You are on page 1of 14

ปฏิบัตกิ ารที่ 1

ปริมาณสั มพันธ์ เคมี


Chemical Stoichiometry

วัตถุประสงค์
1. เพื่อเตรียมสารจากปฏิกิริยาเคมีของสารตัง้ ต้นตามปริมาณ
ที่กำหนดให้ และศึกษาความสัมพันธ์
ตามปริมาณสัมพันธ์เคมีของปฏิกิริยา
2. เพื่อให้ทราบและคุ้นเคยกับเทคนิคการแยกสารและสามารถ
ใช้อุปกรณ์บางอย่างเช่น ชุดเครื่องกรอง ได้อย่างถูกต้อง

หลักการ
เพื่อที่จะศึกษาการเตรียมสารประกอบเคมีใ นห้องปฏิบ ัติ
การ นนร. จำเป็ นที่จ ะต้อ งทราบความสัม พัน ธ์เ ชิง ปริม าณที่
เกี่ยวข้องกับสารที่เข้าทำปฏิกิริยาในปริมาณต่างๆ
คำว่า stoichiometry มาจากคำกรีก stoicheion หมาย
ถ ึง ธ า ต ุ แ ล ะ metron ห ม า ย ถ ึง ก า ร ว ัด คำ ว า่
stoichiometry จึงหมายถึงการศึก ษาปฏิกิร ิยาเคมี และองค์
ประกอบเคมีในเชิงปริมาณทุกอย่าง
ในปฏิกิริยาเคมี สารที่เข้าทำปฏิกิริยาบางตัวอาจถูกใช้หมด
ไปก่อนที่ตัวอื่นๆ จะหมด เช่น ถ้าผสมไฮโดรเจน 5 โมล เข้ากับ
ออกซิเจน 1 โมล และปล่อยให้เกิดปฏิกิริยาตามสมการ
2

2H 2  O 2  2 H 2 O

ไฮโดรเจนเพีย ง 2 โมล เท่า นัน


้ ที่จ ะทำปฏิก ิร ิย าไป และ
ออกซิเจน 1 โมล จะถูกใช้หมดไป หลังจากที่ออกซิเจนหมดไป
แล้ว ปฏิกิริยาก็ไม่สามารถเกิด ต่อ ได้อ ีก จะไม่มีผ ลิต ภัณ ฑ์น ้ำ
เกิดเพิ่มขึน

ป ริม า ณขอ ง ผลิต ภัณ ฑ ์จ ะถูก กำ ห น ด โดย สา รเ ข้า ทำ
ปฏิก ิร ิย าที่ห มดไปก่อ น สารที่เ ข้า ทำปฏิก ิร ิย าที่ห มดไปก่อ น
เรียกว่า สารกำหนดปริมาณ (limiting agent)

เมื่อ เกิด ปฏิก ิร ิย าเคมีข น


ึ ้ ปริม าณผลิต ภัณ ฑ์ท ี่ กำ หนดให้
ชนิด หนึ่ง จะมีค ่า มากที่ส ุด ตามค่า ที่คำ นวณได้จ ากปริม าณ
สัม พัน ธ์ต ามสมการเคมี เรีย กปริม าณผลิต ภัณ ฑ์น วี ้ ่า เป็ น
ผลผลิตตามทฤษฎี (theoretical yield)
แต่ในทางปฏิบัติ ปริมาณผลิตภัณฑ์ที่ได้มักมีค่าน้อยกว่าที่
ได้จากทฤษฎี อาจเนื่องมาจากเกิดปฏิกิริยาข้างเคียงอื่นๆ หรือ
ปฏิกิริยายัง ดำเนินไปไม่สมบูรณ์ จึงมีค่า ที่ใช้วัดประสิทธิภาพ
ของปฏิกิริยา คือ ผลผลิตร้อยละ (percentage yield) ซึ่งมี
ความสัมพันธ์ตามสมการต่อไปนี ้
3

ผลผลิตร้อยละ =
ผลผลิตที่ได้จริง x 100

ผลผลิตตามทฤษฎี

เช่น ปฏิกิริยาการเผาไหม้ของเอธิลีน C2H4 ในอากาศตาม


สมการ

C2H4 + 3O2  2CO2 +


2H2O

ถ้า ใช้ C2H4 1.93 กรัม ทำปฏิก ิร ิย ากับ O2 5.92 กรัม


ในที่นี ้ O2 จะเป็ นสารกำหนดปริม าณ และผลิตภัณฑ์ CO2 ท ี่
เกิดขึน
้ จะเท่ากับ 5.43 กรัม ซึ่งเป็ นค่าผลผลิตตามทฤษฎี
ถ้าในการทำปฏิกิริยาจริงๆ ได้ CO2 เพียง 3.84 กรัม ซึ่ง
อาจจะเนื่อ งมาจากปฏิก ิร ิย าการเผาไหม้ข อง C2H4 เกิด CO
ขึน
้ ได้บางส่วน
ในทีน
่ ี ้ ผลผลิตร้อยละของ CO2 จะเป็ น

ผลผลิตร้อยละของ CO2 =
3.48 กรัม x100

5.43 กรัม
4

=
64.1 %
ยกตัวอย่างการคำนวณ
ปฏิกิริยาที่ดุลแล้ว

Ba(NO3)2 (aq) + K2SO4 (aq) 


BaSO4 (s) + 2KNO3 (aq)

1 โมล 1 โมล
1 โมล 2 โมล
261.3 กรัม 174 กรัม
233.3 กรัม 202 กรัม

มีความหมายว่า Ba(NO3)2 1 โมล ทำปฏิกิริยาพอดีกับ


K2SO4 1 โมล ได้ต ะกอน BaSO4 1 โมล และ KNO3 2
โมล ตัวเลขข้างหน้าสูตรเคมีในปฏิกิริยาเคมีที่ด ุลแล้วเป็ นจำ
นวนโมลของสารที่ทำ ปฏิก ิร ิย าพอดีก ัน และเป็ นจำนวนโมล
ของสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึน
้ จำนวนโมลกับมวลมีความสัมพันธ์
กันตามสูตร
5

จำนวนโมล = น้ำ
หนักสาร
มวล
โมเลกุลสาร

ดังนัน
้ Ba(NO3)2 1 โมล = 261.3
กรัม
K2SO4 1 โมล = 174
กรัม
BaSO4 1 โมล = 233.3
กรัม
KNO3 2 โมล = 2 x 101 =
202 กรัม

จึงกล่าวได้วา่ Ba(NO3)2 261.3 กรัม ทำปฏิกิริยาพอดี


กับ K2SO4 174 กรัม ได้ BaSO4 233.3 กรัม และ KNO3
202 กรัม
จากปฏิก ิร ิย า พบว่า Ba(NO3)2 261.3 กรัม ทำปฏิก ิร ิย า
พอดีกับ K2SO4 174 กรัม เมื่อปฏิกิริยาเกิดขึน
้ สมบูรณ์ หรือ
สิน
้ สุดลงจะไม่มี Ba(NO3)2 และ K2SO4 เหลืออยู่เลย กล่าว
ได้ว่าปริมาณ Ba(NO3)2 สมมูลกับปริมาณ K2SO4 ถ้าเราเริ่ม
ต้นใช้ Ba(NO3)2 100 กรัม ทำปฏิกิริยากับ K2SO4 100 กรัม
6

เมื่อปฏิกิริยาสิน
้ สุด สารหนึ่งจะหมดไป และมีสารหนึ่งเหลืออยู่
ในปฏิกิริยา เพราะมีปริมาณสารดังกล่าวไม่สมมูลกัน ปริมาณ
ของสารผลิตภัณฑ์จึงขึน
้ อยู่กับปริมาณของสารที่หมด ไม่ขน
ึ ้ อยู่
กับ ปริม าณของสารที่เ หลือ เราเรีย กสารที่เ ป็ นตัว กำ หนด
ปริมาณของสารผลิตภัณฑ์ (สารตัง้ ต้นที่หมดไปในปฏิกิริยา) ว่า
สารกำหนดปริม าณ (limiting agent) และเรีย กสารตัง้ ต้น ที่
เหลือว่า สารที่มีปริมาณมากเกินพอ (excess)

วิธห
ี าสารกำหนดปริมาณ
ก. เทียบจากปฏิกิริยา
1. Ba(NO3)2 261.3 กรัม ทำปฏิกิริยาพอดีกับ K2SO4
= 174 กรัม
ถ้า Ba(NO3)2 100 กรัม ทำ ปฏิก ิร ิย าพอดีก ับ
174 x100
K2SO4 = 261.3 กรัม

= 66.6 กรัม

ดัง นัน
้ Ba(NO3)2 100 กรัม จะทำปฏิก ิร ิย าพอดีก ับ
K2SO4 66.6 กรัม ถ้าใช้ Ba(NO3)2 100 กรัม ทำปฏิกิริยากับ
K2SO4 100 กรัม เมื่อปฏิกิริยาสิน
้ สุด Ba(NO3)2 จะหมด ส่วน
7

K2SO4 จะเหลือ เพราะฉะนัน


้ ส า ร กำ ห น ด ป ร ิม า ณ ค ือ
Ba(NO3)2

2. K2SO4 174 กรัม ทำ ปฏิก ิร ิย าพอดีก ับ Ba(NO3)2


= 261.3 กรัม
ถ ้า K2SO4 100 ก ร ัม ทำ ป ฏ ิก ิร ิย า พ อ ด ีก ับ
2613
. x100
Ba(NO3)2 = 174 กรัม

= 150.2 กรัม

ด งั น น
ั ้ K2SO4 100 ก ร ัม จ ึง ทำ ป ฏ ิก ิร ิย า พ อ ด ีก ับ
Ba(NO3)2 150.2 กรัม จะเห็น ได้ว า่ Ba(NO3)2 100 กรัม ไม่
พอที่จะทำปฏิกิริยา K2SO4 100 กรัม เพราะต้องใช้ Ba(NO3)2
ถึง 150.2 กรัม นั่น คือ ถ้า ใช้ Ba(NO3)2 100 กรัม กับ
K2SO4 100 กรัม Ba(NO3)2 จะเป็ นสารกำหนดปริมาณ

ข. พิจารณาจากอัตราส่วนโมล
ปฏิกิริยา
Ba(NO3)2 (aq) + K2SO4 (aq) 
BaSO4 (s) + 2KNO3 (aq)

ขัน
้ ที่ 1 หาจำ นวนโมลของสารตัง้ ต้น จากปริม าณที่
โจทย์กำหนด
8

จำนวนโมลของ Ba(NO3)2 = 100 กรัม =


0.383 โมล
261.3 กรัม
จำนวนโมลของ K2SO4 = 100 กรัม =
0.575 โมล
174 กรัม

ขัน
้ ที่ 2 หารจำนวนโมล จากขัน
้ 1 ด้วยจำนวนโมลจาก
ปฏิกิริยาที่ดุลแล้ว
0.383
Ba(NO 3)2 = 1 =
0.383
0.575
K2SO4 = 1 = 0.575

สารใดได้ตัวเลขน้อยสุดเป็ นสารกำหนดปริมาณ
นัน
่ คือ Ba(NO3)2 เป็ นสารกำหนดปริมาณ

สารเคมี
1. Potassium Iodine , KI
2. Lead (II) nitrate, Pb(NO3)2
9

เครื่องมือและอุปกรณ์

1. เครื่องชัง่ 2. บีกเกอร์ขนาด 250


3 3
cm 2 ใบ ขนาด 50 cm 1 ใบ
3. แท่งแก้วคนสาร 4. กระบอกตวงขนาด 50
3 3
cm และ 10 cm
5. กระจกนาฬิกา 6. กระดาษกรอง

การทดลอง
3
1. ชั่ง KI ประมาณ 1.00 กรัม โดยใช้บ ีก เกอร์ข นาด 50 cm
3
แล้วเติมน้ำกลั่นประมาณ 20 cm คนจนสารละลายหมด ถ้า
ละลายไม่หมดให้อุ่นเล็กน้อย
2. ชั่ง Pb(NO3)2 ประมาณ 0.80 กรัม โดยใช้บีกเกอร์ขนาด 250
3 3
cm เติมน้ำกลั่นประมาณ 20 cm คนจนสารละลายหมด ถ้า
ละลายไม่หมดให้อุ่นเล็กน้อย
3. เติมสารละลายจากข้อ 1 ลงในสารละลายข้อ 2 ครัง้ ๆ ละ
3
ประมาณ 5 cm คนอย่า งทั่ว ถึง ทำเช่น นีจ
้ นสารละลาย KI
หมด สังเกตสีของตะกอนที่ได้
4. ล้างสารละลายในบีกเกอร์ข้อ 1 ด้วยน้ำกลั่นเล็กน้อย แล้ว
เทน้ำล้างลงในสารละลายผสม ในข้อที่ 3
5. กรองตะกอนโดยใช้กรวยกรอง และล้างตะกอนด้วยน้ำกลั่น
จากนัน
้ นำกระดาษกรองที่มีตะกอนไปอบให้แห้ง แล้ว นำไปชั่ง
10

หาน้ำหนักของตะกอน (อย่าลืมเขียนเบอร์กลุ่มไว้ที่กระดาษ
กรองก่อ นจะนำไปใช้ก รอง เพื่อ ป้ องกัน การสับ เปลี่ย นกับ
ตะกอนของกลุ่มอื่น)

เมื่อเสร็จการทดลอง ห้ามทิง้ ตะกอนลงในอ่างน้ำเพราะ


เป็ นมลพิษ ให้เทลงในภาชนะที่ห้องปฏิบัติการจัดเตรียมไว้ให้

คำถามท้ายการทดลอง

1. ตะกอนที่ได้มีช่ อ
ื และสูตรทางเคมีว่าอย่างไร จงเขียน
สมการสำหรับปฏิกิริยาที่เกิดขึน

2. สารใดเป็ นสารกำหนดปริม าณ (limiting agent) ของ
ปฏิกิริยา และน้ำหนักตะกอนที่ได้
ตามทฤษฎี จะเป็ นเท่าไร
11

3. จากน้ำหนักตะกอนที่ไ ด้ จากการทดลอง จงหา


percentage yield ของผลิตภัณฑ์ที่ได้
ผลที่ไ ด้จ ากการทดลองคลาดเคลื่อ นไปจากทฤษฎีด ้ว ย
เหตุผลใดบ้าง
4. ในสารละลายจากสารผสมที่กรองตะกอนแล้ว มีไอออนใด
อยู่บา้ ง
5. ปฏิกิริยาระหว่าง Lead (II) Nitrate กับ Sodium
Chloride
Pb(NO3)2 (aq) + 2NaCl (aq)  PbCl2 (s)

+ 2NaNO3 (aq)

ถ้า ใช้ Pb(NO3)2 1.00 กรัม ทำปฏิก ิร ิย ากับ NaCl 1.00


กรัม จะได้ตะกอน PbCl2 กี่กรัม และสารใดเป็ นสารกำหนด
ปริมาณ (limiting agent) , สารใดเป็ นสารที่มีปริมาณมากเกิน
พอ (excess)
(กำหนดให้มวลอะตอมของ Pb = 207 , N = 14 , O = 16 ,
Na = 23 , Cl = 35.5 )
6. จากข้อ 5 ถ้าเตรียม PbCl2 ในห้องปฏิบัติการได้ 0.750
กรัม จงหา % yield ของ PbCl2
12

ชื่อ ………………………………………………………………… เลข


ที่ ……. ชัน
้ ………
ผู้รว
่ มทำการทดลอง 1 …………………………………….. เลขที่
……. ชัน
้ ……...
2 …………………………………….. เลข
ที่ …….. ชัน
้ …..….
ผู้ควบคุมการ
ทดลอง………………………………………………………………………
………
13

วันทีทำ
่ การ
ทดลอง………………………………………………………………………
…………
__________________________________________
_____________________

เรื่องปริมาณสัมพันธ์เคมี
ปฏิกิริยาเคมีของ KI กับ Pb(NO3)2

สมการเคมี
……………………………………………………………..

น้ำหนักสาร KI ……………… กรัม (กำหนด


ให้)
น้ำหนักสาร KI ……………… กรัม(จากการ
คำนวณ)
น้ำหนักสาร Pb(NO3)2 ……………… กรัม (กำหนด
ให้)
น้ำหนักสาร Pb(NO3)2 ……………… กรัม (จากการ
คำนวณ)
14

น้ำหนักตะกอน ……………… กรัม (จากการ


ทดลอง)
น้ำหนักตะกอน ……………… กรัม (จาก
ทฤษฎี)

การคำนวณ
1. ตัวกำหนดปฏิกิริยา (Limiting agent) คือ
………………….
2. สารที่มากเกินพอ ( Excess agent) คือ
………………….
เหลือ…………………. กรัม
3. น้ำหนักตะกอนที่ได้ตามทฤษฎี ……………. กรัม
3. % yield = ……………
4. % ความคลาดเคลื่อน = …………..
5. % Litmiting reactant in salt mixture =
…………..
6. % Excess reactant in salt mixture =
…………..
วิธีการคำนวณ

สรุปผลการทดลอง

You might also like