You are on page 1of 89

1

หน่วยการเรียนรู้ที่

โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ

ตัวชี้วัด
• ระบุว่าสารเป็นธาตุหรือสารประกอบ และอยู่ในรูปอะตอม โมเลกุล หรือไอออนจากสูตรเคมี
• เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของแบบจาลองอะตอมของโบร์กับแบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
• ระบุจานวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของอะตอม และไอออนที่เกิดจากอะตอมเดียว
• เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุและระบุการเป็นไอโซโทป
• ระบุหมู่และคาบของธาตุและระบุว่าธาตุเป็นโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ กลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟ หรือกลุ่มธาตุแทรนซิชันจากตารางธาตุ
• เปรียบเทียบสมบัติการนาไฟฟ้า การให้และรับอิเล็กตรอนระหว่างธาตุในกลุ่มโลหะกับอโลหะ
• สืบค้นข้อมูลและนาเสนอตัวอย่างประโยชน์และอันตรายที่เกิดจากธาตุเรพรีเซนเททีฟ และธาตุแทรนซิชัน
1
พัฒนาการของ
แบบจาลองอะตอม
“ อะตอม (atom) คือ คาที่ใช้เรียก
หน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร
แบบจาลองอะตอม คือ ภาพที่นักวิทยาศาสตร์
สร้างขึ้นโดยใช้ข้อมูลจากการทดลองเพื่อ
อธิบายโครงสร้างภายในของอะตอม
แบบจำลองอะตอมของดอลตัน

อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลมตัน
มีขนาดเล็กมาก ซึ่งแบ่งแยก
สร้างขึ้น หรือสูญหายไปไม่ได้

4
จอห์น ดอลตัน รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอะตอมและนาเสนอ
แบบจำลองอะตอมของทอมสั น

• อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลมประกอบด้วยโปรตอน
และอิเล็กตรอน
• อะตอมโดยปกติจะมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า
• โปรตอนและอิเล็กตรอนมีจานวนเท่ากันกระจายอยู่
สมาเสมอภายในอะตอม
เซอร์โจเซฟ จอห์น ทอมสัน ศึกษาโครงสร้างภายใน
อะตอมจากการทดลองกับหลอดรังสีแคโทด 5
แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ ด

• อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสทีมีโปรตอนอยู่ตรงกลาง
• นิวเคลียสมีขนาดเล็ก มีมวลมากและมีประจุบวก
• มีอิเล็กตรอนอยู่รอบ ๆ นิวเคลียส ซึงมีมวลน้อยมาก และมี
ประจุลบ
• จานวนอิเล็กตรอนเท่ากับจานวนโปรตอน

ลอร์ดเออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด ศึกษาโครงสร้างภายใน 6

อะตอมโดยยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคา
แบบจำลองอะตอมของโบร์

• อิเล็กตรอนอยู่เป็นระดับพลังงานรอบนิวเคลียส
• อิเล็กตรอนที่อยู่ใกล้นิวเคลียสมากที่สุดมีระดับพลังงาน
ต่าที่สุด คือ K หรือ n = 1
• ระดับพลังงานถัดไป คือ L M N จนถึง Q ตามลาดับ

นีลส์ โบร์ ศึกษาโครงสร้างภายในอะตอมจาก


7
สเปกตรัมของแสงที่ได้จากการเผาสารประกอบ
แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก

• อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็นรูปทรงต่าง ๆ ตามระดับพลังงาน
• อิเล็กตรอนมีขนาดเล็กมากและเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว
ตลอดเวลา
• อะตอมประกอบด้วยกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส

นักวิทยาศาสตร์ค้นคว้าเพิ่มเติมและพบว่าอิเล็กตรอน
ไม่ได้เคลื่อนที่ตามแบบจาลองอะตอมของโบร์ 8
VDO
สรุปแบบจาลองอะตอม
+ -+-
- -
-
+ + - +
++
++
-+- - -

ดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด โบร์ แบบกลุ่มหมอก


พ.ศ. 2346 พ.ศ. 2447 พ.ศ. 2454 พ.ศ. 2456 พ.ศ. 2469 - ปัจจุบัน

ประกอบด้วย เป็นทรงกลม ประกอบด้วย เป็นทรงกลม ประกอบด้วย เป็นทรงกลม ประกอบด้วยนิวเคลียส


เป็นทรงกลม + โปรตอนมีประจุบวก นิวเคลียสที่มีประจุบวกอยู่ นิวเคลียสอยู่ตรงกลางอะตอม อยู่ตรงกลางอะตอม และอิเล็กตรอน
มีขนาดเล็กที่สุด - อิเล็กตรอนมีประจุลบ ตรงกลางอะตอม โดยมี มีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่โดยรอบ เคลื่อนที่อยู่รอบ ๆ นิวเคลียส ไม่มี
ไม่สามารถแบ่งแยกได้ อิเล็กตรอนที่มีประจุลบวิ่ง
กระจายอยู่อย่างสม่าเสมอ อยู ่รอบ ๆ นิวเคลียส อะตอมเป็นระดับชั้นพลังงาน ทิศทางแน่นอน
2
อนุภาคมูลฐาน
ภายในอะตอม
• อะตอมประกอบด้วยอนุภาค 3 ชนิด ได้แก่
อิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน
• โปรตอนและนิวตรอนอยู่รวมกันภายในนิวเคลียส และ
มีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียส
• อะตอมของธาตุแต่ละชนิดมีจานวนอนุภาคมูลฐาน
แตกต่างกัน โดยจานวนโปรตอนเป็นตัวกาหนดชนิด
ของธาตุ

12
ข้ อมูลอนุภำคมูลฐำนภำยในอะตอม

มวล ประจุ
อนุภาค สัญลักษณ์
(กรัม) คูลอมบ์ ค่าประจุ
อิเล็กตรอน e- 9.109 x 10-28 -1.6002 x 10-19 -1
โปรตอน p+ 1.67 x 10-24 +1.6002 x 10-19 +1
นิวตรอน n 1.67 x 10-24 0 0

13
องค์ประกอบของอะตอม

อิเล็กตรอน (e-)
นิวเคลียส
โปรตรอน (p+)
นิวตรอน (n)
3
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ คือ สัญลักษณ์ที่เขียนแสดงชื่อธาตุและ
รายละเอียดของอนุภาคมูลฐานภายในอะตอมของธาตุ

X
เลขมวล A

เลขอะตอม Z สัญลักษณ์ธาตุ

เลขมวล คือ ผลรวมของจานวนโปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียส


เลขอะตอม คือ จานวนโปรตอนในนิวเคลียส
16

15
“ วิธีเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์
▰ เขียนเลขอะตอมไว้มมุ ล่างซ้าย
▰ เขียนเลขมวลไว้มมุ บนซ้ายของสัญลักษณ์ธาตุ

16
18

17
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ สัญลักษณ์ที่แสดงชนิดของธาตุ เลขมวล และเลขอะตอมของธาตุ โดยเราสามารถใช้เลขมวลและ
(nuclear symbol) เลขอะตอมในการหาจานวนอนุภาคมูลฐานของอะตอมได้

เลขมวล A จานวนโปรตรอน = Z
(mass number)

เลขอะตอม Z
X จานวนอิเล็กตรอน = จานวนโปรตรอน = Z
จานวนนิวตรอน = เลขมวล - เลขอะตอม = A - Z
(atomic number)

สัญลักษณ์ของธาตุ
โมเลกุล อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุหรือสารประกอบที่เกิดจากอะตอมอย่างน้อย 2 อะตอมมารวมกัน
(molecule) และจัดเรียงตัวอย่างแน่นอน

โมเลกุลของแก๊สไฮโดรเจน โมเลกุลของน้า

H H H
H O

เกิดจากการรวมตัวของไฮโดรเจน 2 อะตอม เป็นโมเลกุลของสารประกอบที่เกิดจากไฮโดรเจน


2 อะตอมรวมตัวกับออกซิเจน 1 อะตอม
4
ไอออนและไอโซโทป
“ ไอออนของธาตุ คือ สภาวะที่อะตอมของธาตุ
มีจานวนโปรตอนและอิเล็กตรอนไม่เท่ากัน
ทาให้ไม่เป็นกลางทางไฟฟ้า มีสองสภาวะ
คือ ไอออนบวก และไอออนลบ
ไอออนบวก

ไอออนบวก คื อ อะตอมสู ญ เสี ย อิ เ ล็ ก ตรอนออกไป เพื่ อ ให้


อิ เ ล็ ก ตรอนวงนอกสุ ด ครบ 8 ตั ว มั ก เกิ ด ในธาตุ ก ลุ่ ม โลหะ เช่ น
อะลูมิเนียม ที่สูญเสียอิเล็กตรอนวงนอกสุด 3 ตัว ทาให้มีประจุ +3
23
ไอออนลบ

ไอออนลบ คื อ อะตอมรั บ อิ เ ล็ ก ตรอนเข้ า มาในอะตอม เพื่ อ ให้


อิเล็กตรอนวงนอกสุดครบ 8 ตัว มักเกิดในธาตุกลุ่มอโลหะ เช่น
คลอรีน ที่รับอิเล็กตรอนเข้ามา 1 ตัว ทาให้มีประจุ -1
24

ไอโซโทป คือ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน
ที่มีจานวนโปรตอนเท่ากัน แต่มีจานวน
นิวตรอนต่างกัน
ข้ อมูลไอโซโทปของออกซิเจน

สัญลักษณ์
จานวนโปรตอน จานวนอิเล็กตรอน จานวนนิวตรอน เลขมวล
นิวเคลียร์
𝟏𝟔
𝟖𝑶 8 8 8 16
𝟏𝟕
𝟖𝑶 8 8 9 17
𝟏𝟖
𝟖𝑶 8 8 10 18
26
ข้ อมูลไอโซโทปของไฮโดรเจน

สัญลักษณ์
ชื่อ จานวนโปรตอน จานวนนิวตรอน จานวนอิเล็กตรอน
นิวเคลียร์
ไฮโดรเจน
𝟏
𝟏𝑯 โปรเทียม
1 0 1
𝟐
𝟏𝑯 ดิวทีเรียม 1 1 1
𝟑
𝟏𝑯 ทริเทียม 1 2 1
27
ไอออนและไอโซโทปของธาตุ
ไอออน ไอโซโทป
ธาตุที่มีจานวนอิเล็กตรอนกับจานวนโปรตอนไม่เท่ากัน อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันที่มีจานวนโปรตอนเท่ากันแต่มีจานวน
ไอออนบวก ไอออนลบ นิวตรอนแตกต่างกัน
ธาตุไฮโดรเจนมี 3 ไอโซโทป คือ โปรเทียม ดิวเทอเรียม และทริเทียม
มีจานวนอิเล็กตรอน มีจานวนอิเล็กตรอน
= p+
น้อยกว่า มากกว่า =n
จานวนโปรตอน จานวนโปรตอน = e−
โปรเทียม ดิวเทอเรียม ทริเทียม
23 32 2− (Protium, H, 11H) (deuterium, D, 21H) (tritium, T, 31H)
+
11 Na 16 S ธาตุคาร์บอนมี 3 ไอโซโทป คือ คาร์บอน-12 คาร์บอน-13 และคาร์บอน-14

โซเดียมไอออน : ซัลเฟอร์ไอออน : = p+
จานวนโปรตอน = 11 จานวนโปรตอน = 16 =n
จานวนนิวตรอน = 12 ไอออน จานวนนิวตรอน = 16 ไอออน = e−
บวก ลบ
จานวนอิเล็กตรอน = 10 จานวนอิเล็กตรอน = 18 คาร์บอน-12 ( 126C) คาร์บอน-13 ( 136C) คาร์บอน-14 ( 146C)
5
ตารางธาตุ
วิวัฒนาการของการสร้างตารางธาตุ

โยฮันน์ เดอเบอไรเนอร์ จอห์น นิวแลนด์ ดิมิทรี อิวาโนวิชเมเดเลเอฟ เฮนรี โมสลีย์

กฎชุดสาม กฎออกเตต กฎพิริออดิก จัดเรียงธาตุตามเลขอะตอม


เมื่อจัดเรียงธาตุตามมวลอะตอมจากน้อยไป ถ้านาธาตุมา 8 ธาตุ แล้วจัดเรียงธาตุตาม เมื่อนาธาตุมาเรียงลาดับตามน้าหนักที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากสมบัติต่าง ๆ ของธาตุมีความสัมพันธ์
หามากมวลอะตอมของธาตุที่อยู่ตรงกลาง มวลจากน้อยไปหามาก ธาตุตัวที่ 8 จะมี จะไดกลุ่มของธาตุที่มีสมบัติทางเคมีและสมบัติ กับโปรตอนในนิวเคลียสหรือเลขอะตอม
จะเป็นค่าเฉลี่ยของมวลอะตอมของธาตุ สมบัติคล้ายคลึงกับธาตุตัวที่ 1 เสมอ ทางกายภาพเป็นชุด ๆ มากกว่ามวลอะตอม และเป็นตารางธาตุที่ใช้
ตัวบนและตัวล่าง ถึงปัจจุบัน
ตารางธาตุในปัจจุบัน
ธาตุแฮโลเจน 7A แก๊Inert
สเฉื่อย 8A
gas
1A โลหะแอลคาไล
Alkali metal
Halogen
ธาตุแชลโคเจน 6A
chalcogen 7A
2A โลหะแอลคาไลน์
Alkaline earth
เอิร์ท
ธาตุกึ่งโลหะ
Metalloid
ธาตุแทรนซิชัน
Transition
“ องค์การนานาชาติทางเคมี (IUPAC) ตกลงให้
เรียกชื่อธาตุที่มีเลขอะตอมตั้งแต่ 100 ขึ้นไป
และยังไม่มีการกาหนดสัญลักษณ์ที่แน่นอน
ตามระบบตัวเลขในภาษาละติน และลง
ท้ายเสียงของชื่อธาตุด้วยเ ียม (-ium)

7
ตัวเลขในภำษำละติน

0 1 2 3 4
นิล อูน ไบ ไตร ควอด
(nil) (un) (bi) (tri) (quad)

5 6 7 8 9
เพนต์ เฮกซ์ เซปต์ ออกต์ เอนน์
(pent) (hex) (sept) (oct) (enn)
34

8
กำรเรียกชื่ อธำตุ

35

9
“ ธาตุเรพรีเซนเททีฟ มีทั้งหมด 8 หมู่
และธาตุบางหมู่มีชื่อเฉพาะ
▰ หมู่ IA เรียกว่า โลหะแอลคาไล
▰ หมู่ IIA เรียกว่า โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท
▰ หมู่ VIIA เรียกว่า แฮโลเจน
▰ หมู่ VIIIA เรียกว่า แก๊สเฉื่อย

10

ธาตุแทรนซิชัน อยู่ระหว่างธาตุเรพรีเซนเททีฟ
หมู่ IIA กับ หมู่ IIIA แบ่งออกเป็น 8 หมู่
มี 10 แถว เนื่องจาก หมู่ VIIIB มี 3 แถว

11
ชนิดและสมบัติของธาตุ

ธาตุโลหะ ธาตุอโลหะ ธาตุกึ่งโลหะ


• มีสถานะเป็นของแข็ง • มีทั้ง 3 สถานะ • มีสถานะเป็นของแข็ง
(ยกเว้นปรอทเป็นของเหลว) • มีจุดเดือด จุดหลอมเหลว • มีจุดเดือด จุดหลอมเหลว
• มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง และความหนาแน่นต่า และความหนาแน่นสูง
• นาไฟฟ้าและความร้อนได้ดีมาก • ไม่นาไฟฟ้าและความร้อน • นาไฟฟ้าได้ดี เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
(ยกเว้นแกรไฟต์สามารถนาไฟฟ้าได้)
ธาตุหมู่ 1A
โลหะแอลคาไล
1
ลักษณะและสมบัติ :
ส่วนใหญ่มีสีเงิน เป็นโลหะเนื้ออ่อน มีความเป็นโลหะสูง มีความหนาแน่นต่า มีความว่องไวใน
2
การเกิดปฏิกิริยาเคมีสูง
3
ลิเทียม (Li) โซเดียม (Na)
4

6
ใช้เป็นขั้วแบตเตอรี่ ใช้ประโยชน์ของโซเดียมในรูปของสารประกอบ
เช่น ผงฟูหรือโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3)
7 นามาใช้ทาขนมปังให้ฟู
ธาตุหมู่ 2A
โลหะแอลคาไลเอิร์ท
2
ลักษณะและสมบัติ :
ส่วนใหญ่มีสีเงิน เป็นโลหะเนื้ออ่อน แต่มีความแข็ง และมีความหนาแน่นมากกว่าธาตุหมู่ 1A
2
เกิดปฏิกิริยาเคมีกับน้าและธาตุหมู่ 7A ได้ดี แต่ปฏิกิริยารุนแรงน้อยกว่าธาตุหมู่ 1A
3
แคลเซียม (Ca) แบเรียม (Ba)
4

6
เป็นส่วนประกอบที่สาคัญของโครงสร้าง นามาใช้ประโยชน์ในหลายด้าน เช่น ด้านการขุดเจาะน้ามัน
ร่างกาย เช่น กระดูกและฟัน การทาเหมืองแร่ การถ่ายภาพเอกซเรย์ทางการแพทย์
7
ธาตุหมู่ 7A
ธาตุแฮโลเจน
17
ลักษณะและสมบัติ :
มีความเป็นอโลหะสูง มีความว่องไวต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี ในธรรมชาติมักพบธาตุหมู่นี้ในลักษณะ
2 โมเลกุลคู่ เมื่อรวมตัวกับไฮโดรเจนจะมีสมบัติเป็นกรดรุนแรง

3
ฟลูออรีน (F) คลอรีน (CI)
4

6
ใช้ประโยชน์ฟลูออรีนในรูปของสารประกอบ มีคุณสมบัติในการฆ่าเชื้อโรคได้ดี จึงนิยมนามาเติม
เช่น โซเดียมฟลูออไรด์ (NaF) ใช้เติมลงใน ลงในสระน้า เพื่อให้น้าสะอาด
7 ยาสีฟัน เพื่อช่วยป้องกันฟันผุ
ธาตุหมู่ 8A
แก๊สเฉื่อย
18
ลักษณะและสมบัติ :
1 เป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ละลายน้าได้เล็กน้อย มีความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมีต่า

2
ฮีเลียม (He) นีออน (Ne) และอาร์กอน (Ar)
3

6 บรรจุในบอลลูนหรือลูกโป่งสวรรค์ ใช้บรรจุในหลอดไฟฟ้า
บรรจุลงในถังแก๊สสาหรับนักประดาน้า และในหลอดไฟโฆษณา
7
ธาตุแทรนซิชัน
3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
ลักษณะและสมบัติ :
1 มีสถานะเป็นของแข็ง (ยกเว้นปรอทเป็นของเหลว)
มีความเป็นโลหะน้อยกว่าโลหะหมู่ 1A และ 2A มีจุดเดือด
2
จุดหลอมเหลว และความหนาแน่นสูง นาไฟฟ้าได้ สามารถ
3 เกิดสารประกอบได้มากมายหลายชนิด รวมทั้งสารประกอบ
เชิงซ้อนที่มีสีสันเฉพาะตัว
4

เหล็ก (Fe) ทองแดง (Cu)

ใช้ในงานก่อสร้าง เป็นส่วนประกอบของลวดตะปู ใช้ทาสายไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ


ทากระป๋องบรรจุอาหาร ทองแดงผสมสังกะสีใช้ทากลอนประตู
6
ธาตุกัมมันตรังสี

ธาตุที่มีนิวเคลียสไม่เสถียร และนิวเคลียสของธาตุ
สามารถแผ่รังสีได้ เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง
ภายในนิวเคลียสจนเกิดเป็นธาตุใหม่
เรียกว่า ธาตุกัมมันตรังสี

ปรากฏการณ์ที่ธาตุกัมมันตรังสีแผ่รังสีชนิดต่าง ๆ
ได้แก่ รังสีแอลฟา รังสีเบตา และรังสีแกมมา
เรียกว่า กัมมันตภาพรังสี
ตำรำงแสดงสมบัติของรังสี แต่ ละชนิด

ชนิดของรังสี ประจุ มวล อานาจทะลุทะลวง ตัวอย่าง

รังสีแอลฟา 4.00276
+2 ต่า
𝟒
𝟐𝑯𝒆 หรือ ∝ amu

รังสีเบตา สูงกว่ารังสีแอลฟา
-1 0.000540 amu
𝟎
−𝟏𝒆 หรือ β 100 เท่า

47
รังสีแกมมา
ไม่มีประจุ ไม่มีมวล สูงมาก
𝛾
สมกำรนิวเคลียร์

การแผ่รังสีของธาตุกัมมันตรังสี เรียกว่าปฏิกิริยานิวเคลียร์
สามารถเขียนแทนด้วย สมการนิวเคลียร์
ตัวอย่างสมการนิวเคลียร์
𝟐𝟏𝟎 𝟐𝟏𝟎 𝟎
𝟖𝟑𝑩𝒊 𝟖𝟒𝑷𝒐 + −𝟏𝒆

𝟐𝟑𝟐 𝟐𝟐𝟖 𝟒
𝟗𝟎𝑻𝒉 𝟖𝟖𝑹𝒂 + 𝟐𝑯𝒆

𝟓𝟗 𝟔𝟎
𝟐𝟕𝑪𝒐 + 𝟏𝟎𝒏 𝟐𝟕𝑪𝒐 + γ 48
“ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ เป็นการเปลี่ยนแปลงภายใน
นิวเคลียสของอะตอม และให้พลังงานออกมา
มากมาย ปฏิกิริยานิวเคลียร์มีสองประเภท
คือ ปฏิกิริยาฟิชชัน และปฏิกิริยาฟิวชัน
ปฏิกริ ิยำฟิ ชชัน

เป็นกระบวนการ
ที่นิวเคลียสของธาตุหนัก
ถูกชนด้วยอนุภาคนิวตรอน
แล้วเกิดการแตกตัวออกเป็น
นิวเคลียสของธาตุที่เบากว่า
และให้พลังงานออกมา
จานวนมาก
50
ปฏิกริ ิยำฟิ วชัน

51
เกิดจากการรวมตัวของนิวเคลียสที่มีมวลต่า ทาให้นิวเคลียสของธาตุใหม่มีมวล
มากกว่าเดิม และคายพลังงานออกมาจานวนมาก

ครึ่งชีวิต คือ ค่าคงตัวที่ใช้เปรียบเทียบอัตรา
การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
ครึ่งชีวิตของ C-14

มี C-14 10 กรัม เมื่อเวลาผ่านไป เมื่อเวลาผ่านไป อีก 5,730 ปี


5,730 ปี เหลือ C-14 อยู่ 5 กรัม เหลือ C-14 อยู่ 1.25 กรัม

เมื่อเวลาผ่านไป อีก 5,730 ปี เมื่อเวลาผ่านไปอีก 5,730 ปี


เหลือ C-14 อยู่ 2.5 กรัม เหลือ C-14 อยู่ 0.625
53 กรัม
กรำฟแสดงอัตรำกำรสลำยตัวของ C-14

54
ประโยชน์ ของธำตุกมั มันตรังสี

ด้านธรณีวิทยา ด้านพลังงาน ด้านการแพทย์


ใช้หาอายุทางธรณีวิทยาของ ใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า ใช้ศึกษาความผิดปกติของ
หินและซากดึกดาบรรพ์ อวัยวะในร่างกาย ใช้รักษา
โรคมะเร็ง

ด้านการถนอมอาหาร ด้านเกษตรกรรม ด้านอุตสาหกรรม


ใช้ทาลายแบคทีเรีย ทาให้ ใช้ปรับปรุงเมล็ดพันธุ์พืช ใช้ตรวจหารอยรั่วของ
เก็บรักษาอาหารไว้ได้นาน ท่อขนส่งของเหลว
55
กำรป้ องกันอันตรำยจำกธำตุกมั มันตรังสี

การนาธาตุกัมมันตรังสีมาใช้ต้องมีการป้องกันไม่ให้ร่างกายได้รับรังสี โดยใช้ชุดป้องกันรังสี 56

และใช้เวลาทางานในบริเวณนั้นให้สั้นที่สุด รวมทั้งอยู่ห่างจากแหล่งกาเนิดรังสีให้มากที่สุด
7
ธาตุและสารประกอบ

ธาตุ คือ สารเนื้อเดียวที่มีองค์ประกอบของอะตอม
เพียงชนิดเดียว โดยพบในรูปอะตอม โมเลกุล
และไอออน เช่น แก๊สฮีเลียม ซิลิกอน
กามะถัน แก๊สออกซิเจน
“ สารประกอบ คือ สารเนื้อเดียวที่ประกอบด้วยอะตอม
ของธาตุมากกว่า 1 ชนิดขึ้นไปมารวมกันด้วย
แรงยึดเหนี่ยวทางเคมี มีอัตราส่วนของ
องค์ประกอบที่แน่นอน ส่วนใหญ่
พบในรูปโมเลกุล
ตัวอย่ ำงสำรประกอบในรู ปของโมเลกุล

สารประกอบ องค์ประกอบ

ธาตุโซเดียม 1 อะตอม
โซเดียมคลอไรด์ (NaCl)
และธาตุคลอรีน 1 อะตอม

ธาตุคาร์บอน 1 อะตอม
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
และธาตุออกซิเจน 2 อะตอม

ธาตุคาร์บอน 6 อะตอม
น้าตาลกลูโคส (C6H12O6) ธาตุไฮโดรเจน 12 อะตอม
60
และธาตุออกซิเจน 2 อะตอม
แบบสอบปรนัยเพือพัฒนาทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
และแนวข้อสอบ o-net
1. นักวิทยาศาสตร์ท่านแรกที่เสนอแนวคิดเกี่ยวกับอะตอม
และเป็นที่ยอมรับคือใคร
1 โบร์
2 ดอลตัน
3 ทอมสัน
4 รัทเทอร์ฟอร์ด
5 กลุ่มหมอกอิเล็กตรอน

เฉลย 2 เหตุผล นักวิทยาศาสตร์คนแรกที่เสนอแนวคิด


เกี่ยวกับแบบจาลองอะตอม คือ จอห์น ดอลตัน
2. เพราะเหตุใด อนุภาคแอลฟาส่วนใหญ่จึงทะลุผ่านแผ่น
ทองคาบางได้
1 นิวเคลียสมีมวลมาก
2 อะตอมมีที่ว่างเยอะมาก
3 นิวเคลียสมีประจุบวกจานวนมาก
4 อิเล็กตรอนในอะตอมไม่สามารถต้านอนุภาคแอลฟาได้
5 ถูกทุกข้อที่กล่าวมา

เฉลย 2 เหตุผล จากการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ดพบว่า อนุภาค


แอลฟาส่วนใหญ่เคลื่อนที่เป็นเส้นตรง นั่นแสดงว่า อะตอมมีพื้นที่ว่างใน
อะตอมจานวนมาก
3. แบบจาลองอะตอมที่ใช้ในปัจจุบัน “แบบกลุ่มหมอก” แบบจาลองอะตอมดังกล่าว
ควรจะเป็นแบบจาลองที่สมบูรณ์ถูกต้องหรือว่าคงจะมีการเปลี่ยนแปลงอีก
1 ไม่น่าจะมีการเปลี่ยนแปลงอีก เพราะแบบจาลองเสนอขึ้นจาก
ข้อมูลการทดลอง
2 ไม่น่าจะมีการเปลี่ยนแปลงอีก เพราะความรู้ทางวิทยาศาสตร์
ในปัจจุบันได้เจริญถึงขีดสุด
3 ไม่น่าจะมีการเปลี่ยนแปลงอีก เพราะแบบจาลองอะตอมนี้ เกิดจาก
การคิดที่สมเหตุสมผลที่สุดแล้ว
4 อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงอีก เพราะแบบจาลองเป็นเรื่องที่
นักวิทยาศาสตร์จินตนาการขึ้น
5 อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงอีก เพราะโครงสร้างของอะตอมย่อม
เปลี่ยนแปลงไปได้เสมอหากมีข้อมูลใหม่มาสนับสนุน
เฉลย 5 เหตุผล องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์อาจจะเปลี่ยนแปลงได้
หากมีข้อมูลใหม่มาสนับสนุน
4. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับแบบจาลองอะตอมของโบร์

1 อิเล็กตรอนไม่เคลื่อนที่ แต่อยู่เฉพาะที่
2 อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสเป็นชั้น ๆ
3 อิเล็กตรอนที่อยู่ใกล้นิวเคลียสจะมีพลังงานสูง
4 ทาการทดลองยิงรังสีแอลฟาไปยังแผ่นทองคา
5 อิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 1 จะมีพลังงานมากที่สุด

เฉลย 2 เหตุผล นีลส์ โบร์ เสนอว่า อิเล็กตรอนที่อยู่รอบ ๆ


นิวเคลียสนั้นไม่ได้อยู่รวมกันที่เดียวทั้งหมด แต่อยู่เป็นระดับ
พลังงานรอบนิวเคลียส
5. อะตอมใดที่นิวเคลียสมีนิวตรอนมากที่สุด

1 245
95A
เฉลย 5 เหตุผล
237
2 93B จานวนนิวตรอน = เลขมวล (A) – เลขอะตอม (Z)
239
3 93C 97E มีจานวนนิวตรอน = 248 – 97 = 151
248
239
4 92D จึงเป็นอะตอมที่นิวเคลียสมีนิวตรอนมากที่สุด
248
5 97E 95A มีจานวนนิวตรอน 245 – 95 = 150
245

93B มีจานวนนิวตรอน 237 – 93 = 144


237

93C มีจานวนนิวตรอน 239 – 93 = 146


239

92D มีจานวนนิวตรอน 239 – 92 = 147


239
6. A และ B เป็นอะตอมของธาตุเดียวกันมีเลขมวลเท่ากับ 26 และ 27
ตามลาดับ ถ้า B มี 14 นิวตรอนจานวนอิเล็กตรอนของ A จะเป็นเท่าใด
1 12
2 13
3 14
4 15
5 16
เฉลย 2 เหตุผล ธาตุ B มีเลขมวลเท่ากับ 27 และมีนิวตรอนเท่ากับ 14
ดังนั้น ธาตุ B จะมีจานวนโปรตอน = 27-14 = 13 ตัว ซึ่งจากคาถาม
กาหนดว่า A และ B เป็นอะตอมของธาตุเดียวกัน นั่นแสดงว่า A มีจานวน
โปรตอน = 13 ตัว ด้วยเช่นกัน
7. อนุภาคข้อใดมีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากัน
1 Ne Na+ F-
10 11 9
2 Na + Al3+ P3-
11 13 15
3 Ca Ca + Ca2+
20 20 20
4 Cl - S P+
17 16 15
5 O 2- Mg2+ P3-
8 12 15

เฉลย 1 เหตุผล ธาตุ Ne มีจานวนโปรตอน = 10 ตัว และมีจานวนอิเล็กตรอน = 10 ตัว


ธาตุ Na มีจานวนอิเล็กตรอน = 11 ตัว เมื่อกลายเป็นไอออนของ Na+ มีการสูญเสียอิเล็กตรอน
1 ตัว จึงมีจานวนอิเล็กตรอน = 11-1 = 10 ตัว ธาตุ F มีจานวนอิเล็กตรอน = 9 ตัว เมื่อ
กลายเป็นไอออนของ F- มีการรับอิเล็กตรอน 1 ตัว จึงทาให้มีอิเล็กตรอน = 9 + 1 = 10 ตัว
ตาราง จานวนอนุภาคนิวตรอนและโปรตอนของธาตุ X Y และ Z
จานวนอนุภาค เฉลย 4 เหตุผล ไอโซโทป คือ
ธาตุ นิวตรอน โปรตอน
อะตอมของธาตุเดียวกันที่มีจานวน
X 7 7
Y 8 7
โปรตอนเท่ากัน แต่มีจานวนนิวตรอน
Z 8 8 ต่างกัน ดังนั้น X และ Y มีจานวน
8. ข้อความใดกล่าวถูกต้อง โปรตอนเท่ากัน แต่มีจานวนนิวตรอน
ต่างกัน
1 X Y และ Z เป็นธาตุต่างกัน
2 X Y และ Z เป็นธาตุชนิดเดียวกัน
3 Y และ Z เป็นไอโซโทปของธาตุเดียวกัน
4 X และ Y เป็นไอโซโทปของธาตุเดียวกัน
5 Y และ Z มีนิวตรอนและอิเล็กตรอนเท่ากัน
อนุภาค A และ B มีจานวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน ดังนี้
อนุภาค โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน
A 13 14 12
B 14 14 14
9. ข้อความใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1 อนุภาค A เป็นไอออนบวก 3 อนุภาค B เป็นกลางทางไฟฟ้า
2 อนุภาคทั้งสองมีเลขมวลเท่ากัน 4 อนุภาคทั้งสองไม่เป็นไอโซโทปกัน
5 อนุภาคทั้งสองมีเลขอะตอมต่างกัน
เฉลย 3 เหตุผล
เลขมวล = จานวนโปรตอน + จานวนนิวตรอน
โดยเลขมวลของอนุภาค A = 13+14 = 27 ส่วนเลขมวลของอนุภาค B = 14+14 = 28
ดังนั้น อนุภาค A และ B มีเลขมวลไม่เท่ากัน
10. ถ้าสามารถดึงอิเล็กตรอนจากธาตุ เฉลย 3 เหตุผล ถ้าดึงโปรตอน
Sb ออกมาได้ 4 ตัว และดึงโปรตอน ออกจากธาตุ Sb 3 ตัว จะเหลือโปรตอน
ออกมา 3 ตัว ข้อใดเป็นผลที่เกิดขึ้น ในอะตอม = 51-3 = 48 ตัว และเมื่อ
(กาหนดให้ เลขอะตอม Cd=48 จานวนโปรตอนเปลี่ยนไปจะกลายเป็น
เลขอะตอม Sb=51) ธาตุใหม่ คือ Cd ถ้าดึงอิเล็กตรอน
1 Sb+ ออกจากธาตุ Sb 4 ตัวจะเหลืออิเล็กตรอน
2 Sb2+ ในอะตอม = 51-7 = 47 ตัว จะเห็นได้ว่า
3 Cd+ ธาตุใหม่ที่ได้มีจานวนโปรตอนมากกว่า
4 Cd2+ อิเล็กตรอน = 48-47 = 1 ตัว จึงเป็น
5 ข้อมูลไม่เพียงพอ ไอออนบวก (cation)
11. ข้อความใดกล่าวถูกต้อง
A จอห์น นิวแลนด์ (John Newlands) ได้จัดเรียงตามมวลอะตอม
พบว่า ลาดับที่ 8 จะคล้ายกับธาตุลาดับที่ 1 แต่ไม่รวมแก๊สเฉื่อย
B เมนเดเลเยฟ ได้จัดเรียงธาตุตามมวลอะตอมจากน้อยไปมาก ซึ่งเป็น
รากฐานของตารางธาตุในปัจจุบัน
C ไมเออร์จัดธาตุแบบชุดสาม โดยธาตุตรงกลางมีมวลอะตอมเท่ากับ
ค่าเฉลี่ยของมวลอะตอมของธาตุแรกและธาตุที่สาม

1 ข้อ A และ B เฉลย 1 เหตุผล A และ B กล่าวถูกต้อง


2 ข้อ B และ C ส่วน C ไม่ถูกต้อง เพราะธาตุแบบชุดสาม
3 ข้อ A และ C โดยธาตุตรงกลางมีมวลอะตอมเท่ากับ
4 ข้อ A B และ C ค่าเฉลี่ยของมวลอะตอมของธาตุแรกและ
5 เฉพาะข้อ B เท่านั้น ธาตุที่สาม เป็นแนวคิดของเดอเบอร์ไรเนอร์
ใช้ข้อมูลจากตาราง ตอบคาถามข้อ 12
H He
Li Be B C N 6 1 Ne
Na 5 Al Si 3 S Cl 4
2 Ca

12. ธาตุกลุ่มใดเป็นอโลหะ
1 5, 3, 6
2 2, 5, 3
3 3, 6, 1
4 6, 1, 5
5 2, 1, 4
เฉลย 3 เหตุผล ธาตุหมู่ 5A 6A และ 7A จัดเป็นธาตุอโลหะ
ใช้ข้อมูลจากตาราง ตอบคาถามข้อ 13
H He
Li Be B C N 6 1 Ne
Na 5 Al Si 3 S Cl 4
2 Ca

13. ข้อใดเป็นสมบัติของธาตุหมายเลข 6
1 ตีเป็นแผ่นบาง ๆ ได้
2 ไม่นาไฟฟ้า
3 จุดเดือดสูง
4 ให้อิเล็กตรอนง่าย
5 เกิดเป็นไอออนบวก
เฉลย 2 เหตุผล ธาตุหมายเลข 6 เป็นธาตุอโลหะจึงไม่สามารถนาไฟฟ้าได้
40
14. ข้อใดไม่สามารถใช้เป็นข้อมูลในการจาแนกธาตุ
ออกเป็นโลหะหรืออโลหะได้
1 การนาไฟฟ้า
2 ความเปราะ
3 จุดเยือกแข็ง
4 การละลายน้า
5 การให้หรือรับอิเล็กตรอน

เฉลย 4 เหตุผล สมบัติที่ใช้ในการจาแนกธาตุออกเป็นโลหะและอโลหะ ได้แก่ การนาไฟฟ้า


ความเหนียว (เปราะ) จุดเดือด จุดหลอมเหลว และการให้และรับอิเล็กตรอน
15. ข้อใดเป็นโลหะทุกชนิด

1 Si Na K และ Fe
2 Cu Sn C และ Zn
3 Li Ca Al และ Cu
4 Na P Al และ Zn
5 Mg Ge Cl และ N

เฉลย 3 เหตุผล Li Ca Al และ Zn เป็นธาตุโลหะ ส่วน Si เป็นธาตุกึ่งโลหะ C เป็นธาตุ


อโลหะ P เป็นธาตุอโลหะ Ge เป็นธาตุกึ่งโลหะ Cl และ N เป็นธาตุอโลหะ
16. ข้อใดเป็นธาตุทั้งหมด
1 ปรอท ไอโอดีน ดีบุก
2 กามะถัน เกลือแกง น้า
3 ทองแดง ทองเหลือง ทองคา
4 น้าตาลกลูโคส ไนโตรเจน ฮีเลียม
5 คาร์บอน คาร์บอนไดออกไซด์ ออกซิเจน

เฉลย 1 เหตุผล ปรอท ไอโอดีน ดีบุก เป็นธาตุ ส่วนเกลือแกง (NaCl) เป็นสารประกอบ


ทองเหลือง เป็นสารละลาย (Cu+Zn) น้าตาลกลูโคส (C6H12O6) เป็นสารประกอบ
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นสารประกอบ
17. ข้อใดเป็นสารประกอบ
1 น้ากลั่น
2 น้าเชื่อม
3 กามะถัน
4 ทองเหลือง
5 แก๊สไนโตรเจน

เฉลย 1 เหตุผล น้ากลั่น มีสูตรโมเลกุล H2O ซึ่งประกอบด้วยธาตุ 2 ชนิดมา


รวมกันทางเคมี
18. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของธาตุทองแดง
1 เป็นส่วนผสมของทองเหลือง
2 เป็นส่วนผสมของทองบรอนซ์
3 ทาให้เลือดกุ้งและหมึกเป็นสีน้าเงิน
4 ช่วยในกระบวนการชีวเคมีของมนุษย์
5 เคลือบด้วยสังกะสีใช้ทากระเบื้องมุงหลังคา

เฉลย 5 เหตุผล เคลือบด้วยสังกะสีใช้ทากระเบื้องมุงหลังคา เป็นประโยชน์


ของธาตุเหล็ก กล่าวคือ นาเหล็กมาเคลือบผิวด้วยสังกะสีทากระเบื้องมุงหลังคา
19. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของธาตุไอโอดีน
1 ใช้ทาสารละลายทิงเจอร์ไอโอดีน
2 หากขาดจะทาให้เกิดโรคคอพอก
3 เป็นองค์ประกอบสาคัญของเลือด
4 เป็นองค์ประกอบของฮอร์โมนไทรอกซิน
5 ข้อ 2 และ 4

เฉลย 3 เหตุผล ธาตุไอโอดีนไม่ได้เป็นส่วนประกอบของเลือด แต่ธาตุที่เป็น


ส่วนประกอบสาคัญของเลือดมนุษย์ คือ ธาตุ Fe
20. ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีค่าครึ่งชีวิตเท่ากับ 12 วัน โดยเริ่มต้นมี
จานวน 20 กรัม เมื่อปล่อยทิ้งไว้เหลืออยู่ 1.25 กรัม ธาตุกัมมันตรังสีนี้
ใช้เวลาในการสลายตัวกี่วัน
1 20 วัน
2 24 วัน
3 36 วัน
4 48 วัน
5 120 วัน

12 วัน 12 วัน 12 วัน 12 วัน


เฉลย 4 เหตุผล 20 g → 10 g→ 5 g → 2.5 g → 1.25 g
ดังนั้น ธาตุกัมมันตรังสีนี้ใช้เวลาในการสลายตัว 48 วัน
O-net
O-net 62 ธาตุ A B C D และ E มีเลขอะตอมที่เป็นเลขคี่เรียงลาดับจาก
น้อยไปมากอย่างต่อเนื่อง โดยอะตอมของธาตุ A B C และ D มีจานวนโปรตอน
น้อยกว่านิวตรอน 1 อนุภาค และธาตุ E มีสัญลักษณ์นิวเคลียร์ 40
19𝑬
จากข้อมูล จานวนอนุภาคในนิวเคลียสของธาตุในข้อใดถูกต้อง

1 ธาตุ A มีจานวนอนุภาคในนิวเคลียส 22 อนุภาค


2 ธาตุ B มีจานวนอนุภาคในนิวเคลียส 13 อนุภาค
3 ธาตุ C มีจานวนอนุภาคในนิวเคลียส 16 อนุภาค
4 ธาตุ D มีจานวนอนุภาคในนิวเคลียส 35 อนุภาค
5 ธาตุ E มีจานวนอนุภาคในนิวเคลียส 59 อนุภาค
O-net

เฉลย 4 เหตุผล อนุภาคในนิวเคลียส เรียกว่า นิวคลีออน


ประกอบด้วย นิวตรอน และโปรตอน ซึ่งนิวตรอน+โปรตอน=เลขมวล
11A มีเลขมวล 23
23

13B มีเลขมวล 27
27

15C มีเลขมวล 31
31

17𝑫 มีเลขมวล 31
35

19E มีเลขมวล 31
40
O-net
O-net 61 พิจารณาข้อมูลบางส่วนของจานวนอนุภาคมูลฐานและเลข
มวลของธาตุ L M และ Q ดังนี้
จานวนอนุภาคมูลฐาน เลขมวล
ธาตุ
โปรตอน นิวตรอน
L 9 10
M 12 22
Q 12 24

จากข้อมูล ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1 M และ Q เป็นไอโซโทปกัน
2 เลขอะตอมของธาตุ M เท่ากับ 12
3 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ M คือ 22
12𝑴
4 Q+ ไอออนมีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากับนิวตรอน
5 L- ไอออนกับธาตุ M มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากัน
O-net

เฉลย 5 เหตุผล L- มีจานวนอิเล็กตรอน เท่ากับ 10


M มีจานวนอิเล็กตรอน เท่ากับ 10
จานวนอนุภาคมูลฐาน เลขมวล
ธาตุ
โปรตอน นิวตรอน
L 9 10 19
M 10 12 22
Q 12 12 24
O-net
O-net 61 กาหนดตาแหน่งของธาตุ 7 ชนิด ในคาบที่ 1-4 ของตารางธาตุ ดังนี้

จากข้อมูล ข้อสรุปใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1 ธาตุ A B C และ E เป็นธาตุโลหะ
2 ธาตุ F และ G มีสมบัติทางเคมีแตกต่างกัน
3 ธาตุ A C D และ G มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 3
4 ความเป็นอโลหะของธาตุ G มากกว่า F
5 ความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาของธาตุกับน้า เรียงจาก
มากไปน้อย คือ B A C
O-net
เฉลย 5 เหตุผล ธาตุ A B C และ D เป็นธาตุโลหะ
ธาตุ E เป็นธาตุกึ่งโลหะ
ธาตุ F และ G เป็นธาตุอโลหะ
ความเป็นโลหะของธาตุตามแนวโน้มตารางธาตุจะเรียงจากล่างขึ้นบน
ธาตุที่มีความเป็นโลหะมาก จะสามารถทาปฏิกิริยากับน้าได้ดี
O-net
O-net 60 R X และ Z เป็นสัญลักษณ์สมมติของธาตุ 3 ชนิด
R มีสัญลักษณ์นิวเคลียร์ 115𝑹 อะตอม X มี 10 อิเล็กตรอน และ 10 นิวตรอน
ส่วน Z มีเลขอะตอมมากกว่า X อยู่ 1 และมีนิวตรอนเป็น 2 เท่าของ R
ข้อใดถูกต้อง
1 Z มีเลขมวล 22
2 R มี 11 นิวตรอน
3 X มีสัญลักษณ์นิวเคลียร์ 20
10𝑋
4 เลขมวลของ Z เท่ากับเลขอะตอมของ R
5 จานวนโปรตอนในอะตอมของ 3 ธาตุนี้รวมกันเท่ากับ 28
O-net
เฉลย 3
R มีสัญลักษณ์นิวเคลียร์ 115𝑹 มีอิเล็กตรอน 5 นิวตรอน 6 มวล 11
X มีสัญลักษณ์นิวเคลียร์ 20
10𝑿 เนื่องจากมี 10 อิเล็กตรอน และ 10 นิวตรอน
Z มีสัญลักษณ์นิวเคลียร์ 23
11𝒁 เนื่องจากมีเลขอะตอมมากกว่า X อยู่ 1(x=10) และ
มีนิวตรอนเป็น 2 เท่าของ R (R=6) จึงมีเลขอะตอม 11 นิวตรอน 12 มวล 23

You might also like