You are on page 1of 22

บทที่ 1 อะตอม โมเลกุล และไอออน

Atoms Molecules and Ions


อะตอม (Atom) คือ หน่ วยพืน้ ฐานของธาตุทเี่ ข้ าทำปฏิกริ ิยาเคมี

ชนิดของอนุภาค ประจุ มวล (g)


โปรตอน (proton, p) + 1.67  10 –24 g = 1 amu
นิวตรอน (neutron, n) 0 1.67  10 –24 g = 1 amu
อิเล็กตรอน (electron, e- ) - 9.11  10 –28 g = 0.00055 amu

1
เลขอะตอม (Atomic number, Z) คือ จำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของแต่
ละอะตอมของธาตุ
Z=p
@ ในอะตอมที่ เป็ นกลาง จำนวนโปรตอนเท่ ากับจำนวนอิเล็กตรอน
@ ดังนั้นเลขอะตอมจึงบอกจำนวนอิเล็กตรอนในอะตอมด้ วย
p = e-
เลขมวล (Mass number, A) คือ ผลรวมของนิวตรอนและโปรตอนทีม่ อี ยู่
ในนิวเคลียสของอะตอมของธาตุ
A = p+n
เลขมวล = จำนวนโปรตอน + จำนวนนิวตรอน
= เลขอะตอม + จำนวนนิวตรอน

2
สั ญลักษณ์ ของธาตุ (Atomic symbol)
เลขมวล AX สั ญลักษณ์ ธาตุ
เลขอะตอม Z

ไอโซโทป (Isotope) คือ อะตอมทีม่ เี ลขอะตอมเท่ ากันแต่ มเี ลขมวลต่ างกัน เช่ น
1H 2H 3H
1
ไฮโดรเจน ดิว1ทีเรียม ทริ1 เทียม
ตัวอย่ าง จงเติมคำตอบทีถ่ ูกต้ องในช่ องว่ าง
56 Fe 2+
สั ญลักษณ์ 26
โปรตอน 5 79 86
นิวตรอน 6 16 117 136
อิเล็กตรอน 5 18 79
ประจุสุทธิ 3- 0
3
มวลอะตอม (Atomic mass)
คือ ตัวเลขทีไ่ ด้ จากการเปรียบเทียบมวลของธาตุ 1 อะตอม
กับมวลของธาตุมาตรฐาน 1 อะตอม
ในรู ปของหน่ วยมวลอะตอม (atomic mass unit, amu) เช่ น
1
H = 1.00 amu 12 C = 12.00 amu
(เดิม) (ปัจจุบัน)
มวลอะตอมเฉลีย่ (Average atomic mass)
: นำมวลอะตอมของธาตุทมี่ หี ลายไอโซโทปมาหามวลอะตอมเฉลีย่
(ปริ มาณ%ของไอโซโทป × มวลของไอโซโทป)
มวลอะตอมเฉลีย่ = 100
(% ในธรรมชาติ × มวล)
= 100

4
ตัวอย่ างที่ 1 ทองแดงเป็ นโลหะทีม่ นุษย์ รู้ จักมาตั้งแต่ สมัยโบราณใช้ ทำสายไฟฟ้ า
และเหรียญกษาปณ์ เป็ นต้ น มวลอะตอมของไอโซโทปทีเ่ สถียร 2 ชนิด
ของทองแดง 29 63Cu (69.09%) และ 65Cu (30.91%) มีค่า 62.93
29
และ 64.9278 amu ตามลำดับ จงคำนวณมวลอะตอมเฉลีย่ ของทองแดง
(ปริ มาณ%ของไอโซโทป × มวลของไอโซโทป)
มวลอะตอมเฉลีย่ = 100
(% ในธรรมชาติ × มวล)
= 100
69.09 × 62.93 30.91×64.9278
มวลอะตอมเฉลีย่ = +
100 100
= 63.55 amu

5
ตัวอย่ างที่ 2 มวลอะตอมของไอโซโทปทีเ่ สถียร 2 ไอโซโทปของโบรอน คือ
10 B (19.78 %) และ 11B (80.22 %) มีค่า 10.0129 และ 11.0093 amu
5 5
ตามลำดับ จงคำนวณมวลอะตอมเฉลีย่ ของโบรอน
(ปริ มาณ%ของไอโซโทป × มวลของไอโซโทป)
มวลอะตอมเฉลีย่ = 100
(% ในธรรมชาติ × มวล)
= 100
19.78 × 10.0129 80.22×11.0093
มวลอะตอมเฉลีย่ = +
100 100
= 10.81 amu

6
มวลโมเลกุล (Molecular mass)
: ผลบวกของมวลอะตอม (เป็ น amu) ของอะตอมทั้งหมดในโมเลกุล
หรือ ผลบวกของ จำนวนอะตอม X มวลอะตอม ของธาตุ
มวลโมเลกุลของ NO2 = (1  มวลอะตอมของ N) + (2  มวลอะตอมของ O)
= (1  14 amu) + (2  16 amu)
ตัวอย่ างที่ 3 จงคำนวณมวลโมเลกุ= 46ลของสารประกอบต่
amu อไปนี้
(H = 1, C = 12, N = 14, O = 16)
3.1 HNO3 = (1 x H) + (1 x N) + (3 x O) = (1 x 1) + (1 x 14) + (3 x 16) = 63 amu
3.2 C6H8O6 = (6 x C) + (8 x H) + (6 x O) = (6 x 12) + (8 x 1) + (6 x 16) = 176 amu
3.3 H2O = (2 x H) + (1 x O) = (2 x 1) + (1 x 16) = 18 amu
3.4 CH3COOH = (2 x C) + (4 x H) + (2 x O) = (2 x 12) + (4 x 1) + (2 x 16) = 60 amu
3.5 C2H5OH = (2 x C) + (6 x H) + (1 x O) = (2 x 12) + (6 x 1) + (1 x 16) = 46 amu

7
ไอออน (Ion) : อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมทีม่ กี ารให้ หรือรับอิเล็กตรอน
1. ไอออนบวก (Cation) คือ อะตอมหรือกลุ่มอะตอมทีม่ กี ารให้ e-
2. ไอออนลบ (Anion) คือ อะตอมหรือกลุ่มอะตอมทีม่ กี ารรับ e-
+ + 2+ 2+ 3+ - - - -
เช่ น Na K Mg Ca Al Cl Br I F
NH +4 NO -3 SO 2-4 CO 2-3 PO 3-4

มวลสู ตร (Formula Mass)


สำหรับสารประกอบไอออนิก ผลบวกของมวลอะตอมในสู ตรเคมี
คือ formula mass
เช่ น formula mass ของ NaCl = 23 amu + 35.5 amu
= 58.5 amu

8
ตัวอย่ างที่ 4 จงคำนวณ formula mass ของสารต่ อไปนี้
(H = 1, Li = 7, C = 12, N = 14, O = 16, Na = 23, P = 31, S = 32, Cl = 35.5, K = 39, Br = 80)

4.1 KBr = (1 x K) + (1 x Br) = (1 x 39) + (1 x 80)


= 119 amu
4.2 Na2SO4 = (2 x Na) + (1 x S) + (4 x O) = (2 x 23) + (1 x 32) + (4 x 16)
= 142 amu
4.3 Li2CO3 = (2 x Li) + (1 x C) + (3 x O) = (2 x 7) + (1 x 12) + (3 x 16)
= 74 amu
4.4 KH2PO4 = (1 x K) + (2 x H) + (1 x P) + (4 x O) = (1 x 39) + (2 x 1) +
(1 x 31) + (4 x 16) = 136 amu
4.5 NH4Cl = (1 x N) + (4 x H) + (1 x Cl) = (1 x14) + (4 x 1) + (1 x 35.5)
= 53.5 amu

9
โมล (Mole)
: เป็ นหน่ วยเรียกในระบบ SI โดยสั ญลักษณ์ ของโมล คือ mol
หมายถึง “ปริมาณสารทีป่ ระกอบไปด้ วยอนุภาค
เท่ ากับ จำนวนอะตอมของไอโซโทป C – 12 จำนวน 12
(อะตอม โมเลกุลหรืออนุภาคอืน่ )
กรัม ”
1 mole = 6.022045  1023
อนุภาค
= Avogadro’s
number
สารใดๆ 1 โมล จะมีจำนวนอนุภาค (อะตอม โมเลกุล ไอออน)
เท่ ากับ 6.02  1023 อนุภาค (อะตอม โมเลกุล ไอออน)

10
มวลต่ อโมล (Molar mass) หรือ มวลโมเลกุล

1. มวลต่ อโมล ของ ธาตุ หนึ่งๆ จะมีมวลเท่ ากับมวลอะตอมทีม่ หี น่ วยเป็ นกรัม (g)
เช่ น มวลอะตอมของ Na = 23 amu
มวลต่ อโมลของ Na = 23 กรัม
2. มวลต่ อโมล ของ สารประกอบ หนึ่งๆ จะมีมวลเท่ ากับ มวลโมเลกุลทีม่ หี น่ วยเป็ นกรัม (g)
เช่ น มวลโมเลกุลของ CO2 = 44 amu
มวลต่ อโมลของ CO2 = 44 กรัม
3. มวลต่ อโมล ของ ไอออน หนึ่งๆ จะมีมวลเท่ ากับมวลของไอออนนั้นๆ หรือ
formular mass ทีม่ หี น่ วยเป็ น กรัม (g)
เช่ น มวลอะตอมของ Na = 23 amu
มวลต่ อโมลของ Na+ = 23 กรัม

11
สรุ ป

1 mol ของ C อะตอม = 6.02  1023 อะตอม = 12 กรัม

1 mol ของ O2โมเลกุล = 6.02  1023 โมเลกุล = 32 กรัม


= 2  6.02  1023 อะตอม

1 mol ของ Na+ ไอออน = 6.02  1023 ไอออน = 23 กรัม

12
ตัวอย่ างที่ 5 เงิน (Ag) 1 อะตอมมีมวลกีก่ รัม (มวลอะตอม Ag =107.9)

มวลต่ อโมล (มวลอะตอม) Ag = 107.9 กรัม


ใน Ag 1 โมล มี 6.02  1023 อะตอม
ทำให้ Ag 6.02  1023 อะตอม มีมวล 107.9 กรัม
ดังนั้น Ag 1 107.9
อะตอม มีมวล 6.02×10 23

= 1.792  10-22 กรัม

13
ตัวอย่ างที่ 6 ถ้ านำสารประกอบของ C2H5OH 13.8 กรัม
จงคำนวณ
1) จำนวนโมลของ C H OH (H = 1, C = 12, O = 16)
2 5
จำนวนโมล = มวลของสาร (g)
มวลโมเลกุล
มวลโมเลกุล = 2 (12) + 6 (1) + 1 (16) = 46 amu
ดังนั้น จำนวนโมลของ C2H5OH = 13.8
46
= 0.3 โมล

จำนวนโมลทีต่ ้ องนำไปคำนวณ

14
2) จำนวนโมเลกุลของ C2H5OH

จากกฏของ Avogadro’s number


C2H5OH 1 โมล มีจำนวน = 6.02  1023 โมเลกุล
ดังนั้น C2H5OH 0.3 โมล มีจำนวน = 0.3  6.02  1023 โมเลกุล
= 1.81  1023 โมเลกุล

นำมาจากข้ อ 1)

15
3) จำนวนอะตอมของ C , H และ O ในโมเลกุลของ C2H5OH
C2H5OH 1 โมเลกุล มี C 2 อะตอม
ดังนั้น C2H5OH 1.81  1023 โมเลกุล มี C = 2  1.81  1023 อะตอม
= 3.61  1023 อะตอม
C2H5OH 1 โมเลกุล มี H 6 อะตอม
ดังนั้น C2H5OH 1.81  1023 โมเลกุล มี H = 6  1.81  1023 อะตอม
= 1.09  1024 อะตอม
C2H5OH 1 โมเลกุล มี O 1 อะตอม
ดังนั้น C2H5OH 1.81  1023 โมเลกุล มี O = 1  1.81  1023 อะตอม
= 1.81  1023 อะตอม

16
องค์ ประกอบร้ อยละของสารประกอบ
องค์ ประกอบร้ อยละ (percent composition) ของสาร
คือร้ อยละโดยมวลของแต่ ละธาตุทอี่ ยู่ในสารประกอบ

(จำนวนอะตอมของธาตุ × มวลอะตอมของธาตุ ) × 100


องค์ ประกอบร้ อยละของสาร = มวลโมเลกุ ลของสารประกอบ

17
ตัวอย่ างที่ 7 จงคำนวณองค์ ประกอบร้ อยละโดยมวลของ H และ O
ในสารประกอบ H2O2 (H = 1, O = 16)

(จำนวนอะตอมของธาตุ × มวลอะตอมของธาตุ ) × 100


องค์ ประกอบร้ อยละของสาร = มวลโมเลกุ ลของสารประกอบ

มวลโมเลกุลของ H2O2 = 2(1) + 2(16) = 34 กรัม


2 × 100
ดังนั้น % H = 34
= 5.9 %
32 × 100
% O = 34
= 94.1 %

18
ตัวอย่ างที่ 8 กรดฟอสฟอริก (H3PO4) เป็ นกรดทีใ่ ช้ ในสารซักล้ าง ปุ๋ ย
ยาสี ฟัน และเครื่องดืม่ น้ำอัดลม จงคำนวณองค์ ประกอบร้ อยละ
โดยมวลของ H, P และ O ในสารนี้ (H = 1, O = 16, P = 31)
(จำนวนอะตอมของธาตุ × มวลอะตอมของธาตุ ) × 100
องค์ ประกอบร้ อยละของสาร = มวลโมเลกุ ลของสารประกอบ
มวลโมเลกุลของ H3PO4 = 3(1) + 1(31) + 4(16) = 98 กรัม
3 × 100
ดังนั้น % H =98
= 3.06 %
31 × 100
% P = 98
= 31.63 %
%O = 6498 ×100
= 65.31 %
19
สู ตรอย่ างง่ าย (Empirical Formular, EF)
: เป็ นสู ตรทีแ่ สดงอัตราส่ วนอย่ างต่ำของธาตุทเี่ ป็ นองค์ ประกอบ

สู ตรโมเลกุล (Molecular Formular , MF)


: เป็ นสู ตรทีแ่ สดงจำนวนอะตอมของธาตุองค์ ประกอบทีม่ อี ยู่
ใน 1 โมเลกุลของสาร
การเปลีย่ นสู ตรอย่ างง่ ายเป็ นสู ตรโมเลกุล
: (สู ตรอย่ างง่ าย)n = มวลโมเลกุล

20
ตัวอย่ างที่ 9 กรดแอสคอบิก (วิตามินซี) รักษาเลือดออกตามไรฟัน
กรดนีป้ ระกอบด้ วย คาร์ บอน (C) 40.92 % ไฮโดรเจน (H) 4.58 %
และออกซิเจน (O) 54.50 % โดยมวล จงหาสู ตรอย่ างง่ าย
และสู ตรโมเลกุลของกรด
แอสคอบิก (กำหนดมวลโมเลกุลของกรดแอสคอบิกเท่ ากับ 176)
อัตราส่ วนโดยมวลของ C : H : O = 40.92 : 4.58 : 54.50
อัตราส่ วนโดยโมลของ C : H : O = 40.92 : 4.58 : 54.50
12 1 16
= 3.41 : 4.58 : 3.41
3.41 : 4.58 : 3.41
หาอัตราส่ วนอย่ างต่ำ = 3.41 3.41 3.41
= 1.0 : 1.3 : 1.0
ดังนั้น สู ตรอย่ างง่ าย คือ C1H1.3O1

21
ขั้นต่ อไปเปลีย่ น 1.3 ให้ เป็ นเลขจำนวนเต็มโดยวิธีลองผิดลองถูก
คูณ 2 ตลอด จะได้ C2H2.6O2 ซึ่งยังปัดไม่ ได้
คูณ 3 ตลอด จะได้ C3H3.9O3  C3H4O3
หาสู ตรโมเลกุลจาก (สู ตรอย่ างง่ าย)n = มวลโมเลกุล
(C3H4O3 )n = 176
(3(12) + 4(1) + 3(16))n = 176
88 n = 176
176
n = 88
= 2
ดังนั้น สู ตรโมเลกุลของกรดแอสคอร์ บิก คือ (C3H4O3 )2 = C6H8O6

22

You might also like