You are on page 1of 18

หัวหินเวชสาร

ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564 Hua Hin Medical Journal

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรสุขภาพในยุคศตวรรษที่ 21
กิติกร วิชัยเรืองธรรม พ.บ.1,2, พิสมัย จารุจิตติพันธ์ ปร.ด.1, เกียรติชัย วีระญาณนนท์ ปร.ด.1
สาขาวิชาการจัดการ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ1
ศูนย์โรคหัวใจรอยัลฮาร์ท โรงพยาบาลหัวหิน2

บทคัดย่อ
ในยุคศตวรรษที่ 21 องค์กรสุ ขภาพเผชิญการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องจากหลายปัจจัย เช่น ภาวะ
โลกาภิวัฒน์ สังคมผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงแบบแผนของโรค การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การเปิด
เสรีและการแข่งขันในตลาดสุขภาพ ความคาดหวังที่เพิ่มขึ้นจากผู้รับบริการ การฟ้องร้องที่มากขึ้น รวมทั้งการ
ผสมผสานระหว่างช่วงอายุของบุคลากรในองค์กร ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ทาให้องค์กรจาเป็นต้องมีการปรับตัวต่อการ
เปลี่ยนแปลง การบริหารทรัพยากรมนุษย์เป็นหนึ่งในกระบวนการที่มีความสาคัญต่อการปรับตัว ดังกล่าว เนื่องจาก
องค์กรสุขภาพมีความจาเพาะซับซ้อนมากกว่าองค์กรทั่วๆ ไป ประกอบด้วยบุคลากรวิชาชีพเฉพาะทางที่หลากหลาย
มารวมกัน การบริหารทรัพยากรมนุษย์นอกจากกระบวนการสรรหา ฝึกอบรม และธารงรักษา แล้วยังต้องคานึงถึง
ด้านต่างๆ อาทิ การเปลี่ยนแปลงทางโลกาภิวัตน์ การเตรียมความพร้อมต่อการเข้าสู่สังคมสูงอายุ การมุ่งเน้นการ
ป้องกัน มากกว่ารั กษาโรค การใช้นวั ตกรรมสารสนเทศ การบริหารทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์เพื่อ เพิ่มความ
ได้เปรียบทางการแข่งขัน กระบวนการทางความคิดของผู้มารับบริการทีม่ ุ่งเน้นการรักษาที่มีคุณภาพอิงหลักฐานเชิง
ประจักษ์ การต้องการความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัว มากขึ้น การตระหนักถึงกระบวนการเหล่านี้ จะทาให้
องค์กรสุขภาพก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงและสร้างข้อได้เปรียบทางการแข่งขันในยุคปัจจุบัน
คาสาคัญ: การบริหารทรัพยากรมนุษย์, องค์กรสุขภาพ, ยุคศตวรรษที่ 21
หัวหินเวชสาร
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564 Hua Hin Medical Journal

Human Resource Management of Healthcare Organization in 21st Century Era


Kitigon Vichairuangthum M.D.1,2, Pisamai Jarujittipant Ph.D.1, Kietchai Veerayannon Ph.D.1
Management Program, Faculty of Political Science, North Bangkok University1
Royal Heart Medical Center, HuaHin Hospital, Thailand2

Abstract
Human resource management has become an important strategic partner and the
management of the same has become a challenging task for Human resource (HR) managers.
Now a day, the role of human resource management departments has become indispensable
for 21st century modern healthcare businesses. This article particularly focuses on changing role
of human resource management practices in 21st century. This theoretical paper aims to
highlight the importance of human resource management, HR practices and its influencing
factors such as globalization, demographic changes (aging, diversity), prevention and disease
management, technological innovation, market competition, consumer mindset of patients,
quality and evidence-based medicine, information technology and decision support system,
security, privacy, and patient safety.
The literature analysis has been conducted to present emerging issues, challenges and
practices of the human resource management discipline of health care organization in context
of the 21st century.
Key words: human resource management (HRM), health care organization, 21st century era
หัวหินเวชสาร
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564 Hua Hin Medical Journal

บทนา ความประทับใจและการยอมรับจากผู้รับบริการ เช่น


การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีส่วนสาคัญใน การรั ก ษาพยาบาลที่ ค รบวงจร การเอาใจใส่ ข อง
การผลั กดัน ให้ องค์กรมีก ารพัฒ นาอย่ างเป็นระบบ แพทย์ พยาบาล ความพร้ อ มด้ า นบุ ค ลากรทาง
และต่ อ เนื่ อ ง ตลอดจนส่ ง เสริ ม ให้ อ งค์ ก รประสบ การแพทย์ ที่ มี ค วามรู้ ความสามารถ และจ านวน
ความส าเร็ จ ในการดาเนิ น งาน องค์กรสุ ขภาพเป็น แพทย์เฉพาะทางที่เพียงพอ 5 จากเหตุผลดังกล่าวทา
องค์กรหนึ่งที่ทรัพยากรมนุษย์เป็นสิ่งสาคัญที่จะทาให้ ให้การบริหารทรัพยากรมนุษย์ คัดเลือก อบรม และ
องค์กรก้าวไปข้างหน้ ารวมถึงสามารถแข่ งขั นได้ 1,2 ธารงรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพในองค์กรสุขภาพจึงมี
การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพจาเป็นต้องมีเพื่อ ความสาคัญ
ตอบสนองความต้องการของคนไข้หรื อผู้รับบริการ บทความนี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เรี ย บเรี ย ง
จะเห็นได้ว่าพฤติกรรมการดาเนินชีวิตที่ใส่ใจสุ ขภาพ ชี้ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ความส าคั ญ ของการบริ ห ารทรั พ ยากร
เป็นแรงผลักดันที่สาคัญที่ทาให้องค์กรสุขภาพแต่ละ มนุษย์ต่อองค์กรสุขภาพ ข้อควรคานึงพิเศษ รวมทั้ง
แห่งต้องปรับการบริการในองค์กรตามพฤติกรรมที่ ความจาเป็นในการปรับการบริหารจัดการขององค์กร
เปลี่ ย นแปลงไป โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง โรงพยาบาล สุขภาพเพื่อให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงและสร้างข้อ
เอกชนซึ่งมีการแข่งขันสูงนั้น ความเชื่อถือและความ ได้เปรียบทางการแข่งขันในยุคปัจจุบัน
เชื่ อ มั่ น ในการบริ ก ารเป็ น สิ่ ง ส าคั ญ ปั จ จุ บั น ในยุ ค การบริหารทรัพยากรมนุษย์กับองค์กรสุขภาพ
ศตวรรษที่ 21 เป็นยุคจากกระแสทุนนิยมที่มีอิทธิพล การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 6 หมายถึง การ
สาคัญต่อการบริหารจัดการในทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะ วางแผนการจัดองค์กร การอานวยการและควบคุม
เป็นภาคธุรกิจ รัฐวิสาหกิจ อุตสาหกรรม รวมทั้งภาค เกี่ยวกับการสรรหา การพัฒนา การจ่ายค่าตอบแทน
สุขภาพ ต่างได้รับอิทธิพลจากกระแสทุนนิยม รวมทั้ง การประสานประโยชน์ การธารงรักษาและการพ้น
ต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องจากอีก จากงานของทรัพ ยากรมนุ ษย์ โ ดยมี จุด มุ่ ง หมายให้
หลายปัจจัย อาทิ ภาวะโลกาภิวัตน์ สังคมผู้สูงอายุ บรรลุ ตามประสงค์ ข องทั้ ง ส่ ว นบุ ค คล องค์ก รและ
การเปลี่ยนแปลงแบบแผนของโรค การเปลี่ยนแปลง สังคม โดยหลักการที่สาคัญของการบริหารทรัพยากร
ด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ การเปิ ด เสรี แ ละการ มนุษย์ คือการจัดบุคลากรเข้าทางานให้เหมาะสมกับ
แข่งขันในตลาดสุขภาพ ความคาดหวังที่เพิ่มขึ้นจาก งานโดยมุ่งตอบสนองวัตถุประสงค์ห ลั ก คือการใช้
ผู้ รั บ บริ ก าร การฟ้ อ งร้ อ งที่ ม ากขึ้ น รวมทั้ ง การ ทรัพยากรมนุษย์ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ผสมผสานระหว่างช่ว งอายุ ของบุ คลากรในองค์กร องค์กรสุขภาพเป็นองค์กรที่ทรัพยากรมนุษย์
การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ทาให้โรงพยาบาลจาเป็นต้อง มีความสาคัญ และมีความจาเพาะซับซ้อนกว่าองค์กร
ปรั บ เปลี่ ย นการบริ ห ารจั ด การของตนเองเพื่ อ ให้ อื่ น เนื่ อ งจากเป็ น องค์ ก รที่ มี วิ ช าชี พ เฉพาะทางที่
สามารถแข่งขันและสร้างความเติบโตขององค์กร 3,4 หลากหลายมารวมกัน ปกติมิได้หมายความถึงเฉพาะ
ส่งผลให้โรงพยาบาลจาเป็นต้องหากลยุทธ์ในรูปแบบ แพทย์ แ ละพยาบาลที่ ใ ห้ ก ารดู แ ลผู้ ป่ ว ย (Health
ต่ า งๆ มาใช้ เ พื่ อ ดึ ง ดู ด ให้ มี ผู้ ม าใช้ บ ริ ก ารมากขึ้ น care provider) เท่านั้น แต่ยังหมายรวมถึงบุคลากร
นอกจากท าเลที่ ตั้ ง และอุ ป กรณ์ ท างการแพทย์ ที่ สุ ข ภาพกลุ่ ม สนั บ สนุ น บริ ก าร (Administrative
ทันสมัยแล้ว ปัจจุบันหันมามุ่งเน้นการให้บริการด้าน professional) ด้วย เช่น นักการเงินในโรงพยาบาล
การรั ก ษาพยาบาลโดยเน้ น ด้ า นทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ พนั ก งาน คนงาน ช่ า งเทคนิ ค 7 ซึ่ ง แต่ ล ะอาชี พ มี
บุ คลากรทางการแพทย์ ที่ มีคุณ ภาพ เน้ น การสร้า ง สภาวิชาชีพกากับ เช่น แพทยสภา สภาการพยาบาล
หัวหินเวชสาร
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564 Hua Hin Medical Journal

สภาเภสัชกรรมและอื่นๆ นอกจากนี้องค์กรสุขภาพยัง จี น ที่ ส นใจเปิ ด ศู น ย์ รั ก ษาผู้ มี บุ ต รยากเพื่ อ รองรั บ


มีหน้าทีร่ ักษาผู้ที่มีความเจ็บป่วยเกี่ยวข้องกับสุขภาพ ความต้ อ งการของลู ก ค้ า ชาวจี น ที่ นิ ย มเข้ า มาใช้
และชีวิตผู้ป่วย จึงมีความเสี่ยงต่อการถูกฟ้องร้องที่ บริการดังกล่าวในไทย ส่งผลให้จานวนโรงพยาบาล
มากขึ้นในปัจจุบัน8 และเตียงผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอีกมาก โดยคาดว่า
หลายองค์ ก รสุ ข ภาพได้ น าการบริ ห าร ภายในปี พ.ศ. 2564 จะมีจานวนเตียงเพิ่มอีกไม่น้อย
ทรัพยากรมนุ ษย์ไปใช้ใน 3 กิจกรรมหลัก ซึ่งต้องมี กว่ า 1,000 เตี ย งจากประมาณ 40,000 เตี ย งในปี
ความจาเพาะในแต่ละกิจกรรมคือ (1) การสรรหาและ พ.ศ. 256110 การที่มีการเปิดโรงพยาบาลเพิ่มมากขึ้น
คัดเลือกบุคลากรที่มีความสามารถ (2) การฝึกอบรม และการย้ า ยแรงงานเสรี จ ะท าให้ เ กิ ด การแย่ ง ตั ว
และพั ฒ นาบุ ค ลากรให้ เ กิ ด ความเชี่ ย วชาญและ แพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ ส่งผลให้ปริมาณ
สอดคล้ องกับ เป้ าหมายองค์กร (3) การธารงรักษา บุคลากรทางการแพทย์ในบางพื้นที่ไม่เพียงพอมีการ
บุคลากรเพื่อให้เกิดความผูกพันจงรักภักดีต่อองค์กร ลาออกย้ายงานสูงโดยเฉพาะโรงพยาบาลภาครัฐเกิด
และเกิดวัฒนธรรมองค์กรที่ดี ปัญหาการกระจายตัวในเรื่องนี้ภาครัฐควรมีนโยบาย
จะเห็นได้ว่าการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่ดี การเร่งรัดผลิ ตและพัฒ นาบุคลากรให้เพียงต่อการ
สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้ได้ด้วยการสนับสนุนให้ทุก ปฏิบัติงานในสถานพยาบาล การธารงรักษาบุคลากร
หน่วยงานในองค์กรสุขภาพมีระบบการปฏิบัติงานที่ดี โดยการสร้างแรงจูงใจขวัญกาลังใจให้มีความก้าวหน้า
สร้ า งมู ล ค่ า ให้ อ งค์ ก รได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ในอาชีพ เป็นบทบาทการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่
ยั่งยืนก่อให้เกิดความได้เปรียบเชิงแข่งขันขององค์กร9 ต้องผลักดันให้จานวนบุคลากรเพียงพอในองค์กร
การเปลี่ ยนแปลงในยุค ศตวรรษที่ 21 ต่ อองค์ก ร 2. การเพิ่ ม ขึ้ น ของประชากรสู ง อายุ
สุขภาพ เนื่ อ งจากปั จ จุ บั น ประเทศไทยก าลั ง เข้ า สู่ สั ง คม
ในศตวรรษปั จ จุ บั น องค์ ก รสุ ข ภาพ มี ก าร ผู้ สู งอายุ ทาให้ เ กิดอุปสงค์ด้านการรักษาพยาบาล
เปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่องรวมทั้งการ ผู้ป่วยกลุ่มนี้สูงขึ้น การเข้าสู่สั งคมผู้สูงอายุ จะหนุน
เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้ นในอนาคตล้วนก่อให้เกิดผล ความต้องการใช้บริการทางการแพทย์ที่ซับซ้อนและ
ต่อการบริหารจัดการดังนี้ เทคโนโลยีขั้นสูงมากขึ้นโดยสานักงานสภาพัฒนาการ
1. โลกาภิ วั ต น์ แนวโน้ ม การเปิ ด เสรี เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คาดว่าผู้ที่อายุมากกว่า
โดยเฉพาะอาเซียนทาให้ มีการเคลื่อนย้ายแรงงานสู่ 60 ปีขึ้นไปของไทย จะเพิ่มขึ้นจาก 11.2 ล้านคนในปี
ตลาดใหม่ เป็นที่ทราบกันดีว่าการเคลื่อนย้ายบริการ พ.ศ. 2560 เป็ น 13.1 ล้ า นคน ปี พ .ศ. 2564 และ
และแรงงานฝีมืออย่างเสรี ซึ่งอนุญาตให้ผู้ประกอบ สัดส่วนผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพจะอยู่ที่ ประมาณ
วิชาชีพด้านการแพทย์ ทันตแพทย์และการพยาบาล 60% ด้านกระทรวงสาธารณสุ ขประเมินค่าใช้จ่า ย
สามารถเดินทางไปประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียน ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นเป็น 22.8 หมื่น
ได้อย่ างเสรี ได้ส ร้ างความกังวลว่าจะก่อให้เกิดการ ล้านบาท (2.8% ของGDP) ในปีพ.ศ. 2565 จาก 6.3
ขาดแคลนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข หมื่ น ล้ า นบาท ในปี พ .ศ. 2553 (2.1% ของ GDP)
ในประเทศ ซึ่งจะทาให้ประชาชนคนยากจนประสบ (จากแผนพั ฒ นาสุ ข ภาพแห่ ง ชาติ ฉ บั บ ที่ 12 พ.ศ.
ปั ญ หาการเข้ า ถึ ง การรั ก ษาพยาบาลที่ มี คุ ณ ภาพ 2560-2564)10 ในขณะที่ อั ต ราการเจริ ญ พั น ธุ์ ร วม
นอกจากนี้ยังมีโรงพยาบาลเปิดใหม่ในไทยเพิ่มมาก ของประชากรไทยในปี พ.ศ. 2559 อยู่ที่ 1.62 ซึ่งต่า
ขึ้นนอกจากกลุ่มทุนไทยยังมีทุนต่างประเทศโดยเฉพาะ กว่าระดับทดแทนประชากรและคาดการณ์ว่าในปี
หัวหินเวชสาร
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564 Hua Hin Medical Journal

พ.ศ. 2583 อัตราการเจริญพันธุ์รวมอาจลดลง เหลือ หรือประมาณ 320,000 คนต่อปี เฉลี่ยชั่วโมงละ 37


เพีย ง 1.3 ทาให้ ป ระชากรวั ย เด็ก และวัยแรงงานมี คน อั น ดั บ หนึ่ ง คื อ โรคหลอดเลื อ ดสมองคิ ด เป็ น
จานวนลดลงจนส่งผลต่อจานวนแรงงาน ร้อยละ 4.59 หรือประมาณ 28,000 คน รองลงมาคือ
ปั จ จุ บั น ผู้ สู ง อายุ มี ศั ก ยภาพเพิ่ ม ขึ้ น จาก โรคหัวใจขาดเลือด โรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง
เมื่อก่อนมาก และยังคงมีความสามารถในการทางาน เบาหวานและความดั น โลหิ ต สู ง ตามล าดั บ โดยมี
อยู่ เ ช่ น กั น ประกอบกั บ องค์ ก รสุ ข ภาพต้ อ งการ แนวโน้ ม การเสี ย ชี วิ ต เพิ่ ม ขึ้ น ส่ ว นมากเป็ น กลุ่ ม
บุคลากรที่มีประสบการณ์เฉพาะทางและความรู้ซึ่ง ประชากรวัยทางานส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโต
สั่งสมจากประสบการณ์ทางานตามเวลา หลายองค์กร ทางเศรษฐกิจสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการรับประทาน
จึงรับมือปัญหานี้ภายในองค์กรของตนด้ วยการขยาย อาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
อายุการทางานออกไป เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ครบกาหนด สูบบุหรี่ มีกิจกรรมออกกาลังกายไม่เพียงพอ จากการ
อายุงานยังสามารถทางานต่อได้ หรือบางองค์กรอาจ สารวจสุขภาพคนไทยด้วยการตรวจร่างกาย พ.ศ. 255713
จัดการเป็นรายบุคคลไปด้วยการทาสัญญาจ้างพิเศษ พบว่ามีความชุกของผู้มีภาวะน้าหนักเกินเพิ่มขึ้นเป็น
เพื่อจัดจ้างบุคลากรสูงอายุที่องค์กรอยากให้ร่วมงาน ร้อยละ 38.5 และมีผู้อยู่ในภาวะอ้วนร้อยละ 10.9
กันต่อ รวมทั้งวางแผนสรรหาบุคลากรทดแทนใหม่ เช่นเดียวกับจานวนผู้มีความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
องค์ ก รต้ อ งวางแผนการจั ด การบริ ห ารทรั พ ยากร เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 24.7 และร้อยละ 8.9 ตามลาดับ
บุคคลให้ครบกระบวนการ ซึ่งเมื่อใกล้ถึงกาหนดวาระ การเปลี่ ยนแปลงแบบแผนโรคดังกล่ าวซึ่งส่ง ผลให้
ที่บุคลากรสูงอายุจะครบอายุการทางานก็ให้เตรียม ความต้องการในการรับการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น
สรรหาบุ ค ลากรใหม่ ขึ้ น มาเพื่ อ ท างานดั ง กล่ า วนั้ น ตามไปด้วย12,14
โดยต้ อ งดู ค วามเหมาะสมของต าแหน่ ง งานกั บ จะเห็น ได้ว่า ในยุค ศตวรรษที่ 21 องค์ก ร
คุ ณ สมบั ติ ที่ จ ะสรรหาให้ ดี องค์ ก รโดยเฉพาะฝ่ า ย สุ ข ภาพเผชิ ญ การเปลี่ ย นแปลงอย่ า งต่ อ เนื่ อ งจาก
บุคคลควรให้ ความสนใจในการเชื่อมความสัมพันธ์ หลายปั จ จั ย อั น ได้ แ ก่ ค วามคาดหวั ง ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จาก
ต่างวัยด้วย อาจเป็นการจัดกิจกรรมละลายพฤติกรรม ผู้รับบริการ การฟ้องร้องที่มากขึ้น การผสมผสาน
การจัดกิจกรรมกลุ่ม หรือการสร้างความรับผิดชอบ ระหว่างช่วงอายุของบุคลากรในองค์กร การแข่งขันใน
ร่วมกัน เพื่อให้บุคลากรต่างวัยได้ทางานร่วมกันอย่าง ตลาดสุขภาพ การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
มีความสุข เข้าใจซึ่งกันและกันและสามารถช่วยเหลือ การเปิดเสรีตลาดสุขภาพ ภาวะโลกาภิวัฒน์ ปัจจัยต่างๆ
เกื้อกูลกันได้11 ดังที่กล่าวมาข้างต้นเหล่านี้ ทาให้องค์กรจาเป็นต้องมี
3. การเปลี่ยนแปลงแบบแผนโรค ซึ่งจะพบ การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง
โรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากขึ้น เช่น เบาหวาน ความดัน 4. การเปลี่ ย นแปลงด้ า นเทคโนโลยี
โลหิตสูงและโรคหัวใจ เป็นต้น จากสถิติ12 พบว่ากลุ่ม ความก้ า วหน้ า ของเทคโนโลยี ที่ เ ปลี่ ย นแปลงแบบ
โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตไม่น้อย ก้ า วกระโดดในปั จ จุ บั น มี ก ารใช้ อิ น เตอร์ เ นตและ
กว่า 36 ล้านคนทั่วโลกในแต่ละปีหรือคิดเป็นสัดส่วน คอมพิวเตอร์ทาให้บุคลากรทางการแพทย์ต้องปรับตัว
ร้อยละ 63 ของสาเหตุการตายทั้งหมด คาดประมาณ ให้ทัน เช่น แพทย์จะต้องบันทึกประวัติและการตรวจ
ความสู ญ เสี ย ทางเศรษฐกิ จ ในช่ ว ง 15 ปี ข้ า งหน้ า ร่างกายผู้ ป่วยในคอมพิวเตอร์ (การบั นทึ กทะเบี ยน
ประมาณ 7 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ สาหรับประเทศ ผู้ป่วยแบบระบบอิเล็กทรอนิกส์) หลายองค์กรใช้ระบบ
ไทยมีผู้เสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังถึงร้อยละ 75 ปราศจากกระดาษ (Paperless) ในการบันทึกข้อมูล
หัวหินเวชสาร
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564 Hua Hin Medical Journal

ทุกชนิดในคอมพิวเตอร์แทน มีการใช้ระบบสารสนเทศ เป้ าหมายได้ อย่ างมี ประสิ ทธิ ภาพ ส่ ว นการแข่ ง ขั น
(Hospital Information System) ในการกาหนดตาราง ระหว่างประเทศเพื่อดึงผู้ป่วยชาวต่างชาติ พบว่ามีการ
ทางานหรือการประชุมทางระบบออนไลน์ (Online) แข่ ง ขั น มากขึ้ น เช่ น กั น เพราะในปั จ จุ บั น มี ห ลาย
และสามารถแชร์ เ อกสารร่ ว มทางระบบคลาวด์ ประเทศ ที่มีนโยบายสร้างรายได้ โดยการสนับสนุน
(Cloud) รวมทัง้ ระบบการนัดหมายผู้ป่วยออนไลน์ ธุรกิจบริการรักษาพยาบาลให้กับชาวต่างชาติ เช่นกัน
ในแวดวงการแพทย์ โรงพยาบาลหลายแห่ง โดยเฉพาะโรงพยาบาลเอกชนของประเทศต่างๆ ใน
ในประเทศไทยมีการปรับตัวด้านเทคโนโลยีเช่นกัน เอเชี ย เช่ น จี น ที่ จ ะพั ฒ นามณฑลไห่ ห นานเป็ น
เช่น โรงพยาบาลราชวิถี เริ่มทดลองนาแอพพลิเคชัน “ศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ ” เพื่อดึงดูด
จองคิวร้านอาหาร Que Q มาประยุกต์ใช้กับคิวของ ผู้ ป่ ว ยต่ า งประเทศและผู้ ป่ ว ยจี น ที่ นิ ย มใช้ บ ริ ก าร
ห้องตรวจนอก สามารถดูคิวออนไลน์ผ่านแอพพลิเคชั่น แพทย์ในต่างประเทศ นอกจากนี้ กลุ่ ม "พาร์คเวย์
ได้ ทาให้ คนไข้ส ามารถประเมิน เวลาที่ต้องรอและ แพนไท" โรงพยาบาลเอกชนของสิงคโปร์ยังประกาศ
สามารถไปทาอย่างอื่นในระหว่างนั้นได้ นอกจากนี้ยัง สร้างโรงพยาบาลขนาด 250 เตียงแห่งแรกในเมียนมาร์
มีตัว อย่ างของกลุ่ มโรงพยาบาลพริ้ นซ์ ที่พัฒ นางาน คาดจะเปิดให้บริการในปี พ.ศ.2563 ส่วนประเทศใน
บุ ค ลากรแบบออนไลน์ ผ่ า นทางแอพลิ เ คชั่ น โดย ตะวันออกกลางซึ่งเป็นลูกค้าหลักของโรงพยาบาลชั้น
บุคลากรในองค์กรสามารถทารายการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง นาในไทยหลายแห่ งหั น มาเปิดโรงพยาบาลเพื่อให้
กับงานด้านบุคคลแบบออนไลน์ผ่านทางแอพลิเคชั่น บริ ก ารคนในประเทศ อาทิ การ์ ต้ า เปิ ด ศู น ย์ ร วม
ที่ติดตั้งบนโทรศัพท์ เช่น ใช้การเช็คอินออนไลน์ผ่าน การแพทย์ (Medical City) ขนาด 559 เตียง (ใกล้เคียง
ระบบแทนการตอกบั ต รเข้ า งาน การอนุ มั ติ วั น ลา กับโรงพยาบาลบารุงราษฏร์) มูลค่า 23,000 ล้านบาท
เป็ น ต้น ทาให้ บุ คลากรในยุ คเก่าต้องปรั บตัว ให้ ทัน ส่ ว นคู เ วตเปิ ด โรงพยาบาลขนาดใหญ่ (Hospital
โดยบางองค์กรมีการจัดอบรมฝึกทักษะใหม่ๆ ด้านนี้ Complex) ขนาด 1,168 เตียง มูลค่า 35,000 ล้านบาท
ในการทางานโดยเฉพาะ15,16 และรัฐบาลสหรัฐอาหรับเอมิเรต์ (UAE) เน้นนโยบาย
5. การแข่งขันในระบบสุขภาพ เนื่องจาก สนับสนุนค่ารักษาพยาบาล ในประเทศเพิ่มขึ้น เป็นต้น
ปัจจุบันมีการแข่งขันในระบบสุขภาพสูง โรงพยาบาล ทุกประเทศต่างก็มุ่งไปที่คนไข้ ชาวยุโ รปและเอเชีย
เอกชนขนาดใหญ่ต้ องเผชิญกับการแข่งขันที่รุนแรง โดยเฉพาะญี่ปุ่น จีน อาเซียนและตะวันออกกลาง ซึ่ง
ระหว่างโรงพยาบาลเอกชนด้วยกันเอง รวมทั้งการ เป็ น กลุ่ ม เป้ า หมายเดี ย วกั บ รั ฐ บาลไทยที่ ไ ด้ เ คย
แข่งขันกับโรงพยาบาลรัฐบาลที่หันมาพัฒนาตัวเอง กาหนดยุท ธศาสตร์ก ารพัฒ นาประเทศไทยให้ ไทย
เพื่อแข่งกับโรงพยาบาลเอกชนมากขึ้น เช่น การให้ เป็นศูนย์กลางการให้บริการด้านสุขภาพของเอเชีย
บริการคลินิกพิเศษในช่วงหลังเวลาทางานปกติ ส่งผล (Medical Hub)17,18 เช่นกัน
ให้ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่มีการปรับกล ท่ามกลางการแข่งขันอาจกล่าวได้ว่าบุคลากร
ยุทธ์ ในการแข่งขัน เช่น การลดราคาค่าห้องพักและ ทางการแพทย์เป็นตัวแปรสาคั ญ ในการพิจารณาถึง
การจัดแพ็คเกจรักษาในราคาประหยัดหรือแบบเหมา ความเชื่อมั่นขององค์กร กลยุทธ์สาคัญในการบริหาร
จ่ายในราคาพิเศษ รวมถึงการสร้ างธุรกิจในรูปของ ทรั พยากรมนุษ ย์คื อการสร้า งสิ่ งจู งใจในการดึง ตั ว
เครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจ โดยผ่านการซื้อหรือควบ บุ ค ลากรทางวิ ช าชี พ ทั้ ง แพทย์ พยาบาล และ
รวมกิจการเพื่อลดต้นทุนการดาเนินงาน ลดค่าใช้จ่าย เจ้ า หน้ า ที่ เ ทคนิ ค ที่ มี ศั ก ยภาพมี ค วามพร้ อ มทั้ ง
ที่ ซ้ าซ้ อ น และเพิ่ ม โอกาสในการเข้ าถึ งกลุ่ มลู กค้ า ความรู้ประสบการณ์ และมีจิตบริการอย่างแท้จริง
หัวหินเวชสาร
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564 Hua Hin Medical Journal

โดยผู้ บ ริ ห ารต้ อ งมี ก ลยุ ท ธ์ ใ นการสรรหาบุ ค ลากร ปรับปรุงสถานที่ให้มีความสวยงามคล้ายโรงแรมหรือ


เหล่านี้ เช่น การแลกเปลี่ยนบุคลากรทางการแพทย์ รีสอร์ทมากขึ้น5
ระหว่างโรงพยาบาลในประเทศกับต่างประเทศ การ 7. การฟ้องร้องที่มากขึ้น เมื่อความความ
น าบุ ค ลากรทางการแพทย์ ไ ปเป็ น นั กวิ ช าการด้ า น คาดหวังของผู้ป่วยที่มากขึ้ นไม่ได้รับการตอบสนอง
การแพทย์ พยาบาลในสถานบันการศึกษาต่างๆ และ เท่าที่ควร ประกอบกับปัจจุบันความสัมพันธ์ระหว่าง
เปิดรับนักศึกษาที่จบใหม่ในสถานบันที่มีชื่อเสียงหรือ แพทย์และผู้ป่ว ยเปลี่ ยนไปจากเดิม สั งคมไทยเป็น
มีคุณภาพ การทาสัญญาว่าจ้างแก่บุคลากรในระยะ สั ง คมออนไลน์ มี ก ารโพสข้ อ ความสื่ อ มั ก ยั่ ว ยุ ห รื อ
ยาวตลอดจนการให้ทุนการศึกษาแก่บุคคลที่สนใจที่ นาเสนอข่าวทานองนี้มากขึ้น และกระบวนการฟ้อง
จะปฏิบัติงานกับโรงพยาบาล เป็นต้น5 แพทย์ ใ นประเทศไทยยั ง ถื อ เป็ น คดี ผู้ บ ริ โ ภคซึ่ ง
6. ความคาดหวังของผู้มารับบริการมาก ผู้รับบริการไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายวางศาลจึงทาให้มีการ
ขึ้นจากเดิม เนื่องจากค่าใช้จ่ายในการรักษาที่แพงขึ้น ฟ้องร้องมากขึ้น จากสถิติการฟ้องร้องทางการแพทย์
ผู้มารับบริการทางการแพทย์จึงคาดหวังถึงการรักษา ในประเทศไทยย้อนหลัง 20 ปี (พ.ศ.2539-31 ตุลาคม
ตอบสนองที่เร็วที่สุด เครื่องมือการรักษาที่ดีที่สุด ยา พ.ศ.2560) พบว่ามีการฟ้องร้องคดีฟ้องแพ่ง จานวน
รักษาโรคที่ดีที่สุด แพทย์ เจ้าหน้ าที่และบุคคลากร 287 คดี คดีผู้บริโภคจานวน 168 คดี คดีปกครอง 3
พยาบาลที่มีความเชี่ยวชาญอย่างสูง การรักษาที่ไม่ คดี รวมเป็น 499 คดี ทุนทรัพย์ที่ฟ้องรวมประมาณ
ประสบผลดังที่หวังจะทาให้เป็นข่าวตามสื่อต่างๆ ซึ่ง 3,192 ล้านบาท จากคดีทั้งหมดที่ฟ้องร้อง8
ปัจจุบันการประเมิน ผลไม่ได้อยู่ที่การรอดชีวิต หรือ ส่ ว นหนึ่ ง ของสาเหตุ การฟ้ อ งร้ อ งเกิ ด จาก
เสี ย ชี วิ ต เท่ า นั้ น แต่ ผู้ ม ารั บ บริ ก ารทางการแพทย์ ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และผู้ป่วย ความสัมพันธ์
ความคาดหวังถึงความสะดวกสบายในขั้นตอนก่อน ระหว่างผู้ป่วยหรือญาติกับแพทย์ที่ไม่ดี เมื่อบริการ
ระหว่างและหลังการรักษา ทางการแพทย์ส่วนหนึ่งได้ถูกทาให้เป็นธุรกิจ ผู้มารับ
จากการศึกษาข้อมูลของผู้รับบริการโดยใช้ บริการจากที่เคยมาพบแพทย์ ด้วยความรู้สึกที่นับถือ
การสั มภาษณ์เชิงลึ ก 19 เกี่ย วกับ การรับ รู้และความ ไว้ว างใจเปลี่ ยนเป็นมาซื้อบริการ ความสั มพันธ์จึง
คาดหวั ง ของผู้ รั บ บริ ก ารในคุ ณ ภาพบริ ก ารของ เป็นไปในเชิงสัญญามิใช่ความนับถือส่วนบุคคลเมื่อ
โรงพยาบาลในประเทศไทย พบว่ า นอกจากความ ไม่ได้รับบริการตามที่คาดหมายหรือตามที่โรงพยาบาล
เชี่ยวชาญของบุคลากรและจานวนแพทย์เฉพาะทาง โฆษณาไว้การเรียกร้องจึงเกิดขึ้น สาหรับโรงพยาบาล
ที่เพียงพอแล้ว ความต้องการเฉพาะของผู้รับบริการ ในภาครัฐเป็ นที่ทราบกันโดยทั่ว ไปว่าในแต่ละวันมี
ต่อคุณภาพบริ ก ารคือต้ องการความเลิ ศหรู และสิ่ ง ผู้ ป่ ว ยจ านวนมากท าให้ ก ารตรวจร่ า งกายการ
อ านวยความสะดวกอย่ า งสมบู ร ณ์ ชื่ อ เสี ย งของ วิ นิ จ ฉั ย โรคและการสั่ ง ยาต้ อ งเป็ น ไปอย่ า งเร่ ง รี บ
โรงพยาบาลและมาตรฐานการรับรองเป็นสิ่งสาคัญที่ โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดจึงเกิดขึ้นได้ ประกอบ
ผู้ รั บ บริ ก ารต้ อ งการได้ รั บ ตามความเหมาะสมกั บ กับบุคลากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญไม่ว่าจะเป็น
ระดั บ ชั้ น ทางสั งคมและฐานะทางการเงิ น จึ งท าให้ แพทย์ ห รื อ พยาบาลปั จ จุ บั น ได้ ถู ก ซื้ อ ตั ว ไปอยู่ ใ น
องค์ ก รสุ ข ภาพโดยเฉพาะโรงพยาบาลเอกชนใน โรงพยาบาลเอกชนปัญหาเหล่านี้ต้องถือเป็นหน้าที่
ปั จ จุ บั น นอกจากการสรรหาบุ ค ลากรที่ มี ค วามรู้ โดยตรงของผู้ รับผิดชอบในภาครัฐที่จะต้องหาทาง
ความสามารถแล้ว จะต้องมีการจัดระบบบริการและ แก้ไขด้านการบริห ารทรัพยากรมนุษย์ กระบวนการ
สรรหาบุคลากรทางการแพทย์ให้เพียงพอกับจานวน
หัวหินเวชสาร
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564 Hua Hin Medical Journal

ผู้ ป่ ว ยจึ ง เป็ น เรื่ อ งที่ ต้ อ งรี บ ด าเนิ น การอี ก ทั้ ง ต้ อ ง ถึง พ.ศ. 2538 ชอบคิดนอกกรอบ มีความมั่นใจใน
ปรับปรุงค่าตอบแทนให้เหมาะสมเพื่อป้องกันไม่ให้ ตัวเองสูง ต้องการลักษณะงานที่สร้างสรรค์และท้า
เกิ ด การไหลออกของบุ ค คลากรในภาครั ฐ ใน ทายเหมาะสมกับความสามารถ มักเอาตัวเองเป็น
ขณะเดียวกันการสร้าง ระบบและสร้างความเข้าใจ ที่ตั้งต่างกับเจเนอเรชั่น เอ็กซ์ (Gen X) เป็นยุคที่พ่อ
กับ ผู้ รั บ บริ การเกี่ย วกับ เรื่ องการรั กษาพยาบาลถือ แม่ ยุ ค นี้ มี ลู ก น้ อ ยเนื่ อ งจากทั้ ง พ่ อ และแม่ อ อกไป
เป็นเรื่องสาคัญ20 ทางานทั้งสองคน มักชอบทางานหนักควบคู่กับการ
8. แรงงานและการผสมผสานช่ ว งอายุ พักผ่อน (Work smart, not harder) จึงทาให้พวก
ประชากรของคนในองค์ ก ร จากข้ อ มู ล จ านวน เขาเชื่อว่าการทางานหนักเพื่อการหาเงินและนาเงินที่
ประชากรของนิ ต ยสาร บลู ม เบริ ก และองค์ ก าร ได้ไปใช้ในการพักผ่อนส่วนเจเนอเรชั่น เบบี้ บูมเมอร์
สหประชาชาติ (World Population Prospects)21 (Baby Boomer) มีลักษณะอนุรักษ์นิยมกึ่งสมัยใหม่
พบว่าในปี พ.ศ.2562 กลุ่มเจเนอเรชั่น ซี(Generation Z: มีความอดทน อุตสาหะ มีมานะ พยายามและความ
Gen Z) มีจานวน 2,464 ล้านคน คิดเป็น 32 เปอร์เซ็นต์ ภักดีต่อองค์กรไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง ลักษณะนิสัย
ของจ านวนประชากรโลกทั้ ง หมด 7,700 ล้ า นคน ที่โดดเด่นคือทุ่มเททางานหนัก
โดย พ.ศ. 2562 จะเป็นปีแรกที่ประชากร Gen Z มี ด้ว ยลั กษณะความแตกต่ า งดัง กล่ าวท าให้
จานวนมากกว่าประชากรกลุ่มเจเนอเรชั่นวาย (2.43 เกิดปัญหาช่องว่างระหว่างวัยในที่ทางานเกิดขึ้นได้
พันล้านคน) ส่วนในประเทศไทยพบว่าปัจจุบันยังคง อาทิ การไม่ยอมรับเทคโนโลยีใหม่ในบุคลากรที่มีอายุ
เป็นตลาดแรงงานของกลุ่มเจเนอเรชั่นวาย (Generation Y: มาก ปัญหาการบันทึกเวชระเบียนและการสั่งจ่ายยา
Gen Y) ประมาณ 28 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มเจเนอเรชั่น ในระบบคอมพิวเตอร์ การสื่อสารระหว่างบุ คลากร
ซี (Generation Z: Gen Z) ประมาณ 22 เปอร์เซ็นต์ โดยใช้ศัพท์เฉพาะกลุ่มอายุ ปัญหาผู้บริหารซึ่งส่ว น
โดยพบแนวโน้ มสั ดส่ว นของเจนเนอรเรชั่นซีที่ เพิ่ม ใหญ่เป็นกลุ่มวัยเจเนอเรชันเอ็ก ซ์ มักจะมองกลุ่มวัย
มากขึน้ เรื่อยๆ ในขณะที่เจเนอเรชั่นเอ็กซ์และเบบี้บูม เจเนอเรชัน วายและซี ว่าเป็นกลุ่มที่อยู่กับองค์กรไม่
เมอร์ พบสัดส่วนประมาณ 27 เปอร์เซ็นต์ และ 18 นานเปลี่ยนงานบ่อย ไม่อดทน มีความมุ่งมั่นเอาจริง
เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ22 ส่งผลให้หลายๆ องค์กรมีคน เอาจัง กับงานที่ได้รับมอบหมายน้อยและไม่เคารพ
ถึ ง 4 รุ่ น (Generation Baby Boomer, Generation ผู้ อ าวุ โ สกว่า หรือ ตาแหน่ งสู ง กว่ า ในขณะที่ ก ลุ่ ม วั ย
X, Generation Y, Generation Z) เจเนอเรชันวาย และซี มักคิดว่าคนวัยเจเนอเรชั น
เจเนอเรชั่น ซี (Gen Z) หมายถึงคนที่เกิด เอกซ์ เ ป็ น เพื่ อ นร่ ว มงานไม่ ส นใจเรื่ อ งอายุ และ
หลังจากปี ค.ศ.1995 หรือปี พ.ศ.2538 เป็นต้นมา ตาแหน่งที่สูงกว่าส่งผลให้เกิดช่องว่างระหว่างวัย การ
จะมีความสามารถในการใช้งานเทคโนโลยีต่างๆ และ ทางานในหน่วยงานไม่มีความสุข งานขาดประสิทธิภาพ
เรียนรู้ได้เร็ว ติดโลกออนไลน์ จึงรับข้อมูลข่าวสาร อาจกล่าวได้ว่าอายุนับเป็นปัจจัยหลักที่แสดงออกถึง
อย่างรวดเร็วทาให้ชอบตัดสินใจทาอะไรอย่างรวดเร็ว ความแตกต่างได้อย่างชัดเจน23
ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนเว็บ สื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต ดั ง นั้ น รู ป แบบของการบริ ห ารทรั พ ยากร
เป็นหลัก มีความกล้าแสดงออก ชอบโชว์ มีความ มนุษย์ในองค์กรต้องมีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับ
มั่นใจสูง มีแนวโน้มเป็นมนุษย์หลายงาน ความอดทน ค่านิยมในการทางานของแรงงานในยุ คต่างๆ ด้วย4,24
ต่า ชอบทางานหลายอย่างพร้อมกัน ในขณะที่เจเนอ การบริหารบุคลากรยุคปัจจุบันจึงควร (1) พัฒนาสู่
เรชั่น วาย (Gen Y) หรือผู้ที่เกิดระหว่าง พ.ศ.2521 องค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ ส่งเสริม
หัวหินเวชสาร
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564 Hua Hin Medical Journal

โอกาสในการศึ ก ษาและพั ฒ นาความรู้ ด้ ว ยตนเอง ภายในองค์กรเพื่อสร้างความร่วมมือร่วมใจให้บรรลุ


นอกเหนื อจากหลั กสูตรที่องค์กรจั ดขึ้น เป็นประจา เป้าหมายที่กาหนดไว้เพราะคนวัย Gen Y เป็นวัยที่
เช่น ให้บุคลากรในองค์กรวางแผนการพัฒนาตนเอง ชอบแสดงออกและการเป็นผู้นาโดยในแต่ละกิจกรรม
ในแต่ละปี โดยระบุทักษะที่จาเป็นต่อภาระหน้าที่ที่ ระดั บ ผู้ บ ริ ห ารจะต้ อ งเข้ า ไปมี ส่ ว นร่ ว มเพื่ อ สร้ า ง
รับผิดชอบซึ่งการเปิดโอกาสนี้จะช่วยให้บุคลากรได้ ความสัมพันธ์ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเป็นการ
แสดงความคิ ด เห็ น และมี ส่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นา สร้างความใกล้ชิดและผูกพันในองค์กร
องค์กรพร้อมทั้งสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ดั ง นั้ น ถ้ า ทราบถึ ง ความแตกต่ า งในแต่ ล ะ
โดยการถ่ า ยทอดความรู้ แ ละประสบการณ์ จ าก กลุ่มอายุไม่ว่าจะเป็นลักษณะการเรียนรู้ บุคลิกภาพ
ระดั บ บนลงล่ า ง ทั้ ง นี้ จ ะช่ ว ยลดช่ อ งว่ า งที่ เ กิ ด ขึ้ น พฤติกรรม ฯลฯ จะช่วยให้สามารถวางแผนการพัฒนา
ระหว่างอายุและยังช่วยให้ Gen X, Y และ Gen Z คนให้เหมาะสมกับงาน การมอบหมายงานได้ตรงกับ
เกิ ด การเรี ย นรู้ ป ระสบการณ์ จ ากการบอกเล่ า ความถนัดของบุคลากร การสร้างแรงจูงใจต่างๆ เพื่อ
นอกเหนือจากประสบการณ์ตรง (2) พัฒนาระบบพี่ ดึงดูดใจแก่บุคลากรอีกทั้งลดปัญหาด้านการลาออก
เลี้ ย งเพื่ อช่ว ยแนะน าถ่า ยทอดประสบการณ์ให้ กั บ (Turnover)24 ได้
บุ ค ลากรทั้ งที่ เ ป็ น ทางการและไม่ เ ป็ น ทางการโดย จะเห็ น ได้ ว่ า ในยุ ค ศตวรรษที่ 21 องค์ ก ร
คานึงถึงผู้ ที่มีอิทธิพลต่อการเรีย นรู้ในแต่ละช่วงวัย สุ ข ภาพเผชิ ญ การเปลี่ ย นแปลงอย่ า งต่ อ เนื่ อ งจาก
เช่น Gen X มีนิสัยชอบการเรียนรู้และคาปรึกษาจาก หลายปัจจัยต่างๆ ดังที่กล่าวมาข้างต้น เหล่านี้ทาให้
ผู้เชี่ยวชาญอย่างแท้จริงส่วน Gen Y จะเน้นเรียนรู้ องค์กรจาเป็นต้องมีการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง
เฉพาะบุคคลที่ชื่น ชอบ เป็นต้น (3) จั ดอบรมระดับ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ขององค์กรสุขภาพใน
ผู้บริหาร เช่น ทักษะการเป็นผู้นา การบริหารจัดการ ยุคปัจจุบัน
ความขัดแย้ง การสื่อสารภายในและภายนอกองค์กร การบริห ารทรัพยากรมนุษย์ มีความส าคัญ
การสร้างแรงจูงใจและอิทธิพล การบริหารการเปลี่ยนแปลง เนื่ อ งจากจะช่ ว ยพั ฒ นาองค์ ก รให้ ก้ า วห น้ า ซึ่ ง
การเปิ ด รั บ ความคิ ด เห็ น และข้ อ เสนอแนะต่ า งๆ กระบวนการเริ่มตั้งแต่แสวงหาวิธี การให้ได้บุคคลที่มี
(4) สร้างบรรยากาศในการทางานที่มีความยืดหยุ่น ความเหมาะสม พัฒนาศักยภาพ ดูแลค่าตอบแทน
เพราะ Gen X, Y มักชอบทางานที่มีความเป็นอิสระ สวัสดิการให้เหมาะสม ดังนั้นการบริหารทรัพยากร
ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ ก ารท างานบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ห รื อ มนุ ษ ย์ ที่ อ ยู่ ใ นองค์ ก รจึ ง มี คุ ณ ค่ า ยิ่ ง และช่ ว ยให้
เป้ า หมายที่ ว างไว้ จึ ง ต้ อ งปรั บ เปลี่ ย นรู ป แบบการ บุคลากรมีขวัญและกาลังใจในการทางานเกิดความ
ทางานที่ยืดหยุ่นมีความเป็นอิสระทั้งมอบหมายงาน จงรั ก ภั ก ดี ต่ อ องค์ ก รการมี ท รั พ ยากรมนุ ษ ย์ ที่ มี
ตามความถนั ด เช่ น บอกทิ ศ ทางของเป้ า หมายที่ คุณภาพจะทาให้เกิดความสามารถในการแข่งขัน ที่
ต้องการให้ กับ Gen X และพยายามอธิบายเหตุผ ล เพิ่มขึ้นขององค์กร
ตอบข้อซักถามกับ Gen Y เป็นต้น (5) ส่งเสริมให้มี ที่ ผ่ า นมาในประเทศตะวั น ตกมี ผู้ ใ ห้ ค วาม
การทางานเป็ น ทีมให้มีแลกเปลี่ ยนความคิดเห็นได้ สนใจน าการบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ม าใช้ ใ น
อย่างเต็มที่มีการสื่อสารจากทั้ง 2 ทาง คือจากระดับ สถานพยาบาลจ านวนมาก ดั ง ผลการศึ ก ษาจาก
ล่างขึ้นบนและบนลงล่าง ผู้บริหารจะต้องกล้ารับฟัง ประเทศอเมริกา21,25 อังกฤษ26 และออสเตรเลีย27,28
ข้ อ ติ ติ ง และข้ อ คิ ด เห็ น เสนอแนะต่ า งๆ พร้ อ มทั้ ง ได้แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงที่แข็งแกร่งระหว่างการ
ยอมรั บ การเปลี่ ย นแปลง (6) สร้ า งกิ จ กรรมต่ า งๆ บริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ แ ละการพั ฒ นาองค์ ก ร
หัวหินเวชสาร
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564 Hua Hin Medical Journal

จนได้ ผ ลประกอบการที่ ดี ร วมถึ ง การเสี ย ชี วิ ต ของ เกี่ ย วกั บ การบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ แ ละ
ผู้ ป่ ว ยที่ ล ดลงและการพั ฒ นาคุ ณ ภาพในการดู แ ล ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ34 ผลการศึกษาพบว่า
ผู้ ป่ ว ย 29-31 การศึ ก ษาของ Platonova E.A. เรื่ อ ง การบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ เ ป็ น ปั จ จั ย ที่
นวัตกรรมการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ในโรงพยาบาล บุ ค ลากรในองค์ ก รตระหนั ก ว่ า มี ค วามส าคั ญ และ
ประเทศสหรัฐอเมริกาใน ปี ค.ศ. 201332 พบว่าองค์กร เชื่อมโยงต่อการพัฒนาประสิทธิภาพขององค์ก รเมื่อ
สุขภาพที่มีความได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั่งยืน พิ จ ารณาถึ ง ประเด็ น การรั ก ษาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์
คือองค์กรที่ให้ความสาคัญกับสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน พบว่าโรงพยาบาลศูนย์ ควรให้ความสาคัญกับปัจจัย
ซึ่งประกอบไปด้วย ทุน มนุ ษย์ ความรู้ ความความ สุ ขลั กษณะเช่นสภาพแวดล้ อมความปลอดภัยความ
เชี่ ย วชาญของบุ ค ลากรและนวั ต กรรมการบริ ห าร สัมพันธ์ สวัสดิการและปัจจัยจูงใจบุคลากรเช่นการยก
ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ (Innovation HR Practices) ซึ่ ง ย่องเชิดชูเกียรติความท้าทายในงานการพัฒนาตน
ประกอบไปด้วย การสรรหาและคัดเลือก การฝึกอบรม ในขณะที่ สุธรรม คาวะรัตน์ และประกายศรี
และพัฒนาบุคลากร การทางานเป็นทีมและการแก้ ศรีรุ่งเรือง(2557) ได้ทาการศึกษาบทบาทและปัญหา
ปัญหา การโยกย้ายสับเปลี่ยนตาแหน่งงาน การเลื่อน ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ในโรงพยาบาลไทย35
ตาแหน่งงาน การประเมินผลปฏิบัติงานโดยพิจารณา พบว่าการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มีผลต่อความสาเร็จ
เป็นรายบุคคลจะส่งผลถึงประสิทธิภาพขององค์กร ขององค์กรเช่นกันแต่ปัญหาและอุปสรรคที่พบมาก
ช่วยปรั บปรุงความต่อเนื่องในการดูแลและผลลัพ ธ์ ที่ สุ ด คื อ หน่ ว ยงานก าหนดนโยบายทิ ศ ทางการน า
การให้ บ ริ การทางการแพทย์ โ ดยจะทาให้ บุคลากร องค์ กร ด้า นการพัฒ นาทรัพ ยากรมนุษ ย์ ยัง ไม่ เป็ น
สามารถให้ บ ริ การแก่ผู้ ป่ ว ยได้ดีขึ้น ทาให้ อัตราการ รู ป ธรรมที่ ชั ด เจนและขาดการสื่ อ สารถ่ า ยทอด
ลาออกของบุ ค ลากรในโรงพยาบาลลดลง ต่ ากว่ า นโยบายสู่ บุ ค ลากรอย่ า งทั่ ว ทั้ ง องค์ ก รรวมทั้ ง การ
ค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมเดียวกันถึง 60 เปอร์เซ็นต์ จัดสรรงบประมาณด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
กรณี ก ารศึ ก ษาในประเทศไทย เยาวภา พบว่าไม่เพียงพอและไม่มีการสร้างแรงจูงใจเพื่อให้
ปฐมศิ ริ กุ ล (2553) ได้ เ คยทาการศึก ษาปั จจั ยการ บุคลากรเกิดแรงกระตุ้นพัฒนาตนเองพร้อมทั้งเสนอ
จัดการธุรกิจบริการสุขภาพที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การ แนวทางแก้ไขว่าผู้บริหารควรกาหนดทิศทางการนา
ดาเนินงานของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย 33 องค์กรนโยบายยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาทรัพยากร
พบว่ า ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การจั ด การธุ ร กิ จ ดั ง กล่ า ว บุคคลที่เป็นรูปธรรมชัดเจนเป็นลายลักษณ์ อักษรจัด
ประกอบด้ ว ย 3 ปั จ จั ย ได้ แ ก่ ปั จ จั ย กลยุ ทธ์ ปั จ จั ย กิจ กรรมหรื อประชุ ม เพื่ อสื่ อ สารนโยบายด้ า นการ
ระบบบริหารจัดการและปัจจัยการบริหารทรัพยากร พัฒ นาทรัพ ยากรบุ ค คลสู่ บุค ลากรอย่ างทั่ว ถึ ง และ
บุ คคลโดยปั จ จั ย การจั ดการธุ ร กิจ บริ การสุ ขภาพที่ จัดสรรงบประมาณให้แต่ละหน่วยงานอย่างเพีย งพอ
สาคัญมากที่สุดคือปัจจัยการบริหารทรัพยากรบุคคล เหมาะสมสอดคล้องกับแผนพั ฒนาทรัพยากรมนุษย์
สอดคล้ อ งกั บ ผลการศึ ก ษาการบริ ห ารจั ด การ และกาหนดหลักสูตรการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ถึง
ทรั พยากรมนุษย์ และประสิ ท ธิภ าพการจัดการของ ระดับรายบุคคล รวมถึงสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรเกิด
โรงพยาบาลศูนย์โดยเพ็ชราภรณ์ ชัชวาลชาญชนกิจ แรงกระตุ้ น ในการพั ฒ นาตนเองของบุ ค ลากรใน
(2557) ซึ่ ง ส า ร ว จ ทั ศ น ค ติ ข อ ง บุ ค ล า ก ร ข อ ง โรงพยาบาล
โรงพยาบาลศู น ย์ จั ง หวั ด สระบุ รี โ รงพยาบาลศู น ย์ ในแง่องค์ประกอบ และกระบวนการบริหาร
จั ง หวั ดราชบุ รี แ ละโรงพยาบาลศู น ย์ จั ง หวัด ชลบุ รี ทรัพยากรมนุษ ย์ในองค์กรสุ ขภาพไทยนั้น ได้เคยมี
หัวหินเวชสาร
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564 Hua Hin Medical Journal

การศึกษาองค์ประกอบโดย ธนัชพร สว่างแจ้ง และ อย่างต่อเนื่องและพัฒนาความสามารถด้ว ยการให้


กั ญ ญดา ประจุ ศิ ล ปะ (2559) ท าการศึ ก ษาการ โอกาสในการปฏิ บั ติ ง านต่ า งๆ ที่ ท้ า ทาย (4) การ
บริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ข ององค์ ก รพยาบาล ประเมินผล ประเมินผลการปฏิบัติงานใช้แบบ 360
โรงพยาบาลสังกัดกรมแพทย์ทหารเรือ ในช่วง พ.ศ. องศา มีการพัฒนาเครื่องมือในการประเมินผลและ
2555-255936 พบว่าการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของ บันทึกผลการประเมินอย่างต่อเนื่อง (5) ให้รางวัลมี
องค์กรพยาบาล โรงพยาบาลลังกัดกรมแพทย์ทหารเรือ การมอบหมายงานที่พึงพอใจและให้ โ อกาสพัฒ นา
ในช่วงพ.ศ. 2555-2559 ประกอบด้วย 6 ด้าน ได้แก่ เพื่อความก้าวหน้าทางสายอาชีพระบบ การให้รางวัล
(1) ด้านการวางแผนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เช่น ที่ยุติธรรมตามผลการปฏิบัติงานรายบุคคล (6) ธารง
การกาหนดเป้าหมาย กลยุทธ์ การวิเคราะห์แนวโน้ม รักษามีการสร้างบรรยากาศที่ มีความเคารพซึ่งกั น
ในอนาคตการจั ด การบุ ค ลากรที่ มี ศั ก ยภาพสู ง 2) และกันอย่างเท่าเทียมเพื่ อเสริมสร้างความพึงพอใจ
ด้านการสรรหา/คัดเลือกบุคลากรพยาบาล เช่น ใช้วิธี ในงาน ส่งเสริมกิจกรรมแรงงานสัมพันธ์จัดสวัสดิการ
การสรรหามากกว่ า หนึ่ ง วิ ธี ปรั บ ปรุ ง วิ ธี ก ารเข้ า สู่ สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย
ตาแหน่งผู้บริหาร (3) ด้านการพัฒนาบุคลากรพยาบาล กล่าวโดยสรุป การบริหารทรัพยากรมนุ ษย์
เช่น พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ วางแผนร่วมกับสถาบัน ขององค์กรสุขภาพ สามารถทาโดยขั้นตอนต่อไปนี้
การศึกษา (4) ด้านการประเมิน ผลการปฏิบัติ งาน 1. การสรรหาและคัดเลือก (Recruitment
บุคลากรพยาบาล เช่น ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ and Selection) ปัจจุบันองค์กรสามารถใช้วิธีการ
เก็บและวิเคราะห์ข้อมูล ประเมินผลการปฏิบัติงาน หลากหลายที่ น อกเหนื อ จากการสรรหาจากการ
ด้วยผลิตภาพของงาน (5) ด้านการธารงรักษาบุคลากร ประกาศงาน (Job advertising) หรื อ ทางเว็ บ ไซต์
พยาบาล เช่น ให้ความสาคัญกับคุณภาพชีวิตมีกลยุทธ์ (Website) ขององค์กรหรือโรงพยาบาลเองแล้วยังมี
ในการสร้ า งความยึ ดมั่ น ผู กพั น และ (6) ด้ านความ ช่องทางอื่น ๆ เพื่อทาให้เกิดความรวดเร็วในการหา
ก้ า วหน้ า ทางวิ ช าชี พ ของบุ ค ลากรพยาบาล เช่ น ตาแหน่งงาน เช่น
ก าหนดบั น ไดความก้ า วหน้ า ในวิ ช าชี พ การเลื่ อ น (1) เพื่อนชวนเพื่อนโดยผ่านทางพนักงานซึ่ง
ตาแหน่งโดยผลงานความสามารถมากกว่าความอาวุโส มีการตั้งรางวัลสาหรับผู้ที่แนะนา
คนึงนิจ อุณหโชค (2546) ทาการศึกษาด้าน (2) การให้ทุนการศึกษาแก่นักศึกษาที่ผลการ
กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของกลุ่มงานกา เรียนดี ซึ่งเมื่อจบการศึกษาก็จะได้มาเป็นพนักงาน
รพยาบาลโรงพยาบาลรั ฐ บาลในช่ ว งพ.ศ. 2550- ขององค์กร
2554 จากความคิดเห็นที่สอดคล้องกันของผู้เชี่ยวชาญ (3) การจัดงานประชาสัมพันธ์แก่นักศึกษาที่
21 ท่าน37 สรุปได้ 6 กระบวนการดังนี้ (1) การวางแผน มหาวิทยาลัยต่างๆ (Campus) โดยใช้วิธีพี่ชวนน้อง
ใช้หลักการความมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย แผนมีลักษณะ ร่วมสถาบัน มีการนาเสนอภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร
เป็ น แผนกลยุ ท ธ์ที่มีร ะยะแผนสั้ น โดยเน้น คนเป็ น สิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่จะได้ความก้าวหน้าในอาชีพ
ศู น ย์ ก ลางให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ (2) การคั ด เลื อ ก ใช้ และในการจัดงานในแต่ละครั้งนอกจากจะมีเจ้าหน้าที่
กระบวนการในการคัดเลือกหลายกระบวนการอย่าง ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ เข้าร่วมในการสรรหาคัดเลือก
เสมอภาคมีการประสานงานกับสถานศึกษาในการ แล้วควรจะมีเจ้าหน้าที่ขององค์กรไปด้วยเพื่อไปแชร์
คัดเลือก (3) การพัฒนาบุคลากรเสริมสร้ างแรงจูงใจ ประสบการณ์และความประทับใจในการทางานให้กับ
ให้บุคลากรพัฒนาตนเอง ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ผู้ที่สนใจจะเข้ามาร่วมทางาน
หัวหินเวชสาร
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564 Hua Hin Medical Journal

(4) การเชิญแพทย์หรือพยาบาลจากที่อื่นมา เปอร์ เ ซ็น ต์ อั ต ราการหมุ นเวี ยน (Turn over rate)


ช่วยปฏิบัติงานสามารถทาได้หลายวิธี เช่น การติดต่อ ของบุคลากรในองค์กรอยู่ในระดับต่าและสามารถสร้าง
ให้ แพทย์ มาช่วยงานจากโรงพยาบาลอื่น โดยจะมา ความจงรักภักดีต่อองค์กร (Employee royalty) ได้
ปฏิบัติงานด้วยตัวเองหรือการให้คาปรึกษาทางการ 3. การธ ารงรั กษาบุ ค ลากร (Retaining)
ประชุ ม ทางไกล (Tele conference) สามารถ ค่าตอบแทนสิทธิประโยชน์ที่ให้กับบุคลากร ความพึง
ดาเนินการได้ พอใจในงานรวมไปถึงสภาพแวดล้อมในการทางาน
2. การฝึ ก อบรมและพั ฒ นา (Training ล้ ว นเป็ น ปั จ จั ย ที่ ต้ อ งค านึ ง ถึ ง ส าหรั บ การจ่ า ย
and Developing) บุ ค ลากรสายวิ ช าชี พ สุ ข ภาพ ค่าตอบแทนนั้น ควรมีการเทีย บอัตราตอบแทนกั บ
จ าเป็ น ต้ อ งฝึ ก อบรมหลั ก สู ต รเฉพาะทางเพื่ อ เน้ น ธุ ร กิ จ ที่ ใ กล้ เ คี ย งและในขณะเดี ย วกั น ก็ จ ะต้ อ ง
ความเชี่ ย วชาญทางการแพทย์ โดยอาจมี ก ารท า คานึ ง ถึง ความสามารถในการจ่า ยขององค์ก รด้ ว ย
โครงการแลกเปลี่ ย นระหว่า งหน่ ว ยงานทั้ งภายใน หากต้ อ งการระบบค่ า ตอบแทนที่ จู ง ใจเพื่ อ เพิ่ ม
ประเทศและนอกประเทศ นอกจากนี้ การก าหนด ผลิ ต ผลอาจจ่ ายค่ าตอบแทนตามผลงาน (Pay for
ควบคุมตรวจสอบกระบวนการฝึกอบรมและพัฒนา Performance, P4P) ซึ่งเป็นการจ่ายที่ช่ วยจูงใจใน
ทาให้บุคลากรมีประสิ ทธิภาพในการปฏิบัติงานตรง การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพการบริการใน
ตามที่กาหนดและหากพบว่าบุคลากรมีความสามารถ หลายองค์กรพบว่าค่าตอบแทนอาจไม่ใช่ปัจจัยหลักที่
ไม่ครบตามที่กาหนดในสมถนะ (Competency) ของ จะทาให้ ส ามารถรักษาบุคลากรไว้ได้แต่สิ่ งสาคัญที่
ตาแหน่งนั้นๆ จะมีการส่งไปฝึกอบรมเพิ่มความรู้ใน สามารถรักษาบุคลากรไว้ได้คือ “การสร้างขวัญและ
ส่ ว นที่ ข าดและวั ด ผลการอบรมเพื่ อ ประเมิ น และ กาลังใจที่ดี การสร้างบรรยากาศที่ดีในการทางาน”
วางแผนความก้าวหน้าในอาชีพต่อไป มีการจัดสารวจ ดั ง นั้ น การจั ด กิ จ กรรมต่ า งๆ ในองค์ ก ร เพื่ อ สร้ า ง
ความต้ อ งการเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งและเนื้ อ หาความรู้ ที่ บรรยากาศที่ดี จึงเป็นส่วนหนึ่งที่องค์กรควรให้ความ
บุคลากรในองค์กรต้องการจะอบรม (Training need สาคัญ
survey) เพื่อวิเคราะห์ความต้องการของบุคลากรใน แต่เนื่องจากปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่าง
แต่ละองค์กร ส่วนหัวข้อใดที่สามารถจัดเป็นการอบรม รวดเร็วทาให้ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ จาต้องมี
ภายในองค์กร (In house training) ได้นั้น ทางฝ่าย การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงในยุคศตวรรษที่ 21
ทรัพยากรมนุษย์จะนาเสนอให้อยู่ในแผนการอบรม และมีข้อควรคานึงพิเศษเพิ่มขึ้น ดังนี้
ความรู้ประจาปี (Training year plan) ที่ชัดเจนซึ่ง 1 . การค านึ ง ถึ ง การเปลี่ ย นแปลงทาง
กิ จ กรรมนี้ ถื อ เป็ น การสร้ า งความแข็ ง แกร่ ง ให้ กั บ โลกาภิวัฒน์ (Globalization) ทาให้อาจมีการแพร่
องค์ก รเนื่ อ งจากเป็ น การเตรี ย มความพร้ อมให้ กั บ ระบาดของโรคจากต่างประเทศมายังประเทศไทย
บุ ค ลากรในองค์ ก รเพื่ อ เพิ่ ม โอกาสในการสร้ า ง ดังนั้นบุคลากร ควรต้องมีการศึกษาและรับมือต่อการ
ความก้า วหน้ า เพิ่ม โอกาสในการรั บ การพิ จ ารณา เปลี่ยนแปลง หน่วยงานด้านบุคลากรควรมีการฝึกอบรม
เลื่อนตาแหน่งในอนาคต ซึ่งจะเชื่อมโยงไปสู่การธารง ให้เกิดความรู้ ติดตามข่าวสารการเปลี่ยนแปลงและมี
รักษาบุคลากรให้อยู่กับองค์กรต่อไป เพราะในกรณีที่ ความตระหนักเพื่ อให้ เกิดความพร้อมในการรับมือ
องค์กรมีการขยายงานจะพิจารณาคุณลักษณะเหล่านี้ ภาวะนี้ได้
จากบุคลากรภายในองค์กรก่อนจะทาการสรรหาและ
คั ด เลื อ กบุ ค ลากรจากภายนอกองค์ ก ร จึ ง ท าให้
หัวหินเวชสาร
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564 Hua Hin Medical Journal

2. ความพร้ อมต่ อการเข้า สู่สังคมสูงอายุ ปัจจุบันยังมีโปรแกรมอัตโนมัติ (Software)


(Demographic changes) ทาให้อนาคตสังคมจะ ในการคั ด เลื อก สั ม ภาษณ์ ท าแบบสอบถาม และ
มีความต้องการจานวนบุคลากรทางการแพทย์ เพื่อ กรอกใบสมัครทาง ออนไลน์ ก่อนการคัดเลือกจริง
ดูแลรั กษาผู้ ป่ ว ยกลุ่ มนี้ มากขึ้น ในขณะเดียวกันใน ตลอดจนมี การพัฒ นาระบบการจัดการด้ว ยตนเอง
องค์กรอาจมีพนักงานสูงอายุมากขึ้น อาจมีการกาหนด (HR self-service) ซึ่งเป็นระบบ ออนไลน์ โดยผู้จัดการ
อายุ เ กษี ย ณงานที่ อ ายุ ม ากขึ้ น กว่ า เดิ ม เนื่ อ งจาก และพนักงานสามารถดูและจัดการข้อมูลต่างๆ เป็น
บุคลากรทางการแพทย์เป็นอาชีพจาเพาะจาเป็นต้อง การลดความซับซ้อนยุ่งยาก ลดการใช้กระดาษและ
มีการฝึกฝน สะสมความรู้ประสบการณ์ ซึ่งผู้ที่มีอายุ เพิ่มความสะดวกสบายทั้งกับผู้จัดการและพนักงาน
มากมักจะมีประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยที่ดีกว่าผู้ ที่ บุคลากร
จบใหม่ การเกษียณที่อายุเท่าเดิมเช่นที่ 60 ปี อาจทา 5. การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน
ให้องค์กรขาดผู้ที่มีความรู้ความสามารถซึ่งไม่สามารถ โดยใช้ ก ารบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ เ ชิ ง กลยุ ท ธ์
หาชดเชยได้ ดังนั้นจึงอาจมีการกาหนดอายุเกษียณที่ (Strategic HR management) ภายใต้สภาพแวดล้อม
มากขึ้น ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงในปัจจุบัน องค์กรต่างๆ
3. การมุ่งเน้นการป้องกันโรคมากกว่าการ รวมทั้งองค์กรสุขภาพ จะสามารถสร้างความได้เปรียบ
รักษาโรค (Prevention and disease management) ในการแข่งขัน (Competitive Advantage) ที่สูงกว่า
จากการเปลี่ยนแปลงแบบแผนของโรคในปัจจุบัน ทา องค์กรอื่นได้นั้นต้องมีความแตกต่างจากคู่แข่งตัวแปร
ให้ แนวการดูแลรั กษาโรคหั นมามุ่งเน้ นการป้องกัน สาคัญที่ทาให้องค์กรเกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน
การเกิ ด โรค มากกว่าการรั กษาผู้ ป่ ว ยเมื่อ เจ็บป่ว ย ในหลายๆ ด้านคือการจัดการทรัพยากรมนุษย์เชิง
แล้วโดยโรคบางโรคสามารถป้องกันได้ถ้า ดูแลรักษา กลยุทธ์ (Strategic HR management) เพื่อให้บรรลุ
สุขภาพดีพอ ดังนั้นเมื่อมีการคัดสรร และรับบุคลากร วัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กรที่วางไว้ 39 โดย
ใหม่เข้ามาในองค์กรสุขภาพ ด้านการจัดการทรัพยากร มองว่าบุคลากรมิใช่วัตถุดิบหรือค่ าใช้จ่ายดั่งเช่นใน
มนุษย์จะต้องมีการอบรมและผึกทักษะบุคลากรใหม่ให้ อดีตที่ผ่านมา แต่เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า40 ต้องการ
มีความพร้อมและความรู้ทางด้านการป้องกันโรคด้วย การจัดการและปรับปรุงดึงศักยภาพสูงสุดของบุคลากร
4. การใช้ น วตกรรมสารสนเทศ ในการ กระบวนการจั ด การทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ห ลั ก จะต้ อ ง
บ ริ ห า ร ท รั พ ย า ก ร ม นุ ษ ย์ ( Technological รองรั บ ความหลากหลายในองค์ ก ร (Diversity)
innovation) โดยระบบสารสนเทศด้านทรัพยากร สอดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์การ (Strategic) และ
มนุษย์ (Human Resource Information Systems, ต้องมีแนวทางการดาเนินกิจกรรมต่างๆ (Tactical)
HRIS) จะช่วยปรับกระบวนการให้เป็นอัตโนมัติ เป็น ภายใต้กระบวนหลักที่สอดคล้องกลมกลืนเพื่อให้การ
การลดค่าใช้จ่ายด้านการจัดการ ช่วยเพิ่มผลผลิตและ จัดการทรัพยากรมนุษย์และองค์กรเป็นไปได้อย่างมี
ประหยัดระยะเวลาดาเนินการ ช่วยการตัดสินใจโดย ประสิทธิภาพและประสิทธิผล41
ระบบสารสนเทศ HRIS มักนามาใช้ในการเก็บรักษา แนวคิดนี้สอดคล้องกับการศึกษาแนวทางการ
และจั ดการข้อมูล การทางานของบุ คลากรและการ บริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ในโรงพยาบาลตารวจ
จ่ายค่าตอบแทนอัตโนมัติแก่บุคลากร (Automatic ของทวีรัตน์ สุ กเพชร และ ธีรศัก ดิ์ อุ่ นอารมย์เลิ ศ
payroll system)38 (2560) ซึ่งได้เสนอแนะวิธีแก้ปัญหาอุปสรรคในการ
บริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ของโรงพยาบาลตารวจ42
หัวหินเวชสาร
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564 Hua Hin Medical Journal

โดยการติ ด ตามและประเมิ น การพั ฒ นาขี ด ความ 7. การมุ่งเน้นการรักษาที่มีคุณภาพ และ


สามารถของบุ ค ลากร การสรรหาจากผู้ ที่ มี ค วาม หลักฐานเชิงประจักษ์ (Focus on quality and
เหมาะสมที่สุดกับทุกตาแหน่งงาน การพัฒนาสายงาน Evidence-Based Medicine) องค์กรสุขภาพต้อง
อาชีพที่ทาให้เกิดประสิทธิภาพ โดยทุกกระบวนการ เน้ น คุ ณ ภาพในการรั ก ษาเพื่ อ ตอบสนองความ
ต้ อ งมี แ ผนงานและสอดคล้ อ งกั บ กลยุ ท ธ์ ข อง ต้อ งการและความพึ ง พอใจของผู้ ป่ ว ยที่ มากขึ้น ใน
โรงพยาบาล เพื่อขับเคลื่อนให้บรรลุเป้ าหมายสร้าง ปัจจุบัน ในด้านการพัฒนาคุณภาพขององค์กรควรมี
ความก้าวหน้าและความมั่นคง นอกจากนี้ จินตนา การประยุกต์ใช้ การบริหารจัดการคุณภาพโดยรวม
ศิริธัญญารักษ์ และวิสาข์ จัติวัตร์ (2558) ยังได้พบว่า (Total quality management, TQM) ซึ่ ง เ ป็ น
การบูรณาการกลยุทธ์การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง หลั ก การในการท าความเข้ า ใจความต้ อ งการของ
ของบุ ค ลากรจะสามารถเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและ ผู้ รั บ บริ ก ารและปฏิ บั ติ ต อบสนองให้ ถู ก ต้ อ งและ
ประสิทธิผล เนื่องจากผู้ที่มีทัศนคติทักษะประสบการณ์ ปรับปรุงพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
แนวคิดและมุมมองใหม่ๆ สามารถปรับปรุงระบบงาน 8. การมุ่ ง เน้ น ความปลอดภั ย ของผู้ ป่ ว ย
ที่ ช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลให้ ม าก (Patient safety) ความผิดพลาดทางการแพทย์ใน
กว่าเดิมและสามารถยกระดับมาตรฐานการให้บริการ องค์ ก รจะต้ อ งน้ อ ยที่ สุ ด โดยหน่ ว ยงานจั ด การ
รวมทั้งเพิ่มพูนขีดความสามารถสร้างความได้เปรียบ ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ จ ะต้ อ งมี ก ารจั ด อบรมเกี่ ย วกั บ
ของการบริการได้43 ความรู้และเทคโนโลยีการรักษาใหม่ๆ พัฒนาระบบ
เมื่ อองค์ กรสุ ขภาพใดสามารถจั ดการ การแจ้งและจัดการเมื่อมีข้อผิดพลาดทางการแพทย์
ทรัพยากรมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้อง (Medical error) การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรจะ
กับกลยุทธ์ในระดับองค์กรแล้ว ก็จะส่งผลให้องค์กร ทาให้ข้อผิดพลาดเหล่ านี้ล ดลงและเพิ่มคุณภาพใน
เกิดความได้เปรียบในการแข่งขันที่รุนแรงในปัจจุบัน การทางาน
และสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ได้5 9. การมุ่งเน้นความเป็นส่วนตัว (Security
6. การคานึงถึงกระบวนการทางความคิด and Privacy) การเก็บเวชระเบียนและข้อมูลการ
ของผู้ ม ารั บ บริ ก าร (Mind set of patients) รักษาของผู้มารับบริก าร ต้องมีความปลอดภัย และ
เนื่ อ งจากปั จ จุ บั น เป็ น ยุ ค ของข้ อ มู ล ข่ า วสารทาง เป็นส่วนตัว รวมทั้งข้อมูลของบุคลากรในองค์กร เช่น
อิ น เตอร์ เ นตท าให้ ผู้ ม ารั บ บริ ก ารมี ก ารค้ น คว้ า หา ข้อมูลการทางาน เงินเดือนซึ่งข้อมูลเหล่านี้ ผู้จัดการ
ข้อมูลทางอินเตอร์เนตมากขึ้น ทาให้แนวโน้มในการ ด้านทรัพยากรบุคคลต้องดูแลเป็นอย่างดี
ดูแลสุขภาพถูกกาหนดและมีบทบาทโดยผู้รับบริการ สรุป
มากขึ้น อนาคตผู้รับบริการอาจเป็นผู้เก็บรักษาข้อมูล องค์กรสุขภาพเป็นองค์กรหนึ่งที่ทรั พยากร
สุขภาพ (Healthcare records) ของตนเองและเก็บ มนุษย์มีความสาคัญอย่างยิ่งที่จะทาให้องค์กรอยู่รอด
ข้อมูลผ่านระบบส่วนบุคคล (Personal health records, ท่ามกลางกระแสการแข่งขันในยุคปัจจุบันการบริหาร
PHRs)16 บุคลากรในองค์กรสุขภาพจะต้องตอบสนอง ทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรสุขภาพ จึงมีความซับซ้อน
ต่อความตระหนักและความต้องการของผู้รับบริการ กว่าองค์กรอื่ น เนื่องจากองค์กรสุขภาพประกอบไป
มากขึ้ น และให้ สิ ท ธิ แ ก่ ผู้ ม ารั บ การรั ก ษาในการ ด้ ว ย วิ ช าชี พ เฉพาะและหลากหลายมี ห น้ า ที่ ดู แ ล
ตัดสินใจเลือกการรักษาของตนมากขึ้น รักษาและส่งเสริมสุขภาพ เกี่ยวข้องกับสุขภาพและ
ชี วิ ต ประชาชน ท่ า มกลางการเปลี่ ย นแปลงในยุ ค
หัวหินเวชสาร
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564 Hua Hin Medical Journal

ศตวรรษที่ 21 ในปั จ จุ บั น การเปลี่ ย นแปลงทาง International Journal of Human


โลกาภิวัฒน์ การเคลื่อนย้ายแรงงานการใช้เทคโนโลยี Resource Studies 2013; 3(3): 87-96.
การแข่ ง ขั น ในเชิ ง ธุ ร กิ จ ที่ ม ากขึ้ น การผสมผสาน 4. Nasir S.Z. Emerging Challenges of HRM in
ระหว่ า งกลุ่ ม อายุ ข องบุ ค ลากรในองค์ ก ร ความ 21st Century. A Theoretical Analysis:
คาดหวังในการรับบริการที่มากขึ้น และการฟ้องร้อง International Journal of Academic
ล้ ว นส่ ง ผลให้ อ งค์ ก รต้ อ งมี ก ารปรั บ ตั ว ดั ง นั้ น ทุ ก Research in Business and Social
องค์กรจึงควรให้ความสาคัญต่อทรัพยากรมนุษย์เป็น Sciences 2017; 7(3): 216-23.
อย่างยิ่ง พยายามนาศักยภาพหรือความสามารถมา 5.ธัญญานันท์ ศรีธรรมนิตย์. การบริหารทรัพยากร
ใช้ให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ มนุษย์ที่มีประสิทธิผลของโรงพยาบาลเอกชน.
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ จึงต้องให้ความ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต].
สนใจต่อการพัฒนาศักยภาพมนุษย์เพื่อพัฒนาองค์กร กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์;
ให้ก้าวหน้าโดยมีหน้าที่วางแผน สรรหา คัดเลือกและ 2559. 117.
พัฒนาการประเมินผลการทางานรวมทั้งความปลอดภัย 6. น้องนุช วงษ์สุวรรณ, สถิตย์ นิยมญาติ, บุญเลิศ ไพรินทร์.
และสุ ขภาพของบุ คลากร เนื่ องจากองค์กรสุขภาพ ประสิทธิผลการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของ
ต้องอยู่ภายใต้ความคาดหวังของผู้รับบริการและการ โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร.
ตรวจสอบจากภายนอกอยู่ตลอดเวลา รวมทั้งต้อง วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ
เผชิญกับ ความเปลี่ ยนแปลงหลายด้านทั้งภายนอก 2561; 1 1(1): 1760-76.
และภายในองค์กร ทาให้การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 7. World Health Organization. The World
จึงเป็นงานที่ท้าทายอย่างยิ่งในองค์กรสุ ขภาพภายใต้ Health Report: 2019: Working
การเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบันและอนาคต Together for Health. [Internet]. 2019.
เอกสารอ้างอิง [cited 2019 October 19]. Available
1. Elarabi H.M., Johari F. The Impact of from: http://www.who.int./html/
Human Resources Management on 8. ปาจรีย์ สาราญจิตต์. แนวทางจัดการแก้ไขปัญหา
Healthcare Quality. Asian Journal of ความเสียหายทางการแพทย์: ความปลอดภัย
Management Sciences & Education ผู้ป่วยและระบบการชดเชยความเสียหาย
2014; 3: 13-22. โดยไม่พิสูจน์ถูกผิด. วารสารกฏหมายสุขภาพ
2. Kumar P, Khan A.M. Transition in human และสาธารณสุข 2561; 4: 223-35.
resource for health in India: 9. Harris C., Cortvriend P., Hyde P. Human
Challenges ahead. International resource management and
Journal of Scientific Research 2012; performance in health care
1(2): 138-9. organizations. Journal of Health
3. Aslam H.D. Importance of Human Organization and Management 2007;
Resource Management in 21 st 21: 4-5.
Century. A Theoretical Perspective.
หัวหินเวชสาร
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564 Hua Hin Medical Journal

10. พูลสุข นิลกิจศรานนท์. แนวโน้มธุรกิจโรงพยาบาล 18. สยามมีเดีย. การพัฒนาประเทศไทยให้เป็น


เอกชน: บทวิเคราะห์แนวโน้มอุตสาหกรรม ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ “Medical Hub”
ปี 2562-64. กรุงเทพมหานคร: ธนาคารกรุง นโยบายสาคัญของรัฐบาลไทย.
ศรีอยุธยา; 2562. [อินเตอร์เนต]. 2559 [สืบค้นเมื่อวันที่ 28
11.จิรประภา อัครบวร. แนวโน้มงานด้านทรัพยากรมนุษย์ ตุลาคม 2562]. แหล่งข้อมูล:
ปี พ.ศ. 2560. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์ http://live.siammedia.org/index.php/
2561; 58(2): 169-98. article/chit-chat-health/9739
12. Sahu A., Sharma A. The Role of Human 19. พรชัย ดีไพศาลสกุล. ความคาดหวัง และการ
Resources in the Age of Globalization. รับรู้ของผู้รับบริการต่อคุณภาพบริการ
Global Journal of Finance and โรงพยาบาล. วารสารกลุ่มมนุษยศาสตร์และ
Management 2014; 6(9): 977-82. สังคมศาสตร์ 2556; 66(1): 573-92.
13. สมศักดิ์ อรรฆศิลป์. แผนยุทธศาสตร์กรมการแพทย์ 20. แสวง บุญเฉลิมวิภาส. ปัญหาฟ้องร้องทางการ
พ.ศ.2562. กรุงเทพมหานคร: 2562 แพทย์และแนวทางแก้ไข. จุลนิติ 2554; 47-58.
14. Milani RV, Lavie CJ. Health care 2020: 21. Miller L.J., Lu W. Gen Z is set to
Reengineering health care delivery to Outnumber Millennials Within a
combat chronic disease. Am J Med. Year. [Internet]. 2019. [cited 2020
2015; 128(4): 337–43. March 3]. Available from:
15. Selvan V. Study on the role of https://www.bloomberg.com/news/a
technology in human resource rticles/2018-08-20/gen-z-to-
management. International Journal outnumber-millennials-within-a-year-
of Applied Research 2015; 1(7): 472-75. demographic-trends.
16. Saberi A., Khademi B. Explaining the Role 22. จินางค์กูณ โรจนนันต์. กาลังคนภาครัฐพร้อมเข้า
of Information Technology in Human สู่สังคมสูงวัย:ทาไม อะไร อย่างรัย. การ
Resource Development- Case Study: ประชุมนโยบาย และแผนงาน สานักงาน
Staff and Faculty Members of Islamic สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ;
Azad University, Darab. International 28 มกราคม 2562; หอประชุมสุขุมนัยประดิษฐ์
Journal of economy management สานักงาน ก.พ.; จังหวัดนนทบุรี, ประเทศไทย
and social science 2015; 4(1): 67-74. 23. อัญชลี แก้วสระศรี, รัตนา นิลเลื่อม, ชุลีพร หีตอักษร.
17. ข่าวสารอาเซียน. ยุทธศาสตร์ 10 ปี ไทยเป็น การเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรม
ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub). ไทยกับแนวโน้มวิชาชีพพยาบาล. วารสาร
[อินเตอร์เนต].2562. [สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พยาบาลสงขลานครินทร์ 2560; 3: 160-9.
กันยายน 2562]. แหล่งข้อมูล: 24. สุบัทมา ตันตยาภินันท์. ความแตกต่างภายใน
http://www.aseanthai.net/ewt_news. องค์กรกับยุทธวิธีในการบริหารทรัพยากรมนุษย์.
php?nid=6276&filename=index. วารสารบริหาร 2560; 1: 59-64.
หัวหินเวชสาร
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564 Hua Hin Medical Journal

25. Khatri N., Wells J., McKune J., Brewer M. 30. Kabene S. M., Orchard C., Howard J. M.,
Strategic Human Resource Soriano M. A. Leduc R. The
Management Issues in Hospitals: A importance of human resources
Study of a University and a management in health care: a global
Community Hospital. Research and context. Human resources for Health
Perspectives on Healthcare 2006; 2006; 4(1): 20.
84(4): 9-20. 31. Aiken L.H., Smith H.L., Lake E.T. Lower
26. Bach S. Health Sector Reform and Medicare mortality among a set of
Human Resource Management: hospitals known for good nursing
Britain in Comparative Perspective. care. Med Care.1994; 32(8): 771-87.
International Journal of Human 32. Platonova E.A., Hernandez S.R.
Resource Management 2000; 11(5): Innovative Human Resource
925-42. Practices in U.S. Hospitals: An
27. Bartram T., Stanton S., Leggat SG, Casimir Empirical Study. Journal of Health
G., Fraser B. Lost in translation: Care Management 2013; 58: 290-301.
Exploring the link between HRM and 33. เยาภา ปฐมศิริกุล. แบบจาลองปัจจัยความสาเร็จ
performance in healthcare. Human การจัดการธุรกิจบริการสุขภาพของ
Resource Management Journal 2007; โรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย. วารสาร
17(1): 21-41. บริหารธุรกิจ 2554; 34(130): 14-35.
28. Bonias D., Bartram T., Leggat S.G, 34. เพ็ชราภรณ์ ชัชวาลชาญชนกิจ. การบริหาร
Stanton P. Does psychological จัดการทรัพยากรมนุษย์และประสิทธิภาพ
empowerment mediate the การจัดการของโรงพยาบาลศูนย์. วารสาร
relationship between high สังคมศาสตร์วิชาการ 2557; 7(1): 1-9.
performance work systems and 35. สุธรรม คาวะรัตน์, ประกายศรี ศรีรุ่งเรือง. การพัฒนา
patient care quality in hospitals. Asia ทรัพยากรมนุษย์ โรงพยาบาลเกษมราษฏร์ ศรี
Pacific Journal of Human Resources บุรินทร์ จังหวัดเชียงราย [วิทยานิพนธ์
2010; 3: 319-37. ปริญญารัฐประสานศาสตร์มหาบัณฑิต].
29. West M.A., Guthrie J. P., Dawson J. F., กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
Borrill C.S., Carter M. Reducing เชียงราย; 2557. 77.
patient mortality in hospitals: The 36. ธนัชพร สว่างแจ้ง, กัญญดา ประจุศิลป. การบริหาร
role of human resource ทรัพยากรมนุษย์ขององค์การพยาบาล
management. Journal of โรงพยาบาลสังกัดกรมแพทย์ทหารเรือ
Organizational Behavior 2006;27(7): ในช่วงพุทธศักราช 2555-2559. วารสาร
983–1002. พยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2555; 24(2): 12-26.
หัวหินเวชสาร
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564 Hua Hin Medical Journal

37. คนึงนิจ อุณหโชค. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 40. Ulrich, D. Strategic Human Resource


ของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาล Planning: Why and How? Human
รัฐบาลในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 Resource Planning 1987; 10(1): 37-56.
[วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต.พยาบาลศาสตร์ 41.Christensen, R. Roadmap to Strategic HR:
(การบริหารการพยาบาล)].กรุงเทพมหานคร: Turning a Great Idea into a Business
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2546. 154 หน้า. Reality. New York: AMACOM. 2006.
38. Mujeeb L.M. Importance of Best Human 42. ทวีรัตน์ สุกเพชร, ธีรศักดิ์ อุ่นอารมย์เลิศ.
Resource Management Practice and อนาคตภาพในการบริหารจัดการทรัพยากร
the need for a Human Resource มนุษย์ของโรงพยาบาลตารวจที่มีประสิทธิผล.
Information System (HRIS) for the วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย 2560;
Public Health Sector in Sri Lanka. Sri 9(2): 108-121.
Lanka Journal of Bio-Medical 43. จินตนา ศิริธัญญารัตน์, วิสาข์ จัติวัตร์. “การพัฒนา
Informatics 2012; 3(2): 55-62. รูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ที่
39. Barney, J. B., & Wright, P. M. On บูรณาการกลยุทธ์การพัฒนาทักษะการคิด
Becoming a Strategic Partner: The ขั้นสูงเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงใน
Role of Human Resource in Gaining ศตวรรษที่ 21 และจิตวิทยาศาสตร์ของ
Competitive Advantage. Human นักเรียนระดับมัธยมศึกษา”. วารสาร
Resource Management 1998; 37(1): ศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย 2558; 7(1):
31-46. 148-162.

You might also like