหจําคุกในความผิดที่

กฎหมายบัญญัติใหถือเอาการกระทําโดยทุจริตเปนองคประกอบ หรือในความผิดตามกฎหมายวาดวย

ยาเสพติดใหโทษ กฎหมายวาดวยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท กฎหมายวาดวยการขายยา หรือ

พระราชบัญญัตินี้ เวนแตพนโทษมาแลวไมนอยกวาสามปกอนวันขอรับใบอนุญาต

5. ใชชื่อในการประกอบพาณิชยกิจไมซ้ําหรือคลายคลึงกับชื่อที่ใชในการประกอบพาณิชยกิจของ

ผูรับอนุญาตซึ่งอยูในระหวางถูกสั่งพักใชใบอนุญาตหรือซึ่งถูกเพิกถอนใบอนุญาตยังไมครบหนึ่งป

พท.จิรัฐพล มณีกูล(พท.ภ, พท.ผ, พท.ว, พท.น, บธ.ม, อส.บ) หนาที่ 6


18. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ใบอนุญาตใหใชไดจนถึงวันที่เทาไร ของปที่ออกใบอนุญาต ขอใดถูกตองที่สุด

1. จนถึงวันที่ 31 ธันวาคมของปที่ 2 นับจากปทอี่ อกใบอนุญาต

2. จนถึงวันที่ 31 ธันวาคมของปที่ 5 นับจากปทอี่ อกใบอนุญาต

3. จนถึงวันที่ 31 ธันวาคมของปที่ 10 นับจากปที่ออกใบอนุญาต

4. จนถึงวันที่ 31 ธันวาคมของปที่ออกใบอนุญาต

5. จนถึงวันที่ 31 มีนาคมของปที่ออกใบอนุญาต

19. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ผูรับอนุญาตผลิตยาแผนโบราณจํานวนกี่ตํารับขึ้นไปที่ตองมีจํานวนผูประกอบโรค


ศิลปะแผนโบราณเปนผูมีหนาที่ปฏิบัติการตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ขอใดถูกตองที่สุด

1. 10 ตํารับขึ้นไป

2. 20 ตํารับขึ้นไป

3. 30 ตํารับขึ้นไป

4. 40 ตํารับขึ้นไป

5. 50 ตํารับขึ้นไป

20. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ผูรับอนุญาตผลิตยาแผนโบราณ ในฉลากยาแผนโบราณ กรณีที่ฉลากยามีขนาดเล็ก


ตองแสดงอะไรบาง ขอใดไมถูกตองที่สุด

1. ชื่อยา

2. เลขที่ใบสําคัญการขึ้นทะเบียนตํารับยา

3. รหัสใบสําคัญการขึ้นทะเบียนตํารับยา

4. วัน เดือน ป ที่ผลิตยา

5. คําวา “ยาแผนโบราณ” ใหเห็นไดชัด

21. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ผูรับอนุญาตผลิตยาแผนโบราณ ในฉลากยาแผนโบราณ คําวา “ยาใชภายนอก”


หรือ “ยาใชเฉพาะที่ ” แลวแตกรณี ดวยอักษรสีอะไร ขอใดถูกตองที่สุด

พท.จิรัฐพล มณีกูล(พท.ภ, พท.ผ, พท.ว, พท.น, บธ.ม, อส.บ) หนาที่ 7


1. สีดํา

2. สีขาว

3. สีแดง

4. สีน้ําเงิน

5. สีเหลือง

22. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 กรณีใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญ ใหผูรับอนุญาต


แจงตอผูอนุญาตและยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในกี่วันนับแตวันที่ไดทราบ ขอใดถูกตองที่สุด

1. 7 วัน

2. 10 วัน

3. 15 วัน

4. 30 วัน

5. 45 วัน

23. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 กรณีเปลี่ยนตัวผูมีหนาที่ปฏิบัติการ ใหแจงเปนหนังสือใหผูอนุญาตทราบและจะ


เปลี่ยนตัวไดเมื่อไดรับอนุญาตจากผูอนุญาต ตองแจงเปนหนังสือใหผูอนุญาตทราบภายในกีว่ ันนับแตวันที่ไมมีผูมี
หนาที่ ขอใดถูกตองที่สุด

1. 7 วัน

2. 10 วัน

3. 15 วัน

4. 30 วัน

5. 45 วัน

24. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 กรณีผูรับอนุญาตซึ่งไดแจงการเลิกกิจการ จะขายยาของตนที่เหลืออยูแกผูรับ


อนุญาตอื่นหรือแกผูซึ่งผูอนุญาตเห็นสมควรไดภายในกีว่ ันนับแตวันเลิกกิจการ ขอใดถูกตองที่สุด

พท.จิรัฐพล มณีกูล(พท.ภ, พท.ผ, พท.ว, พท.น, บธ.ม, อส.บ) หนาที่ 8


1. 15 วัน

2. 30 วัน

3. 45 วัน

4. 60 วัน

5. 90 วัน

25. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 กรณีผูรับอนุญาตตายและมีบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติอาจเปนผูรับอนุญาตไดตาม


พระราชบัญญัตินี้ ตองแสดงความจํานงตอผูอนุญาตภายในกีว่ ันนับแตวันที่ผูรับอนุญาตตาย เพื่อขอดําเนินกิจการ
ที่ผูตายไดรับอนุญาตนั้นตอไป ขอใดถูกตองที่สุด

1. 15 วัน

2. 30 วัน

3. 45 วัน

4. 60 วัน

5. 90 วัน

26. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ขอใดไมใชหนาที่ของผูประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ ประจําอยู ณ สถานที่นํา


หรือสั่งยาเขามาในราชอาณาจักร หรือสถานที่เก็บยาตลอดเวลา ขอใดถูกตองที่สุด

1. ควบคุมยาที่นําหรือสั่งเขามาในราชอาณาจักรใหถูกตองตามตํารับยาที่ไดขึ้นทะเบียน

2. ควบคุมการปฏิบัติเกี่ยวกับฉลากที่นําหรือสั่งเขามาในราชอาณาจักร

3. ควบคุมการจัดเก็บยาที่นําหรือสั่งเขามาในราชอาณาจักร ณ สถานที่เก็บยา

4. ควบคุมการขายยาที่นําหรือสั่งเขามาในราชอาณาจักร

5. ควบคุมการจัดใหมีปาย ณ ที่เปดเผยหนาสถานที่นําหรือสั่งยาเขามาในราชอาณาจักรที่ระบุไวใน

ใบอนุญาตซึ่งเห็นไดงายจากภายนอกอาคาร

พท.จิรัฐพล มณีกูล(พท.ภ, พท.ผ, พท.ว, พท.น, บธ.ม, อส.บ) หนาที่ 9


27. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 หามมิใหผูใดผลิต ขาย หรือนําหรือสั่งเขามาในราชอาณาจักรซึ่งยาตอไปนี้
ขอใดไมถูกตองที่สุด

1. ยาปลอม

2. ยาผิดมาตรฐาน

3. ยาเสื่อมคุณภาพ

4. ยาที่มิไดขึ้นทะเบียนตํารับยา

5. ยาที่รัฐมนตรีสั่งขึ้นทะเบียนตํารับยา

28. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ขอใดคือคุณสมบัติของยาปลอม ขอใดไมถูกตองที่สุด

1. ยาหรือวัตถุที่ทําเทียมทั้งหมดหรือแตบางสวนวาเปนยาแท

2. ยาที่แสดงชื่อวาเปนยาอื่น หรือแสดงเดือน ป ที่ยาสิ้นอายุ ซึ่งมิใชความจริง

3. ยาที่แสดงชื่อหรือเครื่องหมายของผูผลิตหรือที่ตั้งสถานที่ผลิตยา ซึ่งมิใชความจริง

4. ยาที่แสดงวาเปนยาตามตํารับยาที่ขึ้นทะเบียนไว ซึ่งมิใชความจริง

5. ยาที่ผลิตขึ้นไมถูกตองตามมาตรฐานถึงขนาดที่ปริมาณหรือความแรงของสารออกฤทธิ์ขาดหรือเกิน

กวารอยละสิบจากเกณฑต่ําสุดหรือสูงสุด

29. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ยาที่ผลิตขึ้นไมถูกตองตามมาตรฐานโดยปริมาณหรือความแรงของสารออกฤทธิ์


ขาดหรือเกินจากเกณฑต่ําสุดหรือสูงสุดที่กําหนดไวในตํารับยาที่ขึ้นทะเบียน คือคุณสมบัติของยาใด ขอใดถูกตอง
ที่สุด

1. ยาปลอม

2. ยาผิดมาตรฐาน

3. ยาเสื่อมคุณภาพ

4. ยาที่มิไดขึ้นทะเบียนตํารับยา

5. ยาที่รัฐมนตรีสั่งขึ้นทะเบียนตํารับยา

พท.จิรัฐพล มณีกูล(พท.ภ, พท.ผ, พท.ว, พท.น, บธ.ม, อส.บ) หนาที่ 10


30. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ยาที่สิ้นอายุตามที่แสดงไวในฉลาก คือคุณสมบัติของยาใด ขอใดถูกตองที่สุด

1. ยาปลอม

2. ยาผิดมาตรฐาน

3. ยาเสื่อมคุณภาพ

4. ยาที่มิไดขึ้นทะเบียนตํารับยา

5. ยาที่รัฐมนตรีสั่งขึ้นทะเบียนตํารับยา

31. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ใหรัฐมนตรีมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาระบุสิ่งใด ขอใดไมถูกตองที่สุด

1. ตํารายา

2. วัตถุที่เปนยา

3. ยาที่เปนอันตราย

4. ยาที่เปนยาควบคุมพิเศษ

5. อายุการใชของยาทุกชนิด

32. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 การขึ้นทะเบียนตํารับยา ตํารับยาใดตองนํามาขอขึ้นทะเบียนกับพนักงาน


เจาหนาที่ ขอใดถูกตองที่สุด

1. ยาที่เปนเภสัชเคมีภัณฑ หรือเภสัชเคมีภัณฑกึ่งสําเร็จรูปซึ่งมิใชยาบรรจุเสร็จ

2. ยาสมุนไพร

3. ยาตัวอยางที่ไดรับอนุญาตใหผลิตหรือนําหรือสั่งเขามาในราชอาณาจักรเพื่อขอขึ้นทะเบียนตํารับยา

4. ยาที่ไดรับอนุญาตใหนําหรือสั่งเขามาในราชอาณาจักรตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรี

โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ

5. ยาสามัญประจําบาน

33. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 การขอขึ้นทะเบียนตํารับยาตองแจงรายละเอียดดังตอไปนี้ ขอใดไมถูกตองที่สุด

พท.จิรัฐพล มณีกูล(พท.ภ, พท.ผ, พท.ว, พท.น, บธ.ม, อส.บ) หนาที่ 11


1. ชื่อยา

2. ชื่อและปริมาณของวัตถุอันเปนสวนประกอบของยา

3. ขนาดบรรจุ, ฉลาก และเอกสารกํากับยา

4. วิธีวิเคราะหมาตรฐานของยาแผนโบราณ ในกรณีที่ใชวิธีวิเคราะหนอกตํารายาที่รัฐมนตรีประกาศ

5. รายการอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

34. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 หามมิใหพนักงานเจาหนาที่รับขึ้นทะเบียนตํารับยา ยกเวนขอใด ขอใดถูกตองที่สุด

1. เปนยาที่ระบุในมาตรา ๗๒ (๑) (ยาปลอม) หรือ (๖) (ยาที่รัฐมนตรีสั่งเพิกถอนทะเบียนตํารับยา)

2. การขอขึ้นทะเบียนตํารับยาไมเปนไปตามมาตรา ๘๐ (แจงรายละเอียด 7ขอ) และมาตรา ๘๒

(ขอขึ้นทะเบียนหรือแกรายการทะเบียนตํารับยา)

3. ยาที่ขอขึ้นทะเบียนตามตํารับยานั้น ไมสามารถเชื่อถือในสรรพคุณได หรืออาจไมปลอดภัยแกผูใช

4. เปนยาที่ใชชื่อไปในทํานองโออวด ไมสุภาพ หรืออาจทําใหเขาใจผิดจากความจริง

5. ยาที่ใชชื่อเหมาะสมกับวัฒนธรรมอันดีงามของไทย หรือทางสงเสริมคุณคาของภาษาไทย

35. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ใหผูรับอนุญาตผลิตยา หรือผูรับอนุญาตนําหรือสั่งยาเขามาในราชอาณาจักร


สงรายงานประจําป ภายในวันที่เทาไรของปถัดไป ขอใดถูกตองที่สุด

1. ภายในวันที่ 30 มีนาคมของปถัดไป

2. ภายในวันที่ 31 มีนาคมของปถัดไป

3. ภายในวันที่ 30 มกราคมของปถัดไป

4. ภายในวันที่ 31 มกราคมของปถัดไป

5. ภายในวันที่ 31 ธันวาคมของปถัดไป

36. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ยาที่ไดขึ้นทะเบียนตํารับยาไวแลวตํารับใดมิไดมีการผลิต หรือนําหรือสั่งเขามาใน


ราชอาณาจักรเปนเวลากีป่ ต ิดตอกัน ใหทะเบียนตํารับยานั้นเปนอันยกเลิก ขอใดถูกตองที่สุด

1. 1 ปติดตอกัน
พท.จิรัฐพล มณีกูล(พท.ภ, พท.ผ, พท.ว, พท.น, บธ.ม, อส.บ) หนาที่ 12
2. 2 ปติดตอกัน

3. 3 ปติดตอกัน

4. 4 ปติดตอกัน

5. 5 ปติดตอกัน

37. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 กรณีใบสําคัญการขึ้นทะเบียนตํารับยาสูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญ


ให ผูรับอนุญาตแจงตอพนักงานเจาหนาที่และยื่นคําขอรับใบแทนใบสําคัญการขึ้นทะเบียนตํารับยาภายในกีว่ ัน
นับแตวันที่ไดทราบถึงการสูญหายหรือถูกทําลาย ขอใดถูกตองที่สุด

1. 7 วัน

2. 10 วัน

3. 15 วัน

4. 30 วัน

5. 45 วัน

38. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 การโฆษณาขายยาจะตองทําอยางไร ขอใดไมถูกตองที่สุด

1. ไมเปนการโออวดสรรพคุณยาหรือวัตถุอันเปนสวนประกอบของยาวาสามารถบําบัด บรรเทา รักษา


หรือปองกันโรคหรือความเจ็บปวยไดอยางศักดิ์สิทธิ์หรือหายขาด หรือใชถอยคําอื่นใดที่มีความหมาย
ทํานองเดียวกัน

2. ไมแสดงสรรพคุณยาอันเปนเท็จหรือเกินความจริง

3. ไมทําใหเขาใจวามีวัตถุใดเปนตัวยาหรือเปนสวนประกอบของยา ซึ่งความจริงไมมีวัตถุหรือ
สวนประกอบนั้นในยา หรือมีแตไมเทาที่ทําใหเขาใจ

4. ทําใหเขาใจวาเปนยาทําใหแทงลูกหรือยาขับระดูอยางแรง

5. ไมทําใหเขาใจวาเปนยาบํารุงกามหรือยาคุมกําเนิด

39. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ใครมีอํานาจสั่งเปนหนังสือใหระงับการโฆษณาขายยาที่เห็นวาเปนการโฆษณาโดย

พท.จิรัฐพล มณีกูล(พท.ภ, พท.ผ, พท.ว, พท.น, บธ.ม, อส.บ) หนาที่ 13


ฝาฝนพระราชบัญญัตินี้ได ขอใดถูกตองที่สุด

1. รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข

2. เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา

3. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

4. อธิบดีกรมการแพทยแผนไทยและแพทยทางเลือก

5. คณะกรรมการยา

40. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ในการปฏิบัติหนาทีใ่ หพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจใดบาง ขอใดไมถูกตองที่สุด

1. เขาไปในสถานที่ผลิตยา สถานที่ขายยา สถานที่นําหรือสั่งยาเขามาในราชอาณาจักร หรือสถานที่-


เก็บยา ในระหวางเวลา 08.00 - 17.00 น. เพื่อตรวจสอบควบคุม

2. นํายาในปริมาณพอสมควรไปเปนตัวอยางเพื่อตรวจสอบหรือวิเคราะห

3. ในกรณีมีเหตุอันควรสงสัยวามีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ อาจเขาไปในสถานที่ใดๆ

เพื่อตรวจสอบยาและอาจยึดหรืออายัดยา และเครื่องมือเครื่องใชที่เกี่ยวของกับการกระทําความผิด

ตลอดจนภาชนะหรือหีบหอบรรจุยาและเอกสารที่เกี่ยวกับยาดังกลาวได

4. ประกาศผลการตรวจสอบหรือวิเคราะหคุณภาพของยา ที่นําไปตรวจสอบหรือ

วิเคราะหตาม (๒) ใหประชาชนทราบ โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ทั้งนี้ เพื่อประโยชน

แกการคุมครองความปลอดภัยของผูใชยา

5. ในกรณีที่ปรากฏตอพนักงานเจาหนาที่วายาใดเปนยาที่ไมปลอดภัยแกผูใชยา หรืออาจเปน

อันตรายตอผูใชยา ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจเรียกเก็บหรือสั่งใหผูรับอนุญาตผลิตยา ผูรับอนุญาต

ขายยา หรือผูรับอนุญาตนําหรือสั่งยาเขามาในราชอาณาจักร จัดเก็บยาดังกลาวของตนคืนภายใน

ระยะเวลาที่พนักงานเจาหนาที่กําหนด และมีอํานาจทําลายยาดังกลาวเสียได ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ

และวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง

พท.จิรัฐพล มณีกูล(พท.ภ, พท.ผ, พท.ว, พท.น, บธ.ม, อส.บ) หนาที่ 14


41. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 การพักใชใบอนุญาต ผูอนุญาตโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจสั่งพักใช

ใบอนุญาตไดโดยมีกําหนดครั้งละไมเกินกี่วัน ขอใดถูกตองที่สุด

1. 30 วัน

2. 45 วัน

3. 60 วัน

4. 90 วัน

5. 120 วัน

42. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 การเพิกถอนใบอนุญาต ผูรับอนุญาตซึ่งถูกเพิกถอนใบอนุญาตจะขอรับใบอนุญาต


ใด ๆ ตามพระราชบัญญัตินี้อีกไมไดจนกวาจะพนระยะเวลากี่ปนับแตวันที่ถูกเพิกถอน ขอใดถูกตองที่สุด

1. 1 ป

2. 2 ป

3. 3 ป

4. 4 ป

5. 5 ป

43. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 คําสั่งพักใชใบอนุญาตและคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาตใหทําเปนหนังสือแจง


กรณีไมพบตัวผูถูกสั่งหรือผูถูกสั่งไมยอมรับคําสั่ง ใหดําเนินการอยางไร ขอใดถูกตองที่สุด

1. ใหปดคําสั่งไว ณ ที่ อยูอาศัยของผูรับอนุญาต

2. ใหปดคําสั่งไว ณ ที่ อยูอาศัยของผูประกอบโรคศิลปะแผนโบราณที่ดําเนินการอยู ณ สถานที่นั้นๆ

3. ใหปดคําสั่งไว ณ ที่ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และ ที่อยูอาศัยของผูรับอนุญาต

4. ใหปดคําสั่งไว ณ ที่เปดเผยเห็นไดงายที่สถานที่ผลิตยา สถานที่ขายยา หรือสถานที่นําหรือสั่งยาเขามา


ในราชอาณาจักร และใหถือวาผูรับอนุญาตไดทราบคําสั่งนั้นแลวตั้งแตวันที่ปดคําสั่ง จะโฆษณาใน
หนังสือพิมพหรือโดยวิธีอื่นอีกดวยก็ได

พท.จิรัฐพล มณีกูล(พท.ภ, พท.ผ, พท.ว, พท.น, บธ.ม, อส.บ) หนาที่ 15


5. ใหปดคําสั่งไว ณ ที่ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และ ที่อยูอาศัยของผูประกอบโรคศิลปะ
แผนโบราณที่ดําเนินการอยู ณ สถานที่นั้นๆ

44. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ผูรับอนุญาตซึ่งถูกสั่งพักใชใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต มีสิทธิอุทธรณตอ


รัฐมนตรีภายในกี่วันนับแตวันที่ทราบคําสั่ง ขอใดถูกตองที่สุด

1. 7 วัน

2. 10 วัน

3. 15 วัน

4. 30 วัน

5. 45 วัน

45. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ผูถูกเพิกถอนใบอนุญาตจะขายยาของตนที่เหลืออยูแกผูรับอนุญาตอื่น หรือแกผูซึ่ง


ผูอนุญาตเห็นสมควรไดภายในกีว่ ันนับแตวันที่ไดทราบคําสั่งเพิกถอน ขอใดถูกตองที่สุด

1. 30 วัน

2. 45 วัน

3. 60 วัน

4. 90 วัน

5. 120 วัน

46. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 หามมิใหผูใดขายยาบรรจุเสร็จหลายขนานโดยจัดเปนชุดในคราวเดียวกัน


มีความผิดอัตราโทษใด ขอใดถูกตองที่สุด

1. ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 5 ป หรือ ปรับไมเกิน 50,000 บาท หรือ ทั้งจําและปรับ

2. ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 5 ป และ ปรับไมเกิน 10,000 บาท หรือ ทั้งจําและปรับ

3. ตองระวางโทษปรับไมเกิน 1,000 ถึง 3,000 บาท

4. ตองระวางโทษปรับไมเกิน 2,000 ถึง 10,000 บาท

พท.จิรัฐพล มณีกูล(พท.ภ, พท.ผ, พท.ว, พท.น, บธ.ม, อส.บ) หนาที่ 16


5. ตองระวางโทษปรับไมเกิน 100,000 บาท

47. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ผูรับอนุญาต ดําเนินกิจการระหวางถูกพักใบอนุญาต มีความผิดอัตราโทษใด


ขอใดถูกตองที่สุด

1. ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 5 ป หรือ ปรับไมเกิน 50,000 บาท หรือ ทั้งจําและปรับ

2. ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 5 ป และ ปรับไมเกิน 10,000 บาท หรือ ทั้งจําและปรับ

3. ตองระวางโทษปรับไมเกิน 1,000 ถึง 3,000 บาท

4. ตองระวางโทษปรับไมเกิน 2,000 ถึง 10,000 บาท

5. ตองระวางโทษปรับไมเกิน 100,000 บาท

48. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 ผูรับอนุญาตทําการขายยานอกสถานที่ที่กําหนดยกเวนขายสง มีความผิดอัตราโทษ


ใด ขอใดถูกตองที่สุด

1. ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 5 ป หรือ ปรับไมเกิน 50,000 บาท หรือ ทั้งจําและปรับ

2. ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 5 ป และ ปรับไมเกิน 10,000 บาท หรือ ทั้งจําและปรับ

3. ตองระวางโทษปรับไมเกิน 1,000 ถึง 3,000 บาท

4. ตองระวางโทษปรับไมเกิน 2,000 ถึง 10,000 บาท

5. ตองระวางโทษปรับไมเกิน 100,000 บาท

49. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 การนําเขายาโดยไมผานการตรวจสอบของพนักงานเจาหนาที่ ณ ดานนําเขา


มีความผิดอัตราโทษใด ขอใดถูกตองที่สุด

1. ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 5 ป หรือ ปรับไมเกิน 50,000 บาท หรือ ทั้งจําและปรับ

2. ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 5 ป และ ปรับไมเกิน 10,000 บาท หรือ ทั้งจําและปรับ

3. ตองระวางโทษปรับไมเกิน 1,000 ถึง 3,000 บาท

4. ตองระวางโทษปรับไมเกิน 2,000 ถึง 10,000 บาท

5. ตองระวางโทษปรับไมเกิน 100,000 บาท

พท.จิรัฐพล มณีกูล(พท.ภ, พท.ผ, พท.ว, พท.น, บธ.ม, อส.บ) หนาที่ 17


50. จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2510 การกระทําความผิดการโฆษณาขายยาในทุกกรณี มีความผิดอัตราโทษใด ขอใด
ถูกตองที่สุด

1. ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 5 ป หรือ ปรับไมเกิน 50,000 บาท หรือ ทั้งจําและปรับ

2. ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 5 ป และ ปรับไมเกิน 10,000 บาท หรือ ทั้งจําและปรับ

3. ตองระวางโทษปรับไมเกิน 1,000 ถึง 3,000 บาท

4. ตองระวางโทษปรับไมเกิน 2,000 ถึง 10,000 บาท

5. ตองระวางโทษปรับไมเกิน 100,000 บาท

51.จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2562 เปนฉบับที่เทาไร ขอใดถูกตองที่สุด

1. ฉบับที่ 4
2. ฉบับที่ 5
3. ฉบับที่ 6
4. ฉบับที่ 7
5. ฉบับที่ 8

52.จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2562 ไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันใด ขอใดถูกตองที่สุด

1. 13 เมษายน 2562
2. 14 เมษายน 2562
3. 15 เมษายน 2562
4. 16 เมษายน 2562
5. 17 เมษายน 2562

53.จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2562 ใหใชบังคับเมื่อใด ขอใดถูกตองที่สุด

1. ใชบังคับเมื่อพนกําหนด 15 วันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
2. ใชบังคับเมื่อพนกําหนด 30 วันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
3. ใชบังคับเมื่อพนกําหนด 60 วันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
4. ใชบังคับเมื่อพนกําหนด 120 วันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
5. ใชบังคับเมื่อพนกําหนด 180 วันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

พท.จิรัฐพล มณีกูล(พท.ภ, พท.ผ, พท.ว, พท.น, บธ.ม, อส.บ) หนาที่ 18


54.จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2562 ผูรับใบสําคัญการขึ้นทะเบียนตํารับยาผูใ ดยื่นคําขอตออายุใบสําคัญการขึ้นทะเบียน
ตํารับยาภายหลังที่ใบสําคัญการขึ้นทะเบียนตํารับยาสิ้นอายุแลวไมเกิน 1 เดือนตองระวางโทษปรับเปนรายวันวัน
ละเทาใด ตลอดเวลาที่ยังไมไดยื่นคําขอตออายุใบสําคัญการขึ้นทะเบียนตํารับยา ขอใดถูกตองที่สุด

1. 100 บาทตอวัน
2. 200 บาทตอวัน
3. 300 บาทตอวัน
4. 400 บาทตอวัน
5. 500 บาทตอวัน

55.จาก พรบ.ยา พ.ศ. 2562 อัตราคาธรรมเนียม ใบสําคัญการขึ้นทะเบียนตํารับยาแผนโบราณ ฉบับละเทาใด


ขอใดถูกตองที่สุด

1. 2500 บาท
2. 5000 บาท
3. 10000 บาท
4. 25000 บาท
5. 50000 บาท

พท.จิรัฐพล มณีกูล(พท.ภ, พท.ผ, พท.ว, พท.น, บธ.ม, อส.บ) หนาที่ 19

You might also like