You are on page 1of 43

การจัดสรรทรัพยากร

สุขภาพ
อ.ดร.น้ำฝน ศรี บัณฑิต
25 กุมภาพันธ2์ 562
2
ประเภททรัพยากรสุขภาพ
1. บุคลากร คำถามจากผูร้ ั บบริ การ : เราควรไดร้ ั บบริ การอะไรบา้ ง ? ตอ
้ งจา่ ยเงิน?
2. หน่วยงานบริการด ้านสุขภาพ
3. วัสดุ อุปกรณ์ เครือ
่ งมือแพทย์ เทคโนโลยี
4. เทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ
5. งบประมาณ

คำถามของภาครัฐ :รัฐตอ
้ งใหบ
้ ริ การสุขภาพอะไร? แกค ่ นกลุม
่ ใด?
อยา่ งไร? ที่ไหน? ตอ ้ งเก็บเงินที่ใคร?
ิ ค ้าและบริการสุขภาพ
สน
มีลก
ั ษณะพิเศษทีต ่ า่ งไปจากสน ิ ค ้าและบริการทั่วไป
• ความไม่สมมาตรของข ้อมูลสารสนเทศระหว่างผู ้ให ้บริการและผู ้รับบริการ
• ความไม่แน่นอน ไม่รู ้ล่วงหน ้าว่าจะเจ็บป่ วยเมือ่ ใด
• บริการสุขภาพมีความเกีย่ วข ้องกับผลกระทบต่อสงั คม เชน่ การฉีดวัคซน ี ป้ องกันโรค
ติดต่อ
่ การรับบริการในโรงพยาบาล
• การให ้บริการทีไ่ ม่สามารถแบ่งย่อยได ้ เชน
สนิ ค ้าและบริการสุขภาพ จัดเป็ นสน
ิ ค ้าประเภท “สนิ ค ้าคุณธรรม” (Merit Goods) ไม่

สามารถใชกลไกตลาดในการตั ดสนิ ใจเกีย
่ วกับการผลิตทรัพยากร การใชทรั ้ พยากรด ้าน
สุขภาพได ้
การจัดสรรทรัพยากรสุขภาพในระดับต่างๆ
• ระดับประเทศ (policy allocation) เครือ่ งมือทีใ่ ชคื้ อ นโยบายเกีย่ วกับการ
จัดการระบบสุขภาพ การจัดสรรงบประมาณระดับกระทรวงกฎหมาย ระเบียบ
ข ้อกำหนด การเก็บภาษี
• ระดับองค์กร (organization allocation) เครือ่ งมือทีใ่ ช ้ นโยบายสถาน
พยาบาล แนวทางการรักษามาตรฐาน
• ระดับบุคคล (point of care allocation) เครือ่ งมือทีใ่ ช ้ ความจำเป็ นเร่งด่วน
ของผู ้ป่ วย ความต ้องการ ความคาดหวังของผู ้ป่ วย Moral hazard จริยธรรม
ทางการแพทย์: Autonomy/Beneficence/ Nonmalificence/ Justice
หลักในการบริหารทรัพยากร
• สอดคล ้องกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ หรือไม่ขด
ั แย ้งนโยบายสำคัญ
• ้ พยากรอย่างประหยัด เกิดประโยชน์สงู สุด มีความคุ ้มค่า
ใชทรั
• เป็ นไปตามกฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ทเี่ กีย
่ วข ้อง
• มีความเป็ นธรรม (Equity)
แนวคิดการจัดสรรทรัพยากรสุขภาพ

SUPPLY SIDE DEMAND SIDE


•การกระจายบริ การ: ระยะทางระหวา่ งสถานบริ การกับชุมชน • ลักษณะทางประชากร กลุม
่ อายุ
•การบริ การชนิ ดตา่ งๆ : พื้นฐาน/ขันสู้ ง เพศ
•การใหบ ้ ริ การขา้ มเขต การรับสง่ ตอ่
• บทบาทเอกชนในการร่วมบริ การ • ลักษณะทางเศรษฐกิจสงั คม รายได ้
•ศูนยก์ ารวิจัย การผลิตบุคลากรการแพทย์ ึ ษา อาชพ
การศก ี พืน
้ ทีด
่ ้อยโอกาส
ตน้ ทุนของการบริ การ
• ขนาดของสถานพยาบาล ความยากจน ความขาดแคลน
•เทคโนโลยี เครื่ องมือแพทย ์
•ประสท ิ ธิผลของการรักษา
• ปั จจัยด ้านสุขภาพ : อัตราการป่ วย
การตาย โรคระบาด ความรุนแรง
ของโรค ภาระโรค
แนวคิด/หลักการในการจัดสรรทรัพยากร
สุขภาพ
• หลักการความเสมอภาค
• หลักการความพอเพียงของบริการสุขภาพ
• หลักการความจำเป็ นพืน
้ ฐาน
• หลักมาตรฐานขัน
้ ต่ำ
• หลักประกันสงั คม
บุคลากรด ้านสุขภาพ
บุคลากรด ้านสาธารณสุขแบ่งได ้เป็ น 5 กลุม
่ งานดังนี้
• กลุม
่ งานรักษาพยาบาล เชน ่ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล เภสช ั กร
• กลุม ่ นักวิชาการสาธารณสุข เจ ้าหน ้าทีท
่ งานสาธารณสุข เชน ่ ันตสาธารณสุข
นักวิชาการควบคุมโรค
• กลุม ่ นักบริหาร ผู ้ตรวจราชการ เจ ้าหน ้าทีน
่ งานบริหาร เชน ่ โยบายและแผน
นิตก ่ ารเงินและบัญช ี
ิ ร เจ ้าหน ้าทีก
• กลุม ึ ษา เชน
่ งานการศก ่ นักวิชาการสาธารณสุข นักวิชาการโสตทัศนศก
ึ ษา
ึ ษา
นักวิชาการสุขศก
่ งานชา่ ง เชน
• กลุม ่ นายชา่ ง สถาปนิก ชา่ งภาพการแพทย์
ตัวอย่าง ตำแหน่งบุคลากรด ้านสุขภาพ
• นายแพทย ์ เจา้ พนักงานวิทยาศาสตร์ • นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน

• ทันตแพทย ์ การแพทย ์ • นักจัดการงานทั่วไป
• นักวิทยาศาสตร์การแพทย ์ • เจา้ พนักงานเภสัชกรรม • นักทรัพยากรบุคคล
• นักเทคนิ คการแพทย ์ • นักวิชาการสาธารณสุข • เจา้ พนักงานธุรการ
• เภสัชกร • เจา้ พนักงานสาธารณสุข เจา้ พนักงานพัสดุ
• โภชนากร •
• เจา้ พนักงานทันต
• พยาบาลเทคนิ ค สาธารณสุข • เจา้ พนักงานเวชสถิติ
• พยาบาลวิชาชีพ • เจา้ พนักงานเวชกรรมฟ้ื นฟู • นิ ติกร
• เจา้ พนักงานรังสีการแพทย ์• นายชา่ งโยธา • เจา้ พนักงานการเงินและบัญชี
• นักรังสีการแพทย ์ • นายชา่ งเทคนิ ค • นักวิชาการเงินและบัญชี
• นักกายภาพบำบัด • นายชา่ งศลิ ป์ เจา้ พนักงานเผยแพร่

ประชาสัมพันธ์
บุ คลากรด้านสุ ขภาพ จำนวน ( ปี 2560) สั ดสว
่ นการดู แล
ประชาชน
แพทย์ 50,573 1,292
พยาบาล 158,317 419
ทันตแพทย์ 11,575 5,643
ทันตาภิ บาล 6,818 9,581
เภสั ชกร 26,187 2,494
เทคนิ คการแพทย์ 15,200 4,298
นักกายภาพบำบัด 10,065 6,490
นักวิชาการสาธารณสุ ข 27,035 2,416
เจ้าพนักงาน 27,006 2,419
สาธารณสุ ขชุ มชน
แพทยแ ์ ผน 30,371 2,151

ไทย/ประยุ กต์
การจัดการทรัพยากรบุคคลด ้าน
สาธารณสุข
• การวางแผนผลิตกำลังคนด ้านสุขภาพให ้มีปริมาณและทักษะเพียงพอ
สอดคล ้องกับความต ้องการของประเทศ
• ฐานข ้อมูล GFMIS (government fiscal management information system)
• สถานการณ์ปัจจุบน
ั กำลังคนเพียงพอแต่มป ี ั ญหาในการกระจายตัว / การ
เปลีย่ นแปลงในระบบสุขภาพสง่ ผลภารกิจด ้านสุขภาพ งานด ้านปฐมภูม ิ
สงั คมผู ้สูงอายุ อัตราเกิดน ้อย
ทรัพยากร หน่วยบริการด ้านสุขภาพ
ทรัพยากร สถานพยาบาล IPD
แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากร สถานพยาบาล
• ความเหมาะสมของสถานทีต
่ งั ้ และทำเล
• ความสะดวกของผู ้มารับบริการ
• ครอบคลุมประชากรกลุม
่ เป้ าหมาย
• ต ้นทุนการลงทุน
• เหมาะสมกับวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี
ทรัพยากร เครือ
่ งมือแพทย์ เทคโนโลยี
ทางการแพทย์
ทรัพยากร ยาและเวชภัณฑ์ และ
เทคโนโลยี
แนวทางการจัดสรรทรัพยากร
• ความจำเป็ น และการแก ้ไขปั ญหาสาธารณสุข
• ความคุ ้มค่าของเทคโนโลยี ** (Health technology assessment, HTA)** - cost vs effectiveness
• ื้
การกำหนดความต ้องการและการสรรหา การจัดซอ
• ความสามารถในการผลิตของเครือ
่ งมือและเครือ
่ งจักร
• ิ ค ้าทดแทน
สน
• การจัดสรร การกระจายและการขนสง่
• การตรวจสอบและการเบิกจ่ายพัสดุ การเก็บและบำรุงรักษา
ทรัพยากร งบประมาณ
่ งจากกลไกการตลาดของบริการสุขภาพมีข ้อจำกัด จึงเป็ นสงิ่ จำเป็ นทีร่ ัฐ
• เนือ
ควรเข ้ามาแทรกแซงด ้านการคลัง
• โดยวิธกี ารจัดสรรงบประมาณ เป็ นกลไกการจัดสรรทรัพยากรสุขภาพ
• การจัดสรรงบประมาณ ควรแยกอำนาจผู ้ซอื้ (ประชาชน) – ผู ้ขายบริการ
(หน่วยบริการสาธารณสุข) ออกจากกัน โดยให ้ผู ้ทีม ่ ค
ี วามรู ้ด ้านสุขภาพเท่า ๆ
ื้ แทนประชาชน (สปสช. ปกส. และกรมบัญชก
กับ ผู ้ขายบริการ เป็ นผู ้ซอ ี ลาง)
โดยมีเงือ ่ นไขของการจัดสรรงบประมาณแบบต่าง ๆ ให ้เหมาะสม เชน ่ งบ
ประมาณกำหนดหมวด (line item budget) งบประมาณยอดรวม (global
budget) เหมาจ่ายรายหัว (capitation) ตามรายกิจกรรม (free-for-service,
price schedule) หรือตามรายป่ วย (case-based budget)
แหล่งทีม
่ าของงบประมาณ
้ นงานในการรักษา ป้ องกัน สง่ เสริม ฟื้ นฟูสข
งบประมาณ งบประมาณทีใ่ ชในการดำเนิ ุ ภาพมี
ทีม
่ าจาก
• งบประมาณแผ่นดินทีก่ ระทรวงสาธารณสุขได ้รับการจัดสรรมา กระทรวง กรมอืน
่ ๆ ทีม
่ ห
ี น ้า
ทีเ่ กีย ่ กระทรวงมหาดไทย องค์การบริหารสว่ นจังหวัด
่ วข ้องกับการสาธารณสุข เชน
• กองทุนประกันสุขภาพต่างๆ
• ่ เงินบำรุงของโรงพยาบาล
เงินนอกงบประมาณ เชน
• เงินชว่ ยเหลือจากองค์กรต่างประเทศ
• เงินจากภาคเอกชน
วงจรงบประมาณ
3.ระบบการติดตาม 1. ระบบการวางแผน
การใชจ้ า่ ยงบประมาณ และจัดทำงบประมาณ
และผลผลิต

EvMIS ระบบขอ ้ มูลการบริ หาร


ดา้ นการเงิน การคลัง
ติดตามการใชจ้ า่ ย การงบประมาณ ภาครัฐ
งบประมาณและผลผลิต (GFMIS)
ตัวชี้วัดที่เป็ นคุณภาพ e-Budgeting
เวลา และปริ มาณ 2. ระบบการบริ หาร การวางแผนและจัดทำงบประมาณ
งบประมาณ เบิกจา่ ย
แบบอิเล็กทรอนิ กส ์ และ • ยุทธศาสตร์กระทรวง
บันทึกบัญชีแบบเกณฑค ์ งคา้ ง และหน่วยงาน : Function
• ยุทธศาสตร์ท่ีไดร้ ั บ
มอบหมาย : Agenda
การบริ หารงบประมาณ • ยุทธศาสตร์พ้ ืนที่
GFMIS •การทำแผนปฏิบตั ิงาน/
(กลุม
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ่ จังหวัด จังหวัด ) : Area
ติดตามการใชจ้ า่ ย •การจัดสรรงบประมาณ
งบประมาณและผลผลิต •การโอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณ
เฉพาะตัวช้ีวัดที่เป็ นตน
้ ทุน GFMIS
•การตรวจสอบงบประมาณในระบบ
โดยอัตโนมัติ เมื่อบันทึกรายการเบิกจ่าย 27
•การบันทึกบัญชีแบบเกณฑ์คงค้าง

ที่มา : เอกสารระบบงบประมาณของโครงการ GFMIS


การพัฒนาระบบงบประมาณของ
ประเทศไทย
Line Item Budgeting
พ.ศ. 2502-2524

PPBS : Planning programming budgeting system


พ.ศ. 2525-2540

PBBS : Performance base budgeting system


พ.ศ. 2540-2545

SPBBS : Strategic Performance base budgeting system


พ.ศ. 2546-ปัจจุบัน
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์Strategic Performance base budgeting system
วัตถุประสงค์
เป็ นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มี
ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายและ
ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ
: Strategic Performance base budgeting system

ให้กระทรวง ทบวง กรม


มีบทบาท/ อำนาจตัดสินใจ เป็ นระบบควบคุม ตรวจสอบ
ในการจัดสรรทรัพยากรมากขึ้น ที่มีประสิทธิภาพ และ โปร่งใส

29
ตัวชวี้ ด
ั การจัดสรร และการบริหารทรัพยากร
สาธารณสุข
1. ตัวชวี้ ด
ั เกีย่ วกับปั จจัยนำเข ้า (Input indicators)
2. ตัวชวี้ ดั เกีย่ วกับปั จจัยผลผลิต (Output Indicators)
ตัวอย่าง Input indicators
• อัตราการคงอยูข่ องบุคลากรสาธารณสุข (Retention rate)
• ร ้อยละของจังหวัดทีม่ บ
ี ค
ุ ลากรสาธารณสุขเพียงพอ
• ระดับความสำเร็จของเขตสุขภาพทีม่ กี ารบริหารจัดการระบบการผลิตและ
พัฒนากำลังคนได ้ตามเกณฑ์เป้ าหมายทีกำ
่ หนด
• ร ้อยละของบุคลากรทีไ่ ด ้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ทกำ
ี่ หนด
• ร ้อยละของหน่วยงานทีม่ กี ารนำดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happinometer)
ไปใช ้
• ร ้อยละของโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสุขมีคณ
ุ ภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA
ขัน
้ 3
• ร ้อยละของ รพ.สต. ทีผ
่ า่ นเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. ติดดาว
• ื้ ร่วมของยา เวชภัณฑ์ทไี่ ม่ใชย
ร ้อยละของการจัดซอ ่ า วัสดุวท
ิ ยาศาสตร์ และวัสดุทันตกรรม
• ร ้อยละของจังหวัดและหน่วยบริการทีผ
่ า่ นเกณฑ์คณ
ุ ภาพข ้อมูล
• ร ้อยละของหน่วยบริการระดับทุตย ิ ภูมแ
ิ ละตติยภูมส
ิ ามารถแลกเปลีย
่ นข ้อมูลสุขภาพ
ได ้(Health Information Exchange (HIE))
• ร ้อยละของประชาชนเข ้าถึงข ้อมูลสุขภาพตนเองได ้ (Personal Health Record)
• ร ้อยละของหน่วยบริการทีป่ ระสบภาวะวิกฤติทางการเงิน
• ร ้อยละของยากลุม
่ เป้ าหมายทีผ
่ ลิตหรือนำเข ้าเพือ
่ ทดแทนยาต ้นแบบเพิม
่ ขึน

• จำนวนตำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ทีผ ่ า่ นความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
คุ ้มครองและสง่ เสริมภูมป
ิ ั ญญาการแพทย์แผนไทย
• จำนวนงานวิจัยสมุนไพร/งานวิจัยการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทาง
เลือกทีนำ ้ งทางการแพทย์ หรือการตลาด
่ มาใชจริ
ตัวอย่าง Output indicators
• อัตราสว่ นการตายมารดาไทย
• ร ้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
• ี ในหญิงอายุ 15-19 ปี
อัตราการคลอดมีชพ
• ร ้อยละของวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีคา่ ดัชนีมวลกายปกติ
• ร ้อยละของ Healthy Ageing
• ี ชวี ต
อัตราการเสย ิ จากการจมน้ำของเด็กอายุน ้อยกว่า 15 ปี
• อัตราผู ้ป่ วยเบาหวานรายใหม่จากกลุม ี่ งเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
่ เสย
รายใหม่จากกลุม ี่ งและสงสย
่ เสย ั ป่ วยความดันโลหิตสูง
• ร ้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย
• อัตราตายของผู ้ป่ วยโรคหลอดเลือดสมอง
• ร ้อยละของคลินกิ หมอครอบครัวทีเ่ ปิ ดดำเนินการในพืน
้ ที่ (Primary Care
Cluster)

You might also like