You are on page 1of 54

กรณีศึกษา

อาการคันตามลาตัว

นายกฤตณัฐ ไชยนา รหัสนิสิต 59057501


นิสิตสาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ชั้นปี ที่ 4
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ปีการศึกษา 2562
วัตถุประสงค์

1. เพื่อศึกษาอาการคันตามผิวหนังเพื่อนามาวินิจฉัย ตรวจร่างกาย การรักษาและการให้


คาแนะนาตามหลักการแพทย์แผนไทย
2. เพื่อศึกษาอาการคันตามผิวหนัง ทางแพทย์แผนปัจจุบัน เพื่อนามาเทียบเคียงโรคทาง
แพทย์แผนไทยและนามาวินิจฉัย ตรวจร่างกาย ให้การรักษาและคาแนะนาได้อย่างถูกต้อง
3. เพื่อศึกษาหาแนวทางการรักษา ดูแล ป้องกัน หลีกเลี่ยงปัจจัยที่ทาให้เกิดอาการซาอีก
4. เพื่อศึกษาแนวทางอื่นๆที่สามารถรักษาอาการได้อย่างหลาหลาย
ข้อมูลทั่วไป
ผู้ป่วยเพศ ชาย อายุ 48 ปี

วันเดือนปีเกิด (แบบสากล) : วันพุธที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2514


15
วันเดือนปีเกิด (แบบไทย) : วันพุธ ขึน 15 ค่า เดือน 8 ปี กุน (4 ฯ 8 ปีวอก)

เชือชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ

ภูมิลาเนาเดิม : จังหวัดแพร่

ภูมิลาเนาปัจจุบัน : จังหวัดแพร่

วันเดือนปีที่มารับการรักษา : วันพฤหัสบดีที่ 11 กุมภาพันธ์ 2563 (วันอังคาร แรม 3 ค่า เดือน 3 ปี


กุน)

วันเดือนปีท่มี ีอาการ : 8 ปีกอ่ น


ประวัตกิ ารเจ็บป่วย

อาการสาคัญ (Chief Complaint)

ผู้ป่วยมีอาการคันตามผิวหนัง เป็นมา 8 ปี
ประวัตกิ ารเจ็บป่วย

ประวัติปัจจุบัน (Present Illness)


ก่อนมาพบแพทย์ 8 ปี ผู้ป่วยมีอากาการคันบริเวณรอบหนังศีรษะ มีขุยขาวบริเวณรอบๆ จากนั้นอาการคัน
เริ่มลามไปบริเวณคอและต้นแขนทั้ง2ข้าง ลักษณะแผลเป็นแผลนูนเล็กน้อย มีรอยแดงทั่วแผล มีขุยขาวบน
แผลทั่วทั้งแผล มีอาการคันบริเวณเล็บมือและเล็บเท้าร่วมด้วย มีอาการคันมากหลังจากรับประทานอาหาร
แสลง มีอาการเริ่มคันหลังจากทางานขับรถแท็กซี่ในกรุงเทพเป็นเวลานาน เคยได้รับการรักษาทางแพทย์
แผนปัจจุบันอาการไม่ดีขึ้น เคยได้รับการรักษาทางแพทย์แผนไทย อากรดีข้นึ เล็กน้อยแต่ไม่หายขาด วันนี้
จึงมารับการรักษากับแพทย์แผนไทย
ประวัตกิ ารเจ็บป่วยในอดีต (Past History)

1. ผู้ป่วยมีโรคประจาตัวเป็นโรคสะเก็ดเงิน ปัจจุบันไม่ได้รับการบรรเทาอาการ
2. ผู้ป่วยปฏิเสธการได้รับอุบัติเหตุ
3. ผู้ป่วยปฏิเสธการได้รับการผ่าตัด
4. ปฏิเสธการแพ้ยาและอาหาร

ประวัติครอบครัว (Family History)


ครอบครัวผู้ปว่ ยปฏิเสธโรคทางพันธุกรรม บุคคลในครอบครัวมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงดี
ประวัตสิ ่วนตัว (Personal History)

1. รับประทานอาหารวันละ 3 มือ ไม่ตรงเวลา ชอบรับประทานอาหารรสจืดไม่ปรุง


2. ดื่มนาวันละ 4-5 แก้ว ปฏิเสธการดื่มชาหรือกาแฟ
3. ปัสสาวะวันละ 4-5 ครัง ไม่มีอาการแสบขัด
4. อุจจาระวันละ 2-3 ครัง ไม่มีอาการถ่ายลาบาก ท้องผูก ถ่ายเหลว
5. นอหลับวันละ 6-7 ชั่วโมง สามารถนอนหลับได้สนิท ไม่มีอาการสะดุ้งตื่นกลางดึก
6. ปฏิเสธการออกกาลังกาย
7. ดื่มแอลกอฮอล์ตามเทศกาล
8. เคยสูบบุหรี่ ปัจจุบันเลิกมาได้ 4 ปีแล้ว
สัญญาณชีพ (Vital Sign)
อุณหภูมิ (Temperature) 36 องศาเซลเซียส
อัตราการหายใจ (Respiration Rate) 19 ครัง/นาที
อัตราการเต้นของชีพจร (Pulse Rate) 81 ครัง/นาที
ความดันโลหิต (Blood Pressure) 119/90 มิลลิเมตรปรอท

ดัชนีมวลกาย (BMI)
นาหนัก 52 กิโลกรัม
ความสูง 150 เซนติเมตร
ดัชนีมวลกาย (BMI) 21.71 กิโลกรัม/เมตร2
แปลผล สมส่วน
การตรวจสภาพร่างกายทั่วไป
สภาพทั่วไป ผู้ป่วยชายไทย มีรูปร่างสมส่วน มีสติดี สามารถเดินมารับการรักษาเองได้ สามารถพูดคุย
โต้ตอบได้
การตรวจสภาพร่างกายทั่วไป
ศีรษะ ผู้ป่วยมีขุยขาวรอบศีรษะและภายในหนังศีรษะ
ใบหน้า ไม่มีอาการบวม ซีด คลา
ตา ผู้ปว่ ยไม่ได้สวมใส่แว่นตา สามารถมองเห็นได้ชัดเจน
หู สามารถได้ยินชัดเจน ไม่มีบาดแผล บวม ชา
ปากและคอ ไม่มีบาดแผล บวม แดง ชา
ปอด อัตราการหายใจสม่าเสมอ ไม่มีเหนื่อยหอบ
หัวใจ อัตราการเต้นของหัวใจสม่าเสมอ
ท้อง ผู้ปว่ ยไม่มีรอยผ่าตัด บวม ชา
ผิวหนัง ผู้ป่วยมีแผลเกาบริเวณ กลางหลัง ต้นแขนและหลังหู
ขาและเท้า เล็บมือและเล็บเท้าไม่เรียบ ขรุขระ มีรอยดาเป็นแถบบนเล็บและมีรอยแผลบริเวณเข่าข้าง
ขวา
การตรวจเฉพาะที่ (บริเวณที่มอี าการ)
พบผื่นแดงมีขุยสีขาว ลักษณะเป็นปื้น ขอบชัดไม่นูน ไม่มีมตี ุ่มนา กระจายอยู่ทั่ว
บริเวณรอบศีรษะ หนังศีรษะ หลังหู กลางหลัง ต้นแขนและเข่า
ปัญหาที่พบ
ปัญหาหลัก : 1. มีอาการคันตามแผลและขุยขาวตามศีรษะ แขน กลางหลัง ต้นแขนและเข่า
2. มีแผลจากการเกาแดง ขุยขาวบนแผล
3. เคยได้รับการรักษาทังการแพทย์แผนไทยและแพทย์แผนปัจจุบัน แต่อาการไม่ดีขนึ
4. นิวมือและนิวเท้า มีรอยขรุขระไม่เรียบ มีแถบดาบริเวณเล็บทัง 2 ข้าง
ปัญหารอง : 1. ผู้ปว่ ยไม่ออกกาลังกาย
2. ผู้ป่วยยังดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อยู่
3. ผู้ป่วยดื่มนาน้อย
มูลเหตุการณ์เกิดโรค
-เกิดจาการอิรยิ าบถที่อยู่ในที่ปิดไม่มีอากาศถ่ายเท(ขับแท๊กซี)่
-ทางานเกินกาลัง
-การต้องร้อนต้องเย็น
สมุฏฐานการเกิดโรค
ธาตุเจ้าเรือน
ธาตุเจ้าเรือนตามวันเกิด (ตามคัมภีร์ฉันทศาสตร์)
วันพุธ : อาโปธาตุเป็นเจ้าเรือน
วันเกิด ธาตุสมุฏฐาน
วันจันทร์และวันพฤหัสบดี ปถวีธาตุเป็นเจ้าเรือน
วันอังคารและราหู(วันพุธกลางคืน
วาโยธาตุเป็นเจ้าเรือน
)
วันพุธและวันศุกร์ อาโปธาตุเป็นเจ้าเรือน

วันเสาร์และวันอาทิตย์ เตโชธาตุเป็นเจ้าเรือน
สมุฏฐานการเกิดโรค
ธาตุเจ้าเรือน
ธาตุเจ้าเรือนเดือนเกิด (ตามคัมภีร์ปฐมจินดา)
เดือนกรกฏาคม : อาโปธาตุเป็นเจ้าเรือน

เดือนสากล ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.

เดือนเกิดไทย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

เดือนปฏิสนธิ 5 6 7 8 9 10 11 12 1 2 3 4

วาโยธาตุเป็นเจ้า อาโปธาตุเป็นเจ้า ปถวีธาตุเป็นเจ้า


ธาตุสมุฏฐาน เตโชธาตุเป็นเจ้าเรือน
เรือน เรือน เรือน
สมุฏฐานการเกิดโรค

อุตุสมุฏฐาน

เมื่อมาพบแพทย์ : วันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563


เมื่อมีอาการ : 8 ปีกอ่ น
ฤดู 3 (ตามคัมภีร์เวชศึกษา)
: ตรงกับวันอังคาร แรม 3 ค่า เดือน 3 ปี กุน อยู่ในฤดู เหมันตฤดู
(วันแรม 1 ค่า เดือน 12 ถึงวันขัน 15 ต่า เดือน 4)
สมุฏฐานการเกิดโรค

อายุสมุฏฐาน (ตามคัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัย)

ผู้ป่วยอายุ 52 ปี อยู่ในปัจฉิมวัย (อายุ 30 ปีถึงอายุขัย) มีวาตะเป็นสมุฏฐาน

ช่วงอายุ วัย สมุฏฐาน

0 – 16 ปี ปฐมวัย เสมหะเป็นสมุฏฐาน

16 – 30 ปี มัชฌิมวัย ปิตตะเป็นสมุฏฐาน

30 ปี - อายุขัย ปัจฉิมวัย วาตะเป็นสมุฏฐาน


สมุฏฐานการเกิดโรค
การวินิจฉัยทางการแพทย์แผนไทย
ตามตรีธาตุสมุฏฐาน วาตะกาเริบ ปิตตะกาเริบ เสมหะหย่อน
ตามธาตุ 4 พิการ อุทธังคมาวาตากาเริบ สันตัปปัคคีกาเริบ ปุพโพหย่อน
ตามสมุฏฐาน เบญจอินทรีย์ กายโรโค คือ พหิทธโรโค
ตามคัมภีร์ หรือหมอสมมติ เรือนมูลนก ตามคัมภีร์วถิ ีกุฏฐโรค
สมุฏฐานการเกิดโรค
ธาตุสมุฏฐาน
ปถวีธาตุ : ตะโจพิการ มังสังพิการ
อาโปธาตุ : วสากาเริบ
เตโชธาตุ : สันตัปปัคคีกาเริบ
วาโยธาตุ : ลมอุทธังคมาวาตาและลมอโธคมาวาตากาเริบ
เทียบโรคทางการแพทย์แผนไทย
การเปรียบเทียบโรคที่มีความใกล้เคียงกัน

โรค เรื้อนมูลนก เรื้อนวิมาลา เรื้อนกวาง เรื้อนดอกหมาก

ตามคัมภีร์ พระคัมภีร์วิถีกุฐโรค พระคัมภีร์วิถีกุฐโรค พระคัมภีร์วิถีกุฐโรค พระคัมภีร์วิถีกุฐโรค

ผุดเป็นแว่นวงตามผิวหนัง สี บังเกิดขึนที่หูและกาด้น บังเกิดตามข้อมือ ข้อ ผุดขึนเป็นขาวๆคล้าย


ขาวนุงๆ ขอบนูนๆ เล็กบ้าง ต้นคอ ทาให้เปื่อย เท้าและกาด้นต้นคอ ทา ดอกหมาก เมื่อเหงื่อ
ใหญ่บา้ ง คล้ายกลาก ทาให้ พุพอง ให้คันมีสัณฐาน ให้เป็นนาเหลืองลาม ออกจะทาให้คัน เกาจน
คัน นานเข้าลามทั่วตัว ดุจมะเร็งไร ยิ่งเกายิ่ง ออกไป ครันต้องยาเข้า นาเหลืองซึม จึงหายคัน
ลักษณะอาการ คัน ครันวางยาแล้ว ทา ก็แห้ง บางทีก็หายขาด
ให้แสบร้อนตามที่เกา บางทีก็ไม่หาย แต่ไม่
ลักษณะของวิมาลานี ตายเป็นเพียงลาบาก
หายมากกว่าไม่หาย
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างธาตุกับการเกิดโรค
มูลเหตุการณ์เกิดโรค ธาตุไฟ  ธาตุลม 
- อิริยาบถ
- ทางานเกินกาลัง
เมื่อไฟถูกกระตุ้นจากมูลเหตุ ทาให้ไฟพัด ธาตุลมโดนกระตุ้นจากธาตุไฟทาให้ลมโดน
- -ต้องร้อนต้องเย็น
จากเบื้องล่างขึ้นเบื้องบนตามธรรมชาติ ไฟพัดพาขึ้นไปยังศีรษะตามธรรมชาติของ
ของไฟ(สันตัปปัคคี) ส่งผลให้บริเวณศีรษะ ลม(ลมอุทธังคมาวาตา) ทาให้เกิดอาการ
เกิดความแห้ง คันบริเวณศีรษะ

ธาตุลม  ธาตุไฟ 

ธาตุลมโดนกระตุ้นอีกครั้งจากธาตุไฟทาให้ ธาตุลมวกกลับมากระตุ้นไฟอีกครั้ง ตามธรรมชาติ


ลม(ลมอโธคมาวาตา) โดนไฟพัดพา ของลมทาให้ธาตุไฟ(ไฟสันตัปปัคคี)มีกาลังเพิม่ ขึ้น
วกกลับลงมาด้วย ส่งผลให้อาการคันจาก ส่งผลให้บริเวณที่มีอาการคันและความแห้ง
ศีรษะลงมายังบริเวณคอ แขน หลังและ เพิ่มขึ้นและตามธรรมชาติของไฟทีส่ ามารถ
ท้องด้วย วกกลับมาได้เอง ทาให้รอยแดงและความแห้ง
กระจายไปยังบริเวณคอ ต้นแขน หลัง เข้า นิ้วมือ
และนิ้วเท้า
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างธาตุกับการเกิดโรค

ธาตุน้า ธาตุดิน (พิการ)

เมื่อธาตุไฟและธาตุลมกาเริบขึ้นพร้อมกัน
กระทบถึงธาตุดิน (ตะโจและมังสัง)ทาให้
ส่งผลให้ธาตุน้าหย่อน(วสา) เพิ่มความแห้ง
แผ่นขุยขาวทั่วแผลและมีความแห้งของ
และขุยขาวบริเวณศีรษะ คอ ต้นแขน หลัง
แผล
เข้า นิ้วมือและนิ้วเท้า

อาการ

1. เกิดขุยขาวและความแห้งบริเวณศีรษะต้นแขน หลัง เข้า นิ้วมือและนิ้วเท้า


2. เกิดอาการคันบริเวณรอยขุยขาวและบริเวณทีแ่ ห้ง
3. รอยขุยขาวและอาการคันมีการลุกลามไปยังบริเวณอื่นๆ
การวินิจฉัย
โรคสะเก็ดเงิน

โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis) เป็นโรคผิวหนังเรือรังที่เกิดจากการแบ่งตัวผิดปกติของเซลล์


ผิวหนังอย่างรวดเร็วกว่าปกติโดยการกระตุน้ ของสารเคมีจากเซลล์เม็ดเลือดขาวที่เรียกว่า ลิมโฟไซต์ (L
ymphocytes) ชนิดเซลล์ที (T-cell) ทาให้เกิดการอักเสบจนเกิดเป็นผื่นหนาขนาดใหญ่ มีลักษณะสีเงิน
และแดงที่ผิวหนังได้ทั่วร่างกาย โรคนีสามารถเกิดได้ในคนทุกเพศทุกวัย
การวินิจฉัย

อาการของโรคสะเก็ดเงิน

ผู้ป่วยจะมีอาการที่แตกต่างกันออกไปตามชนิดของโรคสะเก็ดเงินที่ผู้ปว่ ยเป็น ความ


ผิดปกติที่พบได้บ่อยตามร่างกาย เช่น ผิวหนังมีลักษณะแดง ตกสะเก็ดเป็นขุยสีขาว เป็นผื่นแดงนูน เกิด
การอักเสบของผิว ผิวแห้งมากจนแตกและมีเลือดออก หนังศีรษะลอกเป็นขุย เล็บมือและเท้าหนาขึน มี
รอยบุ๋ม ผิดรูปทรง ปวดข้อต่อและมีอาการบวมตามข้อต่อ และยังทาให้ผู้ปว่ ยมีอาการเจ็บ คัน หรือ
รู้สึกแสบร้อนบริเวณผิวหนัง ซึ่งการดาเนินของโรคแต่ละชนิดมีความคล้ายคลึงกัน อาการอาจคงอยู่
นานหลายวันไปจนถึงหลายสัปดาห์ แล้วค่อย ๆ บรรเทาลง แต่เมื่อมีส่งิ มากระตุน้ ก็อาจทาให้อาการ
ของโรคกาเริบขึนมาได้ อย่างไรก็ตาม ในรายที่อาการไม่กาเริบอาจอยู่ในระยะสงบของโรค จึงทาให้
ผู้ป่วยไม่พบอาการผิดปกติท่แี สดงออกมา
การวินิจฉัย
ชนิดของโรคสะเก็ดเงิน
1. โรคสะเก็ดเงินชนิดผื่นหนาหรือปื้นหนา (Plaque Psoriasis/Psoriasis Vulgaris) เป็นชนิดที่พบมาก
ที่สุดประมาณ 80% บริเวณผิวหนังจะมีลักษณะเป็นผื่นแดงหนาคลุมด้วยสีเงิน ส่วนใหญ่มักเกิดกับผิวบริเวณ
ข้อศอก หัวเข่า และหนังศีรษะ
2. โรคสะเก็ดเงินชนิดผื่นขนาดเล็ก (Guttate Psoriasis)
3. โรคสะเก็ดเงินชนิดที่มีตุ่มหนอง (Pustular Psoriasis)
4. โรคสะเก็ดเงินชนิดเกิดตามข้อพับ (Inverse Psoriasis/Intertriginous Psoriasis)
5. โรคสะเก็ดเงินชนิดผื่นแดงลอกทั่วตัว (Erythrodermic Psoriasis)
การวินิจฉัย

สาเหตุการเกิดโรคสะเก็ดเงิน

โรคสะเก็ดเงินยังไม่พบสาเหตุการเกิดที่แน่ชัด แต่คาดการณ์วา่ ปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดการ


พัฒนาของโรคขึนได้อาจมาจากเซลล์เม็ดเลือดขาวในระบบภูมิคุ้มกันเกิดความผิดปกติ จึงได้ทาลายเซลล์
ผิวหนังแทนสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสูร่ า่ งกาย และอีกปัจจัยมาจากการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ของคนใน
ครอบครัวที่เป็นโรคสะเก็ดเงินและโรคผิวหนังอื่น ๆ นอกจากนียังมีปัจจัยภายนอกที่ชว่ ยกระตุน้ ให้เกิดโรคได้
เช่น การบาดเจ็บบริเวณผิวหนัง การติดเชือเอชไอวี การใช้ยารักษาโรคหัวใจและความดันสูง หรือ
ความเครียด ซึ่งปัจจัยที่เป็นตัวกระตุน้ เหล่านีจะแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล
การรักษาโรค
การวางแผนการรักษา

1 2 3 4

ทาการขับพิษออกจาก ทาการปรับสมดุล ทาการรักษาแผลที่เกิด ทาการบารุงและรักษา


ร่างกายออกให้หมด ร่างกายของผู้ป่วยให้เข้า จากอาการคันและลด ธาตุดินให้กลับมา
ที่ อาการคันของผู้ป่วย เหมือนเดิม
การรักษาโรค
วางแผนการรักษา
1. ใช้ยาภายใน (ยาต้มรับประทาน) ที่มีรสสุขุมเพื่อขับพิษและเร่งกาลังให้โรคแสดงออกมาให้หมด

2. ใช้ยาใช้ภายนอก (ยาอาบ) เพื่อรักษาแผลรอยเกาที่ความแดง ขุยขาวลดลง

3. ใช้ยาภายใน (ยาต้มรับประทาน) เพื่อรักษาอาการคันโดยใช้ยารสสุขุมเพื่อปรับธาตุจากภายในและบารุงภายนอก

4. ใช้ยาภายนอก (ยาทา) ใช้ยารสเย็นในการปรับสมดุลธาตุไฟแลธาตุลมให้กลับสู่สภาวะปกติ


การรักษาโรค
การวิเคราะห์ตารับยาปรุงเฉพาะราย (ยาใช้ภายใน)

ตัวยา ตัวยาหลัก ตัวยารอง ยาประกอบ น้าหนัก

ใบมะกา  - - 2

ข่า  - - 2

2
ข้าวเย็นเหนือ  - -
2
ข้าวเย็นใต้  - -
การรักษาโรค
การวิเคราะห์ตารับยาปรุงเฉพาะราย (ยาใช้ภายใน)
หน้าที่ของตัว
ชื่อยา ส่วนที่ใช้ น้าหนัก รสยา สรรพคุณ
ยา

ถ่ายเสมหะและโลหิต ถ่ายพิษ
ยาหลัก มะกา ใบ 2 บาท ขมขื่น ตานซาง ถ่ายพิษไข้ ชักลมเบื้อง
สูงลงเบื้องต่า

แก้ประดง คุดทะราด แก้


ยาหลัก ข้าวเย็นเหนือ หัว 2 บาท มันหวาน
น้าเหลืองเสีย ดับพิษในกระดูก

แก้ประดง คุดทะราด แก้


ยาหลัก ข้าวเย็นใต้ หัว 2 บาท มันหวาน
น้าเหลืองเสีย ดับพิษในกระดูก

ขับลมให้กระจาย แก้กลาก
ยาหลัก ข่า เหง้า 2 บาท เผ็ดร้อนขม
เกลื้อน
การรักษาโรค
การวิเคราะห์ตารับยาปรุงเฉพาะราย (ยาใช้ภายใน)

รูปแบบยา ยาต้ม
วิธีการปรุงยา นาสมุนไพรทังหมด ใส่ลงในหม้อดินเผา หม้อเคลือบ หรือหม้อสแตนเลส โดยเติมนาสะอาดให้
ท่วมยา ใช้เวลาต้มประมาณ 15 นาที หลังต้มเดือดนาลงจากเตา พักไว้ให้เย็น
ขนาดรับประทาน รับประทานวันละ 3 ครัง เช้า กลางวัน และเย็น ครังละประมาณ 1 แก้ว (250 มล.) หลัง
อาหาร
ข้อห้ามและข้อควรระวัง ควรต้มยากินเฉพาะวัน ไม่ควรเก็บค้างคืน ถ้าเก็บต้องนามาอุ่นทุกวัน
หากรับประทานแล้วมีอาการผิดปกติควรหยุดยา และปรึกษาแพทย์
การรักษาโรค
การวิเคราะห์ตารับยาปรุงเฉพาะราย (ยาใช้ภายนอก)

ตัวยา ตัวยาหลัก ตัวยารอง ยาประกอบ น้าหนัก

เสลดพังพอน  - - 2

ทองพันชั่ง  - - 2

ข้าวเย็นเหนือ  - - 2

ข้าวเย็นใต้  - - 2

ช้าพลู -  - 1
การรักษาโรค
การวิเคราะห์ตารับยาปรุงเฉพาะราย (ยาใช้ภายนอก)
หน้าที่ของตัว
ชื่อยา ส่วนที่ใช้ น้าหนัก รสยา สรรพคุณ
ยา

ถ่ายเสมหะและถ่ายพิษไข้ ชักลม
ยาหลัก เสลดพังพอน ใบ 2 บาท ขมขื่น
เบื้องสูงลงเบื้องต่า
แก้ประดง คุดทะราด แก้น้าเหลือง
ยาหลัก ข้าวเย็นเหนือ หัว 2 บาท มันหวาน
เสีย ดับพิษในกระดูก
แก้ประดง คุดทะราด แก้น้าเหลือง
ยาหลัก ข้าวเย็นใต้ หัว 2 บาท มันหวาน
เสีย ดับพิษในกระดูก

ยาหลัก ทองพันชั่ง เหง้า 2 บาท เผ็ดร้อนขม ขับลมให้กระจาย แก้กลากเกลื้อน

ยารอง ช้าพลู ใบ 1 บาท เผ็ดร้อน ขับเสมหะ ทาเสมหะให้งวด


การรักษาโรค

การวิเคราะห์ตารับยาปรุงเฉพาะราย (ยาใช้ภายนอก)

รูปแบบยา ยาต้มอาบ
วิธีการปรุงยา นาสมุนไพรทังหมดใส่ลงในภาชนะหม้อดิน หม้อเคลือบหรือหม้อสตรเลส ใส่ต้มจนท่วม
สมุนไพร ต้มประมาณ 15 นาที พักจนเย็นแล้วนามาอา
วิธีการใช้ นามาอาบบริเวณที่มีแผล ทิงไว้ 15 นาที แล้วจึงอาบนาตามปกติ
ข้อห้ามและข้อควรระวัง หากใช้แล้วแล้วมีอาการผิดปกติควรหยุดยา และปรึกษาแพทย์
การรักษาโรค
การวิเคราะห์ตารับยาปรุงเฉพาะราย (ยาใช้ภายนอก)

ตัวยา ตัวยาหลัก ตัวยารอง ยาประกอบ น้าหนัก

ชุมเห็ดเทศ  - - 2

ทองพันชั่ง  - - 1

ข้าวเย็นเหนือ -  - 2

ข้าวเย็นใต้ -  - 2

ฝาง -  - 1
การรักษาโรค
การวิเคราะห์ตารับยาปรุงเฉพาะราย (ยาใช้ภายนอก)

ตัวยา ตัวยาหลัก ตัวยารอง ยาประกอบ น้าหนัก

มะกา  - - 2

เทียนดา - -  2

เทียนขาว - -  2

คนทา - -  2

สมุลแว้ง - -  1
การรักษาโรค
การวิเคราะห์ตารับยาปรุงเฉพาะราย (ยาใช้ภายนอก)

ตัวยา ตัวยาหลัก ตัวยารอง ยาประกอบ น้าหนัก


1
ชิงชี่ - - 
1
เท้ายายม่อม - - 
1
มะเดื่อชุมพร - - 
1
ย่านาง - - 
การรักษาโรค
การวิเคราะห์ตารับยาปรุงเฉพาะราย (ยาใช้ภายนอก)
หน้าที่ของตัว
ชื่อยา ส่วนที่ใช้ น้าหนัก รสยา สรรพคุณ
ยา

ถ่ายเสมหะและถ่ายพิษไข้ ชักลม
ยาหลัก มะกา ใบ 2 บาท ขมขื่น
เบื้องสูงลงเบื้องต่า
เผ็ดร้อนขม
ยาประกอบ เทียนดา เมล็ด 2 บาท แก้เสมหะ แก้ลม แก้ดีพกิ าร
หอม
เผ็ดร้อนขม
ยาประกอบ เทียนขาว เมล็ด 2 บาท แก้ลมและดีพกิ าร ขับลม
หอม
ดับพิษไข้ รักษาโรคผิวหนัง
ยาหลัก ทองพันชั่ง ใบ 1 บาท เมาเบื่อ
กลาก เกลื้อน
แก้ธาตุพิการ แก้เสมหะและ
ยารอง ฝาง แก่น 1 บาท ขมฝาด
กาเดา
การรักษาโรค
การวิเคราะห์ตารับยาปรุงเฉพาะราย (ยาใช้ภายนอก)
หน้าที่ของตัว
ชื่อยา ส่วนที่ใช้ น้าหนัก รสยา สรรพคุณ
ยา

แก้กลาก แก้เกลื้อน สมาน


ยาหลัก ชุมเห็ดเทศ ใบ 2 บาท เบื่อเอียน
ธาตุ
แก้ประดง คุดทะราด แก้น้าเหลือง
ยารอง ข้าวเย็นเหนือ หัว 2 บาท มันหวาน
เสีย ดับพิษในกระดูก
แก้ประดง คุดทะราด แก้น้าเหลือง
ยารอง ข้าวเย็นใต้ หัว 2 บาท มันหวาน
เสีย ดับพิษในกระดูก

ยาประกอบ สมุลแว้ง เปลือกต้น 2 บาท หอมปร่า แก้ธาตุพิการ

ยาประกอบ คนทา ราก 1 บาท ขมเฝื่อน แก้ไข้ทุกชนิด


การรักษาโรค
การวิเคราะห์ตารับยาปรุงเฉพาะราย (ยาใช้ภายนอก)
หน้าที่ของตัว
ชื่อยา ส่วนที่ใช้ น้าหนัก รสยา สรรพคุณ
ยา

ยาประกอบ ชิ่งชี่ ราก 1 บาท ขมขื่น แก้ไข้เพื่อดีและโลหิต

ยาประกอบ เท้ายายม่อม ราก 1 บาท จืดชื่น ถอนพิษไข้ทุกชนิด

ยาประกอบ มะเดื่อชุมพร ราก 1 บาท ฝาดเย็น แก้ไข้ กระทุ้งพิษไข้

ยาประกอบ ย่านาง ราก 1 บาท จืดขม แก้พิษเมาเบื่อ กระทุ้งพิษไข้


การรักษาโรค
การวิเคราะห์ตารับยาปรุงเฉพาะราย (ยาใช้ภายใน)

รูปแบบยา ยาต้ม
วิธีการปรุงยา นาสมุนไพรทังหมด ใส่ลงในหม้อดินเผา หม้อเคลือบ หรือหม้อสแตนเลส โดยเติมนาสะอาดให้
ท่วมยา ใช้เวลาต้มประมาณ 15 นาที หลังต้มเดือดนาลงจากเตา พักไว้ให้เย็น
ขนาดรับประทาน รับประทานวันละ 3 ครัง เช้า กลางวัน และเย็น ครังละประมาณ 1 แก้ว (250 มล.) หลัง
อาหาร
ข้อห้ามและข้อควรระวัง ควรต้มยากินเฉพาะวัน ไม่ควรเก็บค้างคืน ถ้าเก็บต้องนามาอุ่นทุกวัน
หากรับประทานแล้วมีอาการผิดปกติควรหยุดยา และปรึกษาแพทย์
การรักษาโรค
การวิเคราะห์ตารับยาปรุงเฉพาะราย (ยาใช้ภายนอก)

ตัวยา ตัวยาหลัก ตัวยารอง ยาประกอบ น้าหนัก


1
ยาสูบ  - -
2
ชุมเห็ดเทศ  - -
2
ขีเหล็ก -  -
1
กามะถัน  - -
การรักษาโรค
การวิเคราะห์ตารับยาปรุงเฉพาะราย (ยาใช้ภายนอก)
หน้าที่ของตัว
ชื่อยา ส่วนที่ใช้ น้าหนัก รสยา สรรพคุณ
ยา

เผ็ดขมเมา
ยาหลัก ยาสูบ ใบ 1 บาท ระงับประสาท แก้โรคผิวหนัง
เบื่อ

ยาหลัก ชุมเห็ดเทศ ใบ 2 บาท มันหวาน แก้กลาก แก้เกลื้อน สมานธาตุ

ยารอง ขี้เหล็ก ใบ 2 บาท ขม บารุงโลหิต ดับพิษโลหิต

กามะถัน
ยาหลัก ธาตุวัตถุ 1 บาท เมาฝืด แก้น้าเหลืองเสีย แก้โรคผิวหนัง
เหลือง
การรักษาโรค
การวิเคราะห์ตารับยาปรุงเฉพาะราย (ยาใช้ภายนอก)

รูปแบบยา ยาดองสุรา
วิธีการปรุงยา นาสมุนไพรทังหมดใส่ลงในภาชนะมีฝา ใส่สมุนไพรลงในโถ เทสุราขาว 40 ดีกรีลงไป จนท่วม
สมุนไพร ปิดฝาดองไว้ 7-15 วัน มั่นคนทุกวัน
วิธีการใช้ นามาทาบริเวณที่มอี าการเช้าและเย็นหลังอาบนา
ข้อห้ามและข้อควรระวัง หากใช้แล้วแล้วมีอาการผิดปกติควรหยุดยา และปรึกษาแพทย์
การวิเคราะห์ตารับยาปรุงเฉพาะราย (ยาใช้ภายนอก)
คาแนะนา

1. หลีกเลี่ยงกรรับประทานอาหารแสลง เช่น เนือสัตว์ปีก เครื่องในสัตว์ หน่อไม้

2. มั่นอาบนารักษาความสะอาดของร่างกาย เสือผ้า ของใช้ส่วนตัวรวมไปถึงสถานที่อยู่อาศัย

3. หลีกเลี่ยงการใช้เสือผ้า ผ้าขนหนูหรือเครื่องนุง่ ห่มปะปนกับคนอื่น

4. มั่นทาให้ผิวชุ่มชืน ไม่แห้ง ไม่เกาบริเวณที่มีแผล

5.มั่นออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
การติดตามการรักษา

การรักษาครั้งแรก การติดตามครั้งที่ 1 การติดตามครั้งที่ 2 การติดตามครั้งที่ 3


วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2563 วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2563 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2563 วันที่ 2 มีนาคม 2563
T 36.6 องศาเซลเซียส T 36.2 องศาเซลเซียส T 36 องศาเซลเซียส
PR 18 ครัง/นาที PR 18 ครัง/นาที PR 18 ครัง/นาที
ติดตามทางโทรศัพท์
RR 90 ครัง/นาที RR 90 ครัง/นาที RR 84 ครัง/นาที
BP 124/75 มิลลิเมตรปรอท BP 135/84 มิลลิเมตรปรอท BP 109/75 มิลลิเมตรปรอท
การติดตามการรักษา
การรักษาครั้งแรก การติดตามครั้งที่ 1 การติดตามครั้งที่ 2 การติดตามครั้งที่ 3
วันเดือนปีทรี่ ักษา
อาการ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2563 วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2563 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2563 วันที่ 2 มีนาคม 2563

1. มีขุยขาวขึ้นบริเวณ
- ศีรษะและไรผม  
- ท่อนแขน   
-กลางหลัง    -
- หลังหูทั้ง 2 ข้าง   

2. มีรอยแดงบริเวณ
- ศีรษะและไรผม 
- ท่อนแขน   
-กลางหลัง    -
- หลังหูทั้ง 2 ข้าง  

3. อาการคันตามบริเวณที่มีแผล    -
4. รอยดาบนเล็บมือทั้ง 2 ข้าง    -
5. รอยดาบนเล็บเท้าทั้ง 2 ข้าง    -
ต้นแขนข้างซ้าย

การรักษาครั้งแรก การติดตามครั้งที่ 1 การติดตามครั้งที่ 2


วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2563 วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2563 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2563
ศีรษะและไรผม

การรักษาครั้งแรก การติดตามครั้งที่ 1 การติดตามครั้งที่ 2


วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2563 วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2563 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2563
กลางหลัง

การรักษาครั้งแรก การติดตามครั้งที่ 1 การติดตามครั้งที่ 2


วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2563 วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2563 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2563
นิ้วมือ

การรักษาครั้งแรก การติดตามครั้งที่ 1 การติดตามครั้งที่ 2


วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2563 วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2563 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2563
นิ้วเท้า

การรักษาครั้งแรก การติดตามครั้งที่ 1 การติดตามครั้งที่ 2


วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2563 วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2563 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2563
ปัญหาและอุปสรรค

You might also like