You are on page 1of 13

อนุภาคมูลฐานในอะตอม

อนุภาคภายในอะตอม ประกอบด้วยอนุภาค 3 ชนิด ดังนี ้


+
1. โปรตอน (Proton – p )
2. นิวตรอน (Neutron – n)
-
3. อิเล็กตรอน (Electron – e )

1.การหาค่าประจุและมวลของอิเล็กตรอน
รอเบิร์ด แอนดรูส์ มิลลิแกน (Robert Andrews Millikan,
ค.ศ.1868-1953) ทำการหาค่าประจุอิเล็กตรอนและมวล โดยทำการทดลอง
เพื่อคำนวณหาประจุของอิเล็กตรอน โดยใช้วิธีหยดน้ำมัน เริ่มจากพ่นน้ำมัน
เป็ นละอองเม็ดเล็กๆ ให้ตกลงมาระหว่างแผ่นโลหะ 2 แผ่น แล้วใช้รังสีเอกซ์
ไปไปชนอิเล็กตรอนให้หลุดจากอะตอมของแก๊สในอากาศแล้วให้อิเล็กตรอน
ไปเกาะติด บนหยดน้ำมัน
หยดน้ำมันบางหยดมีอิเล็กตรอนเกาะเพียงอนุภาคเดียว บางหยดมี
อิเล็กตรอนเกาะหลายอนุภาค จึงทำให้หยดน้ำมันมีประจุลบ (หยดน้ำมันจะ
ตกลงมาตามแรงดึงดูดของโลกจากนัน
้ ผ่านกระแสไฟฟ้ าเข้าไปที่แผ่นโลหะทัง้
สอง ทำให้เกิดสนามไฟฟ้ าขึน
้ โดยด้านบนเป็ นขัว้ บวกและด้านล่างเป็ น
ขัว้ ลบ) หยดน้ำมันจึงเคลื่อนที่ตกลงมาช้าลง จากนัน
้ ทำการปรับค่าสนาม
ไฟฟ้ าให้เหมาะสมจนกระทั่งหยดน้ำมันหยุดนิ่ง ซึง่ แสดงว่าค่าแรงไฟฟ้ ามีค่า
-19
เท่ากับแรงโน้มถ่วงของโลก 1.602x10 คูลอมบ์
เมื่อทราบค่าประจุของอิเล็กตรอน ก็จะสามารถคำนวณหามวลของ
อิเล็กตรอนได้ ดังนี ้
8
จาก e/m = 1.76 x10 C/g
-19
e = 1.602 x10 C
-19 -28
ดังนัน
้ m= 1.602 x10 C = 9.109 x 10 g
8
1.76 x10 C/g
-
จึงสรุปได้ว่า มวลของอิเล็กตรอนจำนวน 1 อนุภาค มีค่าเท่ากับ 9.109 x 10
28
กรัม

2.การค้นพบโปรตอน

ในปี ค.ศ.1886 ออยเกน โกลด์ชไตน์ (Eugen Goldstein) ได้ดัดแปลง


หลอดรังสีแคโทดใหม่ โดยเจาะรูที่ขว
ั ้ แคโทดในหลอดรังสีแคโทด พบว่า เมื่อ
ผ่านกระแสไฟฟ้ าเข้าไปในหลอดรังสีแคโทด จะมีอนุภาคชนิดหนึง่ เคลื่อนที่
เป็ นเส้นตรงไปในทิศทางตรงข้ามกับการเคลื่อนที่ของรังสีแคโทดผ่านรูของ
ขัว้ แคโทด และทำให้ฉากด้านหลังขัว้ แคโทดเรืองแสงได้ โกลด์ชไตน์เรียกรังสี
ชนิดนีว้ ่า รังสีแคแนล (Canal ray) หรือรังสีแอโนด (Anode ray) ซึง่
รังสีนจ
ี ้ ะเบี่ยงเบนไปในทิศทางตรงกันข้ามกับรังสีแคโทด แสดงว่ารังสีนี ้
ประกอบด้วยนอุภาคที่มีประจุไฟฟ้ าเป็ นบวก และพบว่ามีอัตราส่วนประจุ
ต่อมวลไม่คงที่ ขึน
้ อยู่กับชนิดของแก๊สในหลอด และถ้าเป็ นแก๊สไฮโดรเจน
รังสีนจ
ี ้ ะมีอัตราส่วนประจุต่อมวลสูงที่สุด ต่อมากลุ่มนักวิจัยได้ข้อสรุปว่า
อนุภาคบวกมีค่าเท่ากับอนุภาคลบหรืออิเล็กตรอน และหาค่ามวลของประจุ
-24
บวกได้เป็ น 1.673x10 กรัม ซึ่งมีมวลมากกว่าอิเล็กตรอนถึง 1,840 เท่า
เรียกอนุภาคนีว้ ่า โปรตอน (proton)

3.การค้นพบนิวตรอน
ในปี พ.ศ. 2475 หลังจากที่รัทเทอร์ฟอร์ดได้เสนอแบบจำลองอะตอม
แบบใหม่ขน
ึ ้ มาแล้ว เซอร์ เจมส์ แชดวิก (James Chadwick) ได้ทำการ
ทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นโลหะแบริลเลียม และธาตุอ่ น
ื ๆเพิ่มเติม
เช่น โบรอน อาร์กอน เป็ นต้น ปรากฏว่าได้อนุภาคใหม่ที่มีมวลใกล้เคียงกับ
โปรตรอนและเป็ นกลางทางไฟฟ้ า เรียกอนุภาคนีว้ ่า นิวตรอน (Neatron)
-24
และแชดวิกคำนวณมวลของนิวตรอนออกมาได้เท่ากับ 1.675x10 กรัม
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
และไอโซโทป

สัญลักษณ์นิวเคลียร์ (nuclear symbol) เป็ นการเขียนสัญลักษณ์


ของธาตุ เพื่อแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับ อนุภาคที่อยู่ภายในนิวเคลียสของ
อะตอม เป็ นวิธีการเขียนที่ใช้การอย่างสากล วิธีการเขียนคือ ให้เขียนเลข
อะตอมไว้ที่ด้านล่างซ้าย และเลขมวลไว้ที่ด้านบนซ้ายของสัญลักษณ์
เลขอะตอม (atomic number, Z ) ตัวเลขที่แสดงจำนวนโปรตอนของ
ธาตุแต่ละตัว ซึ่งจะไม่ซ้ำกับธาตุอ่ น

เลขมวล (mass number, A ) คือตัวเลขที่แสดงจำนวนโปรตอนรวมกับ
นิวตรอนในนิวเคลียสของธาตุ

ปกติอะตอมจะมีสภาวะเป็ นกลาง จำนวนโปรตอนเท่ากับอิเล็กตรอน แต่ถ้า


ภายในอะตอมมีจำนวนโปรตอนและอิเล็กตรอนไม่เท่ากัน จะเรียกว่า ไอออน
(ion) มีสองชนิด ดังนี ้
1. ไอออนบวก คือ ไอออนที่มีจำนวนโปรตอนมากกว่าจำนวนอิเล็กตรอน
2. ไอออนลบ คือ ไอออนที่มีจำนวนโปรตอนน้อยกว่าจำนวนอิเล็กตรอน
ไอโซโทป (ISOTOPES)

การศึกษาเกี่ยวกับอนุภาคมูลฐานของธาตุแต่ละชนิดพบว่า ส่วนมาก
มวลของอะตอมของธาตุแต่ละชนิดจะไม่เท่ากัน นั่นหมายความว่า แต่ละ
อะตอมของธาตุจะมีนิวตรอนไม่เท่ากัน จึงทำให้อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน
มีมวลต่างกัน แต่มีจำนวนโปรตรอนหรือเลขอะตอมเท่ากัน เรียกอะตอม
ของธาตุเหล่านีว้ ่า ไอโซโทป (Isotope)
ธาตุชนิดหนึ่งอาจมีได้หลายไอโซโทป ส่วนมากสามารถพบได้ใน
ธรรมชาติ แต่บางส่วนสามารถพบได้จากการสังเคราะห์ เช่น ไฮโดรเจนมี 3
ไอโซโทป
การเรียกชื่อของไอโซโทปของธาตุจะเรียกขึน
้ ต้นด้วยชื่อของธาตุและ
ตามด้วยเลขมวล เช่น 18O มีเลขมวล 16 มี 8 โปรตอน 10 นิวตรอน 8
อิเล็กตรอน เรียกว่า ออกซิเจน-18 (O-18)

นอกจากนีย
้ ังพบว่า ถ้าอะตอมของธาตุต่างชนิดกัน มีจ ำนวนนิวตรอน
เท่ากัน จะเรียกอะตอมของธาตุคู่นน
ั ้ ว่า
ไอโซโทน (Isotone)
หากอะตอมของธาตุต่างชนิดกัน มีเลขมวลเท่ากัน จะเรียกอะตอมคู่
นัน
้ ว่า ไอโซบาร์ (Isobar)

1. อนุภาคภายในอะตอมชนิดที่ถูกค้นพบช้าที่สุด เพราะเหตุใด
ก.อิเล็กตรอน เพราะเป็ นอนุภาคที่มีขนาดเล็กที่สุด จึงทำให้ยากต่อการ
ทดลอง
ข. โปรตอน เพราะเป็ นอนุภาคที่อยู่ภายในนิวเคลียส ไม่สามารถมองเห็นได้
ด้วยตาเปล่า
ค.นิวตรอน เพราะไม่มีประจุ ทำให้ไม่สามารถทดลองหาการเบี่ยงเบนได้ใน
สนามไฟฟ้ า
ง. ข้อ 1 และข้อ 3 ถูกต้อง

2.การทดลองของมิลลิแกน ทำให้ค้นพบสิ่งใด
ก. โปรตอน ข. นิวตรอน
ค. มวลและประจุของอิเล็กตรอน ง. อัตราส่วนประจุต่อมวล
ของอิเล็กตรอน

3. ข้อใดต่อไปนีถ
้ ูกต้อง
9
ก. 4Be มีเลขมวล 4 เลขอะตอม 9
40 2+ 
ข. 20 Ca มี 20 โปรตอน 20 นิวตรอน 20 อิเล็กตรอน
32 - 
ค. 16 S มี 16 โปรตอน 16 นิวตรอน 18 อิเล็กตรอน
19 20
ง. 9 F มีจำนวนนิวตรอนเท่ากันกับ  Ne
10

4.ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับความหมายของเลขอะตอม
ก. ตัวเลขที่แสดงจำนวนโปรตอนรวมกับนิวตรอนในนิวเคลียสของธาตุ

ข. ตัวเลขที่แสดงจำนวนโปรตอนรวมกับอิเล็กตรอนในนิวเคลียสของธาตุ
ค. ตัวเลขที่แสดงจำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุเท่านัน

ง. ตัวเลขที่แสดงจำนวนนิวตรอนในนิวเคลียสของธาตุเท่านัน

5.พิจารณาสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุสมมุตต่อไปนี ้
23 24 24
11 A ,  B , 
11 C
12
ธาตุใดเป็ นไอโซโทปกัน เพราะเหตุใด
ก. A และ B เพราะมีเลขมวลเท่ากันแต่เลขอะตอมต่างกัน
ข. A และ B เพราะมีเลขอะตอมเท่ากันแต่เลขมวลต่างกัน
ค. B และ C เพราะมีเลขมวลเท่ากันแต่เลขอะตอมต่างกัน
ง. B และ C เพราะมีเลขอะตอมเท่ากันแต่เลขมวลต่างกัน

แบบฝึ กหัด
เรื่องอนุภาคภายในอะตอมและไอโซโทป
1. สรุปการค้นพบอนุภาคภายในอะตอมตามความเข้าใจของนักเรียน

2. จากการทดลองของมิลลิแกน ถ้าพบว่าหยดน้ำมันที่ลอยนิ่งหยดหนึ่งมีค่า
-19
ประจุเท่ากับ 6.4x10 คูลอมบ์ หยดน้ำมันนีม
้ ีอิเล็กตรอนเกาะอยู่จำนวน
เท่าใด
4. จงเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของไอโซโทปต่าง ๆ ของธาตุ X ซึ่งมี 9
อิเล็กตรอนและมีนิวตรอน 9 10 และ 11 ตามลำดับ
5.พิจารณาสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุสมมติต่อไปนี ้ ธาตุใดเป็ นไอโซโทป
กัน เพราะเหตุใด

You might also like