You are on page 1of 145

เคมี 30 วัน ทันสอบ

ตะลุยโจทย์
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
4) เมื่อเร็วๆนี้มีนักวิทยาศาสตร์ชาติหนึ่งอ้างว่าได้สังเคราะห์ธาตุที่มีเลขอะตอมเท่ากับ
ตัวอย่างข้อสอบ เคมี 122 ซึ่งควรจะมีอิเล็กตรอนวงนอกสุดอยู่ใน g ออร์บิทัล จงอาศัยความรู้เรื่องการ
จัดเรียงอิเล็กตรอนทานายว่าธาตุนี้ควรจะมีอิเล็กตรอนอยู่ใน g ออร์บิทัลจานวน
เท่าไร (PAT2 มี.ค. 52)
บทที่ 1 โครงสร้างอะตอม 1. 1 อิเล็กตรอน
1) ธาตุ X มีเลขอะตอม 53 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ 2. 2 อิเล็กตรอน
ก. X รวมตัวกับโลหะปรอทแล้วจะมีสูตรเคมีเป็น Hg2X2 3. 3 อิเล็กตรอน
ข. X เมื่อเป็นไอออนจะมีโครงสร้างอิเล็กตรอนเป็น 4. 4 อิเล็กตรอน
2 8 18 18 8
ค. X เมื่อเป็นไอออนจะมีรัศมีไอออนเล็กกว่าไอออนของ
ธาตุที่มีโครงสร้างอิเล็กตรอนเป็น 2 8 18 18 8 1
ข้อใดถูกต้อง (PAT2 มี.ค. 52)
1. ก และ ข
2. ข และ ค
3. ก และ ค
4. ข

5) กราฟความสัมพันธ์ระหว่างธาตุในคาบที่สอง

2) สารประกอบที่เกิดจากโลหะโซเดียมกับธาตุ X มวลโมเลกุลเฉลี่ยของสารประกอบมี
ค่าเท่ากับ 103 กรัมต่อโมล เมื่อทาปฏิกิริยากับสารละลาย AgNO3 จะได้ตะกอนสี
ขาว ถ้าธาตุ X มี 45 นิวตรอน ข้อใดคือการจัดอิเล็กตรอนที่ถูกต้องของธาตุ X
(PAT2 มี.ค. 52)
1. 2 8 8 5
2. 2 8 8 6
3. 2 8 18 7
4. 2 8 18 8

แกน Y น่าจะแสดงถึงค่าใด (PAT2 ก.ค. 52)


1. EN
2. EA
3. IE1
4. IE2

3) อะตอมหรือไอออนของธาตุคู่ใดเป็นไอโซอิเล็กทรอนิก (PAT2 มี.ค. 52)


1. O2 และ N2
2. O+ และ Ar
3. S2- และ Ne
4. S2- และ Ar

Page 2
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
6) ทิศทางของไอออน He+ และ Ne+ เคลื่อนที่ไปด้วยกันผ่านสนามไฟฟ้า แนวทางการ 10) ข้อใดถูกที่สุด (PAT2 ต.ค. 52)
เคลื่อนที่ของไอออนทั้งสอง ควรมีลักษณะตามข้อใด (PAT2 ก.ค. 52) 1. ธาตุหมู่ 18 ทุกชนิดไม่มีค่า EN
1. เคลื่อนที่เป็นสองแนวแยกกันไปในทิศตรงข้ามกัน 2. ธาตุหมู่ 18 ทุกชนิดเสถียรแล้ว จึงไม่มีค่า EA และ EN
2. เคลื่อนที่เป็นสองแนวไปในทิศเดียวกัน โดย He+ มีรัศมีการเลี้ยวเบนสั้นกว่า 3. ค่า IE เป็นค่าบวก แต่ค่า EA เป็นค่าลบ
3. เคลื่อนที่เป็นสองแนวไปในทิศเดียวกัน โดย Ne+ มีรัศมีการเลี้ยวเบนสั้นกว่า 4. ธาตุที่ไม่มีค่า EN คือธาตุที่ไม่สร้างพันธะกับธาตุอื่น
4. เคลื่อนที่เป็นแนวทางเดียวกัน

45 3 
7) อะตอม 40
20 Ar และไอออน 21 Sc มีความสัมพันธ์ต่อกัน ดังข้อใด (PAT2 ก.ค. 52)
1. ไอโซโทป
2. ไอโซโทน
3. ไอโซบาร์
4. ไอโซอิเล็กทรอนิกส์

11) จากข้อมูลต่อไปนี้
ก. จานวนออร์บิทัลของธาตุ 19K มีอิเล็กตรอนบรรจุเท่ากับ 10 ออร์บิทัล
ข. การจัดเรียงอิเล็กตรอนชั้นนอกของไอออน Fe3+ คือ 3d3 4s2
ค. ธาตุ A มีเลขอะตอม 38 และ ธาตุ B มีเลขอะตอม 17 เมื่อ ทาปฏิกิริยากันจะ
ได้สารประกอบไอออนิกที่มีสูตรเป็น AB2
ง. เลขออกซิเดชันของไนโตรเจนในสารประกอบ NCl3 และ N2O3 มีค่าไม่เท่ากัน
ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 53)
8) เมื่อพิจารณาจากการจัดเรียงอิเล็กตรอน ไอออนที่น่าจะมีความเสถียรมากที่สุดคือ
1. ก และ ค
ชนิดใด (PAT2 ก.ค. 52)
2. ก และ ง
1. H+
3. ข และ ง
2. He+
4. ก ข ค และ ง
3. He2+
4. Li+

9) สมมาตรของออร์บิทัลในข้อใดที่เหมือนกับออร์บิทัล d(x2 y 2 ) (PAT2 ต.ค. 52)


1. Px
2. dyz
3. dz2
4. มีคาตอบถูกมากกว่า 1 ข้อ

Page 3
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
12) ข้อใดถูกเกี่ยวกับพลังงานไอออไนเซชัน ลาดับที่ 1 ของธาตุแต่ละคู่ 15) จากแผนภาพระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมของไฮโดรเจน ข้อใดถูก
(PAT2 ก.ค. 53) (PAT2 ต.ค. 53)
1. 1H มีค่ามากกว่า 2He
2. 11Na มีค่ามากกว่า 12Mg .
3. 18Ar มีค่ามากกว่า 19K .
.
4. 18Ar มีค่ามากกว่า 10Ne 3

1. สเปกตรัมที่เกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 2 ไป n = 1
มีความยาวคลื่นกว่าจาก n = 3 ไป n = 2
2. สเปกตรัมที่เกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 7 ไป n = 2
มีพลังงานมากกว่าจาก n = 6 ไป n = 1
3. สเปกตรัมที่เกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 5 ไป n = 2
13) ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดไม่ถูก (PAT2 ก.ค. 53) มีความถี่ต่ากว่าจาก n = 4 ไป n = 1
1. ออร์บิทัลชนิด d จะเริ่มมีในระดับพลังงาน n = 3 4. สเปกตรัมที่เกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 2 ไป n = 3
2. ระดับพลังงานย่อย f ในระดับพลังงาน n = 3 มีจานวน 7 ออร์บิทัล มีความยาวคลื่นสั้นกว่าจาก n = 3 ไป n = 2
3. ในระดับพลังงาน n = 3 มีจานวนออร์บิทัลทั้งหมด 9 ออร์บิทัล
4. ในระดับพลังงาน n = 4 มีจานวนพลังงานย่อย 4 ระดับ

14) ข้อใดเป็นการจัดเรียงอิเล็กตรอนของ 24Cr3+ (PAT2 ต.ค. 53) 16) ธาตุ X เมื่อเกิดสารประกอบไอออนิกกับธาตุออกซิเจนพบว่าได้สารที่มีสูตรเคมีเป็น


1. 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s1 3d2 XO2 โดยออกซิเจนในสารประกอบนี้มีการจัดอิเล็กตรอนเป็น 1s2 2s2 2p5 จาก
2. 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 3d3 ข้อมูลข้างต้นข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 54)
3. 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d1 1. X เป็นอโลหะ
4. 1s2 2s2 2p6 3s2 3p3 4s1 3d5 2. X เป็นธาตุในคาบ 2
3. X เป็นธาตุที่อยู่หมู่เดียวกับธาตุที่มีเลขอะตอม 88
4. X เป็นธาตุที่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีมากที่สุดในตารางธาตุ

Page 4
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
17) พิจารณาเส้นสเปกตรัมที่ได้จากการคายพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจน 19) พิจารณาการจัดเรียงอิเล็กกตรอนของธาตุสมมติต่อไปนี้
เส้นที่ การเปลี่ยนระดับพลังงาน ธาตุ การจัดเรียงอิเล็กตรอน
A n = 6 ไป n = 4 A [Ar] 4s1
B n = 3 ไป n = 1 D [Ar] 4s2 3d5
C n = 5 ไป n = 3 E [Ar] 4s2 3d10 4p4
D n = 4 ไป n = 2 G [Ar] 4s2 3d10 4p5
ข้อใดเรียงพลังงานของเส้นสเปกตรัมได้อย่างถูกต้อง (PAT2 มี.ค. 54)
จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดผิด (PAT2 มี.ค. 54)
1. A  C  D  B
1. เลขออกซิเดชันของ D มีค่าสูงสุดเป็น +5
2. B  D  C  A
2. ค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนของ G  E  A
3. C  B  D  A
3. ธาตุ A เมื่อเกิดสารประกอบกับคาร์บอนได้สูตรเป็น A4C
4. D  B  A  C
4. ธาตุ E สามารถเกิดสารประกอบไอออนิกกับ A ได้สารที่มีสูตรเป็น A2E

18) อะตอมของไฮโดรเจน 2 โมล ได้รับพลังงาน 2,551 kJ พบว่าอิเล็กตรอนทั้งหมด


เปลี่ยนระดับพลังงานไปที่ n = 6 หลังจากนั้นอิเล็กตรอนคายพลังงาน ได้เส้น
20) ข้อใดเป็นการจัดอิเล็กตรอนที่สภาวะพื้นของ Fe(II) (Z = 26) (PAT2 มี.ค. 54)
สเปกตรัมในช่วงที่ตามองเห็น 4 เส้นดังนี้
1. 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d4
สเปกตรัม ความยาวคลื่น(nm) ปริมาณอิเล็กตรอนที่คาย
2. 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s0 3d6
พลังงาน(โมล)
3. 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s1 3d5
สีม่วง 400 0.025 4. 1s2 2s2 2p6 3s2 3p5 4s2 3d5
สีน้าเงิน 420 0.5
สีฟ้า 500 0.025
สีแดง 660 0.5
ข้อใดถูก (h = 6.63 x 10-34 J-s, c = 3 x 108 m/s) (PAT2 มี.ค. 54)
1. แสงสีแดงมีความเข้มสูงสุด
2. แสงสีน้าเงินมีความเข้มสูงสุด
3. พลังงานของแสงสีฟ้าที่ได้ออกมาทั้งหมดมีค่าต่าสุด
4. พลังงานของแสงสีม่วงที่ได้ออกมาทั้งหมดมีค่าสูงสุด

21) ธาตุ A อยู่ในคาบ 4 หมู่ 1A ธาตุ B อยู่ในคาบ 3 หมู่ 6A ธาตุ A และ B เกิด
สารประกอบ AxBy จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT2 ต.ค. 54)
1. ธาตุ A มีเลขอะตอมเท่ากับ 20 ธาตุ B มีเลขอะตอมเท่ากับ 16
2. จานวนอิเล็กตรอนของไอออนของ A มีค่าเท่ากับ 18
3. จานวนนิวตรอนของาตุ A น้อยกว่าธาตุ B
4. ธาตุ B เกิดสารประกอบโคเวเลนต์กับธาตุ 1H ได้สารที่มีสถานะเป็นของเหลว
ที่อุณภูมิห้อง

Page 5
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
22) ธาตุหนึ่งอยู่ในคาบเดียวกับ 106A และหมู่เดียวกับ 50B ธาตุนี้ควรมีเลขอะตอมเท่าใด 25) ข้อใดเป็นสาเหตุที่ทาให้พลังงานที่ใช้ในการกระตุ้นอิเล็กตรอน 1 ตัวจาก 1s-subshell
(PAT2 ต.ค. 54) ของ 1H และ 2He+ ไปยัง 3s-subshell แตกต่างกัน (PAT2 มี.ค. 55)
1. 114 ก. จานวนโปรตอนแตกต่างกัน
2. 116 ข. จานวนนิวตรอนแตกต่างกัน
3. 82 ค. จานวนอิเล็กตรอนแตกต่างกัน
4. 84 1. ข้อ ก เท่านั้น
2. ข้อ ข เท่านั้น
3. ข้อ ก และ ข
4. ข้อ ก และ ค

23) พิจารณาสมบัติต่อไปนี้ของธาตุสมมติ A,B,C และ D (ที่สถานะพื้น)ซึ่งเป็นธาตุที่อยู่


ในคาบ 3
26) พิจารณาการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุต่อไปนี้
A : [18Ar] 4s2 3d7
B : [10Ne] 3s2 3p4 4s1
C : [10Ne] 3s1
D : [10Ne] 3s2 3p3
จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 56)
เลขอะตอมของาตุ A, B, C และ D เป็นเท่าใด (PAT2 ต.ค. 54)
1. ธาตุ A สามารถเกิดสารประกอบกับ B ได้สารประกอบไอออนิกและสาร
1. A = 18 , B = 17 , C = 15 , D = 12
ประกอบเชิงซ้อน
2. A = 12 , B = 17 , C = 15 , D = 18
2. ธาตุ B อยู่หมู่เดียวกับ ธาตุ C
3. A = 18 , B = 15 , C = 17 , D = 12
3. ธาตุ B มีขนาดใหญ่กว่าธาตุ C และ ธาตุ D
4. A = 12 , B = 15 , C = 17 , D = 18
4. สูตรของสารประกอบระหว่างธาตุ B และ ธาตุ D คือ DB3 เท่านั้น

27) ปรากฏการณ์ใดต่อไปนี้ที่ไม่ได้นาทฤษฎีควอนตัมของพลังงาน (E = hV) มาใช้ใน


การอธิบาย (PAT2 มี.ค. 57)
1. ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
2. สเปกตรัมเส้นที่ได้จากอะตอมไฮโดรเจน
24) พิจารณา electron configuration ของธาตุสมมติต่อไปนี้ 3. การยิงอนุภาคแอลฟาผ่านแผ่นทอง
A : [18Ar] 4s2 3d10 4p3 4. การเปล่งแสงของวัตถุเมื่อได้รับความร้อน
B : [18Ar] 4s2 3d10 4p6
C : [36Kr] 5s2 4d10 5p3
D : [36Kr] 5s2 4d10 5p4
ธาตุใดใดอยู่ในหมู่เดียวกัน (PAT2 ต.ค. 54)
1. A,B
2. B,C
3. B,D
4. A,C

Page 6
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
28) พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้ 31) สารประกอบฟลูออไรด์ของธาตุในคาบที่สามทั้ง 5 ชนิด คือ A, D, E, G และ J
ธาตุสมมติ ระดับพลังงานสูงสุดและจานวนอิเล็กตรอน มีสูตรดังนี้
A 3p5 ธาตุ สูตรของสารประกอบฟลูออไรด์
D 2p1 A AF2, AF4, AF6
E 3p3 D DF2
G 2p2 E EF4
G GF3, GF5
สารประกอบระหว่างธาตุคู่ใดมีสมบัติในการรับคู่อิเล็กตรอนได้ดีมาก J JF, JF3, JF5
(PAT2 เม.ย. 57)
จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดผิด (PAT2 มี.ค. 60)
1. A กับ D
1. A เป็นธาตุหมู่ 18
2. D กับ E
2. D เป็นโลหะ
3. G กับ D
3. ออกไซด์ของ E มีสูตรเป็น EO2
4. G กับ A
4. D และ G เกิดสารประกอบที่มีสูตรเป็น D3G2
5. สารประกอบออกไซด์หนึ่งของ J คือ J2O7

29) พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้
I. อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสและอิเล็กตรอน
II. อิเล็กตรอนโคจรรอบนิวเคลียส โดยมีวงโคจรที่แน่นอน
III. การดูดหรือคายพลังงานของอิเล็กตรอน จะทาให้อิเล็กตรอนเปลี่ยนระดับ
พลังงาน
IV. โอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนขึ้นอยู่กับระยะห่างจากนิวเคลียส
ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับแบบจาลองอะตอมกลุ่มหมอก (PAT2 พ.ย. 57)
1. I และ II
2. II
3. II และ III
4. I, II และ III

30) พิจารณาการจัดเรียงอิเล็กตรอนใน orbital ที่มีพลังงานมากที่สุดของไอออนต่อไปนี้


A2+ : 3d10 D3+ : 3p6 E2- : 4p6 G3- : 3p6
จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดผิด (PAT2 ต.ค. 59)
1. ธาตุ A, D และ E อยู่ในคาบ 4
2. ธาตุ A และ D เป็นธาตุแทรนซิชัน
3. ธาตุ A มีพลังงานไอออไนเซชันอันดับหนึ่งมากกว่าธาตุ D
4. ธาตุ G มีขนาดเล็กกว่าธาตุ A, D และ E เฉลย 1. 1 2. 3 3. 4 4. 2 5. 4 6. 4
5. ธาตุ G รับอิเล็กตรอนดีกว่าธาตุ E
7. - 8. 4 9. 2 10. 4 11. 1 12. 3
13. 2 14. 2 15. 3 16. 3 17. 2 18. 3
19. 1 20. 2 21. 2 22. 1 23. 1 24. 4
25. 1 26. 1 27. 3 28. 1 29. 2 30. 5
31. 1

Page 7
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
3) สมบัติของธาตุ X Y และ Z มีดังนี้
ตัวอย่างข้อสอบ เคมี ธาตุ X มีเลขอะตอม 29 เป็นของแข็ง มีค่า E0red เป็นลบ
ธาตุ Y เป็นโมเลกุลอะตอมคู่ พบว่าเป็นส่วนประกอบในอากาศปริมาณร้อยละ 21
บทที่ 2 ตารางธาตุ ธาตุ Z เป็นแก๊สสีเขียวและเป็นโมเลกุลอะตอมคู่เช่นเดียวกับธาตุ Y เมื่อละลายน้ามี
ฤทธิ์เป็นกรด
1) Co-60 เป็นสารกัมมันตรังสีที่ปล่อยอนุภาคบีตา มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 5.3 ปี เมื่อเวลา
ข้อใด ไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับสารประกอบที่เกิดจากธาตุ X Y และ Z (PAT2 ก.ค. 52)
ผ่านไป 26.5 ปี อัตราส่วนของ Co-60 ที่เหลืออยู่จะเป็นเท่าใดเมื่อเทียบกับเวลา
1. ธาตุ X ทาปฏิกิริยากับกรด HZ จะได้แก๊ส H2
เริ่มต้น (PAT2 มี.ค. 52)
2. สารประกอบระหว่าง X และ Z เป็นสารประกอบไอออนิก
1. 1/5
3. สารประกอบระหว่าง Y และ Z จะมีสภาพเป็นกรดเมื่อ
2. 1/8
ละลายน้า
3. 1/16
4. ธาตุ X เป็นโลหะที่สามารถเกิดเป็นสารประกอบสูตร
4. 1/32
XBr2 ได้

4) กราฟการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี Po-210 ให้ผลิตภัณฑ์เป็น Pb-208

2) กระบวนการสลายตัวของ 232 90Th จะมีไอโซโทปกัมมันตรังสี 6ตัวที่จะปล่อยอนุภาค


อัลฟา และมีไอโซโทปกัมมันตรังสี 4 ตัวที่สลายตัวให้อนุภาคบีตา ผลิตภัณฑ์สุดท้าย
ของการสลายตัวคือข้อใด (PAT2 มี.ค. 52)
1. 204
74W ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีชนิดนี้ (PAT2 ก.ค. 52)
2. 208
74W 1. ครึ่งชีวิตมีค่าเท่ากับ 20 สัปดาห์
3. 204
82W 2. อัตราการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีเป็นค่าคงที่ ไม่ขึ้นอยู่กับปริมาณสารตั้ง
4. 208 ต้น
82W
3. อันดับของปฏิกิริยาไม่เท่ากับศูนย์ เมื่อเทียบกับจานวนนิวเคลียสของธาตุ
กัมมันตรังสี
4. ถ้าสร้างกราฟความสัมพันธ์ระหว่างน้าหนักของ Pb-208 กับเวลาจะมีค่าความ
ชันลดลงเมื่อเวลาเพิ่มขึ้น

Page 8
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
5) กระบวนการสลายตัวของ 232 208
90Th จนได้ผลิตภัณฑ์สุดท้ายเป็น 82 Pb จะมี
8) กราฟค่าพลังงานไอออนไนเซชันลาดับที่ 1 ถึง 5 ของธาตุที่มีเลขอะตอมติดกัน 4
อนุภาคบีตาเกิดขึ้นกี่อนุภาค (PAT2 ก.ค. 52) ชนิด คือ A B C และ D
1. 2
2. 4
3. 6
4. 8

จากกราฟ รัศมีของธาตุทั้งสี่ชนิดเรียงลาดับจากน้อยไปมากได้ตามข้อใด
(PAT2 ต.ค. 52)
1. A  B  C  D
2. D  C  B  A
3. D  A  B  C
4. C  B  A  D
6) ไอโซโทปหนึ่งของ 90Th เป็นธาตุกัมมันตรังสี สลายตัวต่อเนื่องได้รวม 10 ขั้นตอน
สุดท้ายจะได้ 208
82 Pb เป็นผลิตภัณฑ์ที่เสถียร ถ้าแต่ละขั้นอนุกรมของการสลายตัว
ดังกล่าว ปล่อยอนุภาค 42  หรือ 01 ชนิดใดชนิดหนึ่งเท่านั้น
ธาตุ Th ดังกล่าวเป็นไอโซโทปที่มีเลขมวลเท่าไร (PAT2 ต.ค. 52)
1. 224
2. 228
3. 230
4. 232

9) ปฏิกิริยาใดต่อไปนี้ เกิดขึ้นไม่ได้อย่างแน่นอน (PAT2 ก.ค. 53)


1. ClF + F2  ClF3
2. PF3 + F2  PF5
3. SF2 + F2  SF4
4. SiF4 + F2  SiF6

7) เมื่อยูเรเนียม-238 สลายตัวให้อนุภาคแอลฟา 1 อนุภาค และให้อนุภาคบีตา 2


อนุภาค ข้อใดคือ ไอโซโทปของสารที่เกิดขึ้น (PAT2 มี.ค. 53)
1. Pa-234
2. U-234
3. Th-230 10) ผลรวมของเลขออกซิเดชันของธาตุแทรนซิชันคู่ใดมีค่าต่าที่สุด (PAT2 ก.ค. 53)
4. Pa-230 1. [FeSCN]2+ กับ [Ni(NH3)6]Br2
2. [Fe(CN)6]3- กับ [Cu(NH3)4]SO4
3. K4[Ni(CN)4] กับ K3[Fe(CN)6]
4. K4[Fe(CN)6] กับ [CoCl(NH3)5]2+

Page 9
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
11) แผนภาพการสลายตัวของ U-238 13) 238 206
92 U เกิดกระบวนการสลายตัวหลายขั้นตอนได้ 82 Pb ซึ่งเป็นไอโซโทปที่เสถียร
ชนิดและจานวนของอนุภาคที่ได้จากการสลายตัวของ 238
92 U จานวน 1 อะตอม คือ
ข้อใด (PAT2 มี.ค. 54)
อนุภาค จานวน(อนุภาค)
1.  8
 6
2.  6
 8
3.  10
 8
4.  8
 10

ปฏิกิริยาการสลายตัวของ U-238 จะเกิดอย่างต่อเนื่อง ให้รังสีอัลฟา และบีตา


เปลี่ยนผ่านธาตุกัมมันตรังสีหลายชนิดกว่าจะได้เป็นนิวเคลียส Pb-206 ที่เสถียร
โดยแกนนอนแสดงถึงเลขอะตอม แกนตั้งของแผนภาพนี้สัมพันธ์กับข้อมูลใด
(PAT2 ต.ค. 53)
1. เลขมวล
2. จานวนนิวตรอน
3. ผลต่างจานวนนิวตรอนและโปรตรอน
4. มีคาตอบถูกมากกว่า 1 ข้อ

14) ธาตุวาเนเดียม (Z = 23) เมื่อกลายเป็นไอออน จะมีสีดังนี้


V2+ สีม่วง
3+
V สีเขียวน้าเงิน
VO2+ สีฟ้า
VO+2 สีเหลือง
เมื่อนาน้าแป้งเล็กน้อยมาผสมกับสารละลาย VO2+ ในสารละลายกรดซัลฟิวริก
พบว่าได้สารละลายสีเขียว ถ้าเติมน้าแป้งลงไปอีก พบว่าได้สารละลายสีฟ้า ถ้าพ่น
อากาศลงไปในสารละลายสีฟ้านี้ พบว่าได้สารละลายสีเหลือง ข้อใดกล่าวถูกต้อง
เกี่ยวกับการทดลองนี้ (PAT2 มี.ค. 54)
12) ธาตุกัมมันตรังสี Pb-210 มีค่าครึ่งชีวิต 20 ปี ในปี พ.ศ.2500 นาย ก. ได้นา
1. เกิด V3+ ระหว่างการทดลองนี้
ตัวอย่างของชิ้นส่วนซากสิ่งมีชีวิตที่มี Pb-210 มาวิเคราะห์ปริมาณรังสีได้ 400
2. แก๊สออกซิเจนออกซิไดซ์ VO2+ ได้ VO2+
Bq/kg และได้ทาการบันทึกไว้ ต่อมานาย ข. ได้ทาการวิเคราะห์ปริมาณรังสีจากซาก
3. ไอออนของวาเนเดียมเข้าไปอยู่ในโมเลกุลของแป้ง แล้วเกิดการ เปลี่ยนสี
สิ่งมีชีวิตนี้อีกครั้งพบว่าได้ 6.25 Bq/kg อยากทราบว่า นาย ข. ทาการวิเคราะห์ในปี
4. แป้งถูกไฮโดรไลซ์กลายเป็นกลูโคส จากนั้นทาปฏิกิริยากับ VO2+ ได้สารละลาย
พ.ศ.ใด (PAT2 มี.ค. 54)
ของ VO2+
1. 2600
2. 2601
3. 2620
4. 2621

Page 10
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
15) ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ทาให้ [CoCl4]2- (สีน้าเงิน) และ [Co(H2O)6]2+ (สีชมพู)มีสี 18) ธาตุ A, B, C และ D เป็นธาตุที่อยู่ในหมู่เดียวกัน โดยที่สารประกอบไฮไดรด์ของ
ต่างกัน (PAT2 ต.ค. 54) ธาตุ A, B, C และ D มีสมบัติดังข้อมูลในตาราง
1. ประจุแตกต่างกัน
2. โครงสร้างแตกต่างกัน
3. ชนิดของหมู่ที่ล้อมรอบอะตอมกลางแตกต่างกัน
4. จานวนของหมู่ที่ล้อมรอบอะตอมกลางแตกต่างกัน

ธาตุในหมู่นี้มีพลังงานไอออไนเซชั่นอันดับที่ 1 มากกว่าธาตุที่อยู่ทางซ้ายและขวาใน
คาบเดียวกัน จากข้อมูลที่กาหนดนี้ ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 55)
1. ธาตุ D เป็นธาตุที่มีขนาดเล็กที่สุด
2. ออกไซด์ของธาตุ B และ C มีสมบัติเป็นเบส
3. ค่าพลังงานไอออไนเซชันอันดับที่ 1 ของ D  C  B  A
4. สารประกอบไฮไดรด์ของธาตุ A มีโครงสร้างเป็นทรงเหลี่ยมสี่หน้า

16) สารประกอบเชิงซ้อนหนึ่งของโคบอลท์ ประกอบด้วยโคบอลท์ 1 อะตอม คลอรีน 2


อะตอม และ ethylene diamine (NH2CH2CH2NH2) ซึ่งทาหน้าที่เป็นหมู่ที่มา
ล้อมรอบและใช้ N 2 อะตอมต่อ 1 โมเลกุล ในการเกิดพันธะโคบอลท์ นา
สารประกอบนี้ไปวิเคราะห์ พบว่าได้ %C = 19.2 , %N = 22.4, %H = 6.4 และ
สารประกอบนี้ไม่เกิดตะกอนกับสารละลาย AgNO3 สารประกอบเชิงซ้อนนี้ควร
เป็นข้อใด (มวลอะตอม Co = 59 , N = 14 , C = 12 , H = 1 , Cl = 35.5 )
(PAT2 ต.ค. 54)
1. [Co(NH2CH2CH2NH2)Cl2]
2. [Co(NH2CH2CH2NH2)2Cl2]
3. [Co(NH2CH2CH2NH2)2]Cl2
4. [Co(NH2CH2CH2NH2)3]Cl2

19) จุดหลอมเหลวของ MgO สูงกว่า NaF เนื่องจากสาเหตุใดต่อไปนี้ (PAT2 มี.ค. 55)


ก. Mg2+ มีประจุบวกสูงกว่า Na+
ข. O2- มีประจุลบสูงกว่า F-
ค. O2- ใหญ่กว่า F-
1. ข้อ ข เท่านั้น
2. ข้อ ก และ ข
3. ข้อ ก และ ค
4. ข้อ ก, ข และ ค
17) นาไอโอดีนซึ่งเป็นของผสมระหว่าง I-127 (ไอโซโทปที่เสถียร)และ I-131 (ไอโซโทป
กัมมันตรังสี มีครึ่งชีวิต 8 วัน) นาของผสมนี้น้าหนัก 50 กรัม ตั้งทิ้งไว้ 24 วัน พบว่า
น้าหนักลดลงเหลือ 36 กรัม เปอร์เซ็นต์ของ I-131 ในของผสมก่อนตั้งทิ้งไว้เป็น
เวลาเท่าใด (PAT2 ต.ค. 54)
1. 8
2. 16
3. 32
4. 64

Page 11
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
20) พิจารณาข้อมูลการสลายตัวของไอโซโทปกัมมันตรังสี A,B และ C ในตารางต่อไปนี้ 22) พิจารณาโครงสร้างของสารประกอบออกไซด์ของธาตุสมบัติ A, B, C และ D ซึ่ง
เป็นธาตุในคาบที่ 3 ในตารางต่อไปนี้

ของผสมระหว่างไอโซโทปกัมมันตรังสี A, B และ C หนัก 14 กรัม หลังจากถูกทิ้ง ไว้


8 วัน พบว่าน้าหนักของผสมลดลงเหลือ 3 กรัม โดยที่ไอโซโทปกัมมันตรังสี B
และ C เหลือเท่ากัน จากข้อมูลนี้มีไอโซโทปกัมมันตรังสี A หนักกี่กรัมในของ ผสม
ตอนเริ่มต้น (PAT2 มี.ค. 55)
1. 2
2. 4
3. 6 หมายเหตุ มีธาตุ 3 ตัวเป็นโลหะ และธาตุ 1 ตัวเป็นกึ่งโลหะ
4. 8 จากข้อมูลในตาราง ข้อใดถูก (PAT2 ต.ค. 55)
1. ขนาดของ A  B  C  D
2. ความสามารถในการรับอิเล็กตรอนของ A  B  C  D
3. ค่าพลังงานไอออไนเซชันอันดับ 1 ของ D  C  B  A
4. เลขออกซิเดชันของ A, B, C และ D ในสารประกอบ ออกไซด์เหล่านี้เป็น +2,
+3, +4 และ +1 ตามลาดับ

21) พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้เกี่ยวกับสมบัติของธาตุสมบัติ A, B, C และ D

23) พิจารณาสมบัติของไอโซโทปกัมมันตรังสีในตารางต่อไปนี้

จากข้อมูลในตารางเลขอะตอมของธาตุ A, B, C และ D เป็นเท่าใด


(PAT2 ต.ค. 55)
1. A = 11, B = 17, C = 5, D = 9
2. A = 3, B = 9, C = 13, D = 17 จากข้อมูลในตาราง น้าหนักเริ่มต้นในหน่วยกรัมของ A, B, C, D เป็นเท่าใด
3. A = 3, B = 9, C = 5, D = 17 (PAT2 ต.ค. 55)
4. A = 11, B = 17, C = 13, D = 9 1. 12.5, 25, 50, 800
2. 12.5, 25, 75, 800
3. 12.5, 25, 100, 800
4. 12.5, 25, 100, 1600

Page 12
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
24) ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) เป็นสารที่สลายตัวได้เองให้น้าและแก๊สออกซิเจน 26) 20Ca เกิดสารประกอบไอออนิกกับ A, B และ C โดยมีรายละเอียดของโครงสร้าง
การเติมสารใดต่อไปนี้ จะให้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์สลายตัวเร็วที่สุด ดังนี้
(PAT2 ต.ค. 55)
1. เหล็ก
2. ตับบด
3. ทราย
4. หินปูน

หมายเหตุ ธาตุ A, B และ C เป็นธาตุในคาบที่ 2


จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดผิด (PAT2 มี.ค. 56)
1. ขนาดของอะตอม C  B  A
2. สารประกอบระหว่าง A และ B มีสูตรเป็น BA2
3. สารประกอบระหว่าง A และ C มีสูตรเป็น CA3 และ CA5
4. ความเป็นไอออนิกของสารประกอบระหว่าง Ca และ A มี มากที่สุด

25) จากการศึกษาสารประกอบเชิงซ้อนชนิดหนึ่งพบว่า 1 โมเลกุลประกอบด้วย Co(III)


1 ไอออน, Br 3 ไอออน และ H2O 6 โมเลกุล สารนี้เกิดไอโซเมอร์ขึ้นหลายไอโซ
เมอร์ โดยบาง ไอโซเมอร์ H2O ทาหน้าที่เป็นหมู่ที่มาล้อมรอบ เช่น [Co(H2O)6]Br3
บางไอโซเมอร์ H2O ทาหน้าที่เป็นน้าผลึก เช่น [CoBr3(H2O)3].3H2O (H2O ที่อยู่
27) พิจารณาคุณสมบัติของสาร A, B, C และ D ต่อไปนี้
นอกวงเล็บทาหน้าที่เป็นน้าผลึก) โดยน้าผลึกนี้จะถูกทาให้ระเหยไปได้โดยอบสารที่
อุณภูมิ 120 oC ในขณะที่ H2O ที่เป็นหมู่ที่มาล้อมรอบ จะไม่ระเหยไปที่อุณหภูมินี้
นักเรียนคนหนึ่งทาการสังเคราะห์สารประกอบเชิงซ้อนนี้พบว่าได้ของผสมของไอโซ
เมอร์ต่างๆออกมา แล้วทาการแยกไอโซเมอร์ต่างๆ โดย ใช้เทคนิคทางเคมี นักเรียน
คนนี้พยายามทาการวิเคราะห์เบื้องต้นเกี่ยวกับสูตรของไอโซเมอร์แต่ละชนิดโดยใช้
อุปกรณ์ที่ไม่ซับซ้อน วิธีการใดต่อไปนี้เหมาะสมที่สุด (PAT2 ต.ค. 55)
1. โครมาโทกราฟี
2. กรอง
3. การให้ความร้อน
4. การตกผลึก

จากข้อมูลในตาราง ข้อใดผิด (PAT2 มี.ค. 56)


1. A เป็นสารประกอบระหว่างธาตุที่เป็นโลหะและอโลหะ
2. B เป็นสารประกอบระหว่างธาตุที่เป็นอโลหะ
3. C เป็นสารประกอบที่มีลักษณะเป็นโมเลกุลเดี่ยว
4. แบบจาลองทะเลอิเล็กตรอนสามารถใช้ในการอธิบายคุณสมบัติของสาร D

Page 13
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
28) ไอโซโทปหนึ่งที่เสถียรของธาตุ X ผสมกับไอโซโทปกัมมันตรังสีของธาตุ X (น้าหนัก 30) ธาตุสมมติ A, B, C และ D อยู่ในคาบ 2 สารประกอบของธาตุเหล่านี้มีสมบัติดัง
ของแต่ละไอโซโทปเป็นเลขจานวนเต็มบวก) โดยของผสมมีน้าหนักเริ่มต้น 10 กรัม ข้อมูลต่อไปนี้
หลังจากเวลาผ่านไป 8 วัน น้าหนักของของผสมเหลือเพียง 4 กรัม ค่าครึ่งชีวิตของ I. สารประกอบไฮไดรด์ของ A มีจุดหลอมเหลวสูงกว่าสารประกอบไฮไดรด์
ไอโซโทปกัมมันตรังสีของธาตุ X มีค่ากี่วัน (PAT2 มี.ค. 56) ของธาตุคาบ 3 ในหมู่เดียวกัน และสารประกอบคลอไรด์ของธาตุ A มีสูตร
1. 1 เป็น ACl3
2. 2 II. สารประกอบออกไซด์ของ B มีสูตรเป็น B2O และสารประกอบออกไซด์
3. 4 ของธาตุตัวอื่นๆ ในหมู่เดียวกับ B มีสมบัติเป็นเบส
4. 8 III. สารประกอบคลอไรด์ของธาตุ C มีสถานะเป็นแก๊สที่อุณหภูมิห้อง (25 C)
และสารประกอบนี้มีสมบัติเป็นตัวรับอิเล็กตรอนที่ดี
IV. สารประกอบไฮไดรด์ของ D มีสมบัติเป็นกรดอ่อน
จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 57)
1. เลขอะตอมของ D  C  A  B
2. ขนาดอะตอมของ B  C  A  D
3. พลังงานไอออไนเซชันของ D  C  A  B
4. ความสามารถในการรับอิเล็กตรอนของ B  C  A  D

29) พิจารณาสัญลักษณ์อะตอมของธาตุสมมติต่อไปนี้ 16A, 17B, 19C, 20D, 35E ข้อใดผิด


เกี่ยวกับสมบัติของธาตุเหล่านี้ (PAT2 มี.ค. 57) 31) เมื่อเร็วๆนี้มีข่าวออกมาตามสื่อต่างๆ ว่ามีคนนาแก๊สหัวเราะ (laughing gas) ไปอัด
1. ธาตุที่ว่องไวในการเกิดปฏิกิริยากับน้ามากที่สุดคือ C ใส่ลกู โป่งเพื่อขายให้กับนักท่องเที่ยว ซึ่งเป็นการกระทาที่ผิดกฎหมายและก่อให้เกิด
2. B เป็นธาตุที่รับอิเล็กตรอนได้ง่ายที่สุด อันตรายต่อผู้ใช้ ซึ่งปกติแล้วแก๊สหัวเราะหรือไนตรัสออกไซด์เป็นแก๊สที่ใช้เป็นยาชา
3. ขนาดของ C  D  E  A  B ในทางการแพทย์ ซึ่งต้องใช้โดยผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเท่านั้น แก๊สนี้ไม่มีสี ไม่
4. สารประกอบระหว่าง A และ B คือ AB3, AB4, และ AB6 ติดไฟ โดยสูตรเคมีของสารประกอบนี้คือ N2O ถ้าสารประกอบหนึ่งมีโครงสร้างและ
สูตรเคมีคล้ายคลึงกับ N2O โดยแทนที่ O ด้วยอะตอมของธาตุ A ซึ่งเป็นธาตุในหมู่
7A หรือหมู่ 17 สารประกอบนี้มีสูตรเคมีดังข้อใด (PAT2 มี.ค. 57)
1. N2A
2. [N2A]-
3. [N2A]+
4. [N2A]2-

Page 14
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
32) พิจารณาสูตรเคมีและสมบัติของสารประกอบระหว่างไนโตรเจนกับธาตุสมมติ A, D, 35) พิจารณาสมบัติของธาตุสมมติต่อไปนี้
E และ G ในตารางต่อไปนี้ โดยที่ธาตุสมมติเหล่านี้อยู่ในคาบเดียวกัน ธาตุ สมบัติ
สารประกอบ สูตรเคมี สมบัติ A มีขนาดใหญ่ที่สุดในคาบ 3 และทาปฏิกิริยากับน้า
ไนโตรเจนของ D รับอิเล็กตรอนยากที่สุดในหมู่ VA หรือหมู่ 15
A A3 N จุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่ามาก E มีจานวนอิเล็กตรอนน้อยที่สุดในตารางธาตุ
D D3 N2 จุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูงมาก G มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีมากที่สุดในตารางธาตุ
E E 3 N4 จุดหลอมเหลวสูงมากถึง 1900 C J อยู่หมู่ IVA หรือหมู่ 14 และเป็นองค์ประกอบสาคัญในควอตซ์
G G2N2 โครงสร้างเป็นวงและแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง สารประกอบระหว่างธาตุคู่ใดต่อไปนี้ที่เกิดปฏิกิริยากับน้าแล้วให้แก๊สไฮโดรเจน
โมเลกุลเป็นแรงระหว่างขั้ว (PAT2 ต.ค. 59)
จากข้อมูลข้างต้นให้เรียงลาดับขนาดอะตอมของ A, D, E และ G (PAT2 เม.ย. 57) 1. A และ E
1. A  D  E  G 2. D และ G
2. D  E  G  A 3. E และ G
3. E  G  A  D 4. G และ J
4. G  A  D  E 5. A และ G

33) ไนโตรเจนเป็นธาตุที่สามารถเกิดสารประกอบออกไซด์ได้หลากหลาย ข้อใดไม่ใช่สูตร


เคมีของออกไซด์ของไนโตรเจน (PAT2 เม.ย. 57)
1. N2O3
2. N2O
3. N2O5 36) พิจารณาสีของสารประกอบเชิงซ้อนต่อไปนี้
4. N3O4 สารประกอบเชิงซ้อน สี
MnO4- ม่วงแดง
MnO42- เขียว
CrO42- เหลือง
VO2+ ฟ้า
ข้อใดเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้สีของสารประกอบเชิงซ้อนทั้งสี่ชนิดแตกต่างกัน
(PAT2 ต.ค. 59)
1. แรงกระทาระหว่างไอออน
2. ขนาดของสารประกอบเชิงซ้อน
3. ประจุของสารประกอบเชิงซ้อน
4. จานวนหมู่ที่ล้อมรอบไอออนโลหะ
34) ธาตุสมมติ A, D และ E เป็นธาตุที่มีเลขอะตอมเรียงกันและอยู่ในคาบ 3 พบว่า ทั้ง 5. ชนิดและเลขออกซิเดชันของไอออนโลหะ
ออกไซด์ของ E และไฮไดรด์ของ A, D และ E มีสถานะเป็นแก๊สที่อุณหภูมิห้องจาก
ข้อมูลนี้ ข้อใดถูก (PAT2 พ.ย. 57)
1. ค่า IE1 ของ D  E  A
2. สูตรของสารประกอบออกไซด์ของ E คือ EO
3. ธาตุ A, D และ E อยู่ในหมู่ 5A, 6A และ 7A ตามลาดับ
4. เลขอะตอมของ A, D และ E คือ 13, 14 และ 15 ตามลาดับ

Page 15
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
37) 238
92 U สลายตัวโดยการปลดปล่อยอนุภาคแอลฟาและบีตาหลายขั้นตอนจนได้
ผลิตภัณฑ์สุดท้ายเป็นไอโซโทปเสถียร 206
82 Pb
จงหาจานวนอนุภาคแอลฟาและบีตารวมทั้งหมดที่ปลดปล่อยออกมาเมื่อ 238
92 U
หนึ่งอนุภาคเกิดการสลายตัว
และหากปัจจุบันตรวจก้อนแร่ตัวอย่างหนึ่ง พบว่ามี 238
92 U 2.380 กรัม และมี
206
82 Pb 0.412 กรัมในองค์ประกอบ โดยที่แต่เดิมนั้นก้อนแร่นี้ไม่มีตะกั่วเป็น
องค์ประกอบเลย ให้หาว่ามีแก๊สฮีเลียมหลุดออกไปจากก้อนแร่นี้กี่โมล
(PAT2 ต.ค. 59)
จานวนอนุภาคทั้งหมด แก๊สฮีเลียมที่หลุดออกไป(โมล)
1. 5 0.010
2. 8 0.080
3. 8 0.016
4. 14 0.080
5. 14 0.016

38) แทลเลียม-202 202 202


81Tl สลายตัวในขั้นตอนเดียวให้ปรอท-202 80 Hg และ
อนุภาค X เป็นผลิตภัณฑ์ โดยการสลายตัวตามธรรมชาตินี้มีครึ่งชีวิต 12.2 วัน
พิจารณาข้อสรุปต่อไปนี้
ก. การสลายตัวนี้อนุภาค X คือ โปรตอน
ข. แทลเลียม-202 จะเหลือเพียง 75% เมื่อทิ้งไว้ 6.1 วัน
ค. แทลเลียม-202 จะเหลือเพียง 25% เมื่อทิ้งไว้ 24.4 วัน
ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 60)
1. มีข้อถูกเพียงข้อเดียว
2. ข้อ ก และ ข ถูก
3. ข้อ ก และ ค ถูก
4. ข้อ ข และ ค ถูก
5. ถูกทั้ง ก ข และ ค

เฉลย 1. 4 2. 4 3. - 4. 2 5. 2 6. 4
7. 2 8. 3 9. 4 10. 3 11. 2 12. 3
13. 1 14. 4 15. 2 16. 2 17. 3 18. 1
19. 2 20. 2 21. 1 22. - 23. 4 24. 2
25. 1 26. 3 27. 3 28. 3 29. 4 30. 2
31. 3 32. 2 33. 4 34. 1 35. 1 36. 5
37. 5 38. 1

Page 16
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
4) การเกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างกรดอินทรีย์ชนิดหนึ่งกับน้า
ตัวอย่างข้อสอบ เคมี
บทที่ 3 พันธะเคมี
1) โมเลกุลในข้อใดเป็นโมเลกุลมีขั้วทั้งหมด หรือไม่มีขั้วทั้งหมด (PAT2 มี.ค. 52)
1. HI CS2 O2
2. N2 PCl5 CCl4
3. N2 NH3 SO3
4. O2 SO2 CO2 มุมระหว่างพันธะในข้อใดที่มีขนาดต่างจากข้ออื่น (PAT2 ก.ค. 52)
1. a
2. b
3. c
4. d

2) โมเลกุลในข้อใดมีโครงสร้างเหมือนกันทั้งหมด (PAT2 มี.ค. 52) 5) สูตรโครงสร้างของโมเลกุลข้อใดไม่ถูก (PAT2 ต.ค. 52)


1. CO2 SO2 CS2 1.
2. NH3 PH3 SO3
3. CO2 N2 N3 -
4. CCl4 SO42- XeF4 2.

3.

4.

3) โมเลกุลหรือไอออนในข้อใด ที่มีรูปร่างแตกต่างจากข้ออื่น (PAT2 ก.ค. 52)


1. I3-
2. SCN-
3. XeO2
4. XeF2 6) ข้อใดถูก (PAT2 ต.ค. 52)
1. แรงแวนเดอวาลมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าแรงลอนดอน
2. แรงลอนดอนขึ้นอยู่กับมวลของสารเพราะเป็นแรงดึงดูดระหว่างมวล
3. สารประกอบแอลเคนที่มีมวลเท่ากันย่อมมีแรงลอนดอนเท่ากัน
4. แรงที่แอลเคนยึดเหนี่ยวกันคือแรงลอนดอนเท่านั้น

Page 17
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
7) ปัจจัยสาคัญที่สุดที่ทาให้จุดเดือดของ HI สูงกว่า HBr คือข้อใด (PAT2 ต.ค. 52) 9) กราฟการละลายของสาร X ในน้า
1. พลังงานพันธะที่แตกต่างกัน
2. มวลโมเลกุลที่แตกต่างกัน
3. ขนาดโมเลกุลที่แตกต่างกัน
4. เกิดพันธะไฮโดรเจนได้แตกต่างกัน

ถ้าสารละลาย 1 ลิตร มีสาร X ละลายอยู่แล้ว 50 กรัม จะสามารถเติมสาร X ลงไป


ได้อีกกี่กรัมจึงจะอิ่มตัวพอดีที่ 50 องศาเซลเซียส โดยถือว่าการเติมสาร X ลงไปอีก
ไม่ทาให้ปริมาตรของสารละลายเปลี่ยนแปลง (PAT2 ก.ค. 52)
1. 150
2. 250
3. 300
4. 450

8) XY เป็นสารไอออนิก เมื่อนาสารนี้ 1.00 กรัม มาละลายในน้า 100 กรัม ปรากฏว่า


อุณหภูมิของสารละลายลดลง 0.30 องศาเซลเซียส
กาหนดให้ น้าหนักโมเลกุลของ XY = 50
ความจุความร้อนจาเพาะของน้า = 4.2 J/g.C
พลังงานไฮเดรชันของ XY = -30.0 กิโลจูลต่อโมล
พลังงานโครงร่างผลึกของ XY มีค่ากี่กิโลจูลต่อโมล (PAT2 ต.ค. 52) 10) สมการการเกิดสารประกอบ CaBr2
1. 6.3 Ca(s) + Br2(l)  CaBr2(s)
2. 7.3 ขั้นตอนใดที่ไม่อยู่ในแผนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงาน (PAT2 มี.ค. 53)
3. 30.1 1. Br2(l)  2Br(g)
4. 36.3 2. Ca2+(g) + 2Br-(g)  CaBr2(s)
3. Ca(g) + Br2(g)  Ca(g) + Br2(g)
4. Ca(g) + 2Br(g)  Ca2+(g) + 2Br(g) + 2e-

11) สารประกอบโคเวเลนต์ข้อใดมีรูปร่างเหมือนกันทั้งหมด (PAT2 มี.ค. 53)


1. CCl4 NH4+ XeF4
2. BF3 NH3 PCl3
3. BrF5 PCl5 IF5
4. H2O SO2 O3

Page 18
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
12) CH3Cl เผาไหม้ในอากาศอย่างสมบูรณ์ จะไม่เกิดผลิตภัณฑ์ในข้อใด 15) สารประกอบหรือไอออนในข้อใดที่มีรูปร่างเหมือนกันและมีมุมพันธะเท่ากันทั้งหมด
(PAT2 มี.ค. 53) (กาหนดเลขอะตอม Be = 4, Br = 35, H = 1, O = 8, C = 6, Cl = 17, S = 16,
1. H2O N = 7) (PAT2 ก.ค. 53)
2. CO2 1. BeBr2 และ H2O
3. COCl2 2. CCl4 และ SO42-
4. Cl2O 3. NH4+ และ CH3Cl
4. CO2 และ H2S

13) การเกิดพันธะหรือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคภายในผลึกต่อไปนี้ 16) ผลึกไอออนิกแตกหักเมื่อมีแรงเข้าไปกระทาเพราะเหตุใด (PAT2 ก.ค. 53)


ก. ผลึกแอมโมเนียเกิดพันธะไฮโดรเจน 1. ประจุชนิดเดียวกันผลักกัน
ข. ผลึกกามะถันเกิดแรงดึงดูดระหว่างขั้ว 2. อิเล็กตรอนหลุดออกจากผลึก
ค. แกรไฟต์เกิดพันธะโลหะ 3. จานวนประจุบวกและลบไม่เท่ากัน
ง. เพชรเกิดพันธะโคเวเลนต์ 4. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เร็วขึ้น เนื่องจากมีพลังงานจลน์มากขึ้น
จ. ผลึก ZnS เกิดพันธะไอออนิก
ฉ. ซิลิกิ(SiO2) เกิดพันธะไอออนิก
ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 53)
1. ก ง และ จ
2. ก จ และ ฉ
3. ข ค และ ง
4. ข ง และ ฉ

17) โมเลกุลของสารอินทรีย์ชนิดหนึ่งไม่มีขั้ว จุดเดือดเท่ากับ 77C เมื่อนามาผสมกับน้า


ข้อใดถูก (PAT2 ก.ค. 53)
14) ข้อใดมีสภาพขั้วเหมือนกันทั้งหมด (PAT2 มี.ค. 53) 1. ละลายรวมเป็นเนื้อเดียวกัน
1. CHCl3 H2O CS2 2. สารอินทร์แยกชั้นอยู่ด้านบน
2. CCl4 CO2 BF3 3. สารอินทรีย์แยกชั้นอยู่ด้านล่าง
3. PCl5 SO2 BeCl2 4. แยกชั้นแต่ไม่สามารถระบุชั้นได้
4. NH3 HCl CO2

Page 19
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
18) กราฟการละลายของเกลือไอออนิก AB2 21) สมการข้อใดไม่ถูกต้อง (PAT2 ต.ค. 53)
(กาหนดเลขอะตอม Ca=20, N=7, H=1, O=8, C=6, Ba=56, S=16)
1. Ca(s) + 2H2O(l)  Ca2+(aq) + 2OH-(aq) + 2H+(aq)
2. NH3(g) + H2O(l)  NH4+(aq) + OH-(aq)
พลั งงาน  3CO (g) + 4H O(g)
3. C3H8(g) + 5O2(g)  2 2

4. Ba(NO3)2(aq) + H2SO4(aq)  BaSO4(s) + 2H+(aq) + 2NO3-(aq)

ค่า Ksp ของเกลือ AB2 นี้ที่อุณหภูมิ 60C มีค่าเท่ากับเท่าใด ถ้ามวลสูตรของ


สารประกอบนี้เท่ากับ 250 (PAT2 ก.ค. 53)
1. 1 x 10-3
2. 4 x 10-3
3. 1 x 10-6
4. 4 x 10-6

22) ข้อใดผิดเกี่ยวกับการนาไฟฟ้าของสารชนิดต่างๆ (PAT2 ต.ค. 53)


1. การนาไฟฟ้าของสารประกอบไอออนิกในสถานะของเหลวเกิดจากการถ่ายเท
อิเล็กตรอนจากไอออนบวกให้ไอออนลบ
2. การนาไฟฟ้าของโลหะเกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนที่มีพลังงานจลน์สูง
3. แกรไฟต์ซึ่งเป็นอัญรูปหนึ่งของคาร์บอนนาไฟฟ้าได้เนื่องจากการเคลื่อนที่ของ
อิเล็กตรอน
4. สารกึ่งตัวนาจะนาไฟฟ้าได้ก็ต่อเมื่อได้รับพลังงานจานวนหนึ่ง แล้วทาให้
19) มุมพันธะในสารประกอบข้อใด เมื่อรวมกันในทุกสารประกอบแล้วมีค่าน้อยที่สุด อิเล็กตรอนเกิดการเปลี่ยนระดับพลังงาน
(กาหนดเลขอะตอม Be = 4, F = 9, C = 6, O = 8, H = 1, S = 16, Cl = 17,
Xe = 54) (PAT2 ต.ค. 53)
1. BeF2 , CO2
2. H2F+ , BeCl2
3. BeH2 , O3
4. SO2 , XeF2

23) พิจารณาปฏิกิริยา Ca(s) + 1/2O2(g)  CaO(s) พลังงานในข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับ


ปฏิกิริยานี้ (PAT2 มี.ค. 54)
20) ข้อใด ไม่ใช่ สมการที่อยู่ในวัฏจักรพลังงานการละลายน้าของ NaNO3(S) 1. พลังงานแลตทิช
(PAT2 ต.ค. 53) 2. พลังงานการระเหิดของ Ca
1. NaNO3(S)  Na+(g) + NO3-(g) 3. พลังงานไอออไนเซชันของธาตุออกซิเจน
4. พลังงานการสลายพันธะของธาตุออกซิเจน
2. Na+(g)  Na+(aq)
3. NO3-(g)  NO3-(aq)
4. NaNO3(g)  Na+(g) + NO3-(g)

Page 20
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
24) สารประกอบใดต่อไปนี้มีโครงสร้างแตกต่างจากข้ออื่น (PAT2 มี.ค. 54) 27) ถ้านาลูกโป่งใหญ่ 2 ลูก และลูกโป่งเล็ก 2 ลูกมาผูกขั้วไว้ด้วยกัน โดยที่ลูกโป่งใหญ่มี
1. NF3 ปริมาตร 1.1 เท่าของลูกโป่งเล็ก จงเปรียบเทียบมุมระหว่างลูกโป่งใหญ่และมุม
2. SO3 ระหว่างลูกโป่งเล็ก ถ้านาเทปกาวมาแปะระหว่างลูกโป่งใหญ่เพื่อให้มุมเล็กลง มุม
3. NO3- ระหว่างลูกโป่งเล็กจะเป็นอย่างไร (PAT2 ต.ค. 54)
4. B(C6F5)3 1. มุมระหว่างลูกโป่งใหญ่มากกว่ามุมระหว่างลูกโป่งเล็ก
เมื่อแปะเทป มุมระหว่างลูกโป่งเล็กจะมากขึ้น
2. มุมระหว่างลูกโป่งใหญ่มากกว่ามุมระหว่างลูกโป่งเล็ก
เมื่อแปะเทป มุมระหว่างลูกโป่งเล็กจะน้อยลง
3. มุมระหว่างลูกโป่งใหญ่น้อยกว่ามุมระหว่างลูกโป่งเล็ก
เมื่อแปะเทป มุมระหว่างลูกโป่งเล็กจะมากขึ้น
4. มุมระหว่างลูกโป่งใหญ่น้อยกว่ามุมระหว่างลูกโป่งเล็ก
เมื่อแปะเทป มุมระหว่างลูกโป่งเล็กจะน้อยลง
25) พิจารณาข้อมูลพลังงานพันธะเฉลี่ยในตารางต่อไปนี้

ถ้าเริ่มต้นด้วยสาร A (ประกอบด้วยธาตุ C และ H ) หนัก36 กรัม ทาปฏิกิริยาการ


เผาไหม้พอดีกับแก๊สออกซิเจนจะแก๊ส CO2 2.5 โมล และน้า 3 โมล และพลังงาน
ที่ได้จากปฏิกิริยานี้มีค่าเท่ากับ 1620 kJ จากข้อมูลข้างต้น สาร A มีมวลโมเลกุล 28) สารประกอบในข้อใดมีโครงสร้างเป็นทรงสี่หน้า (PAT2 มี.ค. 55)
เท่าใด (มวลอะตอม C = 12, H = 1) (PAT2 ต.ค. 54) 1. SF4
1. 36 2. POCl3
2. 72 3. ICl4-
3. 108 4. XeF4
4. 144

29) ธาตุสมบัติ A, B, C และ D มีสมบัติเป็นอโลหะ โดยที่ธาตุ A และ B อยู่หมู่


เดียวกัน ธาตุ C และ D อยู่หมู่เดียวกัน พบว่าสารประกอบระหว่างธาตุ A และ B
และสารประกอบระหว่างธาตุ C และ D มีรูปร่างโมเลกุลดังข้อมูลในตาราง

จากข้อมูลข้างต้นข้อใดผิด (PAT2 ต.ค. 55)


1. ธาตุ A และ B อยู่ในหมู่ 7
2. ขนาดของอะตอม A ใหญ่กว่าอะตอม B
3. ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีของ C น้อยกว่า D
4. จานวนอิเล็กตรอนรอบอะตอม C มีค่าเกินออกเตตไม่ได้

26) ไอออนต่อไปนี้โครงสร้างลิวอิสไม่เป็นไปตามกฎออกเตต (PAT2 ต.ค. 54)


1. N5+
2. C22-
3. N7+
4. C34-

Page 21
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
30) พิจารณารูปลูกบาศก์ 33) พิจารณาวัฎจักร Born-Harber สาหรับการเกิดแฮไลด์ของธาตุสมมติ A (AXn)
a. X2(s)  X2(l) H1
b. X2(l)  X2(g) H2
c. X2(g)  2X(g) H3
d. X(g) + e-  X-(g) H4
e. A(s)  A(g) H5
f. A(g)  An+(g) + ne- H6
ถ้าต้องการสร้างโครงสร้างรูปทรงสี่หน้า จะต้องเชื่อมจุดระหว่างจุดใด
g. A (g) + nX (g)  AXn(s)
n+ -
H7
(PAT2 มี.ค. 56)
n
ถ้าพบว่า A(s) + X2  AXn(s) มีค่า H = H2 + H3 + 2H4 + H5 +
1. 1, 3, 5, 6 2
2. 2, 4, 5, 7 H6 + H7 สารประกอบ AXn ควรเป็นข้อใด (PAT2 เม.ย. 57)
3. 3, 4, 5, 6 1. CaCl2
4. 4, 5, 6, 7 2. CaBr2
3. AlCl3
4. AlBr3

31) สารประกอบหนึ่งมีสูตรเคมีเป็น C3H6O เกิดปฏิกิริยาการเผาไหม้ดังสมการ


C3H6O + 4O2  3CO2 + 3H2O ,H = -1740 kJ
โดยกาหนดให้
ชนิดของพันธะ พลังงานพันธะ ชนิดของพันธะ พลังงานพันธะ 34) A, D, E, G เป็นธาตุสมมติที่อยู่ในคาบเดียวกัน เมื่อธาตุสมมติเหล่านี้เกิดพันธะกับ
เฉลี่ย(kJ/mol) เฉลี่ย(kJ/mol) ฟลูออรีน(F) พบว่าได้ข้อมูลดังตาราง
O-O 140 C-H 410 ธาตุ การเกิดสารประกอบกับ F
OO 500 C-O 360 A ได้สารที่มีโครงสร้างเป็นมุมงอ,กระดานหก(seesaw) และทรงเหลี่ยม
C-C 340 CO 800 แปดหน้า
CC 610 O-H 460 D ได้สารที่มีสูตรเคมีเป็น DF, DF3 และ DF5 โดยที่สารทั้งหมดมี
อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวที่อะตอมกลาง
จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 57)
E ได้สารที่มีสูตรเคมีเป็น EF4 และไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวที่อะตอม
1. สารประกอบนี้มีหมู่ฟังก์ชันเหมือนกับเอทานอล
กลาง
2. สารประกอบนี้มีหมู่ฟังก์ชันเหมือนกับคีโตน
G ได้สารที่มีโครงสร้างเป็นพีระมิดฐานสามเหลี่ยม และพีระมิดคู่ฐาน
3. สารประกอบนี้มีหมู่ฟังก์ชันเหมือนกับอีเทอร์
สามเหลี่ยม
4. สารประกอบนี้มีหมู่ฟังก์ชันเหมือนกับกรดคาร์บอกซิลิก
ข้อใดถูกเกี่ยวกับธาตุ A, D, E และ G (PAT2 เม.ย. 57)
1. ธาตุทั้ง 4 อยู่ในคาบที่ 2
2. ธาตุ D มีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีสูงสุด
3. ธาตุ A มีเลขอะตอมน้อยที่สุด
4. พลังงานไอออไนเซชันอันดับที่ 1 ของ D  A  G  E

32) โครงสร้างลิวอิสของสารในข้อใดที่มีอิเล็กตรอนเดี่ยว (PAT2 มี.ค. 57)


1. IF3
2. IF4
3. IF5
4. IF7

Page 22
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
35) การเกิดสารประกอบ Na2O เกี่ยวข้องกับพลังงานในขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ 38) A เป็นธาตุสมมติ เกิดสารประกอบฟลูออไรด์ได้หลายชนิดดังนี้ : AF2, AF4, AF6
(I) Na(s)  Na(g) H = E1 kJ โดยที่ ก. มุมพันธะใน AF2 มีค่า 180
(II) Na(g)  Na+(g) + e- H = E2 kJ ข. AF4 มีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมแบนราบ
(III) O2(g)  2O(g) H = E3 kJ ข้อใดถูกเกี่ยวกับธาตุ A และสารประกอบฟลูออไรด์ของธาตุ A (PAT2 ต.ค. 59)
(IV) O(g) + 2e-  O2-(g) H = E4 kJ 1. A เป็นธาตุในคาบ 3
(V) 2Na (g) + O (g)  Na2O(s)
+ 2-
H = E5 kJ 2. AF6 มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
จากข้อมูลนี้ ข้อใดผิด (PAT2 พ.ย. 57) 3. ธาตุ A เป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง
1. E2 มีค่ามากกว่า IE1 ของ 19K 4. AF4 มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 1 คู่
2. ขั้นที่ (IV) และ (V) เป็นขั้นตอนที่คายพลังงาน 5. A อยู่หมู่เดียวกับธาตุที่มีเลขอะตอมเท่ากับ 16
3. ขั้นที่ (I), (II) และ (III) เป็นขั้นตอนที่ดูดพลังงาน
4. พลังงานแลตทิชมีค่าเท่ากับ E1 + 2E2 + E3/2 + E4 + E5

39) ไอออนลบต่อไปนี้ PO43-, HPO32- และ H2PO2- หลังจากรับ H+ จะได้กรด H3PO4,


36) สารประกอบ (เฉพาะโมเลกุลที่เป็นกลาง) ในข้อใดมีโอกาสที่โครงสร้างเป็นทรงสี่หน้า
H3PO3 และ H3PO2 ตามลาดับ (ให้เลขอะตอมของ H = 1, O = 8, P = 15)
มากที่สุด (PAT2 พ.ย. 57)
ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 60)
1. ธาตุหมู่ 3A กับ ธาตุหมู่ 6A
1. เกิดพันธะระหว่าง O และ H ใน H2PO2-
2. ธาตุหมู่ 4A กับ ธาตุหมู่ 7A
2. ไอออนลบทั้งสามมีโครงสร้างเป็นทรงสี่หน้า
3. ธาตุหมู่ 5A กับ ธาตุหมู่ 4A
3. H3PO2 ทาปฏิกิริยากับ NaOH มากเกินพอ จะได้ Na3PO2
4. ธาตุหมู่ 5A กับ ธาตุหมู่ 7A
4. แรงกระทาระหว่างโมเลกุลใน HPO32- คือพันธะไฮโดรเจน
5. HPO32- และ H2PO2- เป็นกรดที่แตกตัวให้ 1 และ 2 โปรตอน ตามลาดับ

37) บอราซีน(borazine) มีสูตรโมเลกุลเป็น B3N3H6 สารประกอบนี้มีโครงสร้างเป็นวง


คล้ายเบนซีน และพบว่า H 3 อะตอมในบอราซีนสามารถถูกแทนที่ด้วย Cl ได้ไตร
คลอโรบอราซีน(trichloroborazine) ซึ่งมีสูตรโมเลกุลเป็น B3N3H3Cl3
ข้อใดถูกเกี่ยวกับสารประกอบทั้งสองนี้ (PAT2 พ.ย. 57)
1. เกิด B  B 2 พันธะ และ N  N 1 พันธะ
2. ทั้ง B และ N มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
3. ในไตรคลอโรบอราซีน N เกิดพันธะกับ Cl
4. ไพอิเล็กตรอนกระจายตัวอย่างสม่าเสมอ

Page 23
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
40) พิจารณาสมบัติของสารประกอบออกไซด์ต่อไปนี้
สารประกอบ สมบัติ
A2 O ทาปฏิกิริยารุนแรงกับน้าได้สารละลายที่เป็นเบส
DO2 ไม่ละลายน้า ละลายได้ในเบสแก่และกรดไฮโดรฟลูออริก
E3O4 เป็นออกไซด์ผสมของ EO และ E2O3
GO2 โครงสร้างลิวอิสแสดงการเกิดอิเล็กตรอนเดี่ยวที่อะตอม G
JO2 เป็นสารตั้งต้นในการผลิตกรดแก่ชนิดหนึ่ง โดยในกระบวนการ
ผลิตต้องเกิดเป็น JO3 ซึ่งเป็นออกไซด์อีกตัวหนึ่งก่อน
จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดผิด (PAT2 มี.ค. 60)
1. สารประกอบที่เกิดจาก A และ G เป็นสารประกอบไอออนิก
2. เลขหมู่ของ D น้อยกว่าเลขหมู่ของ J
3. สารประกอบระหว่างไอออนของ E กับน้าเป็นสารประกอบเชิงซ้อน
4. คลอไรด์ของ G มีสูตรเป็น GCl3 และ GCl5
5. JO2 มีสถานะเป็นแก๊สที่อุณหภูมิห้อง

เฉลย 1. 2 2. 3 3. 3 4. 4 5. 3 6. 4
7. 3 8. 4 9. 2 10. 1 11. 4 12. 3
13. 1 14. 2 15. 2 16. 1 17. 4 18. 2
19. 2 20. 4 21. 1 22. 1 23. 3 24. 1
25. 2 26. 4 27. 1 28. 2 29. 4 30. 2
31. 1 32. 2 33. 2 34. 2 35. 4 36. 2
37. 4 38. 2 39. 2 40. 4

Page 24
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
3) เมื่อเผา MgCO3(s) จะได้ MgO(s) และ CO2(g) จากการนาสารผสมระหว่าง
ตัวอย่างข้อสอบ เคมี MgCO3(s) และ MgO(s) จานวน 16.00 กรัม มาเผาจนเกิดปฏิกิริยาสมบูรณ์
ปรากฏว่าเหลือของแข็งหนัก 11.60 กรัม มวลของ MgCO3(s) ในสารผสมมีกี่กรัม
บทที่ 4 ปริมาณสารสัมพันธ์ (PAT2 มี.ค. 52)
1. 4.4
1) จากการวิเคราะห์ผลึกของสารประกอบชนิดหนึ่งซึ่งมีสูตรเป็น Na2XH20O14 พบว่า
2. 5.9
ผลึกนี้ 1.5 กรัม มีธาตุ X ร้อยละ 15.2 โดยมวล มวลอะตอมของธาตุ X เป็นเท่าใด
3. 7.6
(PAT2 มี.ค. 52)
4. 8.4
1. 45.0
2. 52.0
3. 59.1
4. 62.6

4) นาผงซักฟอกชนิดหนึ่งหนัก 0.620 กรัม มาเผาจนร้อนแดงเพื่อทาลายสารอินทรีย์


แล้วนามาเติมกรด HCl ที่ร้อนจานวนมากเกินพอ เพื่อเปลี่ยนธาตุฟอสฟอรัสให้เป็น
2) มีสารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.40 โมลาร์ จานวน 500 มิลลิลิตร และสารละลาย
กรด H3PO4 ซึ่งสามารถทาปฏิกิริยากับสารละลายผสม Mg2+ และ NH4+ เพื่อให้
กรด HCl เข้มข้น 0.10 โมลาร์ จานวน 500 มิลลิลิตร ต้องการเตรียมสารละลาย
ตกตะกอน MgNH4PO4.6H2O เมื่อนาตะกอนไปเผาจะเหลือของแข็ง Mg2P2O7
กรด HCl เข้มข้น 0.20 โมลาร์ จานวน 500 มิลลิลิตร วิธีเตรียมต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง
หนัก 0.222 กรัม
(PAT2 มี.ค. 52)
ธาตุฟอสฟอรัสในผงซักฟอกชนิดนี้มีปริมาณร้อยละเท่าใด (PAT2 ก.ค. 52)
1. ใช้สารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.40 โมลาร์ จานวน 200 มิลลิลิตร ผสมกับ
1. 5
สาระลายกรด HCl เข้มข้น 0.10 โมลาร์ จานวน 300 มิลลิลิตร
2. 10
2. ใช้สารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.40 โมลาร์ จานวน 300 มิลลิลิตร ผสมกับ
3. 15
สารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.10 โมลาร์ จานวน 200 มิลลิลิตร
4. 20
3. ใช้สารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.40 โมลาร์ จานวน 200 มิลลิลิตร ผสมกับ
สารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.10 โมลาร์ จานวน 200 มิลลิลิตร แล้วเติมน้า
100 มิลลิลิตร
4. ใช้สารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.40 โมลาร์ จานวน 200 มิลลิลิตร ผสมกับ
สารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.10 โมลาร์ จานวน 100 มิลลิลิตร แล้วเติมน้า
200 มิลลิลิตร

Page 25
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
5) ธาตุ X จานวน 10 อะตอม มีมวลเป็น 5 เท่าของธาตุคาร์บอน จานวน 4 อะตอม 7) ไซโลส(xylose) เป็นน้าตาลโมเลกุลเดี่ยวมีสูตรอย่างง่ายเป็น CH2O ถ้านาไซโลสมา
มวลอะตอมของธาตุ X มีค่าเท่าใด (PAT2 ก.ค. 52) 3 กรัม ละลายในน้า 10 กรัม พบว่าสารละลายจะมีจุดเดือดเท่ากับ 101.02 องศา
1. 24 เซลเซียส ถ้าค่าคงที่การเพิ่มขึ้นของจุดเดือดของน้าเท่ากับ 0.51 แล้ว ไซโลสจัดเป็น
2. 32 น้าตาลประเภทใด (PAT2 ต.ค. 52)
3. 35 1. triose
4. 40 2. tetrose
3. pentose
4. Hexose

8) แอสไพริน(C9H8O4) เตรียมได้จากปฏิกิริยาระหว่างกรดซาลิซิลิก(C7H6O3) กับ


6) ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย Zn2+ เข้มข้น 0.4 โมลาร์ โดยเตรียมจากการละลาย แอซิติกแอนไฮไดรด์(C4H6O3) ดังสมการ
โลหะ Zn หนัก 13 กรัม ด้วยสารละลายกรด HCl 2C7H6O3 + C4H6O3  2C9H8O4 + H2O
ต้องละลายโลหะ Zn ลงในสารละลาย HCl ที่มีความเข้มข้นและปริมาตรตามข้อใด ต้องใช้กรดซาลิซิลิกกี่กรัมเพื่อให้ทาปฏิกิริยาพอดีกับแอซิติกแอนไฮไดรด์ 1.02 กรัม
(PAT2 ต.ค. 52) และได้แอสไพรินกี่กรัม ตามลาดับ (PAT2 มี.ค. 53)
1. 0.4 โมลาร์ 500 มิลลิลิตร 1. 0.69 และ 0.90
2. 0.8 โมลาร์ 1,000 มิลลิลิตร 2. 1.38 และ 1.80
3. 1.2 โมลาร์ 500 มิลลิลิตร 3. 2.76 และ 3.60
4. ไม่มีข้อถูก 4. 2.76 และ 7.20

Page 26
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
9) แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ จานวน 6.02 x 1020 โมเลกุล มีมวลและปริมาตรที่ STP 11) ต้องการเตรียมสารละลายกรด H2SO4 0.9 โมลาร์ ปริมาตร 250 มิลลิลิตร ต้องใช้
เท่าใด (PAT2 มี.ค. 53) กรด H2SO4 ที่มีความเข้มข้นร้อยละ 98 โดยมวล กี่มิลลิลิตร (กาหนดความ
1. 0.046 กรัม 0.022 ลิตร หนาแน่นของกรด H2SO4 เป็น 1.80 กรัม/มิลลิลิตร) (PAT2 มี.ค. 53)
2. 0.092 กรัม 0.045 ลิตร 1. 6.3
3. 0.460 กรัม 0.224 ลิตร 2. 12.5
4. 0.920 กรัม 0.448 ลิตร 3. 18.0
4. 25.0

12) การไทเทรตน้าอัดลมปริมาตร 20 มิลลิลิตร ต้องใช้ NaOH 1.0 โมลาร์ ปริมาตร 5.0


10) ต้องการเตรียมสารละลายไทเทเนียม ปริมาตร 100 มิลลิลิตร ให้มีความเข้มข้น 10 มิลลิลิตร ทาปฏิกิริยาระหว่างกรดคาร์บอนิกกับ NaOH คือ
มิลลิกรัม/ลิตร ต้องใช้ TiSO4 กี่กรัม (PAT2 มี.ค. 53) H2CO3 + 2NaOH  Na2CO3 + 2H2O
1. 3 x 10-1 ความเข้มข้นของกรดคาร์บอนิกในน้าอัดลมเท่ากับกี่กรัมต่อลิตร (PAT2 ก.ค. 53)
2. 3 x 10-2 1. 0.78
3. 3 x 10-3 2. 1.55
4. 3 x 10-4 3. 7.75
4. 15.50

Page 27
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
13) ถ้าต้องการทาให้ธาตุ 1 กรัม เกิดเป็นสารประกอบออกไซด์ โดยเผากับ O2 ธาตุใด 15) B-10 จานวน 1 อะตอม มีน้าหนักประมาณกี่กรัม (PAT2 ก.ค. 53)
จะต้องใช้ปริมาณ O2 มากที่สุด (PAT2 ก.ค. 53) 1. 1.66 x 10-23
1. Na 2. 6.02 x 10-23
2. Mg 3. 1.66 x 10-24
3. K 4. 6.02 x 10-24
4. Ca

14) สารตัวอย่าง 10 กรัม มี Ba(OH)2 เป็นองค์ประกอบ นามาทาปฏิกิริยากับกรดดัง 16) นาตัวอย่าง 1.0 กรัม ที่มีแคลเซียมเป็นองค์ประกอบ มาทาปฏิกิริยากับ
สมการ (NH4)2C2O4 ได้ตะกอน CaC2O4 หนัก 2.56 กรัม ตัวอย่างมีแคลเซียมอยู่ร้อยละ
Ba(OH)2(aq) + H2SO4(aq)  BaSO4(S) + 2H2O เท่าใด (PAT2 ต.ค. 53)
นาตะกอน BaSO4 ไปเผาได้ BaS หนัก 3.38 กรัม ร้อยละของ Ba ในสารตัวอย่าง 1. 20
เท่ากับเท่าใด (Ba = 137, S = 32, O = 16) (PAT2 ก.ค. 53) 2. 40
1. 2.7 3. 60
2. 13.7 4. 80
3. 27.4
4. 34.2

Page 28
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
17) ต้องการเตรียมกรดไนตริก(HNO3) ให้มีความเข้มข้น 0.12 โมลาร์ ปริมาตร 50 19) สาร A 18 กรัม เผาไหม้ในบรรยากาศที่มีออกซิเจนมากเกินพอ พบว่าได้แก๊ส X
มิลลิลิตร ต้องใช้กรดไนตริกที่มีความเข้มข้น 63% โดยมวล ความหนาแน่น 1.20 และแก๊ส Y โดยที่แก๊ส X เกิดปฏิกิริยากับสารละลาย Ca(OH)2 ได้ตะกอนหนัก
กรัม/มิลิลิตร อย่างน้อยกี่มิลลิลิตร (PAT2 ต.ค. 53) 80.0 กรัม ในขณะที่แก๊ส Y ถูกดูดซับด้วย ซิลิกาเจล และพบว่ามวลของซิลิกาเจล
1. 0.5 ก่อนและหลังดูดซับเป็น 50.0 กรัม และ 68.0 กรัม ตามลาดับ สาร A คือข้อใด
2. 5 (มวลอะตอม Ca = 40, C = 12, H = 1, O = 16) (PAT2 มี.ค. 54)
3. 10 1. C2H5O2
4. 12 2. C4H10O2
3. C6H15O4
4. C8H20O2

18) นาสาร 4 ชนิด ปริมาณชนิดละ 0.001 โมล ผสมกับน้า 1 kg พบว่าได้สารละลายที่ 20) พิจารณาปฏิกิริยาระหว่าง ฟอสฟอรัสกับแก๊สคลอรีน
มีจุดเดือดแตกต่างกัน สารข้อใดให้จุดเดือดที่สูงที่สุด (PAT2 มี.ค. 54) P4 + Cl2(g)  D(g) + E(g)
1. NaCl สารผลิตภัณฑ์ทั้ง 2 ชนิดอยู่ในสถานะแก๊สที่สภาวะของการทาปฏิกิริยา หลังจาก
2. CaCl2 เกิดปฏิกิริยาสมบูรณ์ ค่อยๆลดอุณหภูมิลง พบว่าผลิตภัณฑ์ E ควบแน่นออกมา
3. C6H12O6 ก่อนมีน้าหนัก 4.17 กรัม หลังจากนั้นผลิตภัณฑ์ D ควบแน่นออกมามีน้าหนัก 8.25
4. CH3COOH กรัม ผู้ทาการทดลองลดอุณหภูมิจนถึง -100C พบว่าได้ของเหลวอีกชนิดหนึ่งมี
น้าหนัก 6.00 มิลลิกรัม ในการทาปฏิกิริยานี้ใช้ P4กี่กรัม
(มวลอะตอม P = 31, Cl = 35.5) (PAT2 มี.ค. 54)
1. 2.48
2. 4.96
3. 7.44
4. 9.92

Page 29
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
21) หยดกรด H2SO4 เข้มข้นปริมาณมากเกินพอลงไปบนผลึก NaCl พบว่าเกิดแก๊สชนิด 23) พิจารณาปฏิกิริยาที่ดุลแล้วต่อไปนี้ : 2A(s)  2B(s) + 3C(g)
หนึ่งที่มีคุณสมบัติในการกัดกร่อน เมื่อผ่านแก๊สนี้ลงไปในน้า 1.000 dm3 แล้วนา สาร A 24.50 กรัม สลายตัวให้แก๊ส C 9.60 กรัม เก็บแก๊สนี้ในภาชนะขนาด 7.38
สารละลายทีได้ 20.00 cm3 ไปไตเตรตกับสารละลาย Na2CO3 เข้มข้น 4.000 x 10-2 ลิตร อุณหภูมิ 27 oC ความดัน 1 atm มวลโมเลกุลของสาร A และสาร B คือข้อใด
M พบว่าจุดยุติต้องใช้สารละลาย Na2CO3 25.00 cm3 ปฏิกิริยาการเกิดแก๊สนี้ ตามลาดับ (กาหนดให้ R = 0.082 L.atm.mol-1.K-1) (PAT2 ต.ค. 54)
ต้องใช้ NaCl กี่กรัม (PAT2 มี.ค. 54) 1. 24.5, 14.9
1. 2.925 2. 49, 29.8
2. 5.850 3. 122.5, 74.5
3. 8.775 4. 245, 149
4. 11.70

22) นักเรียนนากระป๋องน้าอัดลมมาขัดด้วยกระดาษทราย เพื่อเอาพอลิเมอร์ที่เคลือบ 24) ดินขาวบริสุทธิ์ มีองค์ประกอบ Al2O3 ร้อยละ 40 SiO2 ร้อยละ 46 น้าร้อยละ 14
ออก แล้วตัดให้เป็นชิ้นเล็กๆ จากนั้นนาไปชั่งให้ได้น้าหนัก 0.3375 กรัม ใส่ในบีก จงหา สูตรเอมพิริคัลของดินชนิดนี้ (มวลอะตอม Al = 27, O = 16, Si = 28, H = 1)
เกอร์ เติมสารละลาย KOH ข้น 1.400 mol/dm3 ปริมาตร 25.00 cm3 ลงในบีก (PAT2 ต.ค. 54)
เกอร์ นาไปให้ความร้อน จะได้สารแขวนลอยสีเทาดา เมื่อนาไปกรองจะได้ 1. H1.03 Al1.03 SiO2.23
สารละลายใส ตั้งทิ้งไว้ให้เย็น ค่อยๆเติมสารละลายกรด H2SO4 ข้น 9.000 mol/dm3 2. H2.05 Al1.03 SiO4.57
ปริมาตร 10.00 cm3 จะได้สารสีขาวตกตะกอนออกมา เมื่อนาไปกรอง แล้วล้างผลึก 3. H3.09 AlSi1.03 O6.69
ด้วยเอทานอลเย็น ทิ้งไว้ให้แห้ง ถ้าปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นสมบูรณ์และมีสารอื่นที่ไม่ทา 4. H4.10 AlSi1.03 O4.57
ปฏิกิริยากับ KOH เจือปนอยู่ 20% โดยมวล และผลิตภัณฑ์สุดท้ายคือสารส้ม
(KAI(SO4)2 • 12H2O) จะได้สารส้มกี่กรัม
กาหนดให้มวลอะตอม H = 1,O = 16,Al = 27,S = 32,K = 39 (PAT2 มี.ค. 54)
1. 2.580
2. 3.225
3. 4.740
4. 5.925

Page 30
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
25) ในการเตรียมสารฟอกขาวแคลเซียมไฮโปคลอไรต์ โดยใส่โพแทสเซียมเปอร์แมงกา ให้ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ในการตอบคาถามข้อ 27-28
เนต 1.58 กรัม ใส่ในหลอดทดลองที่มีแขนข้าง ซึ่งมีสายยางต่อไปจุ่มในหลอด แก๊ส A ถูกบรรจุในภาชนะขนาด 1 dm3 อุณหภูมิ 227 C หลังจากแก๊ส A เกิดการ
ทดลองขนาดกลางที่มีสารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ 1.00 mol/dm3 5.00 cm3 สลายตัวอย่างสมบูรณ์ให้แก๊ส B และแก๊ส C ความดันแก๊สเป็น 3 เท่าของความดัน
และแช่อยู่ในบีกเกอร์ที่มีน้าแข็งบรรจุอยู่ คล้ายกับวิธีเตรียมอุปกรณ์ สาหรับเตรียม เริ่มต้น โดยอุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง และถ้าเริ่มต้นด้วยแก๊ส A 160 กรัม จะสลายตัว
สารฟอกขาวโซเดียมไฮโปคลอไรต์ อย่างสมบูรณ์ให้แก๊ส B 4 โมล และแก๊ส C 2 โมล
27) จากข้อมูลนี้ สมการที่ดุลแล้วของปฏิกิริยาการสลายตัวของแก๊ส A คือข้อใด
(มวลโมเลกุลของแก๊ส B = 20) (PAT2 มี.ค. 55)
1. A(g)  2B(g) + C(g)
2. A(g)  B(g) + 2C(g)
3. A(g)  4B(g) + 2C(g)
4. 5A(g)  4B(g) + 2C(g)

ปิดหลอดทดลองด้วยจุกยางซึ่งมีหลอดหยดบรรจุกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นเสียบอยู่
และหยดกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นลงบนโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตอย่างช้าๆ และ
ผ่านแก๊สที่เกิดขึ้นลงไปในสารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ประมาณ 10 นาที จะได้
แคลเซียมไฮโปคลอไรต์มากที่สุดกี่กรัม (PAT2 ต.ค. 54)
(มวลอะตอม K = 39, Mn = 55, O = 16, Ca = 40, Cl = 35.5 )
1. 0.44
2. 0.88
3. 1.75
4. 2.19

28) มวลโมเลกุลของก๊ส A เป็นเท่าใด (PAT2 มี.ค. 55)


1. 32
2. 40
26) ธาตุหนึ่งประกอบด้วยไอโซโทป X,Y และ Z ซึ่งมีมวลอะตอม x, y และ z ตามลาดับ
3. 80
พบว่า ปริมาณของไอโซโทปต่างๆ เป็น ดังนี้ Y  0 . 2 และ Z  4 จงหามวล 4. 160
X Y
อะตอมเฉลี่ยของธาตุนี้ (PAT2 มี.ค. 55)
5 0x  1 0y  4 0z
1.
100
4x  1 9y  7 7z
2.
100
6 9x  1 4y  1 7z
3.
100
6 0x  5y  3 5z
4.
100

Page 31
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
29) แก๊ส A และแก๊ส B ทาปฏิกิริยากันในภาชนะที่มีปริมาตรและอุณหภูมิคงที่ ได้สาร C 30) โลหะผสมประกอบด้วย Au-Cu-Al นาโลหะผสมนี้หนัก 10 กรัม มาวิเคราะห์
ซึ่งเป็นของแข็ง ถ้าความดันเริ่มต้นของแก๊ส A เท่ากับ 4 atm และความดันเริ่มต้น ปริมาณของ Au, Cu และ Al ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ของแก๊ส B เท่ากับ 4 atm หลังจากเกิดปฏิกิริยาพบว่าความดันรวมของแก๊สที่เหลือ ก. นาโลหะผสมมาเติมสารละลาย NaOH เข้มข้น 5 M ปริมาตร 50 cm3
เท่ากับ 3.5 atm และผลได้ร้อยละของสาร C เท่ากับ 75% โดยที่แก๊ส B เป็นสาร แล้วกวนของผสมเป็นเวลา 12 ชั่วโมง
กาหนดปริมาณ สูตรโมเลกุลของสาร C คือข้อใด (PAT2 มี.ค. 55) ข. ทาการกรองสารละลายที่ได้ พบว่าจะได้ของแข็งเหลือบนกระดาษกรอง
1. AB หลังจากทิ้งให้ของแข็งแห้ง ชั่งน้าหนักของแข็งได้ 9.27 กรัม
2. AB2 ค. นาสารละลายที่ได้จากข้อ ข. มาสะเทินด้วยกรด HCl เข้มข้น 5 M เกิด
3. AB3 ตะกอนสีขาวขึ้น นาตะกอนที่ได้ไปเผาที่ 400C ได้ของแข็งสีขาว หนัก
4. AB4 1.38 กรัม
ง. นาของแข็งที่ได้จากข้อ ข. มาเติม conc. HNO3 100 cm3 เกิดแก๊สสี
น้าตาลแดงขึ้น ทาการเก็บแก๊สนี้ วัดความดันของแก๊สได้ 1.2 atm ใน
ภาชนะปริมาตร 0.82 dm3 อุณหภูมิ 27C
จากข้อมูลนี้ เปอร์เซ็นต์โดยมวลของ Au ในโลหะผสมนี้เป็นเท่าใด
(มวลอะตอม Al = 27, Cu = 63.5, Au = 197 และ R = 0.082 L.atm.mol-1.K-1)
(PAT2 มี.ค. 55)
1. 20
2. 40
3. 60
4. 80

Page 32
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
31) พิจารณาการสังเคราะห์สารประกอบเชิงซ้อน [Co(NH3)4CO3]NO3 จาก (NH4)2CO3, 32) ถลุงเหล็กจากการรีดิวซ์แร่ฮีมาไทต์ (Fe2O3) 10.0 กรัม ด้วยถ่านโค้ก (C) ที่
Co(NO3)26H2O, สารละลาย NH3 เข้มข้น และสารละลาย H2O2 ดังนี้ อุณหภูมิสูงดังปฏิกิริยา :
I. ละลาย (NH4)2CO3 19.50 กรัม ในน้า 60cm3 ในบีกเกอร์ ขนาด 500 cm3 Fe2O3(s) + C(s)  Fe(s) + CO(g)
II. เติมสารละลาย NH3 เข้มข้น ปริมาตร 60 cm3 ลงไป คนให้ของผสมละลาย พบว่าได้เหล็กบริสุทธิ์หนัก 3.36 กรัม ร้อยละโดยมวลของ Fe2O3 ในแร่ฮีมาไทต์มี
III. เติมสารละลายของ Co(NO3)26H2O 14.55 กรัม ในน้า 30 cm3 ลงไปใน ค่าเท่าใด (มวลอะตอมของ C = 12, O = 16, Fe = 56) (PAT2 มี.ค. 56)
สารละลายข้อ II พร้อมกับคนตลอดเวลา จากนั้นค่อยๆ เติมสารละลาย H2O2 1. 33.6
(เข้มข้น 30%) ปริมาตร 8 cm3 2. 48.0
IV. ระเหยสารละลายในข้อ III จนมีปริมาตร 90 – 100 cm3 ในการระเหยอย่าให้ 3. 67.2
สารละลายเดือด และในระหว่างระเหยนั้นให้เติม (NH4)2CO3 ทีละน้อย จนมี 4. 96.0
ปริมาณ 5 กรัม จากนั้นกรองสารละลายขณะร้อน
V. นาสารละลายที่กรองได้ใส่ในขวดรูปกรวย แล้วนาไปวางในที่อุณหภูมิ 0C เป็น
เวลา 1 คืน จะได้ตะกอนเป็นผลึกสีแดงของ [Co(NH3)4CO3]NO3 กรองตะกอน
ล้างตะกอนด้วยน้า แล้วตามด้วย 95% ethanol ผึ่งตะกอนให้แห้งในอากาศ
ชั่งน้าหนักตะกอนได้ 9.96 กรัม
จากข้อมูลข้างต้น ผลได้ร้อยละของสารประกอบเชิงซ้อน [Co(NH3)4CO3]NO3 ที่
สังเคราะห์ได้มีค่าเท่าใด (มวลอะตอมของ H = 1, C = 12, N = 14, O = 16, Co = 59)
(PAT2 มี.ค. 56)
1. 4
2. 20
3. 80
4. 100

33) ดินขาวเป็นวัตถุดิบสาคัญในการผลิตเซรามิกส์ ดินขาวบริสุทธิ์คือแร่เคโอลิไนต์


(kaolinite) ซึ่งมีสูตรเคมีคือ H4Al2Si2O9 ดินขาวมีร้อยละโดยมวลของ SiO2, Al2O3,
H2O เท่าใด ตามลาดับ (มวลอะตอม H = 1, O = 16, Al = 27, Si = 28)
(PAT2 มี.ค. 56)
1. 35, 55, 10
2. 40, 46, 14
3. 46, 40, 14
4. 55, 35, 10

Page 33
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
34) สารประกอบชนิดหนึ่งมีสูตรทั่วไปเป็น [Mx(CO)y] เมื่อนาสารประกอบนี้ไปเผาภายใต้ 35) ทาการสกัดทองคาจากแร่ชนิดหนึ่งหนัก 500 g โดยใช้ NaCN(aq) เข้มข้น 1.00 M
บรรยากาศที่มีแก๊สออกซิเจนมากเกินพอ พบว่าได้ข้อมูลดังนี้ ปริมาตร 250 cm3 จะเกิดปฏิกิริยาดังสมการ
ก. ได้สารผลิตภัณฑ์เป็นของแข็ง(มีสูตรเป็น M2O3) และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 4Au(s) + 8NaCN(aq) + O2(g) + 2H2O(l)  4Na[Au(CN)2](aq) + 4NaOH(aq)
ข. ถ้าเริ่มต้นด้วยสารประกอบนี้ 1 โมล จะได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ปฏิกิริยานี้มีร้อยละของผลได้เป็น 80
268.8 dm3 ที่ STP หลังจากนั้นทาการรีดิวซ์ Na[Au(CN)2] ทั้งหมดที่เกิดขึ้นด้วย Zn หนัก 2.6000 g
ค. ถ้าเผาสารประกอบนี้ 2 โมล จะได้ M2O3 3 โมล จะได้สารผลิตภัณฑ์เป็น Au ดังสมการ
ถ้าโลหะ M มีมวลอะตอมเท่ากับ 56 ข้อใดถูก (มวลอะตอม C = 12, O = 16) 2Na[Au(CN)2](aq) + Zn(s)  Na2[Zn(CN)4](aq) + 2Au(s)
(PAT2 มี.ค. 57) ปฏิกิริยานี้มีร้อยละของผลได้เป็น 75
1. ค่าของ y/x = 4 จากข้อมูลข้างต้น ถ้าได้ทองคาบริสุทธิ์หนัก 5.9100 g ในแร่ชนิดนี้มีทองคาร้อยละ
2. สูตรเคมีของสารประกอบนี้คือ [M2(CO)12] เท่าใดโดยมวล
3. เผาสารประกอบนี้หนัก 50.4 g จะได้ของแข็งหนัก 16.0 g (มวลอะตอมของ H = 1, C = 12, N = 14, O = 16, Na = 23, Zn = 65, Au = 197)
4. เผาสารประกอบนี้หนัก 50.4 g ในบรรยากาศที่ไม่มีแก๊สออกซิเจนจะได้แก๊ส (PAT2 มี.ค. 57)
คาร์บอนไดออกไซด์ 1.2 โมล 1. 1.77
2. 1.97
3. 2.36
4. 2.96

Page 34
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
36) สาร A สามารถเกิดปฏิกิริยากับคลอไรด์ โดยคลอไรด์เข้าไปแทนที่ D ในสาร A ได้ 37) ฟอสจีไนท์ (Phosgenite) เป็นสารประกอบของตะกั่วมีสูตรเป็น Pb2Cl2CO3 เป็น
สาร E และ G ดังสมการ สารที่พบในเครื่องสาอางของชาวอียิปต์ เตรียมจากปฏิกิริยา :
A(s) + Cl-(aq)  E(s) + D-(aq) PbO(s) + NaCl(aq) + H2O(l) + CO2(g)  Pb2Cl2CO3(s) + NaOH(aq)
A(s) + 2Cl-(aq)  G(s) + 2D-(aq) (ปฏิกิริยานี้มีร้อยละของผลได้เป็น 80)
-
(D เป็นประจุลบที่อยู่ในโมเลกุลของ A) ในการเตรียม Pb2Cl2CO3 หนัก 21.8 g ใช้ PbO 25 g, สารละลาย NaCl เข้มข้น 0.2 M
มวลโมเลกุลของสาร A, E และ G เป็น 200, 225 และ 250 g/mol ตามลาดับ ถ้า หาความดันของแก๊ส CO2 ที่ใช้ (ในหน่วย atm) ถ้าใช้แก๊สนี้ปริมาตร 300 cm3 ที่
นาสาร A หนัก 40 g มาทาปฏิกิริยากับคลอไรด์มากเกินพอ ได้สารผลิตภัณฑ์ที่เป็น อุณหภูมิ 27 C และแก๊ส CO2 เป็นสารกาหนดปริมาณ
ของแข็งหนัก 46 g สารนี้เป็นของผสมระหว่าง A, E และ G โดยมี A ในของผสม (มวลอะตอมของ H = 1, C = 12, O = 16, Na = 23, Cl = 35.5, Pb = 207
หนัก 12 g ถ้านาสารผลิตภัณฑ์หนัก 0.92 g มาละลายด้วยกรดไนตริกเข้มข้น และ R = 0.082 L.atm.mol-1K-1) (PAT2 เม.ย. 57)
พบว่าได้สารละลายใส นาสารละลายนี้มาทาปฏิกิริยากับสารละลาย AgNO3 มาก 1. 1.64
เกินพอ พบว่าได้ของแข็งสีขาวหนัก 0.6888g ข้อใดเป็นอัตราส่วนโดยโมลของสาร 2. 3.28
A, E และ G ในสารผลิตภัณฑ์ (สาร A เมื่อสารละลายในกรด จะไม่เกิดไอออนที่ 3. 4.1
สามารถตกตะกอนได้กับสารละลาย AgNO3) 4. 8.2
(มวลอะตอม N = 14, O = 16, Cl = 35.5, Ag = 108) (PAT2 เม.ย. 57)
1. 1 : 2 : 1
2. 3 : 2 : 1
3. 4 : 2 : 3
4. 3 : 2 : 5

Page 35
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
38) ถ้าผสมสารประกอบต่อไปนี้ 39) สารตัวอย่างหนัก 25 g มีองค์ประกอบที่เป็นออกไซด์ของแมงกานีส และสารเจือปน
I. A2D 4g อื่นๆ โดยออกไซด์ของแมงกานีสมีสูตรเป็น MnxOy อะลูมิเนียมสามารถรีดิวซ์
II. E2D3 12 g MnxOy ให้เป็นโลหะแมงกานีสได้อย่างสมบูรณ์ ที่อุณหภูมิสูงและภายใต้บรรยากาศ
III. GD2 8g ของไนโตรเจน โดยอะลูมิเนียมเปลี่ยนเป็น Al2O3 ถ้านาสารตัวอย่างนี้มาทาปฏิกิริยา
IV. A4GD4 9 g กับอะลูมิเนียมโดยมีรายละเอียดของการทดลองดังนี้
V. AED2 17 g ปริมาณอะลูมิเนียมที่ใช้ 7.2 g
จากนั้นนาของผสมที่ได้ไปเผาจนหลอมเหลวเป็นเนื้อเดียวกัน แล้วทิ้งให้เย็น จะได้ ปริมาณโลหะแมงกานีสที่ได้ 16.5 g
ของแข็งที่มีลักษณะคล้ายแก้ว ถ้านาของแข็งที่ได้ไปวิเคราะห์หาปริมาณของธาตุ ธาตุ ปริมาณ Al2O3 ที่ได้ 13.6 g
ใดมีปริมาณมากที่สุด และมีอยู่กี่เปอร์เซ็นต์โดยน้าหนัก ปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่ได้ทั้งหมด 32.2 g
(ให้มวลอะตอมของ A = 15, D = 20, E = 30, G = 40) (PAT2 พ.ย. 57) จากข้อมูลข้างต้น สูตรของ MnxOy คือข้อใด
1. A, 47.2 (มวลอะตอมของ Mn = 55, Al = 27, O = 16) (PAT2 พ.ย. 57)
2. D, 47.2 1. MnO
3. E, 24 2. MnO2
4. G, 24 3. Mn2O3
4. Mn3O4

Page 36
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
40) พิจารณาสารละลายต่อไปนี้ 42) แก๊สชนิดใดมีจานวนโมลน้อยที่สุด (PAT2 มี.ค. 60)
 สารละลาย A เตรียมจากสารที่มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 40 หนัก 8.0 g 1. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ จานวน 440 กรัม
ละลายในน้า 100 g ได้สารละลายที่มีความหนาแน่น 1.08 g/cm3 2. แก๊สไนโตรเจน ปริมาตร 180 ลิตร ที่ STP
 สารละลาย B ในน้ามีความเข้มข้นร้อยละ 20 โดยมวล มีความหนาแน่น 3. แก๊สฮีเลียม ปริมาตร 3 ลิตร ที่อุณหภูมิ 400 เคลวิน ความดัน 100
1.20 g/cm3 (สาร B มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 100) บรรยากาศ
 สารละลาย C ในน้ามีความเข้มข้นร้อยละ 25 โดยมวลต่อปริมาตร มีความ 4. แก๊สออกซิเจน ปริมาตร 20 ลิตร ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ความดัน 10
หนาแน่น 1.25 g/cm3 (สาร C มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 100) บรรยากาศ
สารละลายใดมีจุดเดือดสูงสุด (น้ามีความหนาแน่นเท่ากับ 1g/cm3) 5. แก๊สนีออน ปริมาตร 300 ลิตร ที่อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส ความดัน 1
(PAT2 ต.ค. 59) บรรยากาศ
1. A
2. B
3. C
4. A และ B
5. B และ C

41) นาแคลเซียมคาร์ไบด์(CaC2) 0.80 กรัม มาใส่ในน้ามากเกินพอจนเกิดปฏิกิริยา


สมบูรณ์ ทาการกักเก็บแก๊สผลิตภัณฑ์(X) ที่เกิดขึ้น โดยการแทนที่น้าในกระบวกตวง
ที่ STP แก๊สผลิตภัณฑ์(X) มีปริมาตรกี่ cm3 และหากนาแก๊ส X ไปทาปฏิกิริยาการ
เติมกับ Br2 จงหาจานวนโมลสูงสุดของ Br2 ที่ทาปฏิกิริยากับแก๊ส X นี้ได้
(กาหนดให้มวลอะตอมของ Ca = 40 และ C = 12) (PAT2 มี.ค. 60)
ปริมาตรแก๊สผลิตภัณฑ์ (X) ที่ จานวนโมลสูงสุดของ Br2 ที่ทา
STP (cm3) ปฏิกิริยากับแก๊ส X
1. 140 1/80
2. 280 2/80
3. 560 4/80
4. 280 1/80
5. 560 2/80

เฉลย 1. 2 2. 3 3. 4 4. 2 5. 1 6. 3
7. 3 8. 3 9. 1 10. 3 11. 2 12. 3
13. 2 14. 3 15. 1 16. 4 17. 1 18. 2
19. 2 20. 1 21. 2 22. 3 23. 3 24. 2
25. 3 26. 1 27. 1 28. 3 29. 2 30. 4
31. 3 32. 2 33. 3 34. 1 35. 2 36. 4
37. 3 38. 2 39. 4 40. 5 41. 2 42. 5

Page 37
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
3) แก๊ส H2 หนัก 0.10 กรัม บรรจุในถังขนาด 400 มิลลิลิตร อุณหภูมิ 27 องศา
ตัวอย่างข้อสอบ เคมี เซลเซียส แก๊ส CO2 หนัก 0.11 กรัม บรรจุในถังอีกใบหนึ่งขนาด 200 มิลลิลิตร
อุณหภูมิเท่ากันเมื่อต่อท่อให้แก๊สทั้งสองชนิดผสมกันโดยไม่เกิดปฏิกิริยา ต่อกันและ
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส หลังการผสมอุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง ความดันรวมของแก๊สผสมเป็นกี่บรรยากาศ
(PAT2 ก.ค. 52)
1) นักเรียนคนหนึ่งนาไดเอทิลอีเทอร์ (C2H5OC2H5) 1 หยด ใส่ในภาชนะที่มีปริมาตร
1. 0.934
1,000 มิลลิลิตร แล้วทาให้เป็นไอทั้งหมดที่อุณหภูมิคงที่ 80C ปรากฏว่าวัดความ
2. 1.541
ดันของไอได้ 38.0 mmHg ถ้าใช้ไดเอทิลอีเทอร์ 3 หยด แต่ใส่ในภาชนะที่มีปริมาตร
3. 2.152
500 มิลลิลิตร โดยใช้อุณหภูมิ 80C เท่าเดิม จะวัดความดันของไอได้กี่บรรยากาศ
4. 3.634
(PAT2 มี.ค. 52)
1. 0.05
2. 0.15
3. 0.30
4. 0.45

4) การเรียงลาดับอัตราการแพร่ของแก๊ส ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ความดัน 1


บรรยากาศ ข้อใดถูกต้อง (PAT2 ก.ค. 52)
2) แก๊ส X เคลื่อนที่ในหลอดนาแก๊สอันหนึ่ง ได้ระยะทาง 30.0 เซนติเมตร ใช้เวลา 2.0
1. NH3  CO  CO2
วินาที แก๊ส Y เคลื่อนที่ในหลอดนาแก๊สอันเดียวกันนี้ได้ระยะทาง 216 เซนติเมตร
2. SO3  N2O3  C4H10
ใช้เวลา 8.0 วินาที แก๊ส X จานวน 10 โมเลกุล หนัก 1.34 x 10-21 กรัม มวล
โมเลกุลของแก๊ส Y เป็นเท่าใด (PAT2 มี.ค. 52) 3. CO2  NO2  SO2
1. 14 4. ข้อ 1 และข้อ 3
2. 25
3. 44
4. 260

Page 38
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
5) แก๊สชนิดหนึ่ง หนัก 1.0 กรัมที่ 12 องศาเซลเซียส ความดัน 1 บรรยากาศ มี 7) กราฟ ปริมาตรของอากาศในปอดคน เมื่อวัดด้วยเครื่องสไปโรมิเตอร์
ปริมาตร 2.0 ลิตร ถ้าแก๊สชนิดนี้หนัก 2.0 กรัม ที่ 69 องศาเซลเซียส ความดัน
608 มิลลิเมตรปรอท จะมีปริมาตรเป็นกี่ลิตร (PAT2 ก.ค. 52)
1. 2.5
2. 6
3. 7.9
4. 14.4

ถ้าหายใจ เข้า-ออก ตามปกติ(ตาแหน่ง ก. และ ข. ตามลาดับ) 1 ครั้ง ที่ 25 องศา


เซลเซียส ความดัน 1 บรรยากาศ จะได้รับปริมาณออกซิเจนเข้าไปในปอดเท่ากับกี่
โมล ถ้าอากาศมีออกซิเจนอยู่ร้อยละ 20 โดยโมล (PAT2 ต.ค. 52)
1. 4.0 x 10-3
2. 4.5 x 10-3
3. 1.6 x 10-2
4. 2.0 x 10-2

6) กราฟ ความสัมพันธ์ระหว่างความดันและจุดเดือดของสาร A B และ C

8) วิธีการที่เหมาะสมในการสกัดน้ามันหอมระเหยจากใบยูคาลิปตัส คือข้อใด
(PAT2 มี.ค. 53)
1. กลั่นธรรมดา
2. กลั่นด้วยไอน้า
3. กลั่นลาดับส่วน
4. สกัดด้วยตัวทาละลาย

ข้อใดถูก (PAT2 ต.ค. 52)


1. ที่ 80 องศาเซลเซียส สาร A มีความดันมากกว่า 800 มิลลิเมตรของปรอท 9) ปฏิกิริยาใดต่อไปนี้ ไม่เกิด CO2 (PAT2 มี.ค. 53)
2. จุดเดือดปกติของสาร B คือ 120 องศาเซลเซียส 1. H2CO3  
3. ที่ความดัน 720 มิลลิเมตรของปรอท สาร C มีจุดเดือดสูงกว่า 100 องศา
2. NaHCO3 

เซลเซียส
4. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของ C  B  A 3. HCl + CaCO3 
4. Na2CO3 + CaCl2 

Page 39
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
10) เมื่อปล่อยให้แก๊สอุดมคติในมาโนมิเตอร์ขยายตัวที่อุณหภูมิ -10 องศาเซลเซียส 12) ภาชนะสองใบต่อเชื่อมถึงกันใบแรกมีขนาด 2 ลิตร บรรจุแก๊ส N2 ไว้ 3 บรรยากาศ
จนมีปริมาตรสุดท้ายเป็น 1 ลิตร และทาให้ความสูงของปรอทในมาโนมิเตอร์ต่างกัน ใบที่สองขนาด 3 ลิตร บรรจุแก๊ส O2 ไว้ 5 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิคงที่ เมื่อเปิด
60 มิลลิลิตร ดังรูป วาล์วที่กั้นระหว่างภาชนะทั้งสอง จะเกิดปฏิกิริยากันจนสมบูรณ์ได้ผลิตภัณฑ์เป็น
ออกไซด์ชนิดหนึ่งของไนโตรเจนมีความดันเท่ากับ 1.2 บรรยากาศ โดยไม่มีสารตั้ง
ต้นใดเหลืออยู่ สูตรของออกไซด์ที่เกิดขึ้นคือข้อใด (PAT2 ก.ค. 53)
1. NO2
2. NO3
3. N2O4
4. N2O5

จานวนโมลของแก๊สเป็นเท่าใด (PAT2 มี.ค. 53)


1. 3.35 x 10-3
2. 3.66 x 10-3
3. 4.82 x 10-2
4. 5.00 x 10-2

13) ความสัมพันธ์ระหว่างน้าหนักโมเลกุลและตัวแปรข้อใดของแก๊สที่มีความสัมพันธ์เป็น
สมการเส้นตรง (PAT2 ก.ค. 53)
1. ความดัน
2. ปริมาตร
3. อัตราเร็วการแพร่
4. ความหนาแน่น

11) ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรกาหนดสภาวะของแก๊สในข้อใดไม่เป็นเส้นตรงเมื่อ
กาหนดให้ตัวแปรอื่นคงที่ (PAT2 มี.ค. 53)
1. ความดันและอุณหภูมิ 14) รูปผลการทา chromatography แบบกระดาษ ของสารอินทรีย์สองชนิดที่มีขนาด
2. ความดันและจานวนโมล โมเลลกุลใกล้เคียงกัน โดยอาศัยเฮกเซนเป็นตัวชะ
3. ปริมาตรและความดัน
4. ปริมาตรและอุณหภูมิ

ตัวชะเคลื่อนที่ไปได้ 10 ซม.
สาร O เคลื่อนที่ไปได้ 7 ซม.
สาร P เคลื่อนที่ไปได้ 3 ซม.
ข้อใดสรุปถูก (PAT2 ต.ค. 53)
1. สาร O มีขั้วมากกว่าสาร P
2. สาร O ละลายในเฮกเซนได้
3. สาร P มีขั้วมากกว่าสาร O
4. มีคาตอบถูกมากกว่า 1 ข้อ

Page 40
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
15) ถังแก๊สใบหนึ่งบรรจุ O2 ไว้ที่ 20 บรรยากาศ 300 เคลวิน เมื่อเปลี่ยนไปบรรจุ SO2 17) แก๊ส A, B และ C อย่างละ 1 โมล บรรจุในภาชนะขนาด 3 ลิตร ที่อุณหภูมิ 27 oC
แทนที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน พบว่าถังนี้มีน้าหนักเพิ่มขึ้น 4 กิโลกรัม ถังใบนี้ พบว่าความดันของแก๊สมีค่าเท่ากันคือ 8.2 atm ถ้ามีรูเล็กๆเกิดขึ้นที่ภาชนะนี้พบว่า
มีปริมาตรบรรจุประมาณกี่ลิตร แก๊ส A แพร่ผ่านด้วยอัตราเร็ว (RA) = 4RB = 5RC ให้ RA = 200 mg/นาที
(กาหนดให้ค่าคงที่ของแก๊ส = 0.082 atm.L.mol-1.K-1) หลังจากปล่อยให้แก๊สรั่วเป็นเวลา 5 นาที พบว่าแก๊ส A เหลือ 1 กรัม ข้อใดคือ
1. 0.154 มวลโมเลกุลของแก๊ส B และ C ตามลาดับ
2. 0.769 (กาหนดให้ R = 0.082 L.atm.mol-1.K-1) (PAT2 ต.ค. 54)
2. 76.875 1. 32, 50
4. 153.750 2. 16, 25
3. 64, 50
4. 32, 25

16) ค่าความชันของกราฟความสัมพันธ์ระหว่างน้าหนักโมเลกุล(แกนนอน) และความ


หนาแน่น(แกนตั้ง) ของแก๊สอุดมคติที่ภาวะ STP คือข้อใด (PAT2 ต.ค. 53)
1. 273R
2. -273R
3. 1
2 7 3R
4.  1
2 7 3R

Page 41
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
18) พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้ 20) จากการศึกษาสมดุลของปฏิกิริยาการรวมตัวของ NO2 เป็น N2O4 ในภาชนะขนาด
1 dm3 อุณหภูมิ 300K ความดันเริ่มต้นของ NO2 เป็น 100 mmHg ที่สมดุล ความ
ดันของ N2O4 เป็น 40 mmHg ถ้าพบว่า ที่สมดุลหนึ่ง ความดันรวมของแก๊สใน
ภาชนะเป็น 120 mmHg จะต้องใช้ความดันเริ่มต้นของ NO2 เป็นเท่าใดในหน่วย
mmHg (PAT2 มี.ค. 56)
กาหนดให้ 1. R = 0.082 L.atm.mol-1.K-1 1. 120
2. โมเลกุลของแก๊ส A ประกอบด้วย ธาตุ P และ F 2. 150
โมเลกุลของแก๊ส B ประกอบด้วย ธาตุ N และ F 3. 210
โมเลกุลของแก๊ส C ประกอบด้วย ธาตุ S และ H 4. 240
3. มวลอะตอมของ H = 1 ,N = 14 ,F = 19 ,P = 31 ,S = 32
จากข้อมูลข้างต้น สูตรโมเลกุลของแก๊ส A, B และ C คือข้อใด (PAT2 ต.ค. 54)
1. A = PF5 , B = NF2 , C = H2S
2. A = PF3 , B = NF2 , C = H2S
3. A = PF5 , B = NF3 , C = H2S
4. A = PF3 , B = NF3 , C = H2S

19) ตัวอย่างแก๊สชนิดหนึ่งถูกอัดให้มีปริมาตรเป็นครึ่งหนึ่งของปริมาตรเริ่มต้น และพบว่า


อุณหภูมิของแก๊สในหน่วยเคลวินเพิ่มขึ้น 20% ความดันของแก๊สนี้เพิ่มขึ้นเท่าใด
(PAT2 มี.ค. 55)
1. 70%
2. 120%
3. 140%
4. 240%

Page 42
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
21) กระเปาะ A, B และ C ต่อเชื่อมกันด้วยวาล์ว D โดยที่กระเปาะ A, B และ C บรรจุ 22) ที่สถานะ STP แก๊สผสมจานวน 1 โมล ถูกบรรจุในภาชนะลูกสูบซึ่งควบคุมให้ความ
แก๊สดังต่อไปนี้ (แก๊สทั้ง 3 ชนิด เป็นแก๊สอุดมคติ และอุณหภูมิของแก๊สเป็น 27 C ดันภายในภาชนะเท่ากับความดันภายนอก เมื่อวัดความหนาแน่นของแก๊สผสม
กระเปาะ A ปริมาตร 1 L บรรจุแก๊ส A มีความดัน 1 atm พบว่ามีค่า 1.25 กรัม/ลิตร หากแก๊สผสมนี้เกิดจากการผสมกันของแก๊สมีเทนและ
กระเปาะ B ปริมาตร 2 L บรรจุแก๊ส B มีความดัน 1 atm แก๊สออกซิเจน อัตราส่วนจานวนโมลแก๊สมีเทนต่อแก๊สออกซิเจนในแก๊สผสม มีค่า
กระเปาะ C ปริมาตร 3 L บรรจุแก๊ส C มีความดัน 1 atm ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (มวลอะตอมของ H = 1, C = 12, O = 16) (PAT2 ต.ค. 59)
โดยที่แก๊ส A และ B เกิดปฏิกิริยาได้สาร C ดังสมการ 1. 1:6
A + B  3C 2. 1:3
(กาหนดให้ R = 0.082 L.atm.mol-1.K-1) 3. 1:1
หลังจากเปิดวาล์ว D ความดันของแก๊ส A, B และ C เป็นเท่าใด ตามลาดับ 4. 3:1
(PAT2 มี.ค. 57) 5. 6:1
1. 0, 1/6, 1
2. 0, 1/3, 1/2
3. 1/6, 1/3, 1/2
4. 1/3, 1/2, 1/6

Page 43
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
23) ถุงลมนิรภัยในรถยนต์ เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งสาหรับป้องกันอันตรายแก่ผู้ขับขี่ โดยจะ 24) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
พองตัวอย่างรวดเร็วรองรับการกระแทกของผู้ขับขี่ ปฏิกิริยาเคมีที่สาคัญในถุงลม ก. ความตึงผิวของน้ามีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มอุณหภูมิ
นิรภัยคือการสลายตัวของโซเดียมเอไซด์ NaN3(s) ให้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊สไนโตรเจนที่ ข. น้ากลิ้งบนใบบัวเป็นปรากฏการณ์ซึ่งแสดงถึงแรงเชื่อมแน่นที่สูงกว่าแรงยึด
เข้าไปทาให้ถุงลมนิรภัยพองตัว ดังสมการ ติด
NaN3(s)  Na(s) + 3 N2(g) ค. โมเลกุลกามะถันในผลึกกามะถันรอมบิกจัดเรียงตัวชิดกันกว่าในผลึก
2 กามะถันมอนอคลินิก จุดหลอมเหลวของกามะถันรอมบิกจึงสูงกว่าของ
หากต้องการแก๊สไนโตรเจนให้เพียงพอต่อการพองตัวของถุงลมขนาด 44.80 ลิตร กามะถันมอนอคลินิก
มีความดันภายในเป็น 1.00 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิ 300 เคลวิน ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 60)
ต้องใช้โซเดียมเอไซด์กี่กรัม (กาหนดให้มวลโมเลกุลของโซเดียมเอไซด์ เท่ากับ X) 1. มีข้อถูกเพียงข้อเดียว
(PAT2 ต.ค. 59) 2. ข้อ ก และ ข ถูก
1. 1.21X 3. ข้อ ก และ ค ถูก
2. 1.82X 4. ข้อ ข และ ค ถูก
3. 2.00X 5. ถูกทั้ง ก ข และ ค
4. 2.73X
5. 1.60X

เฉลย 1. 3 2. 2 3. 3 4. 4 5. 2 6. 4
7. 1 8. 2 9. 4 10. 4 11. 3 12. 4
13. 4 14. 4 15. 4 16. 3 17. 1 18. 4
19. 3 20. 3 21. 1 22. 2 23. 1 24. 1

Page 44
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
3) ถ้าเริ่มจากความเข้มข้นของ A และ B ต่างๆกันจะเกิด C ที่ 1 นาที ดังสมการ
ตัวอย่างข้อสอบ เคมี A + 2B  2C
และตารางความเข้มข้นของสารที่ใช้ในปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1) ย่อยโลหะ Zn หนัก 1.3 กรัม ด้วยสารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.5 โมลาร์
ปริมาตร 40 มิลลิลิตร จะเกิด H2 ด้วยอัตราเร็วเริ่มต้น 2.24 มิลลิลิตรต่อนาที
ที่ STP อัตราการลดลงของ HCl เท่ากับกี่โมลาร์ต่อนาที (PAT2 มี.ค. 52)
1. 2 x 10-4
2. 2 x 10-3
3. 5 x 10-3 ถ้าต้องการทาลายสาร B เข้มข้น 1.00 โมลาร์ให้หมดภายใน 1 นาที ด้วยการทา
4. 5 x 10-2 ปฏิกิริยากับสาร A จะต้องใส่สาร A ลงไปให้มีความเข้มข้นเริ่มต้นขั้นต่ากี่โมลาร์
(PAT2 ก.ค. 52)
1. 0.50
2. 2.50
3. 5.00
4. 10.00

2) ปฏิกิริยาระหว่าง A และ B สามารถให้ผลิตภัณฑ์ 2 ชนิด คือ C และ D โดยแต่ละ 4) กราฟ พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา


ปฏิกิริยามีค่า Ea และพลังงานในการเกิดปฏิกิริยาดังนี้
ปฏิกิริยาที่1 : A + B C Ea = 200 kJ H = +100kJ
ปฏิกิริยาที่2 : A + B D Ea = 400 kJ H = -100kJ
ข้อสรุปที่ถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับปฏิกิริยาระหว่าง A และ B คือข้อใด (PAT2 มี.ค. 52)
1. เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ปฏิกิริยาที่ 1 จะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาลดลง
2. เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ปฏิกิริยาที่ 2 จะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาลดลง
3. ปฏิกิริยาย้อนกลับของปฏิกิริยาที่ 1 มีพลังงานกระตุ้นสูง กว่าปฏิกิริยา
ย้อนกลับของปฏิกิริยาที่ 2
4. ปฏิกิริยาย้อนกลับของปฏิกิริยาที่ 2 มีพลังงานกระตุ้นสูง กว่าปฏิกิริยา ข้อใดถูก (PAT2 ต.ค. 52)
ย้อนกลับของปฏิกิริยาที่ 1 1. การดาเนินไปของปฏิกิริยาตามเส้นทางที่ I ดูดความร้อน มากกว่าเส้นทางที่ II
2. ค่าคงที่อัตราการเกิดปฏิกิริยาของทั้งสองเส้นทางมีค่า เท่ากัน
3. พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาไปข้างหน้าตามเส้นทางที่ II สูงกว่าพลังงาน
ก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาย้อนกลับ
4. สาร X ทาให้ปฏิกิริยาระหว่างสาร A และ สาร B เกิดได้เร็วขึ้น

Page 45
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
5) สมการ ปฏิกิริยาระหว่างสาร A และ สาร B 7) การศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
A + 2B  3C + 4D 2A(aq)  B(aq)
สาร A จานวน 1 โมล ทาปฏิกิริยากับสาร B จานวน 2 โมล ในสารละลายปริมาตร พบว่า การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสาร A เป็นฟังก์ชันของเวลา (t) ในหน่วย
1 ลิตร เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที เกิดสาร C ขึ้น 3 โมล วินาที ดังสมการ
ข้อใดไม่ถูก (PAT2 ต.ค. 52) [A] = 4 - t
1. อัตราการสลายตัวเฉลี่ยของสาร A ใน ช่วง 10 วินาทีแรก เท่ากับ 0.1 โมลต่อ อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ วินาทีที่ 4 มีค่าเท่าใด (PAT2 มี.ค. 53)
วินาที 1. 0.125
2. อัตราการสลายตัวเฉลี่ยของสาร B ในช่วง 10 วินาทีแรก เท่ากับ 2.0 โมลต่อ 2. 0.250
วินาที 3. 0.375
3. อัตราการเกิดสาร C ในช่วง 10 วินาทีแรกเท่ากับ 0.3 โมลต่อวินาที 4. 0.500
4. อัตราการเกิดสาร C จานวน 1 โมล เท่ากับอัตราการสลายตัวของสาร B
จานวน 0.67 โมล

8) ทดลองวัดอัตราเร็วของการสลายตัวของสารตั้งต้นในปฏิกิริยา R(s)  P(s)


จานวน 2 การทดลอง (การทดลอง A และ B) โดยเริ่มต้นจากความเข้มข้นของสาร
6) ทาการทดลองวัดอัตราเร็วของการสลายตัวของสารตั้งต้นในปฏิกิริยา R เท่ากันภายใต้ความดันเดียวกัน นาข้อมูลมาสร้างกราฟได้ดังรูป
R(s)  P(s)
จานวน 2 การทดลอง(การทดลอง A และ B) โดยเริ่มต้นจากความเข้มข้นของสาร
R เท่ากันภายใต้ความดันเดียวกัน ได้ผลการทดลองดังที่แสดงในกราฟ

การสรุปผลการทดลองข้อใดถูก (PAT2 ก.ค. 53)


ข้อใดผิด (PAT2 มี.ค. 53) 1. การทดลอง A เกิดขึ้นที่อุณหภูมิต่ากว่าการทดลอง B
1. การทดลอง A เกิดขึ้นที่อุณหภูมิสูงกว่าการทดลอง B 2. พลังงานก่อกัมมันต์ของการทดลอง A ต่ากว่าการทดลอง B
2. พลังงานก่อกัมมันต์ของการทดลอง A สูงกว่าการทดลอง B 3. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยของการทดลองทั้งสองมีค่าเท่ากัน
3. มีการเติมสารเร่งปฏิกิริยาลงในการทดลอง B 4. มีการบดสารตั้งต้น R หรือเติมสารเร่งปฏิกิริยาในการทดลอง A
4. มีการบดสารตั้งต้น R ในการทดลอง B

Page 46
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
9) การเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา 11) การเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา ก  จ แสดงดังแผนภาพต่อไปนี้
กจ
แสดงดังแผนภาพต่อไปนี้

การอธิบายเกี่ยวกับกลไกของปฏิกิริยาเคมีข้อใดถูก (PAT2 ต.ค. 53)


การเปลี่ยนแปลงของพลังงานน้อยที่สุดที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับคือข้อใด 1. ปฏิกิริยาขั้นตอน ค  จ เป็นปฏิกิริยาคายความร้อนเท่ากับ B
(PAT2 ก.ค. 53) 2. ปฏิกิริยาขั้นตอน ก  ค เกิดขึ้นเร็วกว่าปฏิกิริยาขั้นตอน ค  จ
1. A 3. เป็นปฏิกิริยา 2 ขั้นตอนและมีการเปลี่ยนแปลงความร้อน ของปฏิกิริยาเท่ากับ
2. C B+D
3. A – (B + C) 4. เกิดสารเชิงซ้อนกัมมันต์ขึ้น 2 ชนิดและมีความแตกต่างของพลังงานเท่ากับ
4. A – (B + D) A-C

10) ข้อใดถูกตามทฤษฎีจลน์ (PAT2 ก.ค. 53) 12) การศึกษาอัตราเกิดปฏิกิริยาเคมี A(aq)  2B(aq)


1. ทุกครั้งที่สารตั้งต้นชนกันในทิศทางที่เหมาะสม จะเกิดสาร ผลิตภัณฑ์ พบว่าการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสาร A เป็นฟังก์ชันของเวลา(t) ในหน่วย
2. การสลายตัวของสารเชิงซ้อนกัมมันต์อาจได้สารตั้งต้นหรือ สารผลิตภัณฑ์ วินาที ดังสมการ [A] = 4 – t2 อัตราการเกิดสาร B ณ วินาทีที่ 1 มีค่าเท่าใด
3. สารเชิงซ้อนกัมมันต์ที่เกิดขึ้นระหว่างปฏิกิริยามีพลังงานต่ากว่าสารตั้งต้น และ (PAT2 ต.ค. 53)
สารผลิตภัณฑ์ 1. 1
4. การเกิดสารเชิงซ้อนกัมมันต์ปฏิกิริยาจะคายพลังงานออกมาซึ่งเรียกพลังงานนี้ 2. 2
ว่าพลังงานก่อกัมมันต์ 3. 4
4. 8

Page 47
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
13) พิจารณาข้อมูลการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารต่างๆ ในปฏิกิริยาเมื่อเวลาผ่าน 15) ปฏิกิริยา A + B  E  H = -700 kJ
ไปดังนี้ เป็นปฏิกิริยาที่เกิดใน 3 ขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 A + B  2C H = -500 kJ, Ea = 1,000 kJ
ขั้นตอนที่ 2 2C  D H = X kJ, Ea = 500 kJ
ขั้นตอนที่ 3 D  E H = Y kJ, Ea = 600 kJ
พลังงานศักย์ของสาร A และ B = 1,000 kJ
พลังงานศักย์ของสาร D = 700 kJ
ค่าของ X และ Y เป็นกี่กิโลจูล ตามลาดับ (PAT2 มี.ค. 54)
1. 200 และ 400
2. -200 และ –400
3. -200 และ 400
4. 200 และ -400
จากข้อมูลข้างต้น สมการปฏิกิริยาที่ดุลแล้วเป็นไปตามข้อใด (PAT2 มี.ค. 54)
1. A + B  C + D
2. 2A + 3B  2C + 4D
3. 3A + 2B  2C + 4D
4. 3A + 2B  4C + 2D

จงใช้ข้อมูลต่อไปนี้ ในการตอบคาถามข้อที่ 16 และ 17


พิจารณาปฏิกิริยาที่ดุลแล้วต่อไปนี้ A(aq) + B(aq)  C(aq) + D(g)
ทาการเก็บแก๊ส D โดยการแทนที่น้าพบว่าได้ข้อมูลดังตาราง

14) จากข้อมูลในข้อ 13 ถ้า [A]t=0 นาที = [B]t=0 นาที = 40M และ


[C] t=0 นาที = [D] t=0 นาที=10 M หลังจากเกิดปฏิกิริยาแล้วกี่นาทีจึงจะมี [C] = 34 M
(PAT2 มี.ค. 54)
1. 2
2. 4
3. 6
4. 10

หมายเหตุ 1. การทดลองที่ 1 ความเข้มข้นเริ่มต้นของสาร A = ความเข้มข้นเริ่มต้น


ของสาร B = 0.1 M
2. การทดลองที่ 2 ความเข้มข้นเริ่มต้นของสาร A = ความเข้มข้นเริ่มต้น
ของสาร B = 0.2 M

16) จากข้อมูลข้างต้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยของการทดลอง ที่ 1 และ 2 เป็น


เท่าใดในหน่วย cm3/นาที ตามลาดับ (PAT2 ต.ค. 54)
1. 1.6, 1.6
2. 2, 2
3. 2, 4
4. 2, 8

Page 48
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
17) ถ้าเปลี่ยนความเข้มข้นเริ่มต้นของสาร A เป็น 1 M และความเข้มข้นเริ่มต้นของสาร 20) จากข้อมูลในข้อ 18 ที่เวลา 2 วินาที น้าหนักของแก๊ส A หายไป 20 กรัม และ
B เป็น 0.5 M และปริมาตรเริ่มต้นของแก๊ส D = 0 cm3 เมื่อเวลาผ่านไป 4 นาที น้าหนักของแก๊ส B เพิ่มขึ้น 2 กรัม มวลโมเลกุลของแก๊ส C คือข้อใด
ปริมาตร ของแก๊ส D ควรเป็นเท่าใดในหน่วย cm3 (PAT2 ต.ค. 54) (กาหนด R = 0.082 Latmmol-1K-1) (PAT2 มี.ค. 55)
1. 8 1. 20
2. 40 2. 40
3. 400 3. 60
4. 800 4. 80

18) พิจารณาปฏิกิริยา : A(g)  B(g) + C(g) (สมการยังไม่ดุล)


จากการทดลองทาปฏิกิริยานี้ในภาชนะที่มีปริมาตร 2.46 dm3 อุณหภูมิ 27C
พบว่าได้ข้อมูลดังตาราง

21) จากการศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาหนึ่งพบว่าได้ข้อมูลดัง ตาราง

สมการที่ดุลแล้วของปฏิกิริยานี้คือข้อใด (PAT2 มี.ค. 55)


1. 2A  B + 3C จากการทดลองข้างต้น ข้อใดผิด (PAT2 ต.ค. 55)
2. 5A  2B + C 1. อัตราการหายไปของสาร A = 2 เท่าของอัตราการหายไปของสาร B
3. 24 + B  3C 2. การเพิ่มความเข้มข้นของสาร B ไม่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
4. 5A + 2B  C 3. ถ้าอัตราการหายไปของสาร B ในช่วงเวลาหนึ่งมีค่าเท่ากับ 2 M/นาที อัตราการ
เกิด C จะมีค่าเป็น 6 M/นาที
4. ถ้าความเข้มข้นเริ่มต้นของสาร A และ B เป็น 30 M และ 20 M ตามลาดับ
อัตราการหายไปของสาร A ในช่วงเวลา 0 – 2 นาที มีค่าเท่ากับ 3.5 M/นาที

19) จากข้อมูลในข้อ 18 ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 55)


1. อัตราการสลายตัวของ A มากกว่าอัตราการเกิด B
2. อัตราการสลายตัวของ A มากกว่าอัตราการเกิด C
3. อัตราการสลายตัวของ A มากกว่าอัตราการสลายตัวของ B
4. อัตราการเกิด B มากกว่าอัตราการเกิด C

Page 49
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
22) ปฏิกิริยาหนึ่งเกิดปฏิกิริยาใน 2 ขั้นตอนดังนี้ 24) พิจารณาข้อมูลความเข้มข้นที่เวลาต่างๆ ของสาร A ในปฏิกิริยา A  P
A+B AB Ea = 50 kJ/mol
AB + B  C Ea = 1000 kJ/mol
จากข้อมูลนี้ข้อใดผิด (PAT2 ต.ค. 55)
1. สมการที่ดุลแล้วของปฏิกิริยานี้คือ A + 2B  C
2. ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาคายความร้อนเสมอ
3. พลังงานกระตุ้นของ A + B AB มีค่าใกล้เคียงกับ AB A+B
4. AB ไม่ใช่สารผลิตภัณฑ์ที่แท้จริงของปฏิกิริยานี้

จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดผิด (PAT2 มี.ค. 56)


1. อัตราของปฏิกิริยาไม่ขึ้นกับความเข้มข้นของสาร A
2. ระยะเวลาที่ทาให้สาร A หมดไปครึ่งหนึ่งจะเท่ากันทุกการทดลอง
3. การทดลองที่ 2 ที่เวลา 11 นาที ความเข้มข้นของสาร A เท่ากับ 9 M
4. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเท่ากันทุกช่วงเวลา

23) ออกไซด์ของไนโตรเจนมีหลายชนิด และพบว่า NO และ NO2 เกิด dimerization ได้


ดังสมการ
2NO N2O2
2NO2 N2O4
ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับสาเหตุของการเกิด dimerization ของสารประกอบทั้งสองนี้
(PAT2 ต.ค. 55)
1. ทาให้โมเลกุลเสถียรขึ้น 25) พิจารณาอัตราการเกิดปฏิกิริยาหนึ่งดังนี้ :
2. ทาให้โมเลกุลมีสภาพขั้วลดลง อัตราการหายไปของแก๊ส A = 1/2 ของอัตราการหายไปของแก๊ส B = 1/3 ของ
3. ทาให้ N มีจานวนอิเล็กตรอนครบออกเตต อัตราการเกิดของแก๊ส C
4. มีอิเล็กตรอนเดี่ยวที่ N ในสารประกอบทั้งสองชนิด และที่สมดุล (อุณหภูมิห้อง) [A] = [B] = [C] ถ้าพบว่า ที่สมดุลหนึ่งของปฏิกิริยานี้
มี [C] = 6 M และระยะเวลาตั้งแต่เริ่มทาปฏิกิริยาจนเข้าสู่สมดุลเท่ากับ 10 นาที
จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดผิด (PAT2 มี.ค. 56)
1. ความเข้มข้นเริ่มต้นของแก๊ส A และ แก๊ส B เท่ากับ 8 M และ 10 M
ตามลาดับ
2. อัตราการหายไปของแก๊ส B เท่ากับ 0.4 M/นาที
3. ความดันรวมของแก๊สก่อนเข้าสู่สมดุล ≠ ความดันรวมของแก๊สที่สมดุล
4. มวลโมเลกุลของแก๊ส C  B  A เสมอ

Page 50
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
26) ในภาชนะหนึ่งปริมาตร 30 L และอุณหภูมิ 27C ตอนเริ่มต้นมีแก๊ส X 20% โดย 27) พิจารณาปฏิกิริยาต่อไปนี้
มวล, แก๊ส Y 40% โดยมวล และแก๊ส Z 40% โดยมวล และวัดความดันตอนเริ่มต้น I. A + 2B  3C
ได้ 4.1 atm หลังจากเวลาผ่านไประยะหนึ่งพบว่าความดันมีค่าคงที่ แต่ปริมาณของ II. A + 3D  2E
แก๊สต่างๆ เปลี่ยนแปลงดังตาราง ทาการศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาของสาร A ในปฏิกิริยาทั้งสองได้ผลดังตาราง

(กาหนดให้มวลโมเลกุลของ Z เท่ากับ 400, R = 0.082 L.atm.mol-1.K-1)


จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 57)
จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 57)
1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลาต่างๆ ของปฏิกิริยาทั้งสองมีค่าคงที่
1. น้าหนักรวมของแก๊สมีค่าเท่ากับ 800 g
2. ระยะเวลาที่ทาให้ [A] ในปฏิกิริยา I มีค่าเป็น 2.5 M คือ 15 นาที
2. มวลโมเลกุลของ X และ Y จะเท่ากับ 100 และ 200 ตามลาดับ
3. ระยะเวลาที่ทาให้ [A] ในปฏิกิริยา II มีค่าเป็น 5 M คือ 15 นาที
3. อัตราการหายไปของแก๊ส Y (M/นาที) = 2 เท่าของอัตราการหายไปของแก๊ส X
4. ถ้าเปลี่ยน [A]ที่เวลา 0 นาที ในปฏิกิริยา II เป็น 40 M ทาให้ อัตราการเกิด
(M/นาที)
ปฏิกิริยาในช่วงเวลาต่างๆเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า
4. สมการที่ดุลแล้วของปฏิกิริยาระหว่างแก๊ส X และแก๊ส Y คือ
X + Y  ผลิตภัณฑ์

Page 51
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
ให้ใช้ข้อมูลในตารางต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 28 และ 29 ตารางข้อมูลต่อไปนี้ใช้ในการตอบคาถามข้อ 30 และ 31
ศึกษาอัตราของปฏิกิริยา A(aq)  2D(aq) + 3E(aq) ได้ผลดังนี้

28) จากข้อมูลในตารางข้างต้น สมการที่ดุลแล้วของปฏิกิริยานี้คือข้อใด


จากการทดลองพบว่า เมื่อเพิ่ม [A]0 (ความเข้มข้นเริ่มต้นของสาร A) เป็น 2 เท่า อัตรา
(PAT2 เม.ย. 57)
ปฏิกิริยาเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าด้วย
1. A + D  E
30) จากข้อมูลในตารางข้างต้น ระยะเวลาที่ทาให้สาร A ในการทดลองที่ 2 มีความ
2. A + 2D  E
เข้มข้นเป็น 5 M คือกี่นาที (PAT2 พ.ย. 57)
3. A + 2D  3E
1. 5
4. 2A + 3D  3E
2. 10
3. 15
4. 20

31) จากข้อมูลในตาราง ข้อใดถูก (PAT2 พ.ย. 57)


1. การทดลองที่ 1 ที่เวลา 5 นาที [D] = 10 M
29) จากข้อมูลในตาราง ข้อใดถูก (PAT2 เม.ย. 57)
2. การทดลองที่ 2 ที่เวลา 10 นาที [E] = 65 M
1. การเปลี่ยนความเข้มข้นเริ่มต้นของทั้งสาร A และ D มีผลต่ออัตราการ
3. การเพิ่ม [D]0 เป็น 2 เท่า ทาให้อัตราปฏิกิริยาเพิ่มเป็น 2 เท่า
เกิดปฏิกิริยา
4. การเพิ่ม [E]0 เป็น 2 เท่า ทาให้อัตราปฏิกิริยาเพิ่มเป็น 4 เท่า
2. ระยะเวลาที่ทาให้สาร A หมดไปครึ่งหนึ่งขึ้นกับความเข้มข้นเริ่มต้นของสาร D
3. ระยะเวลาที่ทาให้สาร D หมดไปครึ่งหนึ่งขึ้นกับความเข้มข้นเริ่มต้นของสาร A
4. อัตราในการเกิดสาร E = อัตราในการหายไปของสาร D

Page 52
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
32) จากการทดลอง เผาสารในภาชนะปิดปริมาตร 2 dm3 เพื่อให้เกิดปฏิกิริยาตาม
สมการ
2X2(g) + Y2(g)  2X2Y(g)
ได้ผลตามตาราง

พิจารณาข้อสรุปต่อไปนี้
ก. อัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลา 10-30 วินาที มีค่า 0.02 mol/(dm3.s)
ข. อัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลา 0-50 วินามี มีค่า 0.9 x 10-2
mol/(dm3.s)
ค. อัตราการลดลงของ X2 เป็น 2 เท่าของอัตราการเกิดปฏิกิริยา
ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 60)
1. มีข้อถูกเพียงข้อเดียว
2. ข้อ ก และ ข ถูก
3. ข้อ ก และ ค ถูก
4. ข้อ ข และ ค ถูก
5. ถูกทั้ง ก ข และ ค

เฉลย 1. 3 2. 4 3. 2 4. 3 5. 2 6. 1
7. 1 8. 1 9. 4 10. 2 11. 1 12. 3
13. 2 14. 3 15. 4 16. 2 17. 1 18. 1
19. 1 20. 3 21. 4 22. 2 23. 2 24. 2
25. 3 26. - 27. 3 28. 3 29. 3 30. 2
31. 2 32. 4

Page 53
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
3) ปฏิกิริยาในข้อใดที่เมื่อเพิ่มความดันหรือุณหภูมิให้แก่ระบบ จะทาให้เกิดการ
ตัวอย่างข้อสอบ เคมี เปลี่ยนแปลงไปสู่สมดุลใหม่ในทิศทางเดียวกัน (PAT2 ก.ค. 52)
1. 2CO(g) + O2(g) 2CO2(g) H  0 kJ
บทที่ 7 สมดุลเคมี 2. 2HCl(g) H2(g) + Cl2(g) H  0 kJ
1) แก๊ส SO3 สลายตัวได้ดังสมการ 3. 2NO2(g) 2NO(g) + O2(g) + 182 kJ
2SO3(g) 2SO2(g) + O2(g) 4. 2SO3(g) + 197.6 kJ 2SO2(g) + O2(g)
การศึกษาการสลายตัวของ SO3 ในระบบปิด โดยเริ่มต้นด้วย SO3 จานวน 2 โมล
ในภาชนะ 2 ลิตร เมื่อถึงภาวะสมดุลพบว่า SO3 สลายตัวไปร้อยละ 20 ค่าคงที่
สมดุลของปฏิกิริยานี้เป็นเท่าใด (PAT2 มี.ค. 52)
1. 0.006
2. 0.025
3. 0.125
4. 0.200

2) กาหนดค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาต่างๆ ที่ 25C ดังนี้ 4) แก๊ส PCl5 สลายตัวได้ดังสมการ


2P(g) + 2Q(g) 3R(g) + S(g) : K = 1.0 x 10-4 PCl5(g) PCl3(g) + Cl2(g)
A(g) + 3 P(g) 2S(g) + R(g) : K = 1.0 x 10-2 เมื่อทาให้ PCl5 จานวนหนึ่ง สลายตัวในภาชนะขนาด 500 มิลลิลิตร ที่ 250 องศา
ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาต่อไปนี้เป็นเท่าไร เซลเซียส เมื่อถึงภาวะสมดุล พบว่ามี PCl5 จานวน 0.0625 โมล และ Cl2 จานวน
A(g) + 5R(g) P(g) + 4Q(g) 0.0375 โมล ถ้าเพิ่มอุณหภูมิให้เป็น 300 องศาเซลเซียส พบว่าที่สมดุลใหม่
(PAT2 มี.ค. 52) มี PCl3 จานวน 0.0400 โมล ข้อใดสรุปถูกต้อง (PAT2 ก.ค. 52)
1. 1.0 x 10-2 1. เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อน
2. 1.0 2. ค่าคงที่สมดุลที่ 300 องศาเซลเซียส เท่ากับ 0.053
3. 50 3. ที่ 300 องศาเซลเซียส ณ ภาวะสมดุลมี PCl5 จานวน 0.12 โมลต่อลิตร
4. 1.0 x 106 4. ข้อ 1 2 และ 3 ถูก

Page 54
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
5) ภาชนะปิดใบหนึ่งบรรจุ SO2 ไว้ 0.5 บรรยากาศ และ O2 ไว้ 1.0 บรรยากาศ เมื่อ 7) จากปฏิกิริยา N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) + 92kJ
เกิดปฏิกิริยาที่อุณหภูมิคงที่จนได้ SO3 ขึ้น พบว่าความดันรวมเป็น 1.3 บรรยากาศ การรบกวนสมดุลและผลจากการปรับสมดุล ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 53)
โดยที่ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ ข้อใดไม่ถูก (PAT2 ต.ค. 52)
1. SO2 สลายตัวไปร้อยละ 80
2. O2 สลายตัวไปร้อยละ 20
3. ค่าคงที่สมดุลเท่ากับ 20
4. ร้อยละของผลได้จากปฏิกิริยาเท่ากับ 86.67

6) ภาชนะปิดใบหนึ่งบรรจุของแข็ง N2O5 ไว้ 108 กรัม เมื่อเกิดการสลายตัวที่อุณหภูมิ


คงที่จะได้แก๊ส NO2 และ O2 ขึ้น ถ้าภาชนะนี้มีขนาด 1 ลิตร จะพบว่าที่สมดุล N2O5
จะสลายตัวไปร้อยละ 50 ดังนั้นค่าคงที่ปฏิกิริยาการสลายตัวนี้เท่ากับเท่าไร 8) ปฏิกิริยาในข้อใดมีค่า Kc เท่ากับ Kp (PAT2 มี.ค. 53)
(PAT2 ต.ค. 52) 1. N2(g) + H2(g) NH3(g)
1. 0.25 2. CaCO3(s) CaO(s) + CO2(g)
2. 1.00 3. H2(g) + F2(g) HF(g)
3. 4.00 4. O3(g) O2(g)
4. 8.00

Page 55
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
9) HgS มีค่า Ksp เท่ากับ 2 x 10-49 ถ้าตัวอย่างน้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมมีความ 11) ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสมดุลเคมี (PAT2 ก.ค. 53)
เข้มข้นของ Hg2+ เท่ากับ 2 x 10-20 โมลาร์ และความเข้มข้นของ S2- เท่ากับ 1. ค่าคงที่สมดุลจะมีค่ามากขึ้น เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นเสมอ
1 x 10-29 โมลาร์ ตัวอย่างน้าเสียนี้มีสภาวะเป็นอย่างไร (PAT2 มี.ค. 53) 2. ปฏิกิริยาที่จะมีสมดุลได้ ต้องเป็นปฏิกิริยาในระบบปิดเท่านั้น
1. เป็นสารละลายเจือจางของเกลือ HgS 3. ถ้าค่าคงที่สมดุลมากกว่า 1 แสดงว่ามีปริมาณผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นมากกว่า
2. เป็นสารละลายอิ่มตัวของเกลือ HgS สารตั้งต้นที่เหลืออยู่เสมอ
3. เกิดตะกอนของเกลือ HgS 4. มีคาตอบถูกมากกว่า 1 ข้อ
4. สรุปไม่ได้

10) พิจารณาปฏิกิริยาการสลายตัวของโอโซน โดยอะตอมคลอรีนมีกลไกการ


เกิดปฏิกิริยา 2 ขั้น ดังนี้ 12) ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสมดุลเคมี (PAT2 ต.ค. 53)
1. ที่สภาวะ STP ปฏิกิริยาผันกลับได้ของแก๊สจะมีค่าคงที่สมดุลที่คานวณจาก
ความดัน(Kp) สูงกว่า ค่าคงที่สมดุลที่คานวณจากความเข้มข้น(Kc) เสมอ
2. ค่าคงที่สมดุล มีค่าเท่ากับ ค่าคงที่อัตราเร็วของปฏิกิริยาไปข้างหน้า หาร
ด้วยค่าคงที่ของปฏิกิริยาย้อนกลับ
c มีค่าเท่าใด (PAT2 ก.ค. 53)
3. ที่สมดุล อัตราเร็วการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าและย้อนกลับมีค่าเท่ากันพอดี
1. ab
4. มีคาตอบถูกมากกว่า 1 ข้อ
2. a + b
3. a
b
4. 1
ab

Page 56
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
13) ถ้าปฏิกิริยาการสลายตัวของ N2O(g) ในภาชนะปิดปริมาตรคงที่ ได้เป็น NO2(g) 15) พิจารณาสมดุลต่อไปนี้ A + B C (สมการยังไม่ดุล) จากการทดลองพบว่า
เป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน เมื่อเพิ่มอุณหภูมิให้กับระบบจะเกิดเหตุการณ์ตามข้อใด ความเข้มข้นที่สมดุลเป็นดังตาราง
(PAT2 ต.ค. 53)
1. ความเข้มข้น NO2 เพิ่มขึ้น, ค่า Keq เพิ่มขึ้น
2. ความเข้มข้น NO2 เพิ่มขึ้น, ค่า Keq ลดลง
3. ความเข้มข้น NO2 ลดลง, ค่า Keq เพิ่มขึ้น
4. ความเข้มข้น NO2 ลดลง, ค่า Keq ลดลง

ทั้ง 3 การทดลองนี้ทาที่อุณหภูมิเดียวกัน ถ้าความเข้มข้นที่สมดุลของ A = 25.00 M


และ B = 40.00 M ความเข้มข้นที่สมดุลของสาร C ควรเป็นเท่าใด
(PAT2 มี.ค. 54)
1. 20.00 M
2. 50.00 M
3. 100.0 M
4. 250.0 M

14) BaCO3 หนัก 3.94 มิลลิกรัม ละลายในสารละลาย 100 ลบ.ซม. ของ Na2CO3 ที่มี 16) นักเรียนคนหนึ่งหาความเข้มข้นของ Fe(III) ในสารละลายเหล็ก-เด็กซแตรน โดย
ความเข้มข้น 10 mM จะทาให้ความเข้มข้นของ Ba2+ ในสารละลายมีค่ากี่โมลาร์ที่ ละลาย FeCl3 ในน้าแล้วเติมเด็กซแตรนทันทีเพื่อเพิ่มการละลายของ Fe(III) กรอง
25C กาหนดให้ Ksp ของ BaCO3 = 8.1 x 10-9 และน้าหนัก ของอะตอม ส่วนไม่ละลายทิ้ง จะได้สารละลายคอลลอยด์ที่มีสีแดงเข้มปริมาตร 100.00 cm3
Ba = 137, O = 16, C = 12 (PAT2 ต.ค. 53) จากนั้นนาสารละลายคอลลอยด์นี้ปริมาตร 1.00 cm3 ไปเจือจางด้วยน้า 20 เท่า
1. 8.1 x 10-7 แล้วทาการหาปริมาณของ Fe(III) ด้วยวิธีอะตอมมิกสเปกโตรโฟโตเมตตรี ได้ความ
2. 8.1 x 10-8 เข้มข้นของ Fe(III) เท่ากับ 5.60 ppm จงคานวณว่าเด็กซแตรนได้ละลาย Fe(III)
3. 1.62 x 10-9 เพิ่มขึ้นเป็นกี่เท่าเมื่อเทียบกับการละลายของ Fe(OH)3 ที่ pH 7
4. 8.1 x 10-11 กาหนดให้ ค่าคงที่สมดุลของการละลาย(Ksp) ของ Fe(OH)3 มีค่าเท่ากับ 2 x 10-39
และมวละตอมของเหล็กเท่ากับ 56 (PAT2 มี.ค. 54)
1. 1 x 1012
2. 5 x 1013
3. 5 x 1014
4. 1 x 1015

Page 57
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
17) ในการสังเคราะห์แอมโมเนีย จะทาการผ่านแก๊สไนโตรเจน ที่มีปริมาณมากเกินพอ 19) จากการศึกษาสมดุลของปฏิกิริยา A(g) + 3B(g) 2C(g) ได้ข้อมูลดังนี้
บนระบบที่มีตัวเร่งปฏิริยา สารที่ให้โปรตอน ตัวรีดิวซ์ ดังนี้ I. ทาการทดลองในภาชนะปริมาตร 10 cm3 ,อุณหภูมิ 300 K
II. ความดันเริ่มต้นของแก๊ส A, B, C เป็น 200 , 500, 0 mmHg
III. หลังจากการเกิดปฏิกิริยาจนเข้าสู่สมดุล พบว่าที่สมดุลความดันรวมของ
แก๊สเป็น 500 mmHg
จากข้อมูลนี้ ถ้าความดันเริ่มต้นของแก๊ส A, B, C เป็น 600, 800, 0 mmHg
ถ้าทั้งสองระบบ ทาการทดลองที่อุณหภูมิเดียวกัน ในเวลาเท่ากัน ตัวเร่งปฏิกิริยา ตามลาดับ หลังจากเกิดปฏิกิริยาจนเข้าสู่สมดุล พบว่าที่สมดุลความดันรวมของแก๊ส
ของระบบใด จะผลิตแอมโมเนียได้มากกว่า (PAT2 ต.ค. 54) เป็นเท่าใดในหน่วย mmHg (PAT2 ต.ค. 55)
1. ระบบ A 1. 1400
2. ระบบ B 2. 1200
3. ทั้งสองระบบผลิตได้เท่ากัน 3. 1000
4. ไม่สามารถตัดสินได้ 4. 800

20) พิจารณาสมดุลเคมีต่อไปนี้ (A, B, C, D และ E เป็นสารประกอบสมมติ)


18) จากการศึกษาสมดุลของปฏิกิริยาระหว่างสาร A กับสาร B ได้ผลิตภัณฑ์เป็น AB2 (1) D(g) + 1 B(g) A(g) K=x
2
พบว่าได้ข้อมูลดังตาราง (2) C(g) 2E(g) K=y
1
(3) D(g) + B(g) E(g) K=z
2
จากสมดุลข้างต้น ค่าคงที่สมดุลของ 2A(g) + 3B(g) 2C(g) คือข้อใด
(PAT2 มี.ค. 56)

1. z4
2 2
x y
จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดผิด (PAT2 ต.ค. 55) 2. z
xy
1. x = 1 x 10-10 , y = 0.5 x 10-10
2. ค่าคงที่ของสมดุลการสลายตัวของการสลายตัวของ AB2 มี ค่าเท่ากับ 1 x 10-10 3. z2
xy
3. ถ้าความเข้มข้นเริ่มต้นของสาร A มากกว่าสาร B ที่สมดุลจะมีสาร A และ B
4. z2
เหลืออยู่เล็กน้อย 2 2
x y
4. ถ้าความเข้มข้นเริ่มต้นของสาร A และ B เป็น 1 และ 2 M ตามลาดับที่สมดุล
จะมีสาร A และ B เหลืออยู่น้อยมาก

Page 58
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
21) พิจารณาสมดุลต่อไปนี้ 22) แก๊สผสม 3 ชนิด ถูกบรรจุในภาชนะปิดขนาด 1 ลูกบาศก์เดซิเมตรที่อุณหภูมิ 460
A(aq) + B(aq) C(aq) (สมการยังไม่ดุล) องศาเซลเซียส โดยเกิดสมดุลระหว่างแก๊สทั้ง 3 ชนิดดังสมการ
ทาการทดลองเพื่อหาค่าคงที่สมดุลที่อุณหภูมิต่างๆ พบว่าได้ข้อมูลดังตาราง H2(g) + I2(g) 2HI(g)
อุณหภูมิ ความเข้มข้นเริ่มต้นของ (M) ความเข้มข้นที่สมดุลอง (M) ทาการวัดปริมาณแก๊สแต่ละชนิด ณ ภาวะสมดุล พบว่ามีแก๊ส H2, I2 และ HI
อยู่ 0.5 โมล, 0.4 โมล และ 3.0 โมล ตามลาดับ หากเพิ่มอุณหภูมิของระบบสูงขึ้น
(C) A B C A B C
50 องศาเซลเซียส แล้วปล่อยให้ระบบเข้าสู่สมดุลอีกครั้ง
25 14 12 0 10 10 10
จงทานายแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงค่าคงที่สมดุล K และ จานวนโมลของแก๊ส
50 x y z 10 10 20
ผสมภายในภาชนะปิดนี้
จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 57) กาหนดให้ พลังงานพันธะของ H2 = 436 kJ/mol, I2 = 151 kJ/mol,
1. x = 18, y = 14, z = 0 HI = 297 kJ/mol (PAT2 ต.ค. 59)
2. อุณหภูมิที่สูงขึ้นมีผลทาให้พลังงานกระตุ้นลดต่าลง K จานวนโมลของแก๊สผสม
3. ค่าคงที่สมดุลที่ 50 C = 2 เท่าของค่าคงที่สมดุลที่ 25 C 1. เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น
4. สมการที่ดุลแล้วของปฏิกิริยานี้คือ A(aq) + B(aq) 5C(aq) 2. เพิ่มขึ้น ลดลง
3. ลดลง เพิ่มขึ้น
4. ลดลง เท่าเดิม
5. ลดลง ลดลง

23) ในสภาวะสารละลาย ไดโครเมตไอออนมีสีส้ม ส่วนโครเมตไอออนมีสีเหลือง ไอออน


สามารถเปลี่ยนไปมาหากันได้ผ่านสมดุลเคมี (สมการยังไม่ดุล)
Cr2O72-(ส้ม) CrO42- (เหลือง)
หากเตรียมสารละลายผสมสีส้มอมเหลืองของไดโครเมต-โครเมตไอออนในหลอด
ทดลอง โดยมีการเติมสารรบกวนต่อไปนี้
หลอดทดลอง ก เติมสารละลายกรดไฮโดรคลอริก
หลอดทดลอง ข เติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
หลอดทดลอง ค เติมสารละลายผสมระหว่างกรดแอซีติกและโซเดียมแอซีเตตที่
ความเข้มข้นของกรดแอซีติกเท่ากับของโซเดียมแอซีเตต
หลอดทดลองในข้อใดมีสีเหลืองมากขึ้น (PAT2 มี.ค. 60)
1. หลอด ข
2. หลอด ก และ ข
3. หลอด ก และ ค
4. หลอด ข และ ค
5. ทั้งสามหลอด

Page 59
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
24) ที่ STP นาแก๊ส A ปริมาตร 5 dm3 มาผสมกันกับ O2 ปริมาตร 3 dm3 จนเข้าสู่
สมดุลดังสมการ
2A(g) + O2(g) 2AO(g)
พบว่าแก๊สผสมมีปริมาตรรวมในภาชนะเป็น 6 dm3
จงหาค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยานี้ ณ อุณหภูมิที่โจทย์กาหนด (PAT2 มี.ค. 60)
1. (4/9) x 22.4
2. (2/3) x 22.4
3. 16 x 22.4
4. 24 x 22.4
5. 96 x 22.4

เฉลย 1. 1 2. 4 3. 3 4. 4 5. 4 6. 1
7. 4 8. 3 9. 2 10. 1 11. 2 12. 4
13. 1 14. 1 15. 2 16. 2 17. 3 18. 2
19. 3 20. 1 21. 1 22. 4 23. 1 24. 5

Page 60
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
3) เมื่อนาสารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.30 โมลาร์ ผสมกับสารละลายเบส NH3
ตัวอย่างข้อสอบ เคมี เข้มข้น 0.20 โมลาร์ ที่มีปริมาตรต่างดังตาราง
ตาราง ปริมาตรสารละลาย HCl และ NH3 ที่ใช้ผสมกัน 4 ครั้ง
บทที่ 8 กรดเบส
1) สารละลายกรด HCl เข้มข้นร้อยละ 0.10 โดยมวล มีความหนาแน่น 1.10
กรัม/มิลลิลิตร จานวน 100 มิลลิลิตร มี pH เป็นเท่าใด (PAT2 มี.ค. 52)
1. 1.52
2. 2.48
3. 2.52
4. 3.48
หลังจากเกิดปฏิกิริยาสมบูรณ์แล้ว ข้อใดได้เป็นสารละลายบัฟเฟอร์
(PAT2 มี.ค. 52)
1. ข้อ 1
2. ข้อ 2
2. ข้อ 3
4. ข้อ 4

2) มีสารละลายกรด 2 ชนิดผสมกันอยู่ คือ กรด H2SO4 เข้มข้น 0.1 โมลาร์ ปริมาตร 4) ปฏิกิริยาในข้อที่เมื่อเกิดปฏิกิริยาสมบูรณ์ จะได้เกลือซึ่งเมื่อเกิดไฮโดรลิซิสแล้วได้
60 มิลลิลิตร และ กรด HCl เข้มข้น 0.2 โมลาร์ ปริมาตร 50 มิลลิลิตร จะต้องเติม สารละลายมีฤทธิ์เป็นกรด (PAT2 มี.ค. 52)
สารละลายเบส NaOH ที่มีความเข้มข้น 0.4 โมลาร์ จานวนเท่าใดจึงจะทาปฏิกิริยา 1. 0.50 โมลาร์ HCN ปริมาตร 200 มิลลิลิตร + 0.50 โมลาร์
พอดีกับกรดผสมทั้งหมดนั้น (PAT2 มี.ค. 52) NH3 ปริมาตร 200 มิลลิลิตร
1. 40 มิลลิลิตร 2. 0.20 โมลาร์ HCl ปริมาตร 200 มิลลิลิตร + 0.10 โมลาร์
2. 45 มิลลิลิตร NaOH ปริมาตร 400 มิลลิลิตร
3. 50 มิลลิลิตร 3. 0.40 โมลาร์ HNO3 ปริมาตร 100 มิลลิลิตร + 0.10 โมลาร์
4. 55 มิลลิลิตร NH3 ปริมาตร 400 มิลลิลิตร
4. 0.10 โมลาร์ CH3COOH ปริมาตร 200 มิลลิลิตร + 0.20 โมลาร์
NaOH ปริมาตร 100 มิลลิลิตร

Page 61
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
5) สารละลายกรดอ่อน HA เข้มข้น 0.1 โมลาร์ มี pH 3.0 ถ้านาสารละลายกรดอ่อน 7) HCN เป็นกรดอ่อน มีค่า Ka = 5.0 x 10-10 สารละลายกรด HCN จานวน 0.005
ดังกล่าว 100 มิลลิลิตร เติมน้า 900 มิลลิลิตร จะได้สารละลายเจือจางที่มี pH โมล ในน้า 500 มิลลิลิตร มีการแตกตัวและเกิดสมดุลของกรดอ่อนดังสมการ
เท่าใด (PAT2 ก.ค. 52) HCN(aq) + H2O(l) H3O+(aq) + CN-(aq)
1. 2.5 ในขณะที่กาลังสมดุล เติมเกลือ KCN ลงไป 0.005 โมล จะได้สารละลายมี pH
2. 3.5 เท่าใด (PAT2 ก.ค. 52)
3. 4.0 1. 6.8
4. 4.5 2. 7.2
3. 8.5
4. 9.3

6) เมื่อเติมครีซอลเรด (cresol red) ลงในสารละลายเบส NH3 เข้มข้น 0.20 โมลาร์จะ


ได้สารละลายสีอะไร
กาหนดให้ ครีซอลเรด มีช่วงการเปลี่ยนสีระหว่าง สีเหลือง – สีแดง 8) ข้อใดไม่ใช่ปฏิกิริยาระหว่างกรด เบส (PAT2 ต.ค. 52)
ที่ pH 7.2 – 8.8 NH3 มีค่า Kb = 2.0 x 10-5 1. NaH + H2O  NaOH + H2
(PAT2 ก.ค. 52) 2. Na + H2O  NaOH + H2
1. เหลือง 3. Co2+ + H2O  [Co(H2O)6]2-
2. ส้ม 4. มีคาตอบมากกว่า 1 ข้อ
3. แดง
4. ไม่มีสี

Page 62
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
9) กรดอ่อนชนิดหนึ่งมีค่าคงที่การแตกตัวเท่ากับ 10-6 และมีความเข้มข้นประมาณ 11) ข้อความใดไม่ถูก (PAT2 ต.ค. 52)
0.02 โมลาร์ เมื่อนามาไทเทรตด้วยสารละลาย NaOH ที่มีความเข้มข้นเท่ากัน ควร 1. สารละลายผสม HCl 0.10 โมลาร์ และ KCN 0.30 โมลาร์ เป็นบัฟเฟอร์
จะเลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่มีค่า pK1 ประมาณเท่าไร (PAT2 ต.ค. 52) 2. สารละลายผสม HF 0.10 โมลาร์ และ NaF 0.30 โมลาร์ ไม่เป็นบัฟเฟอร์
1. 6 3. สารละลายผสม NH3 0.15 โมลาร์ และ NH4Br 0.35 โมลาร์ มี pH เท่ากับ
2. 8 8.88
3. 9 4. CH3COOHNa 2.0 โมลาร์ ผสมกับ CH3COOH 2.0 โมลาร์ เป็นบัฟเฟอร์ที่
4. 10 ดีกว่า CH3COOHNa 1.0 โมลาร์ ผสมกับ CH3COOH 1.0 โมลาร์

10) สารละลายผสมที่มีความเป็นกรดสูงที่สุดคือข้อใด (PAT2 ต.ค. 52) 12) ตารางแสดงค่าคงที่การแตกตัวของกรด


1. 0.10 M NaOH + 0.10 M HCl ชื่อสาร Ka
2. 0.10 M KCN + 0.10 M HCl HSO4- 1.2 x 10-2
3. 0.10 M NaOH + 0.10 M HCN HNO2 4.5 x 10-4
4. 0.10 M KCN + 0.10 M NH4OH CH3COOH 1.8 x 10-5
NH4+ 6.0 x 10-10

ข้อใดเรียงลาดับความแรงของคู่เบสของสารในตารางได้ถูกต้อง (PAT2 มี.ค. 53)


1. SO42-  NO2-  CH3COO-  NH3
2. NH3  CH3COO-  NO2-  SO42-
3. H2SO4  NO2-  CH3COO-  NH52+
4. NH52+  CH3COO-  NO2-  H2SO4

Page 63
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
13) ไทเทรตสารละลายกรดแอซิติก (CH3COOH) เข้มข้น 0.2 โมลาร์ ปริมาตร 15.00 15) กรดแตกตัวครั้งเดียว 4 ชนิดได้แก่ A B C และ D มีความเข้มข้นเท่ากัน แตกตัวให้
มิลลิลิตร ด้วยสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.1 โมลาร์ ปริมาตร 20.00 มิลลิลิตร H3O+ เข้มข้น 1.5 x 10-3, 6.5 x 10-4, 4.0 x 10-5 และ 5.5 x 10-6 โมลาร์
สารละลายผสมที่ได้คือข้อใด (กาหนด Ka ของ CH3COOH ที่ 25C = 1.8 x 10-5, ตามลาดับ ข้อใดเรียงลาดับค่า pKa ถูกต้อง และคู่เบสของสารใดเป็นเบสแรงที่สุด
log0.5 = -0.301, log1.5 = 0.176, log1.8 = 0.255) (PAT2 มี.ค. 53) (PAT2 ก.ค. 53)
1. สารละลายกรด pH 3.150 1. A  B  C  D และคู่เบสของ A เป็นเบสแรงที่สุด
2. สารละลายบัฟเฟอร์ pH 4.921 2. A  B  C  D และคู่เบสของ D เป็นเบสแรงที่สุด
3. สารละลายบัฟเฟอร์ pH 5.046 3. D  C  B  A และคู่เบสของ A เป็นเบสแรงที่สุด
4. สารละลายเบส pH 8.751 4. D  C  B  A และคู่เบสของ D เป็นเบสแรงที่สุด

14) เกลือในข้อใดละลายน้าแล้วได้สารละลายที่เป็นเบสทั้งหมด (PAT2 มี.ค. 53) 16) HA เป็นกรดอ่อนเข้มข้น 0.1 โมลาร์ pH เท่ากับ 5.0 สาร x เป็นกรดอ่อนแตกตัว
1. CH3COONa NaCN KNO2 ครั้งเดียวอีกชนิดหนึ่ง มีค่า Ka เป็น 10 เท่าของ Ka ของกรด HA สารละลาย x
2. NaCl NaCN KNO2 เข้มข้น 0.01 โมลาร์ มีค่า pH เท่าใด (PAT2 ก.ค. 53)
3. NH4Cl CH3COONa CH3COONH4 1. 3
4. NaCN NH4Cl KNO2 2. 4
3. 5
4. 6

Page 64
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
17) ตัวแปรคู่ใดของสารละลายกรด ที่มีความสัมพันธ์เป็นกราฟเส้นตรง (เมื่อ C คือ 19) ตารางผลการไทเทรตระหว่างสารละลายตัวอย่าง Ba(OH)2 ปริมาตร 25.00
ความเข้มข้นของสารละลายกรด) (PAT2 ก.ค. 53) มิลลิลิตร กับสารละลายมาตรฐาน HCl เข้มข้น 0.10 โมลาร์ มีฟินอล์ฟทาลีนเป็น
1. 1 และ ร้อยละการแตกตัว อินดิเคเตอร์
C ปริมาตรที่อ่านได้จากบิวเรต
2. Ka และ ร้อยละการแตกตัว การไทเทรตครั้งที่ (มิลลิลิตร)
3. 1 และ ความเข้มข้นของ H+ ก่อนไทเทรต หลังไทเทรต
C
4. pH และ pKa 1 1.00 40.95
2 2.00 42.05

ความเข้นข้นของ Ba(OH)2 เท่ากับกี่โมลาร์ (PAT2 ต.ค. 53)


1. 0.08
2. 0.13
3. 0.16
4. 0.25

18) ตัวอย่างน้าส้มสายชู 2.00 มิลลิลิตร เมื่อไทเทรตด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น


20) ข้อใดเรียงลาดับความแรงของกรดได้ถูกต้อง (PAT2 ต.ค. 53)
0.1M พบว่าต้องใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์ 6.0 มิลลิลิตร ปริมาณกรดแอซิติกใน
1. HClO  HClO2  HClO3  HClO4
ตัวอย่างเท่ากับกี่กรัมต่อลิตร (PAT2 ต.ค. 53)
1. 18 2. HIO4  HIO3  HBrO3  HClO3
2. 9 3. H2O  H2S  H2Se  H2Te
3. 5 4. ถูกทุกข้อ
4. 3

Page 65
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
21) H2A เป็นกรดอ่อนเข้มข้น 0.10 โมลาร์ มี pH เท่ากับ 4.5 และความเข้มข้นของ A2- 23) นาโพแทสเซียมไฮโดรเจนทาเลต (KC8H5O4) 2.04 กรัม ละลายในน้า 100.00 cm3
เท่ากับ 10-12 โมลาร์ ดังนั้น Ka1 แตกต่างจากค่า Ka2 กี่เท่า (PAT2 ต.ค. 53) นาสารละลายนี้ 25.00 cm3 ไปไตเตรตกับสารละลาย NaOH พบว่าที่จุดยุติ
1. 100,000 ปริมาตรของสารละลาย NaOH ที่ใช้เป็น 20.00 cm3 นาสารละลาย NaOH นี้ไป
2. 10,000 ไตเตรตกับสารละลายกรดแอซิติก 25.00 cm3 พบว่าที่จุดยุติปริมาตรของสารละลาย
3. 1,000 NaOH ที่ใช้เป็น 20.00 cm3 ระหว่างการไตเตรตกรดแอซิติกนี้ได้ติดตาม pH ของ
4. 100 สารละลายจะต้องเติมสารละลาย NaOH เท่าใดในหน่วย cm3 สารละลายจึงมี pH
เท่ากับ 4.263 (โพแทสเซียมไฮโดรเจนทาเลตเป็นกรดอ่อนที่แตกตัวได้ 1 ครั้งในน้า,
ค่า pKa ของกรดแอซิติก = 4.74, มวลอะตอม H = 1, C = 12, O = 16, K = 39,
log 2 = 0.301, log 3 = 0.477) (PAT2 มี.ค. 54)
1. 5.000
2. 10.00
3. 15.00
4 20.00

22) หยดกรด H2SO4 เข้มข้นลงไปบนผง CaCO3 พบว่าเกิดแก๊ส CO2 แล้วผ่านแก๊สนี้ลง


ไปในน้าปริมาตร 1.0 dm3 ค่าการละลายของ CO2 ในน้ามีค่าเท่ากับ 1.1 g/dm3 ค่า
pH ของสารละลายนี้เป็นเท่าใด (Ka ของ H2CO3 = 4.0 x 10-7, มวลอะตอม H=1, 24) ในการทาอิเล็กโทรลิซิสของสารละลาย KI 0.100 mol/dm3 ปริมาตร 50.00 cm3
C=12, O=16) (PAT2 มี.ค. 54) ขณะที่สารละลายมีค่า pH เท่ากับ 9 ความเข้มข้นของ I3- ในสารละลายนี้มีค่ากี่
1. 3.0 mol/dm3
2. 4.0 กาหนดให้
3. 5.0 I2 + I- I3- K = 990
4. 6.0 (PAT2 มี.ค. 54)
1. 4.93 x 10-6
2. 4.95 x 10-6
3. 4.97 x 10-6
4. 5.00 x 10-6

Page 66
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
25) กรดอ่อนโมโนโปรติกชนิดหนึ่งข้น 0.5 M นากรดอ่อนนี้มา 30 cm3 ไตรเตรตกับ 27) นากรดอ่อน H2A ปริมาตร 20 cm3 มาไทเทรตกับสารละลายเบส 2 ชนิดคือ NaOH
สารละลาย NaOH ข้น 1 M ปริมาตร 10 cm3 พบว่า pH ของสารละลายมีค่า และ Ba(OH)2 เข้มข้น 0.8 M เท่ากัน พบว่าได้ข้อมูลดังตาราง
เท่ากับ 4.523 ค่า Ka ของกรดอ่อนนี้มีค่าเท่าใด (log 2 = 0.301, log 3 = 0.477,
log 5 = 0699) (PAT2 ต.ค. 54)
1. 1.8 x 105
2. 3.0 x 10-5
3. 6.0 x 10-5
4. 7.5 x 10-5
(กาหนดให้ log 2 = 0.3,log 3 = 0.5)
ค่า Ka2 ของกรดนี้มีค่าเท่าใด (PAT2 ต.ค. 55)
1. 1 x 10-9
2. 2 x 10-12
3. 2 x 10-5
4. 1 x 10-5

26) สมศรีทาการทดลองเพื่อหามวลโมเลกุลของกรดอ่อน HA ดังรายละเอียดต่อไปนี้


ก. นากรดอ่อน HA หนัก 15 กรัม มาเติมน้ากลั่น แล้วปรับปริมาตรเป็น
100 cm3 วัด pH ของสารละลายกรดนี้ ได้เท่ากับ 3
ข. นาสารละลายนี้ปริมาตร 20 cm3 ไปไตเตรตกับสารละลาย NaOH เข้มข้น
28) พิจารณา pH ของสารละลายเกลือโซเดียมเข้มข้น 1 M ของกรดอ่อน HA, HB, HC
0.40 M
และ HD ในตารางต่อไปนี้
ค. ติดตาม pH ของสารละลายขณะไตเตรตด้วย pH meter หลังจากเติม
สารละลาย NaOH 40 cm3 pH ของสารละลายนี้เปลี่ยนเป็น 6.602
มวลโมเลกุลของกรดนี้เป็นเท่าใด (ให้ log2 = 0.301, log3 = 0.477,log5 = 0.699 )
(PAT2 มี.ค. 55)
1. 75
2. 150
3. 175
4. 300 จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดถูก (กาหนดให้ log2 = 0.3, log3 = 0.5) (PAT2 ต.ค. 55)
1. ค่า Ka ของ HA มีค่าน้อยสุด
2. ค่า Ka ของ HD มีค่ามากกว่า 2 x 10-9
3. สารละลายกรดอ่อน HB 0.25 M แตกตัวเป็นไอออนได้ร้อย 0.02
4. ไทเทรตสารละลายกรดอ่อน HC 0.5 M ปริมาตร 20 cm3 กับสารละลาย
NaOH 0.5 M ได้ pH ทีจ่ ุดสมมูลเท่ากับ 11.3

Page 67
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
29) กรดอ่อน H2A มีค่า Ka1 = 5 x 10-2 และ Ka2 = 1.2 x 10-5 ถ้านากรดอ่อนนี้เข้มข้น 31) ในการไทเทรตหาความเข้มข้นของโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต(KMnO4) สามารถ
0.5 M ปริมาตร 20 cm3 มาไทเทรตกับสารละลาย NaOH เข้มข้น 1.0 M พบว่ามี หาได้โดยทาปฏิกิริยากับสารละลายที่ทราบความเข้มข้นแน่นอนและไม่สลายตัว เช่น
การเปลี่ยนแปลงของค่า pH ดังนี้ กรดออกซาเลต(H2C2O4)
ปริมาตรของสารละลาย NaOH(cm3) pH นาสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตใส่ในบิวเรต และใช้ปิเปตดูด
5 x1 สารละลายกรดออกซาเลตความเข้มข้น 0.50 mol/dm3 ปริมาตร 10.00 cm3 ลงใน
10 x2 ขวดรูปกรวยและเติมกรดซัลฟิวริก 3 mol/dm3 ปริมาตร 20 cm3 แล้วอุ่นสารละลาย
15 x3 ในขวดรูปกรวยที่อุณหภูมิ 82C
ค่าของ x1, x2 และ x3 คือข้อใด ตามลาดับ (กาหนดให้ log2 = 0.3, log3 = 0.5) จากนั้นทาการไทเทรตขณะร้อน โดยเริ่มปล่อยสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมง
(PAT2 มี.ค. 56) กาเนตลงในขวดรูปกรวย และเขย่าขวดรูปกรวยเพื่อสารละลายทั้งสองทาปฏิกิริยา
1. 1.0, 2.7, 4.9 สมบูรณ์ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และ Mn(II) เป็นผลิตภัณฑ์
2. 1.3, 2.6, 4.9 ระหว่างการทดลอง สารละลายโพแพสเซียมเปอร์แมงกาเนตกระเด็นไปเกาะคอ
3. 1.3, 2.7, 4.9 ขวดรูปกรวย แล้วมีการฉีดน้ากลั่นหลายครั้ง รวมแล้วเท่ากับ 15 cm3 เพื่อให้
4. 1.3, 2.6, 5.0 โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตที่เกาะที่คอขวดลงไป
ถ้ากาหนดให้สารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตมีความเข้มข้น 0.2
mol/dm3 ในการไทเทรตครั้งนี้จะใช้ปริมาตรของโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตกี่
ลูกบาศก์เซนติเมตร (PAT2 มี.ค. 56)
1. 5.00
2. 8.50
3. 10.00
4. 17.50

30) นาของผสมระหว่าง Na2A และ NaOH มาละลายในน้าแล้วปรับปริมาตรให้เป็น


100.00 cm3 หลังจากนั้นนาสารละลายที่ได้ปริมาตร 20.00 cm3 ใส่ในขวดรูปกรวย
เติมอินดิเคเตอร์ แล้วนาไปไทเทรตกับสารละลาย HCl เข้มข้น 0.4 M ได้ข้อมูลดัง
ตาราง 32) กรดอ่อน H2A มีค่า Ka1 = 1.00 x 10-2 และ Ka2 = 1.00 x 10-9 ถ้านากรดอ่อน
ชนิดนี้เข้มข้น 1.000 M ปริมาตร 20.00 cm3 มาไตเตรตด้วยสารละลาย NaOH
เข้มข้น 0.5000 M ระหว่างการไตเตรตมีการติดตาม pH ของสารละลายกรดอ่อนนี้
ด้วย pH meter พบว่าได้ผลดังนี้
ปริมาตรของสารละลาย NaOH(cm3) pH ของสารละลาย
0 A
Na2A เป็นเกลือของกรดอ่อน H2A ที่มี Ka1 = 4.4 x 10-7 และ Ka2 = 5.0 x 10-11 B 2
ข้อมูลของอินดิเคเตอร์ที่ใช้เป็นดังตารางต่อไปนี้ 50 C
80 D
กาหนดให้ log 2 = 0.15, log 3 = 0.24, log2 = 0.30, log3 = 0.48
ค่าของ A, B, C, D คือข้อใด ตามลาดับ (PAT2 มี.ค. 57)
จานวนโมลของ Na2A และ NaOH ในของผสมเป็นเท่าใด ตามลาดับ ค่าของ
(PAT2 มี.ค. 56) A B(cm3) C D
1. 0.01, 0.01 1. 1 20.00 9 11.00
2. 0.025, 0.05 2. 2 10.00 9.48 11.24
3. 0.05, 0.05 3. 1 20.00 8.52 11.15
4. 0.005, 0.01 4. 2 10.00 2 11.48

Page 68
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
33) กรดโมโนโปรติก 2 ชนิดมีค่า Ka ดังนี้ 35) จากข้อมูลในข้อ 34. ข้อใดผิดเกี่ยวกับสมบัติของ [M(H2O)6]n+ (PAT2 เม.ย. 57)
HA1 : Ka = 1 x 10-5 1. ขนาดของ Mn+ ไม่มีผลต่อค่า Ka
HA2 : Ka = 8 x 10-9 2. ประจุของ M เป็นบวกมาก Ka ยิ่งมีค่ามาก
นากรดทั้ง 2 ชนิด ชนิดละ 10.00 cm3 มาผสมกัน แล้วเติมน้ากลั่น 10.00 cm3 นา 3. ประจุของ M เป็นบวกมาก จะแตกตัวได้ดีขึ้น
สารละลายที่ได้มาไตเตรตกับสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.10 M พบว่าได้จุดยุติที่ 4. แรงดึงดูดระหว่าง Mn+ และ H2O มีผลต่อค่า Ka
pH 8.699 และ 10.398 ตามลาดับ ข้อใดถูก (log 2 = 0.301, log 3 = 0.477)
(PAT2 เม.ย. 57)
1. HA2 จะถูกไตเตรทก่อน HA1
2. ความเข้นข้นของ HA1  HA2
3. ปริมาตรทั้งหมดของสารละลาย NaOH ที่ใช้ในการไตเตรตเท่ากับ 50 cm3
4. หลักจากเติมสารละลาย NaOH ไป 5.00 cm3 ในการไตเตรต pH ของ
สารละลายเป็น 8.398

34) เกลือของโลหะแทรนซิชันเมื่อละลายน้า มักได้สารละลายที่เป็นกรด เนื่องจาก


[M(H2O)6]n+ ซึ่งเป็นสารเชิงซ้อนระหว่าง Mn+ กับ H2O นั้นสามารถให้โปรตอนได้ดัง 36) นักเรียนคนหนึ่งนากรดอ่อน HA และ เบสอ่อน BOH ที่มีปริมาตรและความเข้มข้น
สมดุล เท่ากัน มาผสมกัน โดยเขาทราบข้อมูลต่อไปนี้
[M(H2O)6]n+ + H2O [M(H2O)5(OH)](n-1)+ + H3O+ I. Ka ของกรดอ่อน
ค่า pKa ของสารเชิงซ้อนของไอออนของโลหะ M1, M2 และ M3 เป็นดังตาราง II. Kb ของเบสอ่อน
สารเชิงซ้อน pKa III. ปริมาตรของกรดอ่อนและเบสอ่อน
[M1(H2O)6]3+ 3 IV. ความเข้มข้นของกรดอ่อนและเบสอ่อน
[M1(H2O)6] 2+
11 ข้อมูลใดข้างต้นไม่จาเป็นต่อการคานวณ pH ของสารละลาย (PAT2 พ.ย. 57)
[M2(H2O)6]2+ 12 1. I
[M3(H2O)6] 2+
10 2. I และ II
นักเรียนคนหนึ่งเตรียมสารละลายของไอออนเชิงซ้อนเหล่านี้ความเข้มข้น 1 M 3. III
เท่ากันในขวดวัดปริมาตรขนาด 100 cm3 นักเรียนผู้นี้ปิเปตสารละลายจากขวดหนึ่ง 4. III และ IV
ปริมาตร 10 cm3 ลงในขวดวัดปริมาตรขนาด 100 cm3 อีกขวดหนึ่ง แล้วเติมน้าเพื่อ
ทาให้มีปริมาตรสุดท้ายเป็น 100 cm3 วัด pH ของสารละลายพบว่ามี pH เป็น 6
สารละลายนี้มีไอออนเชิงซ้อนใดละลายอยู่ (PAT2 เม.ย. 57)
1. [M1(H2O)6]3+
2. [M1(H2O)6]2+
3. [M2(H2O)6]2+
4. [M3(H2O)6]2+

Page 69
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
37) ในการหาปริมาณกรดซิตริก(C3H5O(COOH)3) ในน้าผลไม้ ทาได้โดยนาน้าผลไม้มา 39) NH3 เป็นแก๊สที่ละลายน้าได้ดี และเกิดปฏิกิริยากับสารละลาย HCl ได้ดังสมการ
ไทเทรตกับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ซึ่งขั้นตอนต่างๆ มีดังนี้ NH3(g) + HCl(aq)  NH4Cl(aq)
I. หาความเข้มข้นของสารละลาย NaOH โดยใช้สารละลายโพแทสเซียม- ถ้านาแก๊ส NH3 3.4 กรัม ทาปฏิกิริยากับสารละลาย HCl เข้มข้น 0.20 mol/dm3
ไฮโดรเจนพทาเลต(KHP,C6H4(COOH)(COO-K+)) ปริมาตร 500 cm3 โดยที่แก๊ส NH3 ไม่ทาให้ปริมาตรของสารละลายเปลี่ยนแปลง
II. เลือกใช้อินดิเคเตอร์เป็นฟีนอล์ฟทาลีน หลังจากเกิดปฏิกิริยาสมบูรณ์ สารละลายมี pH เท่าใด
III. ไทเทรตน้าผลไม้ด้วยสารละลาย NaOH (ให้ Kb ของ NH3 = 2 x 10-5, log 2 = 0.3, log 3 = 0.5 และมวลอะตอมของ
หาปริมาณกรดซิตริกในน้าผลไม้ชนิดหนึ่งได้ข้อมูลดังตาราง N = 14, H = 1, Cl = 35.5) (PAT2 ต.ค. 59)
1. 4.7
2. 5.0
3. 5.2
4. 9.0
5. 9.3

ปริมาณกรดซิตริกในน้าผลไม้มีความเข้มข้นเท่าใด
(มวลอะตอม C = 12, H = 1, O = 16, K = 39) (PAT2 พ.ย. 57)
1. 0.01 M
2. 0.04 M
3. 384 mg / 100cm3
4. 1.152 g / 100 cm3

40) กรดอ่อนโมโนโปรติก 3 ชนิด HA1, HA2 และ HA3 นากรดแต่ละชนิดความเข้มข้น


0.5 mol/dm3 ปริมาตร 250 cm3 มาเติมสารละลาย NaOH ความเข้มข้น 0.5
mol/dm3 ปริมาตร 250 cm3 พบว่าได้สารละลายที่มี pH ดังนี้

38) พิจารณาดุลของการเกิดสารประกอบเชิงซ้อน
Mn+(aq) + 6L(aq) [ML6]n+(aq) K = ค่าคงที่สมดุล
ค่าคงที่สมดุลของการเกิดสารประกอบเชิงซ้อนแสดงในตารางต่อไปนี้ (โดยที่ M และ
M เป็นโลหะต่างชนิดกัน)
ค่า Ka ของกรดอ่อน HA1, HA2 และ HA3 มีค่าเป็นเท่าใดตามลาดับ
(ให้ log 2 = 0.3, log 3 = 0.5) (PAT2 ต.ค. 59)
1. 1 x 10-8, 1 x 10-4, 1 x 10-6
2. 2 x 10-8, 2 x 10-4, 2 x 10-6
3. 1 x 10-9, 1 x 10-5, 1 x 10-7
ถ้า K1  K2 และ K4  K3 ข้อใดถูก (PAT2 พ.ย. 57) 4. 2 x 10-9, 2 x 10-5, 2 x 10-7
1. NH3 เป็นหมู่ที่ให้อิเล็กตรอนดีกว่า H2O 5. 4 x 10-9, 4 x 10-5, 4 x 10-7
2. ความแข็งแรงของพันธะ M2+ -N น้อยกว่า M2+ -O
3. โลหะที่มีเลขออกซิเดชันสูงกว่ามักเกิดพันธะกับ N มากกว่า O
4. [M(NH3)6]3+(aq) + 2H2O(l) [M(H2O)2(NH3)4]2+(aq) + 2NH3(aq)
มีค่า K น้อยกว่า
[M(H2O)6]3+(aq) + 2NH3(aq) [M(H2O)4(NH3)2]2+(aq) + 2H2O(l)

Page 70
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
41) ทาการไทเทรตหาความเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ปริมาตร 20.00 42) พิจารณาการเกิดแก๊ส E จากสารตั้งต้น A และ D ดังนี้
cm3 ด้วยการเติมสารละลายแอมโมเนีย 0.300 mol/dm3 ลงไปทาปฏิกิริยา พบว่า A(s) + D(l)  E(g) (ปฏิกิริยาเกิดสมบูรณ์)
การไทเทรตถึงจุดสมมูลเมื่อปริมาตรรวมของสารละลายในขวดรูปชมพู่เท่ากับ 30.00 ผ่านแก๊สที่เกิดขึ้นทั้งหมดลงน้าปริมาตร 100.00 cm3 ได้สารละลายกรดแก่ที่เป็นมอ
cm3 พิจารณาข้อสรุปต่อไปนี้ โนโปรติก (การผ่านแก๊ส E ลงน้าไม่ทาให้ปริมาตรของน้าเปลี่ยน และแก๊ส E ละลาย
ก. สาระลายที่จุดสมมูล เปลี่ยนสีกระดาษลลิตมัสจากน้าเงินเป็นแดง ได้ดีมากในน้า) นาสารละลายนี้ปริมาตร 50.00 cm3 ไปไทเทรตกับสารละลาย
ข. ความเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโดรคลอริก มีค่า 0.450 mol/dm3 NaOH เข้มข้น 1.0 M พบว่าที่จุดสมมูลใช้สารละลาย NaOH ดังข้อมูลในตาราง
ค. ในการไทเทรต ควรเลือกใช้ฟีนอล์ฟทาลีน (ช่วง pH 8.3-10.0) ต่อไปนี้
เป็นอินดิเคเตอร์
จากข้อสรุป ก, ข และ ค ที่กาหนดให้ ตัวเลือกข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
(PAT2 ต.ค. 59)
1. มีข้อถูกเพียงข้อเดียว
2. ข้อ ก และ ข ถูก
3. ข้อ ก และ ค ถูก
4. ข้อ ข และ ค ถูก
5. ถูกทั้ง ก ข และ ค

จากข้อมูลข้างต้น สมการที่ดุลแล้วของปฏิกิริยานี้คือข้อใด (PAT2 มี.ค. 60)


1. A + 3D  E
2. A + 3D  4E
3. 2A + D  4E
4. 2A + 5D  4E
5. 3A + 6D  4E

43) จากข้อมูลในข้อ 42 ถ้าเริ่มต้นด้วยสาร A 0.50 โมล และสาร D 0.75 โมล


ต้องใช้สารละลาย NaOH กี่ลูกบาศก์เซนติเมตรในการไทเทรต (PAT2 มี.ค. 60)
1. 125
2. 250
3. 300
4. 500
5. 600

Page 71
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
44) เกลือโซเดียมของกรดอ่อนมีสูตรเคมีเป็น Na2A, NaD, NaE, Na2G และ NaJ 45) จากข้อมูลในข้อ 44 ข้อใดถูกเกี่ยวกับค่า pH ที่จุดสมมูลของ NaD, NaE และ NaJ
(A, D, E, G และ J เป็นไอออนลบที่ได้จากการแตกตัวอย่างสมบูรณ์ของกรดอ่อน) (ให้ log 2 = 0.3, log 3 = 0.5, log 5 = 0.7) (PAT2 มี.ค. 60)
นาสารละลายเกลือแต่ละชนิด เข้มข้น 0.1 M ปริมาตร 50.00 cm3 ใส่ในขวดรูป 1. NaD  NaE  NaJ
กรวย เติมน้า 50.00 cm3 แล้วเติมอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมลงไป หลังจากนั้นนาไป 2. NaD  NaJ  NaE
ไทเทรตกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.2 M หลังจากเติมกรดไป 12.50 3. NaE  NaD  NaJ
cm3 วัด pH ของสารละลาย ได้ผลดังข้อมูลในตาราง 4. NaE  NaJ  NaD
5. NaJ  NaE  NaD

พิจารณาข้อสรุปต่อไปนี้ (ให้ log 2 = 0.3, log 3 = 0.5, log 5 = 0.7)


ก. Ka ของ HJ  HD  HE
ข. Ka2 H2G  H2A
ค. Ka ของ HE มากกว่า Ka2 ของ H2A
ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 60)
1. มีข้อถูกเพียงข้อเดียว
2. ข้อ ก และ ข ถูก
3. ข้อ ก และ ค ถูก
4. ข้อ ข และ ค ถูก
5. ถูกทั้งข้อ ก ข และ ค

Page 72
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
46) ในการไทเทรตหาปริมาณตัวอย่างของผสมระหว่าง Na2CO3 และ NaHCO3 ด้วย
กรดไฮโดรคลอริก พบว่ากราฟของการไทเทรตเป็นดังรูป ซึ่งแสดงถึงการเกิดจุด
สมมูล 2 ตาแหน่ง จากสองปฏิกิริยาเคมีที่แตกต่างกัน

และจากข้อมูลช่วงการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ต่อไปนี้

พิจารณาข้อสรุปต่อไปนี้
ก. อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมที่สุดต่อการบอกจุดยุติแรก ในการไทเทรตของผสม
ได้แก่ ฟีนอล์ฟทาลีน
ข. อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมที่สุดต่อการบอกจุดยุติที่สอง ในการไทเทรตของ
ผสมได้แก่ เมทิลออเรนจ์
ค. จากกราฟของการไทเทรต อัตราส่วนโดยโมลของ Na2CO3 และ NaHCO3
ในของผสมควรมีค่าเป็น 1 : 2
ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 60)
1. มีข้อถูกเพียงข้อเดียว
2. ข้อ ก และ ข ถูก
3. ข้อ ก และ ค ถูก
4. ข้อ ข และ ค ถูก
5. ถูกทั้ง ก ข และ ค

เฉลย 1. 1 2. 4 3. 4 4. 3 5. 3 6. 3
7. 4 8. 3 9. 3 10. 2 11. 2 12. 2
13. 3 14. 1 15. 4 16. 3 17. 1 18. 1
19. 1 20. - 21. 2 22. 2 23. 1 24. 2
25. 3 26. 2 27. 1 28. 3 29. 3 30. 2
31. 3 32. 3 33. 2 34. 2 35. 1 36. 4
37. 3 38. 4 39. 5 40. 1 41. 1 42. 4
43. 3 44. 3 45. 3 46. 2

Page 73
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
3) ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐานมีดังนี้
ตัวอย่างข้อสอบ เคมี Ni2+(aq) + 2e-  Ni(s) E0 = -0.25 V
O2(g) + 2H (aq) + 2e  H2O2(aq)
+ -
E0 = +0.68 V
บทที่ 9 ไฟฟ้าเคมี Ag+(aq) + e-  Ag(s) E0 = +0.80 V
1) ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐานมีดังนี้ การสลายตัวของ H2O2 ไปเป็น O2 เกิดขึ้นเองได้เมื่อใด (PAT2 ก.ค. 52)
Zn2+(aq) + 2e-  Zn(s) E0 = -0.76 V 1. เมื่อสัมผัสกับโลหะ Ag
Cu2+(aq) + 2e-  Cu(s) E0 = +0.34 V 2. เมื่อสัมผัสกับโลหะ Ni
+
Ag (aq) + e -
 Ag(s) E0 = +0.80 V 3. เมื่อสัมผัสกับสารละลาย Ag+
+
2H (aq) + 2e -
 H2(g) E0 = 0.00 V 4. เมื่อสัมผัสกับสารละลาย Ni2+
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ถ้าใส่แผ่นสังกะสีลงในสารละลายกรด HCl เข้มข้น 1 โมลาร์ จะมีฟองแก๊ส
ไฮโดรเจนเกิดขึ้น
ข. ถ้าใส่แผ่นทองแดงลงในสารละลายกรด HCl เข้มข้น 1 โมลาร์ จะมีฟองแก๊สไฮ
โดนเจนเกิดขึ้น
ค. ถ้านาแผ่นสังกะสีใส่ลงในสารละลาย CuSO4 เข้มข้น 1 โมลาร์ สารละลายจะ
เปลี่ยนจากสีฟ้าเป็นไม่มีสี และเกิด ตะกอนของโลหะทองแดง
ง. ถ้านาแผ่นทองแดงและแผ่นสังกะสีใส่ลงในสารละลาย AgNO3 เข้มข้น 1 โมลาร์
จะเกิดตะกอนของโลหะทองแดงและโลหะสังกะสี
ข้อใดถูกต้อง (PAT2 มี.ค. 52)
1. ก ข และ ค
2. ก และ ค
3. ข และ ค
4. ค และ ง

4) ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐานมีดังนี้
Fe3+(aq) + 3e-  Fe(s) E0 = -0.44 V
Sn2+(aq) + 2e-  Sn(s) E0 = -0.14 V
Fe (aq) + 2e  Fe(s)
2+ -
E0 = -0.04 V
Sn4+(aq) + 2e-  Sn2+(aq) E0 = +0.15 V
การกระทาในข้อใดไม่ส่งผลให้เกิดปฏิกิริยารีดอกซ์ (PAT2 ก.ค. 52)
2) ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐานมีดังนี้ 1. จุ่มโลหะ Fe ลงในสารละลาย Sn2+
X+(aq) + e-  X(s) E0 = -0.10 V 2. จุ่มโลหะ Fe ลงในสารละลาย Sn4+
2+
Y (aq) + 2e -
 Y(s) E0 = +0.50 V 3. จุ่มโลหะ Sn ลงในสารละลาย Fe2+
4. จุ่มโลหะ Sn ลงในสารละลาย Fe3+
และจากสมการ Ecell = E 0c e l l  0 . 0 6 0 l o g Q
n
โดยที่ n คือจานวนอิเล็กตรอนที่ถ่ายโอนในเซลไฟฟ้าเคมี และ Q คืออัตราส่วนความ
เข้มข้นของสารผลิตภัณฑ์ต่อสารตั้งต้น ตามหลักการของค่าคงที่สมดุล ค่า Q ที่
ถูกต้อง ที่ทาให้เซลล์นี้มีค่า Ecell เท่ากับ +0.54 V คือข้อใด (PAT2 มี.ค. 52)
1. Q = [X+] / [Y2+] = 10
2. Q = [X+]2 / [Y2+] = 10
3. Q = [X+] / [Y2+] = 100
4. Q = [X+]2 / [Y2+] = 100

Page 74
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
5) ธาตุคาร์บอนคู่ที่มีค่าเลขออกซิเดชันแตกต่างกันน้อยที่สุดเป็นของโมเลกุลในข้อใด 8) ถ้าต้องการชุบโลหะสังกะสีด้วยทองแดง ต้องต่อเซลล์ไฟฟ้าโดยใช้โลหะใดเป็นแอโนด
(PAT2 ต.ค. 52) โลหะใดเป็นแคโทดและสารละลายใดเป็นอิเล็กโทรไลต์ ตามลาดับ (PAT2 มี.ค. 53)
1. CH3CH2MgBr 1. Zn Cu CuSO4
2. CH3CHO 2. Cu Zn CuSO4
3. CH3CN 3. Zn Cu ZnSO4
4. CH3CH2Cl 4. Cu Zn ZnSO4

พิจารณาสมการและค่าศักย์ไฟฟ้าของปฏิกิริยาต่อไปนี้
J2+(aq) + 2e-  J(s) E0 = + 0.20 V
K+(aq) + e-  K(s) E0 = - 0.30 V
2L+(aq) + 2e-  L2(g) E0 = - 0.20 V
M (aq) + e  M (aq)
3+ - 2+
E0 = + 0.10 V
ตอบคาถามข้อ 6 และ 7
9) จงหาค่า a และ b จากปฏิกิริยารีดอกซ์ต่อไปนี้
6) ความสามารถในการรีดิวซ์เรียงลาดับจากน้อยไปมากคือข้อใด (PAT2 ต.ค. 52)
a Fe2+(aq) + b MnO4-(aq) + H+(aq)  Fe3+(aq) + H2O(l) + Mn2+(aq)
1. K  L2  M2+  J
(PAT2 ก.ค. 53)
2. J  M2+  L2  K
1. 1 และ 5
3. J2+  M3+  L+  K+
2. 2 และ 5
4. ไม่มีข้อใดถูก
3. 5 และ 1
4. 5 และ 2

10) ชุบสังกะสีด้วยเงิน ต้องต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบใด (PAT2 ก.ค. 53)


7) ข้อใดถูก เมื่อจุ่มโลหะ K ลงในสารละลายผสมของ M3+ และ J2+ (PAT2 ต.ค. 52)
1. Pt(s)  H2(g)  Ag+(aq)  Ag(s)
1. เกิดโลหะ J เกาะที่ผิวของโลหะ K
2. เกิดโลหะ J เกาะที่ผิวของโลหะ K ก่อน แล้วเกิดไอออน M2+ 2. Zn(s)  Zn2+(aq)  Ag+(aq)  Ag(s)
3. เกิดโลหะ J เกาะที่ผิวของโลหะ K พร้อมเกิดไอออน M2+ 3. Ag(s)  Ag+(aq)  Zn2+(aq)  Zn(s)
4. ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ 4. Ag(s)  Ag+(aq)  H+(aq)  H2(g), Pt(s)

Page 75
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
11) จากแผนภาพเซลล์ไฟฟ้าต่อไปนี้ ซึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเท่ากับ +0.80 V 13) ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐาน
Pt  H2(1 atm)  H+(1 M)  Ag+(1 M)  Ag 2HClO + 2H+ + 2e  Cl2 + 2H2O E0 = +1.63 V
ข้อใดระบุค่าศักย์ไฟฟ้ารีดักชันของสารตั้งต้นได้ถูกต้อง (PAT2 ต.ค. 53) Pt2+ + 2e-  Pt E0 = +1.20 V
1. H2 0.80 V
PbSO4 + 2e-  Pb + SO42- E0 = -0.31 V
2. Pt -0.80 V
ปฏิกิริยาข้อใดเกิดขึ้นเองไม่ได้ (PAT2 ต.ค. 53)
3. Ag+ 0.80 V
4. Ag -0.80 V 1. 2HClO + Pt + 2H+  Cl2 + Pt2+ + 2H2O
2. 2HClO + Pb + SO42- + 2H+  Cl2 + PbSO4 + 2H2O
3. PbSO4 + Pt  Pb + Pt2+ + SO42-
4. เกิดปฏิกิริยาได้เองทุกข้อ

12) ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐาน
Cu2+ + 2e-  Cu E0 = +0.34
Sn4+ + 2e-  Sn2+ E0 = +0.15
14) เลขออกซิเดชันของคาร์บอนในหมู่คาร์บอกซิลิกในกรด HOOC(CH2)3COOH มีค่า
Fe3+ + 3e-  Fe E0 = -0.04
เท่าใด (PAT2 มี.ค. 54)
Pb2+ + 2e-  Pb E0 = -0.13 1. 1
Sn2+ + 2e-  Sn E0 = -0.14 2. 2
Fe2+ + 2e-  Fe E0 = -0.44 3. 3
กระป๋องดีบุกสามารถบรรจุสารละลายในข้อใดได้ โดยไม่เกิดปฏิกิริยา 4. 4
(PAT2 ต.ค. 53)
1. Fe3+
2. Fe2+
3. Pb2+
4. Cu2+

Page 76
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
ข้อมูลสาหรับคาถามข้อที่ 15 16) ในการศึกษาการป้องกันการผุกร่อนของเหล็ก นาบีกเกอร์ขนาด 50 cm3 มา 7 ใบ
ตะปู เหล็กยาวประมาณ 5 cm 7 ตัว ขัดผิวตะปูให้สะอาดแล้วจัดอุปกรณ์และ
สารเคมี ดังนี้

ใบที่ 1 ใส่ตะปูที่ขัดผิวสะอาด
ใบที่ 2 ใส่ตะปูที่เคลือบด้วยวาสลิน หรือพันด้วยเทปใสแล้วเติมน้ากลั่นสูง 2 cm
ใบที่ 3 ใส่ตะปูแนวตั้งให้ส่วนหัวตะปูอยู่ด้านบน แล้วเติมน้ากลั่นสูง 2 cm
ใบที่ 4 ใส่ตะปูที่พันด้านปลายแหลมด้วยลวดแมกนีเซียมที่ขัดผิวแล้วขนาด
0.2 cm x 2.5 cm
15) ในการทดลองเซลล์ไฟฟ้าสะสมแบบตะกั่ว จัดการทดลองดังรูป ก. และ ข.
ใบที่ 5 ทดลองเช่นเดียวกับใบที่ 4 แต่ใช้ลวดทองแดงที่ขัดผิวแล้วแทนแมกนีเซียม
ใบที่ 6 ใส่ตะปูด้านปลายแหลมลงในบีกเกอร์ที่มีน้าสูงประมาณ 2 cm ต่อหัวตะปู
กับลวดตัวนาแล้วนาไปต่อเข้ากับขั้วบวกของกระบะถ่านไฟฉาย 6 โวลต์
ใบที่ 7 ทดลองเช่นเดียวกับใบที่ 6 แต่ต่อลวดตัวนาเข้ากับขั้วลบของกระบะ
ถ่านไฟฉาย 6 โวลต์
ทาการทดลองทิ้งไว้ 1 วัน บีกเกอร์ใบใดให้สีแดงเลือดนกเมื่อหยดสารละลาย
โซเดียมไธโอไซยาเนต (PAT2 ต.ค. 54)
1. ใบที่ 2, 5, 7
ก. ข. 2. ใบที่ 1, 2, 6
3. ใบที่ 1, 4, 7
เมื่อจัดการทดลองแบบรูป ก. ไม่มีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้น เพื่อให้ขั้วไฟฟ้าทั้งสองมี 4. ใบที่ 3, 5, 6
ศักย์ไฟฟ้าต่างกันจึงต่อแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงเข้ากับแผ่นตะกั่วที่จุ่มอยู่ใน
สารละลายกรด H2SO4 0.5 mol/dm3 จานวน 50 cm3 ดังรูป ข. เมื่อนาเซล์สะสม
ไฟฟ้าแบบตะกั่วที่ประจุไฟแล้วไปต่อกับโวลต์มเิ ตอร์เช่นเดียวกับการต่อวงจรในรูป ก.
จะอ่านค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าได้ประมาณ 2 โวลล์ ถ้าใส่ Ba(NO3)2 6.525 กรัม ลง
ในเซลล์สะสมไฟฟ้านี้ ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร
(มวลอะตอม Ba = 137.0 , N = 14.0 , O = 16.0) (PAT2 ต.ค. 54)
1. มีค่าเป็นบวกที่น้อยลง
2. มีค่าเป็นบวกที่มากขึ้น
3. มีค่าเท่าเดิม
4. มีค่าเป็นลบ

17) เซลล์เชื้อเพลิงที่ใช้เมทานอลเป็นสารตั้งต้น (Direct Methanol Fuel Cell) มีข้อ


ได้เปรียบมากกว่าใช้แก๊สไฮโดรเจนซึ่งมีสถานะเป็นแก๊สเซลล์เชื่อเพลิงแบบนี้จะใช้
อิเล็กโทรไลต์ที่เป็นพอลิเมอร์เมมเบรนของแข็ง มีหน้าที่แลกเปลี่ยนไอออน ข้อใดผิด
เกี่ยวกับเซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้ (PAT2 มี.ค. 55)
1. เมมเบรนในสภาวะกรด H+ จะแพร่จากขั้วแอโนดไปแคโทด
2. เมมเบรนในสภาวะเบส OH+ จะแพร่จากขั้วแคโทดไปแอโนด
3. เมมเบรนในสภาวะกรดจะได้น้า 3 โมลต่อเมทานอล 1 โมลที่ขั้วแคโทด
4. เมมเบรนในสภาวะเบส จะต้องใส่น้า 3 โมลต่อเมทานอล 1 โมลที่ขั้วแอโนด

Page 77
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
18) โซเดียมโบโรไฮไดรด์ (NaBH4) เป็นแหล่งของไฮโดรเจน โดยเมื่อนามาทาปฏิกิริยา 20) ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับเซลล์เชื้อเพลิงแบบเมมเบรนแลกเปลี่ยนโปรตอนและ
กับน้าได้แก๊สไฮโดรเจนและโซเดียมเมตาบอเรต (NaBO2) เป็นผลิตภัณฑ์ หากนา เซลล์เชื้อเพลิงแบบเบส (PAT2 ต.ค. 55)
โซเดียมโบโรไฮไดรด์มาใช้แทนแก๊สไฮโดรเจนในเซลล์เชื้อเพลิง โดยใช้อิเล็กโทรไลต์ที่ 1. เซลล์เชื้อเพลิงแบบเมมเบรนแลกเปลี่ยนโปรตอนใช้โปรตอนเป็นเชื้อเพลิงใน
เป็นเจลนาไฟฟ้าและมีการเติมโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ลงไป ข้อใดผิด ขณะที่เซลล์แบบเบสใช้ไฮดรอกไซด์เป็นเชื้อเพลิง
(PAT2 มี.ค. 55) 2. โปรตอนเคลื่อที่จากขั้วลบไปยังขั้วบวกในเซลล์เชื้อเพลิงแบบเมมเบรนแลก
1. ได้น้าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ขั้วแอโนด เปลี่ยนโปรตอนในขณะที่ไฮดรอกไซด์เคลื่อนที่จากขั้วบวกไปยังขั้วลบในเซลล์
2. ไฮดรอกไซด์จะแพร่จากขั้วลบไปบวก แบบเบส
3. นาอากาศมาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้โดยให้อากาศไหลผ่านขั้วแคโทด 3. เซลล์เชื้อเพลิงแบบเมมเบรนแลกเปลี่ยนโปรตอนใช้โลหะนิเกิลเป็นตัวเร่ง
4. จะพบโซเดียมเมตาบอเรตมีความเข้นข้นที่ขั้วแอโนดสูงกว่าขั้วแคโทด ปฏิกิริยาในขณะที่เซลล์แบบเบสใช้โลหะแพลทินัมเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
4. เซลล์เชื้อเพลิงแบบเมมเบรนแลกเปลี่ยนโปรตอนได้น้าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ขั้ว
แอโนดในขณะที่เซลล์แบบเบสได้น้าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ขั้วแคโทด

ให้ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ในการตอบคาถามข้อ 19
ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดักชันที่ 298 K
HBrO + H+ + 2e-  Br + H2O E0 = 1.33 V
Br2 + 2e-  2Br E0 = 1.09 V
HIO + H+ + 2e-  I+ + H2O E0 = 0.99 V
I2 + 2e  2I
- +
E0 = 0.54 V
Cu2+ + 2e-  Cu E0 = 0.34 V
21) ในการแยกสารละลายโซเดียมคลอไรด์ด้วยกระแสไฟฟ้า จะได้แก๊สคลอรีนเกิดขึ้นที่
CuI + e-  Cu + I- E0 = -0.19 V
ขั้วแอโนด และเกิดแก๊สไฮโดรเจนและไฮดรอกไซด์ไอออนที่ขั้วแคโทด ถ้าทาการ
19) วัสดุนาโนชนิดหนึ่งมีรูปร่างคล้ายลูกกระสุนปืน ประกอบด้วยโลหะแพลทินัมและ
ทดสอบความเป็นกรดเบสด้วยกระดาษลิตมัสชื้น จะเปลี่ยนสีอย่างไร
ทองแดงซึ่งแยกกันอย่างชัดเจน วัสดุมีการเคลื่อนที่ได้เองเมื่อนาวัสดุนาโนชนิดนี้ไปใส่
(PAT2 มี.ค. 56)
ในสารละลายโบรมีน หรือสารละลายไอโอดีน และจะหยุดการเคลื่อนที่เมื่อส่วนของ
ทองแดงกร่อนหายไป (ในกรณีใส่ในสารละลายโบรมีน) หรือส่วนของทองแดง
กลายเป็น CuI (ในกรณีใส่สารละลายไอโอดีน) และวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่าง
โลหะทั้งสองที่สภาวะมาตรฐานในสารละลายโบรมีนได้ 0.95 V และในสารละลาย
ไอโอดีน 0.65 V ตามลาดับ ข้อใดผิด (PAT2 มี.ค. 55)
1. ในสารละลายไอโอดีน ค่า pH ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
2. ในสารละลายไอโอดีน จะเกิดไอโอไดด์มากขึ้นซึ่งได้จากปฏิกิริยาของไอโอดีน
รับอิเล็กตรอน
3. ในสารละลายโบรมีน จะเกิดโบรไมด์มากขึ้นซึ่งได้จากปฏิกิริยาของโบรมีน
รับอิเล็กตรอน
4. โลหะแพลทินัมและโลหะทองแดงทาหน้าที่เหมือนแบตเตอรี่ โดยโลหะแพลทินัม
เป็นขั้วบวกและโลหะทองแดงเป็นขั้วลบ

Page 78
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
22) เมื่อผ่านแก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์(SO3) ลงในสารละลายกรดซัลฟิวริกเข้มข้น 24) ในชีวิตประจาวัน เราใช้ถ่านไฟฉายเป็นแหล่งพลังงานในไฟฉาย วิทยุหรืออุปกรณ์
(H2SO4) จะได้สารละลายกรดไดซัลฟิวริก ข้อใดเป็นโครงสร้างที่เป็นไปได้มากที่สุด อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ถ่านไฟฉายประกอบด้วยแท่งแกรไฟต์อยู่ตรงกลาง และมีของ
ของกรดไดซัลฟิวริก (PAT2 มี.ค. 56) ผสมที่มีส่วนผสมของแมงกานีส(IV)ออกไซด์(MnO2) แอมโมเนียมคลอไรด์(NH4Cl)
1. ซิงค์คลอไรด์(ZnCl2) แป้งเปียก ผงคาร์บอนและน้าคลุกเคล้าอยู่ด้วยกัน สารทั้งหมด
นี้บรรจุอยู่ในกล่องสังกะสี ด้านนอกของกล่องสังกะสีหุ้มด้วยพลาสติกด้านบนของ
แท่งแกรไฟต์ครอบด้วยโลหะสังกะสี ส่วนด้านล่างของกล่องมีแผ่นสังกะสี
ข้อใดอธิบายส่วนประกอบของถ่านไฟฉายหรือปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได้ถูกต้อง
(PAT2 มี.ค. 56)
2. 1. แท่งแกรไฟต์เป็นขั้วแอโนด
2. ที่ขั้วแคโทด เกิดปฏิกิริยาได้ [Zn(NH3)4]2+ และ [Zn(NH3)2(H2O)2]2+ เป็น
ผลิตภัณฑ์
3. ที่รอบขั้วแคโทด แอมโมเนียมไอออนรับอิเล็กตรอนแล้วได้แก๊สแอมโมเนียและ
แก๊สไฮโดรเจน
3. 4. มีน้าเกิดขึ้นที่ขั้วแอโนด

4.

25) ข้อใดเปรียบเทียบเซลล์เชื้อเพลิงแบบเบสและเซลล์เชื้อเพลิงแบบเมมเบรนแลก
เปลี่ยนโปรตอนได้ถูกต้อง (PAT2 มี.ค. 56)

23) ในการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับสารละลายโลหะไอออน
เริ่มจากใส่สารละลาย CuSO4 1.0 mol/dm3 ลงในบีกเกอร์ 2 ใบๆละ 25 cm3 นา
โลหะสังกะสีขนาด 0.5 cm x 7 cm ลงในบีกเกอร์ใบที่ 1 และนาโลหะสังกะสีขนาด
เดียวกัน จุ่มลงในสารละลายพอลิเมอร์ แล้วจุ่มลงในบีกเกอร์ใบที่ 2
ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสารละลายและแผ่นโลหะ (PAT2 มี.ค. 56)

Page 79
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
26) เมื่อนาสารละลายแอมโมเนียและโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ใส่ในเซลล์อิเล็กโทรไลซิส 28) กาหนดให้ ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดักชันที่ 298K มีค่าต่อไปนี้
จากนั้นผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในเซลล์ พบว่าเกิดแก๊สขึ้นที่ขั้วทั้งสองโดยแก๊สที่ขั้ว i. H2O2/H2O +1.77 V
หนึ่งมีคุณสมบัติติดไฟและแก๊สที่อีกขั้วหนึ่งไม่ติดไฟและไม่มีความว่องไวในการ ii. O2/H2O +1.23 V
เกิดปฏิกิริยา หลังจากหยุดให้กระแสไฟฟ้า พบว่าสารละลายแอมโมเนีย มีความ iii. Cl2/Cl +1.08 V
เข้มข้นน้อยลง iv. Br2/Br +1.08 V
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง (PAT2 มี.ค. 57) v. Fe(II)/Fe -0.41 V
1. เกิดแก๊สไนโตรเจนที่ขั้วแอโนด vi. Fe(III)/Fe(II) +0.77V
-
2. เกิดแก๊สไฮโดรเจนที่ขั้วแคโทด vii. I2/I +0.54 V
3. ปฏิกิริยารวมทั้งหมดเป็นปฏิกิริยาผันกลับของกระบวนฮาเบอร์ (Haber viii. Cu(II)/Cu +0.34 V
Process) ix. SbO+/Sb +0.20 V
+
4. หลังจากหยุดให้กระแสไฟฟ้า คนสารละลายแล้ววัด pH จะพบว่า pH มีค่าลดลง x. H /H2 0V
xi. Cd(II)/Cd -0.40 V
xii. Zn(II)/Zn -0.76 V
xiii. Mn(II)/Mn -1.18 V

สารใดต่อไปนี้มีครึ่งชีวิตสั้นที่สุด (PAT2 เม.ย. 57)


1. FeBr3
2. FeI3
3. FeCl2
4. FeBr2

27) เซลล์ลิเทียม-ไอออน-พอลิเมอร์ เป็นเซลล์ที่มีน้าหนักเบา นิยมใช้กับ โทรศัพท์


เคลื่อนที่ คอมพิวเตอร์แบบพกพา โดยมี CoO2 ที่มีการเจือปน Li+(Li1-xCoO2)
และแกรไฟต์ที่มี Li อะตอมระหว่างชั้นของแกรไฟต์(LixC6) เป็นขั้นแคโทดและแอโนด 29) เซลล์เชื้อเพลิงแบบเกลือคาร์บอเนตหลอมเหลวเป็นเซลล์ที่ใช้แก๊สไฮโดรเจนและ
ตามลาดับ โดยมีการเติม LiPF5 ในพอลิเอทิลีนออกไซด์เพื่อใช้เป็นอิเล็กโตรไลต์ ข้อ ออกซิเจน ผ่านเข้าไปที่ขั้วแอโนดและแคโทด ตามลาดับ มีเกลือคาร์บอเนต
ใดกล่าวไม่ถูกต้อง (PAT2 มี.ค. 57) หลอมเหลวของลิเทียมโซเดียม หรือโพแทสเซียมเป็นส่วนผสมของอิเล็กโทรไลต์
1. ขณะจ่ายไฟ จะพบว่าที่ขั้วแคโทด จะมี Li+ เจือปนมากขึ้น ทางานที่อุณหภูมิ 650 C จึงต้องใช้แกรไฟต์ผสมนิกเกิลใส่เข้าไปในขั้วแอโนด ส่วน
2. ขณะจ่ายไฟ ที่ขั้วแอโนด ความเข้นข้นของ Li+ จะมีค่าสูงขึ้น ขั้วแคโทดใช้แกรไฟต์ผสมนิกเกิลและนิกเกิล(II) ออกไซด์
3. ขณะจ่ายไฟ จะมีการเคลื่อนที่ของ Li+ จากขั้วแคโทดมายังขั้วแอโนด ถ้าใช้แก๊ส D2 และ 18O2 ผ่านเข้าไปที่ขั้วแอโนดและแคโทด ตามลาดับ ถ้านา
4. ขณะประจุไฟ Li+ จะรับอิเล็กตรอนแล้วเข้าไปอยู่ระหว่างชั้นของแกรไฟต์ ผลิตภัณฑ์ที่ได้ไปวิเคราะห์โดยเครื่องแมสสเปกโทรมิเตอร์ ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่มีปริมาณ
น้อยที่สุดจะมีค่ามวลโมเลกุลเท่าใด กาหนดมวลอะตอม H = 1, D = 2, 16O = 16,
17
O = 17, 18O = 18 (PAT2 เม.ย. 57)
1. 18
2. 19
3. 20
4. 22

Page 80
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
30) เซลล์โซเดียม - ซัลเฟอร์ ใช้โซเดียมเหลวเป็นขั้วแอโนดและกามะถันเหลวผสมกับผง 32) กาหนดผลการทดลองให้ดังนี้
แกรไฟต์เป็นขั้วแคโทด โดยมีบีตาอะลูมินาที่ยอมให้ Na+ เคลื่อนที่ผ่านได้เป็นอิเล็ก 1. จุ่มโลหะ X ลงในสารละลาย HCl พบว่าโลหะ X กร่อนอย่างรวดเร็วและมี
โทรไลต์ พบว่าเกิดผลิตภัณฑ์เป็นโซเดียม พอลิซัลไฟด์( Na2Sn) ที่อยู่ในสภาพ แก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้นมาก
ของเหลว ถ้า n = 4 และโครงสร้างของพอลิซัลไฟด์เป้นเส้นตรง ข้อใดแสดงเลข 2. จุ่มโลหะ Y ลงในสารละลาย XSO4 สังเกตไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง แต่ถ้า
ออกซิเดชันของซัลเฟอร์แต่ละอะตอม (PAT2 เม.ย. 57) จุ่มลงในสารละลาย HCl จะเกิดแก๊สไฮโดรเจน
1. 0, -1, -1, 0 3. จุ่มโลหะ Z ลงในสารละลาย XSO4 พบว่าโลหะ Z จะกร่อน และมีผลึกมา
2. -1, 0, 0, -1 เกาะที่โลหะ Z บริเวณที่จุ่มในสารละลาย
3. -0.5, -0.5, -0.5, -0.5 ข้อใดเรียงลาดับความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์จากน้อยไปมากได้ถูกต้อง
4. -2, 1, 1, -2 (PAT2 เม.ย. 57)
1. X, Y, Z, H2
2. H2, X, Y, Z
3. Z, X, Y, H2
4. H2, Y, X, Z

31) ในการทดลองหนึ่ง นักเรียนนาบีกเกอร์ขนาด 50 cm3 มา 7 ใบ ตะปูเหล็กยาว 33) Reactive Oxygen Species เป็นสารที่มีความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาและมีธาตุ
ประมาณ 5 cm 7 ตัว ขัดผิวตะปูให้สะอาด แล้วจัดอุปกรณ์และสารเคมีดังนี้ ออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ เช่น แก๊สออกซิเจน (O2) เมื่อรับอิเล็กตรอน 1 ตัว จะ
บีกเกอร์ 1 ใส่ตะปูที่ขัดผิวให้สะอาดแล้ว กลายเป็นซุปเปอร์ออกไซด์ แรดิคัล ซึ่งเป็นอนุมูลอิสระ(free radical) และจะทา
บีกเกอร์ 2 ใส่ตะปูที่เคลือบด้วยวาสลินแล้วเติมน้ากลั่นสูง 2 cm ปฏิกิริยากับน้า ได้แก๊สออกซิเจน เปอร์ออกไซด์ไอออน และไฮดรอกไซด์ไอออน
บีกเกอร์ 3 ใส่ตะปูในแนวตั้งให้ส่วนหัวตะปูอยู่ด้านบนแล้วเติมน้ากลั่นสูง 2 cm ปฏิกิริยาระหว่างซุปเปอร์ออกไซด์ 1 โมล กับน้า จะมีการถ่ายเทอิเล็กตรอนกี่โมล
บีกเกอร์ 4 ใส่ตะปูที่พันด้านปลายแหลมด้วยลวดแมกนีเซียมที่ขัดผิวแล้วขนาด (PAT2 เม.ย. 57)
0.2 cm x 2.5 cm 1. 0.5
บีกเกอร์ 5 ทดลองเช่นเดียวกับบีกเกอร์ 4 แต่ใช้ลวดทองแดงที่ขัดผิวแล้วแทน 2. 1.0
แมกนีเซียม 3. 1.5
บีกเกอร์ 6 ใส่ตะปูด้านปลายแหลมลงในบีกเกอร์ที่มีน้าสูงประมาณ 2 cm ต่อ 4. 2.0
หัวตะปูกับลวดตัวนาแล้วนาไปต่อเข้ากับขั้วบวกของกระบะถ่านไฟ
ฉาย 6 โวลต์
บีกเกอร์ 7 ทดลองเช่นเดียวกับบีกเกอร์ 6 แต่ต่อลวดตัวนาเข้ากับขั้วลบของ
กระบะถ่านไฟฉาย 6 โวลต์
จากนั้นเก็บบีกเกอร์ทั้งหมดไว้ในกล่องที่มีแก๊ส 15O2 ประมาณ 1 วัน ตะปูในบีกเกอร์
ใดมีกัมมันตภาพรังสี (PAT2 เม.ย. 57)
1. บีกเกอร์ 1, 2, 6
2. บีกเกอร์ 2, 5, 7
3. บีกเกอร์ 3, 4, 6
4. บีกเกอร์ 2, 4, 7

Page 81
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
34) ทาปฏิกิริยาออกซิเดชันของแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ ด้วยแก๊สออกซิเจน โดยมี 36) Anthraquinone เป็นสารอินทรีย์ มีจุดหลอมเหลว 286 C
อนุภาคนาโนเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา การทดลองที่หนึ่ง
การทดลองที่หนึ่ง พบว่า ถ้ามีการป้อนไอน้าเป็นช่วงๆ เข้าไปในปฏิกิริยา จะพบ ผ่านแก๊สไฮโดรเจนเข้าไปในระบบที่มี anthraquinone จะได้
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีมวลเท่ากับ 44 anthrahydroquinone
การทดลองที่สอง ถ้าให้ไอของ H218O จะพบแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีมวล การทดลองที่สอง
เท่ากับ 46 ผ่านแก๊สออกซิเจนเข้าไปในระบบที่มี anthrahydroquinone จะได้
ข้อใดคือโครงสร้างของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากการทดลองที่หนึ่งและสอง anthraquinone เหมือนเดิม
ตามลาดับ (PAT2 พ.ย. 57) กาหนดให้ค่าศักย์ไฟฟ้าของครึ่งเซลล์รีดักชันที่ 298 K เทียบกับ SHE
1. 12C16O16O, 12C16O16O  O2(g)/H2O(l) E = 1.23 V
2. 12C16O16O, 12C16O18O  O2(g)/H2O2(l) E = 0.70 V
3. 12C16O18O, 12C16O16O  O2(g)/OH-(aq) E = 0.401 V
4. 12C18O18O, 12C18O18O  H (aq)/H2(g)
+
E=0
 O2(g)/HO2-(aq) E = -0.07 V
 H2O(l)/H2(g),OH (aq)
-
E = -0.83 V
 anthraquinone/anthrahydroquinone E = -0.3 V (acid)
ถ้าผ่านแก๊สออกซิเจนเข้าไปในระบบที่มี anthrahydroquinone ในสภาวะทดลองที่
เป็นกรด จะได้สารใดเป็นผลิตภัณฑ์ (PAT2 พ.ย. 57)
1. น้า
2. แก๊สไฮโดรเจน
3. ไฮดรอกไซด์ไอออน
4. ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
35) เซลล์เชื้อเพลิงแบบเบส(Alkaline Fuel Cells, AFC) เป็นเซลล์เชื้อเพลิงที่มีการผ่าน
แก๊สไฮโดรเจนเข้าไปที่ขั้วแอโนด และผ่านแก๊สออกซิเจนเข้าไปที่ขั้นแคโทด มีอิเล็ก
โทรไลต์ที่เป็นเบส เช่น โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์
เซลล์เชื้อเพลิงแบบเมมเบรนแลกเปลี่ยนโปรตอน (Proton Exchange Membrane
Fuel Cell, PEMFC) เป็นเซลล์เชื้อเพลิงที่ผ่านแก๊สไฮโดรเจนเข้าไปที่ขั้วแอโนด และ
ผ่านแก๊สออกซิเจนเข้าไปที่ขั้วแคโทด มีแผ่นเมมเบรนพอลิเมอร์ที่สามารถให้
ไฮโดรเจนไอออนเคลื่อนที่ผ่าน
กาหนดให้ค่าศักย์ไฟฟ้าของครึ่งเซลล์รีดักชันที่ 298 K เทียบกับ SHE
(ขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน)
 O2(g)/H2O(l) E = 1.23 V
 O2(g)/H2O2(l) E = 0.70 V
 O2(g)/OH-(aq) E = 0.401 V
 H (aq)/H2(g)
+
E=0
 O2(g)/HO2-(aq) E = -0.07 V 37) เซลล์โพแทสเซียม-ซัลเฟอร์ ใช้โลหะโพแทสเซียมเป็นขั้วแอโนด และกามะถันเหลว
 H2O(l)/H2(g),OH (aq) E = -0.83 V
-
ผสมคาร์บอนที่มีรูพรุนเป็นขั้วแคโทด โดยมีอะลูมินาเป็นอิเล็กโทรไลต์ ถ้ามีการตรวจ
ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเซลล์เชื้อเพลิงทั้งสองแบบ (PAT2 พ.ย. 57) พบว่าที่ขั้วแคโทดมีสารประกอบที่มีส่วนผสมของโพแทสเซียมและกามะถันที่มีสูตร
อย่างง่ายเป็น K2S และ K2S3 จานวนอิเล็กตรอนที่กามะถันรับต่อแต่ละอะตอมของ
กามะถันของ K2S และ K2S3 เป็นเท่าใด ตามลาดับ (PAT2 พ.ย. 57)
1. 2/3, 2
2. 1, 2
3. 2, 2/3
4. 2, 2

Page 82
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
38) โทรศัพท์มือถือในปัจจุบัน นิยมใช้แหล่งพลังงานเป็นเซลล์ลิเทียม-ไอออนพอลิเมอร์ 40) เหล็กเป็นสนิมมีสีน้าตาลแดงได้ง่าย โดยอาศัยออกซิเจนในอากาศและความชื้น
ซึ่งสามารถนามาประจุไฟซ้าได้ โดยออกซิเจนเกิดปฏิกิริยารีดักชันดังสมการ :
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ O2(g) + 4e- + 2H2O(l)  4OH-(aq)
ก. ชื่อเซลล์ลิเทียม-ไอออนพอลิเมอร์เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาการถ่ายโอน และเหล็กเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน
อิเล็กตรอนระหว่างลิเทียมกับไอออนพอลิเมอร์ Fe(s)  Fe2+(aq) + 2e-
ข. พอลิเมอร์ที่ใช้ในเซลล์ลิเทียม-ไอออนพอลิเมอร์ ได้แก่ พอลิเอทิลีนออกไซด์ ได้ปฏิกิริยารีดอกซ์ : 2Fe(s) + O2(g) + 2H2O(l)  2Fe2+(aq) + 4OH-(aq)
ค. ขณะใช้งานโทรศัพท์มือถือ ที่ขั้วบวกของเซลล์ลิเทียม-ไอออนพอลิเมอร์เกิด Fe2+ และ OH- รวมตัวกันได้ดังสมการ :
ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน Fe2+(aq) + 2OH-(aq)  Fe(OH)2(s)
จากข้อความ ก, ข และ ค ที่กาหนดให้ ตัวเลือกข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง ในสภาวะที่มีออกซิเจนมากเกินพอ Fe(OH)2 ถูกออกซิไดส์ต่อดังสมการ :
(PAT2 ต.ค. 59) 4Fe(OH)2(s) + O2(g) + 2H2O(l)  4Fe(OH)3(s)
1. มีข้อถูกเพียงข้อเดียว สารประกอบไฮดรอกไซด์ทั้งสองชนิดเกิดการสูญเสียน้าดังสมการ :
2. ข้อ ก และ ข ถูก Fe(OH)2(s)  FeO(s) + H2O(l)
3. ข้อ ก และ ค ถูก Fe(OH)3(s)  FeO(OH)(s) + H2O(l)
4. ข้อ ข และ ค ถูก
2FeO(OH)(s)  Fe2O3(s) + H2O(l)
5. ถูกทั้ง ก ข และ ค
จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 60)
1. เบสจะช่วยเร่งอัตราการเกิดสนิมเหล็ก
2. เหล็กที่แช่ในน้าเกิดสนิมเร็วกว่าแช่ในน้าเกลือ
3. เกิดสนิมเหล็กช้ามากถ้านาเหล็กมาต่อกับโลหะเงิน
4. ในประเทศไทยฤดูหนาวเกิดสนิมเหล็กได้ดีกว่าฤดูร้อน
5. ในสภาวะที่มีปริมาณออกซิเจนจากัดสนิมเหล็กจะมี FeO เป็นองค์ประกอบ
หลัก

39) พิจารณา ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดักชัน ต่อไปนี้


ปฏิกิริยาครึ่งเซลล์รีดักชัน E0(V)
Au3+(aq) + 3e-  Au(s) +1.5
Cl2(g) + 2e  2Cl (aq)
- -
+1.358 41) จากแผนภาพเซลล์ที่สภาวะมาตรฐาน Pt(s)l2(g)l-(aq) Cl-(aq)Cl2(g)Pt(s)
O2(g) + 4H+(aq) + 4e-  2H2O(l) +1.229 พิจารณาข้อสรุปต่อไปนี้
Pt (aq) + 2e  Pt(s)
2+ -
+1.2 ก. Cl- ทาหน้าที่จ่ายอิเล็กตรอนให้กับ Cl2 โดยตรง
NO3 (aq) + 4H (aq) + 3e  NO(g) + 2H2O(l)
- + -
+0.96 ข. Pt(s) ทาหน้าที่เป็นขั้วไฟฟ้าเฉื่อย ซึ่งให้ไอออนเคลื่อนที่ผ่านได้
Ag+(aq) + e-  Ag(s) +0.80 ค. หากครึ่งเซลล์ทางซ้ายมีการเติมน้าแป้งปริมาณเล็กน้อยลงไป เมื่อเวลาผ่าน
[PtCl4] (aq) + 2e  Pt(s) + 4Cl (aq)
2- - -
+0.73 ไป สารละลายในครึ่งเซลล์ทางซ้ายควรมีสีน้าเงินเข้มขึ้นกว่าเมื่อเริ่มเติมน้า
Cu+(aq) + e-  Cu(s) +0.521 แป้ง
Cu (aq) + 2e  Cu(s)
2+ -
+0.337 ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 60)
Cu2+(aq) + e-  Cu+(aq) +0.153 1. มีข้อถูกเพียงข้อเดียว
2H (aq) + 2e  H2(g)
+ -
0 2. ข้อ ก และ ข ถูก
อาศัยข้อมูลข้างต้น ปฏิกิริยาในข้อใดไม่สามารถเกิดขึ้นเองได้ (PAT2 ต.ค. 59) 3. ข้อ ก และ ค ถูก
1. การสลายตัวของ Cu+ 1.0 mol/dm3 ให้ Cu2+ และ Cu 4. ข้อ ข และ ค ถูก
2. การละลายโลหะทองแดงในกรดไฮโดรคลอริก 1.0 mol/dm3 5. ถูกทั้ง ก ข และ ค
3. การละลายโลหะเงินด้วยกรดไนตริก 1.0 mol/dm3
4. การละลายแพลทินัมด้วยกรดไนตริก 1.0 mol/dm3 เมื่อมี Cl- ผสมอยู่ด้วย
5. ถูกทั้งข้อ 2 และ 4

Page 83
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
42) ทาการศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยการเติมสารละลายโซเดียมซัลไฟด์ลง
ในสารละลายของไดโครเมตไอออนในสภาวะกรดมากเกินพอ สารละลายเกิดการ
เปลี่ยนสีจากสีส้มเป็นสีเขียวของโครเมียม(III)ไอออน และเกิดตะกอนขาวซึ่งในเวลา
ต่อมากลายเป็นสีเหลืองอ่อน
พิจารณาข้อสรุปต่อไปนี้
ก. เมื่อดุลสมการรีดอกซ์ สาหรับไดโครเมตไอออน 1 ไอออน ผลรวมประจุ
ไฟฟ้าของสารตั้งต้นในปฏิกิริยามีค่าเท่ากับ +6
ข. ที่ความเข้มข้นหนึ่ง เราสามารถศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้โดย
ติดตามเวลาที่ตะกอนกามะถันเกิดขึ้นจนมองไม่เห็นสัญลักษณ์ เช่น
เครื่องหมายกากบาท
ค. เมื่อกาหนดให้ความเข้มข้นของไดโครเมตไอออนมีค่าคงที่ในทุกชุดทดลอง
เราสามารถศึกษาผลของความเข้มข้นซัลไฟด์ไอออนต่ออัตราการ
เกิดปฏิกิริยาเคมีโดยเปลี่ยนความเข้มข้นของซัลไฟด์ไอออน
ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 60)
1. มีข้อถูกเพียงข้อเดียว
2. ข้อ ก และ ข ถูก
3. ข้อ ก และ ค ถูก
4. ข้อ ข และ ค ถูก
5. ถูกทั้ง ก ข และ ค

เฉลย 1. 2 2. 4 3. 3 4. 4 5. 1 6. 2
7. 1 8. 2 9. 3 10. - 11. 3 12. 2
13. 3 14. 3 15. 1 16. 4 17. 4 18. 2
19. 2 20. 2 21. 1 22. 4 23. 3 24. 2
25. 3 26. 4 27. 3 28. 2 29. 4 30. 2
31. - 32. 4 33. 4 34. 2 35. 4 36. 1
37. 3 38. 1 39. 2 40. 5 41. 1 42. 5

Page 84
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
4) สารใดไม่ใช่สารกาจัด HF ในกระบวนการผลิตปุ๋ยฟอสเฟต (PAT2 ต.ค. 55)
ตัวอย่างข้อสอบ เคมี 1. ซิลิกา
2. หินปูน
บทที่ 10 เคมีในอุตสาหกรรม 3. โซดาแอช
4. อะลูมินา
1) การถลุงแร่ดีบุก (SnO2) ทาได้โดยนาสินแร่ดีบุกที่มีซิลิกาเจือปน มาผสมกับถ่านโค้ก
และหินปูน โดยใช้น้ามันเตาหรือกระแสไฟฟ้าเป็นแหล่งให้ความร้อน ถ้าใส่สินแร่
ดีบุกในปริมาณที่เกินพอเมื่อเทียบกับปริมาณถ่านโค้กกับหินปูน ข้อใดไม่ใช่
ผลิตภัณฑ์หลังการถลุงแร่ดีบุก (PAT2 มี.ค. 54)
1. CaSiO3
2. CaSnO3
3. Ca2SnO4
4. Sn(CO3)2

5) แร่โคลัมไบต์-แทนทาไลต์เป็นแร่ที่มีธาตุไนโอเบียมและแทนทาลัมเป็นส่วนประกอบ
หลัก ในประเทศไทยจะพบแร่โคลัมไบต์-แทนทาไลต์ตะกรันจากการถลุงแร่ดีบุกใน
การผลิตผงของสารประกอบออกไซด์จากแร่นี้ ทาได้โดยนาตะกรันดีบุกมาบดให้
ละเอียด แล้วละลายด้วยสารละลายผสมของกรดไฮโดรฟลูออริกกับกรดซัลฟิวริกที่
2) เซลล์เชื้อเพลิงแบบ Direct Formic Acid Fuel Cell (DFAFCs) เป็นเซลล์เชื้อเพลิง
อุณหภูมิสูงกว่า 90C จะได้สารประกอบฟลูออไรด์ของไนโอเบียและแทนทาลัม ซึ่ง
แบบหนึ่งที่ใช้กรดฟอร์มิกแทนแก๊สไฮโดรเจน พบว่า นอกจากมีน้าเป็นผลิตภัณฑ์
สารประกอบทั้งสองละลายได้ดีในตัวทาละลายอินทรีย์ ซึ่งเริ่มทาการสกัดด้วยเมทิล
แล้ว ยังพบแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เกิดขึ้นเท่านั้น
ไอโซบิวทิลคีโตน จากนั้นแยกชั้นเมทิลไอโซบิวทิลคีโตนออกมา แล้วเติมกรด
ข้อความใดกล่าวถูกต้อง (PAT2 ต.ค. 54)
ซัลฟิวริกเจือจางลงไป สารประกอบฟลูออไรด์ของแทนทาลัมจะละลายอยู่ในชั้นของ
1. pH ของสารละลายอิเล็กโทรไลต์จะเพิ่มขึ้น
เมทิลไอโซบิวทิลคีโตน
2. เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่ขั้วอาโนด
ส่วนสารประกอบฟลูออไรด์ของไนโอเบียมจะละลายอยู่ในชั้นของเกรด เมื่อแยก
3. กรดฟอร์มิกเป็นตัวออกซิไดซ์
ชั้นของสารละลายกรดออก และทาสารละลายให้เป็นกลางด้วยสารละลายแอมโมเนีย
4. ถ้าใช้ HC18O18OH เป็นสารตั้งต้นจะได้ H218O เป็นผลิตภัณฑ์
จะได้ตะกอนของสารประกอบออกไซด์ของไนโอเบียม
ส่วนสารประกอบแทนทาลัมที่ละลายในชั้นของเมทิลไอโซบิวทิลคีโตน สามารถ
แยกออกได้โดยการผ่านไอน้าเข้าไป สารประกอบแทนทาลัมจะละลายในชั้นน้า เมื่อ
นามาเติมสารละลายแอมโมเนียจะเกิดตะกอนของสารประกอบออกไซด์ของ
แทนทาลัม
ในกรณีของสารประกอบไนโอเบียมหรือแทนทาลัม ข้อใดเป็นสูตรเคมีของ
สารประกอบก่อนและหลังจากเติมสารละลายแอมโมเนีย ตามลาดับ
1. TaF5, Ta2O5
2. NbF3, Nb2O3
3. H2[TaF7], Ta2O5
3) เมื่อนาปุ๋ยยูเรีย (CO(NH2)2) มาเป็นเชื้อเพลิงแทนแก๊สไฮโดรเจนในเซลล์เชื้อเพลิง 4. H2[NbF7], Nb2O5
โดยใช้พอลิเมอร์เมมเบรนเป็นอิเล็กโตรไลต์ชนิดแข็งที่มีการแลกเปลี่ยนไอออนลบ
พบว่า มีแก๊สสองชนิดเกิดขึ้น โดยแก๊สชนิดหนึ่งเบากว่าอากาศ และแก๊สอีกชนิดหนึ่ง
สามารถกาจัดได้ด้วยปูนขาว ข้อใดผิด (PAT2 มี.ค. 55)
1. pH ที่ขั้วแคโทดจะมีค่าสูงกว่า pH ที่ขั้วแอโนด
2. มีหมู่ที่มีประจุบวกกระจายตัวอยู่ในพอลิเมอร์เมมเบรน
3. เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สไนโตรเจนที่ขั้วแอโนด
4. จะมีการเคลื่อนที่ของไฮดรอกไซด์จากขั้วแอโนดไปยังขั้วแคโทด

Page 85
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
6) เมื่อนาแร่แบดเดเลไยต์ (Baddeleyite) ไปถลุงในเตาที่อุณหภูมิ 800 – 1,000 C 9) รัตนชาติใดที่มีสีเขียวและมีทองแดงเป็นองค์ประกอบ (PAT2 พ.ย. 57)
โดยทาปฏิกิริยากับคาร์บอนและแก๊สคลอรีน จะได้เซอร์โคเนียมเตตระคลอไรด์ 1. เพทาย
(ZrCl4) และแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ ข้อใดคือสูตรเคมีของแร่แบดเดเลไบยต์ 2. ไพฑูรย์
(PAT2 มี.ค. 57) 3. บุษราคัม
1. ZrSiO4 4. เทอร์คอยส์
2. ZrCO3
3. Zr(COOH)2
4. ZrO2

10) แร่ดีบุกจัดว่าเป็นแร่ที่มีความง่ายในการถลุง เนื่องจากเป็นแร่ที่อยู่ในรูปของ


สารประกอบออกไซด์ ไม่ต้องนาไปผ่านกระบวนการย่างแร่เพื่อลดปริมาณกามะถัน
เหมือนกับแร่สังกะสีหรือแร่ทองแดง มักนิยมนามาถลุงในเตากระทะโดยผสมแร่ดีบุก
กับผงถ่านโค้ก และบรรจุเข้าเตากระทะตามสัดส่วนที่เหมาะสม โดยมีการเติมหินปูน
เพื่อกาจัดสารมลทินซิลิกอนออกไซด์และเหล็กออกไซด์ออกจากแร่ ในการถลุงจะใช้
7) ในการถลุงแร่สังกะสีชนิดซิลิเกตและคาร์บอเนต เริ่มจากนาแร่เปียกมาบดจนละเอียด อุณหภูมิประมาณ 1,350 C
แล้วให้ทาปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก จากนั้นปรับสารละลายให้เป็นกลางด้วยปูนขาว (ที่มา : กิตติพันธุ์ บางยี่ขัน “โลหะกับการพัฒนาประเทศ” สานักอุตสาหกรรม พื้นฐาน กรมอุตสาหกรรม
พื้นฐานและการเหมืองแร่)
แล้วกรองกากแร่ออกจากสารละลายแล้วนาส่วนสารละลายที่ได้จากการกรองไป
กาจัดเกลือของโลหะที่เจือปนโดยการเติมผงสังกะสีในสารละลาย จะได้โลหะแยกออก ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องกับการถลุงแร่ดีบุกข้างต้น (PAT2 ต.ค. 59)
จากสารละลาย ซึ่งทาการแยกต่อได้โดยใช้เครื่องกรองตะกอนแบบอัด 1. CaO + Fe2O3  CaFe2O4
วิธีนี้ไม่สามารถใช้แยกไอออนของโลหะชนิดใดออกได้ (PAT2 เม.ย. 57) 2. C + SiO2  Si + CO2
1. Cd(II) 3. SnO2 + 2CO  Sn + 2CO2
2. Sb(II) 4. CO2 + C  2CO
3. Cu(II) 5. CaO + SiO2  CaSiO3
4. Mn(II)

11) ถ้าแก๊สแอมโมเนียรั่วไหลบางส่วนในกระบวนการผลิตโซดาแอช ข้อใดต่อไปนี้ มี


8) แมกนีไทต์เปลี่ยนเป็นฮีมาไทต์อย่างช้าๆ ถ้าตั้งทิ้งไว้ในอากาศหรือบริเวณที่มี โอกาสเป็นไปได้มากที่สุด เมื่อนาตะกอนที่ได้ไปเผา (PAT2 ต.ค. 59)
ความชื้น กระบวนการนี้จะเกิดเร็วขึ้นถ้าทาให้แมกนีไทต์มีรูพรุน 1. ได้โซดาแอช ปริมาณเท่าเดิม
ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับกระบวนการข้างต้น (PAT2 เม.ย. 57) 2. ได้โซดาแอช ปริมาณน้อยลง
1. Iron(II) เปลี่ยนเป็น Iron(III) 3. ได้โซดาแอช ปริมาณมากขึ้น
2. แก๊สออกซิเจนแพร่เข้าไปทาปฏิกิริยากับ Iron(II) 4. ได้โซเดียมคลอไรด์แทน
3. น้าให้อะตอมของไฮโดรเจนแล้วกลายเป็นไฮดรอกซิลแรดิคัล 5. ได้แคลเซียมออกไซด์แทน
4. แก๊สออกซิเจนให้อิเล็กตรอนแล้วกลายเป็นซุปเปอร์ออกไซด์ แรดิคัล

Page 86
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
12) จากรูปการจัดอุปกรณ์และสารเคมีการเตรียมสารฟอกขาว

เมื่อผ่านแก๊สลงไปในหลอดทดลองที่มีสารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์อิ่มตัวแล้ว
จะได้ตะกอนสีขาว
ถ้าจัดการทดลองดังรูปข้างบน โดย
 การทดลองที่หนึ่ง ใช้น้าแข็ง
 การทดลองที่สอง ใช้น้าแข็งแห้งแทนน้าแข็ง
การทดลองที่สอง จะได้ปริมาณของตะกอนสีขาวแตกต่างกับการทดลองที่หนึ่ง
อย่างไร และเมื่อนาของเหลวในหลอดทดลองที่บรรจุสารละลายแคลเซียมไฮดรอก
ไซด์มาหยดบนกระดาษลิตมัสสีแดง จะมีการเปลี่ยนสีหรือไม่ (PAT2 ต.ค. 59)
1. น้อยลง และ เปลี่ยนสี
2. น้อยลง และ ไม่เปลี่ยนสี
3. เท่าเดิม และ เปลี่ยนสี
4. เท่าเดิม และ ไม่เปลี่ยนสี
5. มากขึ้น และ เปลี่ยนสี

เฉลย 1. 4 2. 2 3. 4 4. 4 5. 3 6. 4
7. 4 8. 4 9. 4 10. 2 11. 2 12. 5

Page 87
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
3) สารประกอบที่มีโครงสร้างตามข้อใดที่สามารถให้ผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยาไฮเดรชัน
ตัวอย่างข้อสอบ เคมี ออกมาได้ผลิตภัณฑ์มากกว่า 1 แบบ (PAT2 มี.ค. 52)
1.
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
1) สารประกอบแอโรมาติกชนิดหนึ่งมี วงเบนซีนเป็นองค์ประกอบอยู่ 1 วง มีสูตร
โมเลกุลเป็น C7H8O สารประกอบนี้มีโครงสร้างที่เป็นไปได้ทั้งสิ้นกี่แบบ
2.
(PAT2 มี.ค. 52)
1. 3 แบบ
2. 4 แบบ
3. 5 แบบ
3.
4. 6 แบบ

4.

2) สารในข้อใดไม่ใช่สารอินทรีย์ที่มีฤทธิ์เป็นกรด (PAT2 มี.ค. 52) 4) สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีโครงสร้างดังต่อไปนี้


1. NH +Cl- O
3

OH NH
2. S
O O
O ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับปฏิกิริยาของสารประกอบนี้ (PAT2 มี.ค. 52)
3. 1. เกิดปฏิกิริยาเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากแดงเป็นน้าเงินได้
2. เกิดปฏิกิริยาการเติมกับโบรมีนจะได้ผลิตภัณฑ์เป็น C4H7NOBr2
HO OH
3. ต้มกับน้าโดยมี H+ เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาจะได้ผลิตภัณฑ์เป็น C4H9NO2
4. O 4. เฉื่อยต่อปฏิกิริยา ไม่สามารถเกิดปฏิกิริยาใดๆ ได้
OH
HO
O

5) สารละลายของสารอินทรีย์ในน้าชนิดใดมีค่า pH ใกล้ 7 มากที่สุด (PAT2 ก.ค. 52)


1. สบู่
2. กรดอะมิโน
3. เกลือโซเดียมอะซีเตต
4. ผงชูรส

Page 88
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
6) สารอินทรีย์ที่มีสูตรโมเลกุลเป็น C3H6O ที่ไม่ทาปฏิกิริยากับโลหะ Na มีกี่ชนิด 8) นาตัวยาพาราเซตามอล ซึ่งมีสูตรโมเลกุลเป็น C8H9O2N มาทาปฏิกิริยาต่างๆเพื่อ
(PAT2 ก.ค. 52) วิเคราะห์โครงสร้าง ได้ผลการทดลองดังต่อไปนี้
1. 2 ก. สารละลายของพาราเซตามอลไม่มีฤทธิ์เป็นเบส
2. 3 ข. นาพาราเซตามอลไปต้มกับสารละลายกรด HCl ได้ผลิตภัณฑ์ 2 ชนิด คือสาร
3. 4 A และ สาร B
4. 5 ค. สาร A มีกลิ่นเหมือนน้าส้มสายชู และเมื่อทาปฏิกิริยากับ NaHCO3 จะได้ฟอง
แก๊สเกิดขึ้น
ง. สาร B เป็นสารประกอบที่มีวงเบนซีน และสามารถละลายน้าได้ดี
จ. เมื่อนาสาร B จานวน 1 โมลมาทาปฏิกิริยากับกรด HCOOH จานวน 2 โมล
ได้ผลิตภัณฑ์เป็นสาร C ซึ่งมีสูตรโมเลกุลเป็น C8H7O3N
พาราเซตามอล ควรมีโครงสร้างดังข้อใด (PAT2 ก.ค. 52)
O
1. H2 N
OH

O
2. HO
NH2

O
3.
HN OH

O
7) สารประกอบที่มีโครงสร้างในข้อใด ที่ไม่เกิดปฏิกิริยาการเติมด้วย Br2 แต่สามารถ 4.
กระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาแทนที่ด้วย Br2 ได้ด้วยแสง UV (PAT2 ก.ค. 52) O NH2

1.

2.

3.
9) จากข้อมูลในข้อ 8 สารใดที่ไม่ทาปฏิกิริยากับโลหะ Na (PAT2 ก.ค. 52)
1. พาราเซตามอล
2. สาร A
4. 3. สาร B
4. สาร C

Page 89
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
10) โครงสร้างของสารประกอบอะโรมาติกข้อใดไม่ถูก (PAT2 ต.ค. 52) 12) โอเซลทามิเวียร์ (Oseltamivir) เป็นยาต้านเชื้อหวัด Influenza A มีสูตรโมเลกุลเป็น
C16H28N2O4 และมีโครงสร้างดังนี้
1.

2.

แต่โดยปรกติจะผลิตขายในรูปสารประกอบเกลือ เช่นยาทามิฟลู( tamiflu) ซึ่งเป็น


เกลือกับกรดฟอสฟอริก โดยมีสูตรโมเลกุลเป็น C16H31N2PO8
3. ยา 1 แคปซูลบรรจุทามิฟลูไว้ 98.5 มิลลิกรัม ดังนั้นการรับประทานยาทามิฟลู
1 แคปซูล จะเทียบเท่ากับการได้รับยาโอเซลทามิเวียร์กี่มิลลิกรัม (PAT2 ต.ค. 52)
1. 75
2. 77
4. 3. 100
4. 129

13) ยาโอเซลทามิเวียร์หรือทามิฟลูนี้เป็น prodrug คือ เป็นสารประกอบที่ยังไม่ได้ออก


ฤทธิ์เป็นยา แต่เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วจะถูกทาปฏิกิริยาจนได้สารที่ออกฤทธิ์เป็นยา
11) ในการทดสอบเพื่อจาแนกสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่ฟังก์ชันที่แตกต่างกัน ข้อใดถูก ออกมาในภายหลัง โดยยานี้จะเกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส ทาให้ได้ยาที่มีน้าหนัก
(PAT2 ต.ค. 52) โมเลกุลลดลง 28 หน่วย ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสดังกล่าวเกิดขึ้นที่หมู่ฟังก์ชันใด
1. แอลกอฮอล์ และ อีเทอร์ ทดสอบด้วยสารละลาย NaHCO3 ของโมเลกุล
2. แอลเคน และ แอลคีน ทดสอบด้วยสารละลาย KMnO4 1. อีเทอร์
3. กรดอินทรีย์ และกรดไขมัน ทดสอบด้วยโลหะ Na 2. เอมีน
4. มีคาตอบถูกมากกว่า 1 ข้อ 3. เอสเทอร์
4. เอไมด์

Page 90
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
14) สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่งมีวงเบนซีนเป็นองค์ประกอบ มีสูตรโมเลกุลเป็น 16) สาร A มีสูตรโมเลกุลเป็น C8H14 ทาปฏิกิริยากับน้าโดยมีกรด H2SO4 เป็นตัวเร่ง
C7H7NO2 มีสมบัติดังนี้ ปฏิกิริยา เกิดสารผลิตภัณฑ์ B มีสูตรโมเลกุลเป็น C8H16O เพียงชนิดเดียว เมื่อนา
ก. เป็นของแข็งสีขาวละลายน้าได้ดี สาร B ไปทาปฏิกิริยาออกซิเดชันต่อจะได้สาร C มีสูตรโมเลกุลเป็น C8H14O สูตร
ข. เมื่อทาปฏิกิริยากับ CH3OH จะได้สารประกอบ C8H9NO2 เป็นของเหลวมี โครงสร้างที่เป็นไปได้ของสาร A คือ (PAT2 มี.ค. 53)
กลิ่นหอมเหมือนองุ่น
ค. เมื่อทาปฏิกิริยากับ CH3COCl จะได้สารประกอบ C9H9NO3 เป็นของแข็ง 1.
สามารถเรืองแสงสีน้าเงินได้เมื่อถูกบดหรือถู
สารประกอบอินทรีย์นั้นควรมีสูตรโครงสร้างตามข้อใด
2.
1.

3.

2.
4.

3.

4.

17) ตารางผลการทดสอบสารอินทรีย์
15) สารเคมีที่มีสูตรโครงสร้างดังแสดง คือข้อใด (PAT2 มี.ค. 53)

1. phenyl ethanoate
2. ethenyl benzoate ข้อใดระบุชื่อสารได้สอดคล้องกับผลการทดลอง (PAT2 ก.ค. 53)
3. benzyl ethanoate
4. ethyl benzoate

Page 91
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
18) สารประกอบใดต่อไปนี้ ที่มีจานวนไอโซเมอร์ที่เป็นสารแอโรมาติกต่างจากข้ออื่น 20) เซลลูโลสสามารถถูกไฮโดรไลซ์ได้กลูโคส ซึ่งสามารถสูญเสียน้าได้สารประกอบ
(PAT2 ก.ค. 53) 2-hydroxymethylfurfural (HMF)

1.

Cl
Br
2.

Br
Br ถ้านา HMF มาทาปฏิกิริยากับแอซีโทนโดยมี NaOH เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาจะได้สาร
3. ผสม A และ B จากนั้นนาสารมาผสมทาปฏิกิริยากับแก๊สไฮโดรเจนในสภาวะที่มี
โลหะเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ปรากฏว่าได้ผลิตภัณฑ์ที่ทาปฏิกิริยากับโบรมีนได้ในเฉพาะ
Br
ในที่ที่มีแสงและสารนั้นไม่สามารถทาปฏิกิริยากับโซเดียม ข้อใดเป็นโครงสร้างที่
Br เป็นไปได้ของผลิตภัณฑ์หลังจากทาปฏิกิริยากับแก๊สไฮโดรเจน (PAT2 มี.ค. 54)
4. 1.
Br
2.

3.

4.

19) ยาลดไข้พาราเซตามอล และน้ามันระกา มีโครงสร้างดังต่อไปนี้


O
OH
O O
N OH
H
พาราเซตามอล น้ามันระกา
ยาทั้งสองชนิดจะทาปฏิกิริยากับสารในข้อใดได้แตกต่างกัน (PAT2 ต.ค. 53)
1. Na
2. Litmus
3. NaHCO3
4. ให้ผลเหมือนกันทุกข้อ

Page 92
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
21) โครงสร้างสามมิติของไฮโดรคาร์บอนต่อไปนี้แทนโครงสร้างใด (PAT2 ต.ค. 54) 22) ปฏิกิริยาไฮโดรจิโนไลซิสของไดแอริลอีเธอร์เป็นปฏิกิริยาที่สาคัญ ในการเปลี่ยน
ลิกนินเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพหรือเคมีภัณฑ์อื่นๆ ในการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาที่มี
องค์ประกอบเป็นสารเชิงซ้อนนิเกิลชนิดหนึ่ง จะมีความจาเพาะ โดยเกิดการตัดพันธะ
โดยแก๊สไฮโดรเจนที่พันธะ C-O ที่ต่อกับวงอะโรมาติกเท่านั้น แล้วเกิดพันธะ C-H
และ O-H ขึ้น

ถ้านาสารที่โครงสร้างคล้ายลิกนิกดังรูปต่อไปนี้ ไปทาปฏิกิริยาที่ไฮโดรไลซิสที่มีความ
จาเพาะดังกล่าว จะเกิด ลิตภัณฑ์ใด (PAT2 ต.ค. 54)
1.

2.

3. 1.

4.

2.

3.

4.

Page 93
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
23) โอเลฟิน เมทาทีซิส (Olefin Metathesis) เป็นปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ที่มีการตัดพันธะ 24) ปฏิกิริยาซูซูกิ-มิยาอูระ(Suzuki-Miyaura) เป็นปฏิกิริยาที่สาคัญในการสร้างพันธะ
คู่แล้วจับคู่เป็นพันธะคู่ใหม่ เสมือนการแลกเปลี่ยนคู่เต้นรา หากนาลิโมนีน ระหว่างคาร์บอนกันเอง มีประโยชน์ในการสังเคราะห์เคมีภัณฑ์ ปฏิกิริยานี้จะมีการ
(1-เมทิล-4-(1-เมทิลอีทีนิล)-ไซโคลเฮกซีน) ซึ่งเป็นสารปรุงแต่งกลิ่นอาหารและให้ จับเข้าคู่สองแบบ ดังนี้
กลิ่นมะนาวมาทาปฏิกิริยาโอเลฟินเมทาทีซิสกับ 1,5-เฮกซะไดอีน ข้อใดไม่เป็น แบบที่ 1 เป็นการจับเข้าคู่แบบเหมือนกัน (homo-coupling) โดยเริ่มต้นจาก
ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยานี้ (PAT2 มี.ค. 55) สารตั้งต้นเพียงหนึ่งตัว เช่น AX + AX ได้ AA + XX
แบบที่ 2 เป็นการจับเข้าคู่แบบไขว้กัน (cross-coupling) โดยมีสารตั้งต้นสองตัว
1. แล้วมีการไขว้กัน เช่น AX + BY ได้ AB + XY หรือ AY + BX
ปฏิกิริยาเหล่านี้จะเติมตัวเร่งปฏิกิริยาลงไปเพื่อเพิ่มความจาเพาะในการเกิด
ผลิตภัณฑ์ ข้อใดต่อไปนี้เป็นผลิตภัณฑ์หลักที่ได้จากปฏิกิริยาการจับเข้าคู่แบบไขว้กัน
เท่านั้น (PAT2 มี.ค. 55)
2.
1.

3.

2.

4.
3.

4.

Page 94
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
25) ของเหลวชนิดหนึ่งให้แก๊สไฮโดรเจนเมื่อมี FeCl2 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ที่ 80C โดยมี 27) เมื่อนาไดเมทิลคาร์บอเนต มาทาปฏิกิริยาภายใต้บรรยากาศไฮโดรเจนที่มีตัวเร่ง
โครงสร้างก่อนและหลังให้แก๊สไฮโดรเจนดังนี้ ปฏิกิริยาจะได้เมทานอลเป็นผลิตภัณฑ์ ถ้าใส่ตัวเร่งปฏิกิริยา 0.01 mmol และ
ไดเมทิลคาร์บอเนต 100 mmol ในตัวทาละลาย 1,4 – ไดออกเซน 20 cm3
เกิดปฏิกิริยาสมบูรณ์ จะได้เมทานอลที่ปริมาตรกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร กาหนดให้
เมทานอลมี ความหนาแน่น 0.8 g/cm3 และ มวลโมเลกุลของเมทานอล 32 g/mol
(PAT2 มี.ค. 55)
1. 4
2. 8
3. 12
4. 16

โครงสร้างก่อนให้แก๊สไฮโดรเจน โครงสร้างหลังให้แก๊สไฮโดรเจน

กาหนดให้ X1 , X2 คืออะตอมที่เกี่ยวข้องและไม่ได้แสดงอะตอมของไฮโดรเจนใน
โครงสร้าง ข้อใดเป็นสูตรโมเลกุลของของเหลวชนิดนี้ (PAT2 มี.ค. 55)
1. C6H12
2. C4H12BN
3. C4H8O2
4. C4H9SN

28) ข้อใดผิด (PAT2 มี.ค. 55)


1. เมื่อเติมกรดไฮโดรคลอริกลงไปในสารละลาย KMnO4 จะเกิดแก๊สคลอรีน
2. เมื่อเติม 1-hexene ลงไปในสารละลาย KMnO4 สีม่วงของสารละลายจะจางลง
และได้ตะกอนสีน้าตาล
3. เมื่อเติมกรดออกซาลิกลงไปมากๆในสารละลาย KMnO4 จะได้สารละลายใส
และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
26) ในสภาวะที่มีตัวเร่งปฏิกิริยา กรดฟอร์มิกสลายตัวในน้าให้แก๊สสองชนิด โดยแก๊ส
4. เมื่อเติมกรดซัลฟิวริกลงไปในสารละลาย KMnO4 จะเกิดการสลายตัวได้ตะกอน
ชนิดหนึ่งติดไฟได้ จะพบแก๊สใดต่อไปนี้น้อยทาสุดเมื่อกรดฟอร์มิกสลาย ตัวใน
สีน้าตาลเร็วกว่าเมื่อไม่ได้เติมกรดและเกิดแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ขึ้น
Heavy Water (D2O) (PAT2 มี.ค. 55)
1. H2
2. HD
3. D2
4. CO2

Page 95
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
29) ในการสกัดสารจากไพล จะได้น้ามันหอมระเหยที่มีองค์ประกอบหลักดังโครงสร้าง 31) อนุภาคนาโนของโลหะผสมระหว่างทองและแพลลาเดียม เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในการ
ต่อไปนี้ เปลี่ยนคลอโรเบนซีนเป็นไบฟีนิล (C6H5-C6H5) ที่อุณหภูมิห้อง โดยตัวเร่ง
ปฏิกิริยาตัวนี้สามารถสลายพันธะคาร์บอนกับคลอรีนแล้วสร้างพันธะระหว่าง
คาร์บอนกับคาร์บอนได้ ถ้านาอนุภาคนาโนของโลหะผสมนี้มาทาปฏิกิริยากับ
1,4-ไดคลอโรเบนซีน จะได้สารใดเป็นผลิตภัณฑ์ (PAT2 ต.ค. 55)
1. พอลิไดคลอโรเบนซีน
2. พอลิพาราฟีนิลีน
3. พอลิไดเบนซีน
4. พอลิไดคลอรีน

Terpinen-4-ol Sabinene
มีฤทธิ์ต้านการอักเสบและฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อจุลินทรีย์

ข้อใดผิด (PAT2 มี.ค. 55)


1. การสกัดไพลด้วยการกลั่นแบบไอน้าจะได้สารที่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ
2. เมื่อตรวจสอบกลิ่นของน้าหอมระเหย จะพบ Sabinene มากกว่า Terpinen-4-ol
3. ของผสมระหว่าง Terpinen-4-ol กับ Sabinene สามารถแยกได้โดยการเติม
สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
4. เมื่อนาไพลมาแช่ในเอทานอลแล้วนามาตรวจสอบด้วยโครมาโทกราฟีแบบ
กระดาษโดยมีตัวพาเป็นเอทิลแอซีเตตผสมกับเฮกเซนในอัตราส่วน 3:7 จะ
พบว่า Terpinen-4 มีค่า Rr ต่ากว่า Sabinene 32) นาลิโมนีน (C10H16) มาทาปฏิกิริยากับกรดไตรฟลูออโรอะซีติกแล้วทาปฏิกิริยา
ต่อเนื่องกับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ได้ผลิตภัณฑ์เป็นสารอินทรีย์ที่ทา
ปฏิกิริยากับโลหะโซเดียมได้ในสภาวะที่ไม่รุนแรง โครงสร้างใดที่เป็นได้สาหรับ
ผลิตภัณฑ์นี้ (PAT2 ต.ค. 55)
1.

30) พิจารณาการเกิดพอลิเมอร์
อีทีน ต่อกับ อีทีน ต่อกับ อีทีน เป็นสายยาวจะได้พอลิอีทีน 2.
ถ้าการจับกันของอีทีน(C2H4) เหมือนกับการจับมือคู่กันระหว่างหนูสองตัวเพศ
เดียวกัน จากนั้นปล่อยมือข้างหนึ่งแล้วนามือซ้ายของหนูคู่แรกไปจับกับมือขวาของ
หนู คู่ที่สอง จะได้พอลิเมอร์ของหนูเพศเดียวกันดังภาพ

3.
ถ้าเปรียบพันธะคู่ของโพรพีน(CH2=CHCH3) เหมือนกับการจับมือคู่กันระหว่างหนูตัว
เมียกับหนูตัวผู้ ถ้ามีหนูทั้งหมด 5 คู่ การปล่อยมือข้างใดข้างหนึ่งของหนูแต่ละคู่
แล้วไปจับมือกับหนูคู่ถัดไป จะได้พอลิเมอร์ของหนูต่างเพศกันที่ไม่เป็นวงกี่แบบ
กาหนดให้พอลิเมอร์ของหนูเพศสลับกันนี้หนูตัวผู้ยืนสลับกับหนูตัวเมียเท่านั้น
(PAT2 ต.ค. 55)
1. 1
2. 10
4.
3. 20
4. 32

Page 96
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
33) กรดแอลฟาไฮดรอกซี หรือ เอเอชเอ และกรดเบตาไฮดรอกซี หรือ บีเอชเอ เป็น 35) ปฏิกิริยา Fluorination ของพิริดีน ทาได้ตามปฏิกิริยาต่อไปนี้
กรดคาร์บอกซิลิกที่ปัจจุบันนามาใช้เป็นส่วนผสมของผลิตภัณฑ์บารุงผิว
ข้อใดเป็นโครงสร้างของเอเอชเอ และถ้าเอเอชเอ มีเอชเอผสมกับผงไททาเนียม
ออกไซด์ จะแยกเอเอชเอออกจากสารผสมกันด้วยวิธีใด (PAT2 มี.ค. 56)

ปฏิกิริยานี้สามารถนาไปใช้ในการสังเคราะห์สารประกอบที่มีฤทธิ์เป็นยาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

ถ้าสารประกอบที่มีฤทธิ์เป็นยามีโครงสร้างเป็นสาร A จะต้องใช้สารใดเป็นสารตั้งต้น
(PAT2 เม.ย. 57)
1.

2.

3.

34) เมื่อนาซินนามาลดีไฮด์ (ซึ่งพบมากในอบเชย) มาทาปฏิกิริยากับแก๊สไฮโดรเจนโดยมี


ตัวเร่งปฏิกิริยา พบว่าได้ผลิตภัณฑ์ตัวหนึ่งที่ทาปฏิกิริยากับโลหะโซเดียม และไม่
ฟอกสีโบรมีน โครงสร้างของผลิตภัณฑ์คือข้อใด (PAT2 มี.ค. 57)
4.
1.

2.

3.

4.

Page 97
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
36) เฮกซะฟลูออโรเบนซีนทาปฏิกิริยากับไตรเอทิลฟอสฟีน ในสภาวะที่มีตัวเร่งปฏิกิริยา 37) พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้
ได้ผลิตภัณฑ์ 2 ชนิด โดยชนิดหนึ่งได้ 1, 2, 4, 5-เตรตระฟลูออโรเบนซีนเป็น กรณีที่หนึ่ง ถ้านากรดซาลิซิลิกมาทาปฏิกิริยากับไอโอโดเบนซีน ในสภาวะที่มีตัวเร่ง
ผลิตภัณฑ์ สารอีกชนิดจะเป็นสารใด (PAT2 เม.ย. 57) ปฏิกิริยา จะได้ผลิตภัณฑ์ A ที่มีโครงสร้างหลักเป็นไบฟีนิลและละลายในสารละลาย
1. NaOH ได้
กรณีที่สอง ถ้านาฟีนอลมาะลายในสารละลาย NaOH แล้วทาปฏิกิริยากับแก๊ส
14
CO2 ที่มีความดันสูง จะได้กรดซาลิซิลิกที่มีกัมมันตภาพรังสีเป็นผลิตภัณฑ์หลัก
กรณีที่สาม ถ้านาฟีนอลมาละลายในสารละลาย NaOH แล้วทาปฏิกิริยากับแก๊ส
14
CO2 ที่ความดันสูง จากนั้นทาปฏิกิริยากับไอโอโดเบนซีนในสภาวะที่มีตัวเร่ง
2. ปฏิกิริยา จะได้ผลิตภัณฑ์ A เช่นเดียวกับกรณีที่หนึ่ง และผลิตภัณฑ์ A ไม่มี
กัมมันตภาพรังสี
ข้อใดคือโครงสร้างของผลิตภัณฑ์ A (PAT2 เม.ย. 57)
1.

3.
2.

4. 3.

4.

Page 98
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
38) แคลเซียมคาร์ไบด์(CaC2) ผลิตได้จากถ่านหิน ถ้านาไปทาปฏิกิริยากับน้าจะได้แก๊ส 40) กลีเซอรอลเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการผลิตไบโอดีเซล ถ้านากลีเซอรอลมาทา
อะเซทิลีน ถ้านา CaC2 ไปทาปฏิกิริยากับ Heavy water (D2O) จะได้สารใดเป็น ปฏิกิริยาโดยมีสารประกอบเชิงซ้อนรูทีเนียม(II) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ในสภาวะที่เป็น
ผลิตภัณฑ์ (PAT2 พ.ย. 57) เบส ที่อุณหภูมิ 130C จะได้ผลิตภัณฑ์ดงั นี้
1. H-CC-H
2. H-CC-D
3. D-CC-D
4. D-CC-H

นอกจากนี้ ยังได้แก๊สชนิดหนึ่งที่เบากว่าอากาศและมีสมบัติติดไฟ ถ้าในสภาวะหนึ่ง


นอกจากแก๊สแล้วจะได้ผลิตภัณฑ์ A อีกเพียงชนิดเดียว ซึ่งสามารถเปลี่ยนกระดาษ
ลิตมัสจากสีน้าเงินเป็นแดง ข้อใดถูกต้อง (PAT2 พ.ย. 57)
1. ผลิตภัณฑ์ A คือ กรดแลกติก
2. ผลิตภัณฑ์ A คือ กรดบิวทาโนอิก
3. ผลิตภัณฑ์ A คือ กรดโพรพาโนอิก
4. แก๊สที่ได้จากปฏิกิริยานี้ คือ แก๊สออกซิเจน

39) Acetophenone ทาปฏิกิริยากับ hydroxylamine.hydrochloride ใน DMSO ที่


60C ในสภาวะเบส จะได้ oxime เป็นสารมัธยันตร์ (intermediate) จากนั้นเติม
แคลเซียมคาร์ไบด์ จะได้ 2-phenyl pyrrole ดังสมการ

41) THFทาปฏิกิริยากับไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ เปลี่ยนไปเป็น butyrolactone ใน


สภาวะที่มีเหล็กออกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาดังสมการ
ถ้าใช้ และ Ca13CC เป็นสารตั้งต้น
ข้อใดเป็นหนึ่งในผลิตภัณฑ์ที่ เกิดขึ้น (PAT2 พ.ย. 57)

1.

ปฏิกิริยานี้ไม่ให้ผลิตภัณฑ์ ถ้ามีการเติมสารจับอนุมูลอิสระ ถ้าใช้


เป็นสารตั้งต้น ข้อใดไม่ถูกต้อง (PAT2 พ.ย. 57)
2.

1. ผลิตภัณฑ์ที่มากที่สุดมีโครงสร้างคือ
2. ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาออกซิเดชันของ THF
3. ปฏิกิริยานี้มีสารอนุมูลอิสระเป็นสารมัธยันตร์ (intermediate)
4. เลขออกซิเดชันของออกซิเจนของ butyrolactone มีค่าเท่ากับ -2
3.

4.

Page 99
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
42) แอลไคน์ทาปฏิกิริยากับสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตเจือจางในสภาวะที่ 44) จากการคานวณในคอมพิวเตอร์ แก๊สมีเทนสามารถทาปฏิกิริยากับแก๊ส
เป็นกลาง หรือเบสอ่อนๆ พบว่า สีของสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตจาง คาร์บอนไดออกไซด์ ในสภาวะที่มีตัวเร่งปฏิกิริยา ได้กรดแอซีติก ถ้านา 13CH4 ทา
หายไป และมีตะกอนสีน้าตาลดาเกิดขึ้น ปฏิกิริยากับ 12C18O16O จะได้กรดแอซีติกหลายแบบ
ถ้าหยด D2O ลงบนแคลเซียมคาร์ไบด์ จะเกิดแก๊ส ซึ่งเมื่อต่อท่อนาแก๊ส เพื่อให้แก๊ส สูตรโครงสร้างใดที่มีโอกาสเกิดมากที่สุด (PAT2 ต.ค. 59)
ผ่านลงไปในสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต ในสภาวะที่เป็นเบสอ่อนๆ ที่มี 1. 13CH312C18O16OH
น้าเป็นตัวทาละลาย 2. 12CH313C18O16OH
ข้อใดเป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นมากที่สุด (PAT2 ต.ค. 59) 3. 13CH312C18O18OH
1. HCOOH 4. 12CH313C18O18OH
2. HCOOD 5. 12CH313C18O18OH
3. DCOOH
4. DCOOD
5. HCOCOH

45) นายูจีนอลมาทาปฏิกิริยากับสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตเจือจางใน
สภาวะที่เป็นกลาง ได้ผลิตภัณฑ์ A ผลิตภัณฑ์ที่ได้นี้สามารถทาปฏิกิริยากับโลหะ
43) สาร A มีสูตรโมเลกุล C4H8O2 เมื่อนามาทาปฏิกิริยากับโซเดียมไฮโดรเจน โซเดียม โดยมีแก๊สเกิดขึ้น และถ้ามีการเก็บแก๊สโดยการแทนที่น้าในกระบอกตวง
คาร์บอเนต พบว่าไม่เกิดปฏิกิริยา แต่เมื่อนามาต้มกับกรดซัลฟิวริกเข้มข้น พบว่า ได้ ปริมาตรของแก๊สจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรเมื่อเทียบกับยูจีนอล ในปริมาณโมลที่
ผลิตภัณฑ์เป็นของเหลว 2 ชนิด ผลัตภัณฑ์ชนิดหนึ่งมีจุดเดือดต่ากว่าสาร A ส่วนอีก เท่ากัน และผลิตภัณฑ์ A นี้ ทาปฏิกิริยากับสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต
ผลิตภัณฑ์หนึ่งมีจุดเดือดสูงกว่าสาร A หรือไม่ (PAT2 ต.ค. 59)
ข้อใดเป็นสูตรโครงสร้างที่เป็นไปได้มากที่สุดของสาร A (PAT2 ต.ค. 59)
1. HCOOCH2CH2CH3
2. CH3COOCH2CH3
3. CH3CH2COOCH3
4. CH3CH2CH2COOH
5. CH3CH2CHC(OH)OH

Page 100
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
46) นา 4-คลอโรไอโอโดเบนซีนมาทาปฏิกิริยาในสภาวะที่มีตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีคุณสมบัติ
การตัดพันธะระหว่างคาร์บอนกับแฮโลเจนเท่านั้น แล้วต่อพันธะระหว่างคาร์บอนกับ
คาร์บอน ข้อใดเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นไปได้น้อยที่สุด (PAT2 มี.ค. 60)
1.

2.

3.

4.

5.

47) นา 4-คลอโรไอโอโดเบนซีนมาทาปฏิกิริยาในสภาวะที่มีตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีคุณสมบัติ
การตัดพันธะระหว่างคาร์บอนกับคลอรีนเท่านั้น แล้วต่อพันธะระหว่างคาร์บอนกับ
คาร์บอน ข้อใดเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นไปได้มากที่สุด (PAT2 มี.ค. 60)
1.

2.

3.

4.
เฉลย 1. 3 2. 3 3. 2 4. 3 5. 4 6. 4
7. 1 8. 3 9. 4 10. 2 11. 2 12. 1
5.
13. 3 14. 1 15. 2 16. 3 17. 1 18. 1
19. 4 20. 2 21. 3 22. 2 23. 1 24. 4
25. 2 26. 2 27. 3 28. 4 29. 3 30. 1
31. 2 32. 2 33. 2 34. 2 35. 2 36. 3
37. 2 38. 3 39. 1 40. 1 41. 1 42. 3
43. 3 44. 1 45. 2 46. 3 47. 4

Page 101
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
3) ถ้านาหญ้ามาหมักกับเซลลูเลสซึ่งเป็นเอนไซม์ในปลวกเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา จะได้
ตัวอย่างข้อสอบ เคมี กลูโคสซึ่งเปลี่ยนมาจากเซลลูโลส จากนั้นนากลูโคสมาหมักกับยีตส์ได้เอทานอล เพื่อ
นาไปผสมกับน้ามันเบนซินเพื่อผลิตน้ามันแก๊สโซฮอลล์ ถ้าต้องการนาน้ามันแก๊ส
บทที่ 12 ซากเชื้อเพลิงดึกดาบรรพ์ โซฮอลล์ 95 (E10) ปริมาณ 100 ลิตร (เติมรถยนต์ 2 คัน) จะต้องนาหญ้ามาหมักกี่
1) เชื้อเพลิงปิโตรเลียมใดเผาไหม้ได้ดีที่สุด ในสภาวะปฏิกิริยาเดียวกัน กิโลกรัมเพื่อเพียงผลิตเอทานอลเติมรถยนต์และให้เหลือเอทานอลน้อยทีสุด
(PAT2 ต.ค. 53) กาหนดให้ เซลลูเลสมีความจาเพาะ ย่อยเฉพาะเซลลูโลสที่มีกลูโคส 10 หน่วย และ
1. อะเซทิลีน(C2H2) เพราะมีสถานะเป็นแก๊สใช้ในการให้ความร้อนเชื่อมโลหะได้ดี เซลลูโลสชนิดนี้มีประมาณ 30% โดยน้าหมักของหญ้า ทุกขั้นตอนเกิดปฏิกิริยา
2. iso-octane บริสุทธิ์ เพราะมีค่าเลขออกเทนเท่ากับ 100 สมบูรณ์และเอทานอลมีความหนาแน่น 0.7912 g/cm3
3. แก๊สธรรมชาติอัด(CNG) เพราะมีน้าหนักโมเลกุลต่า (มวลอะตอม c = 12, H = 1 , O = 16 ) (PAT2 ต.ค. 54)
4. ไม่สามารถเทียบกันได้ เพราะเป็นเชื้อเพลิงต่างประเภท 1. 10
2. 25
3. 50
4. 75

2) ปฏิกิริยา transesterification

4) ปฏิกิริยา transesterification

กาหนดให้ triglyceride มีกรดไขมันที่เป็นกรดไขมันอิ่มตัวปาล์มิติก (C16) เป็น


องค์ประกอบเท่านั้น ถ้าเริ่มต้นใช้ triglyceride 8.06 กรัม ทาปฏิกิริยากับเมทานอล
ปริมาณมากเกินพอ จะได้ biodiesel ทั้งหมดกี่กรัมโดยปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นเพียง 90%
(PAT2 มี.ค. 54)
1. 2.43
2. 2.70 กาหนดให้ triglyceride มีกรดไขมันที่เป็นกรดไขมันอิ่มตัวสเตียริก (C18) เป็น
3. 7.29 องค์ประกอบเท่านั้น ถ้าปฏิกิริยานี้ทาให้เมทานอลและปฏิกิริยาเกิดขึ้นสมบูรณ์ จะได้
4. 8.10 กลีเซอรอลปริมาณกี่กิโลกรัม ถ้าต้องการผลิตไบโอดีเซลไปผสมกับน้ามันดีเซล
เพื่อให้ ได้น้ามันไบโอดีเซล B5 ปริมาณ 100 ลิตร (เติมรถยนต์ 2 คัน ) กาหนดให้
ความหนาแน่นของไบโอดีเซล = 0.86 g/cm3
(มวลอะตอม C = 12 , H = 1 , O = 16) (PAT2 ต.ค. 54)
1. 0.35
2. 0.44
3. 1.23
4. 1.33

Page 102
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
5) Green Diesel ได้จากการทาปฏิกิริยาระหว่างน้ามันพืชที่มี กรดโอเลอิกเป็น 7) ทาการทดลองเปรียบเทียบการระเหยและการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงประเภทต่างๆ
องค์ประกอบ100 % กับแก๊สไฮโดรเจนโดยมีตัวเร่งปฏิกิริยาได้ไฮโดรคาร์บอนเหลว เช่น เอทานอล น้ามันแก๊สโซฮอล์ และน้ามันเบนซินไร้สารตะกั่วได้ผลการทดลอง
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สโพรพีนเป็นผลิตภัณฑ์หากต้องการน้ามันดีเซล ดังนี้
ปริมาตร 50 ลิตรเพื่อเติมรถยนต์ 1 คัน จะต้องใช้น้ามันพืชอย่างน้อยที่สุดกี่ขวดถ้า
น้ามันดีเซลมีความหนาแน่น 0.85 g/cm3 และ น้ามันพืช 1 ขวด มีปริมาตร 1 ลิตร
ความหนาแน่น 0.9 g/cm3 สูตรโมเลกุลของกรดโอเลอิก C18H34O2
(มวลอะตอมของ H, C, O = 1, 12, 16 ตามลาดับ) (PAT2 มี.ค. 55)
1. 50
2. 55
3. 60
4. 65

ข้อใดไม่ใช่ข้อสรุปที่ได้จากการทดลองนี้ (PAT2 มี.ค. 57)


1. เอทานอลมีการระเหยช้ากว่าน้ามันเบนซินไร้สารตะกั่ว
6) Atom Economy เป็นการอธิบายประสิทธิภาพในการเกิดผลิตภัณฑ์ที่ต้องการโดย 2. น้ามันแก๊สโซฮอล์จะเกิดควันดาและเขม่ามากกว่าเอทานอล
พิจารณาได้จาก 3. น้ามันแก๊สโซฮอล์ที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ผสมมากจะระเหยเร็วกว่าน้ามันแก๊ส
มว ลโมเลกุ ลรว มขอ ง สารที่ ต้ อ ง การ โซฮอล์ที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ผสมน้อย
Atom Economy = 4. น้ามันแก๊สโซฮอล์ที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ผสมมากจะเกิดควันดาและเขม่าน้อย
มว ลโมเลกุ ลรว มขอ ง สารตั้ ง ต้ น
ในปฏิกิริยาการผลิตไบโอดีเซล มีหลายกรรมวิธี ดังต่อไปนี้ กว่าน้ามันแก๊สโซฮอล์ที่มีปริมาณ แอลกอฮอล์ผสมน้อย
วิธีที่ 1 นาไตรกลีเซอไรด์มาทาปฏิกิริยากับเมทานอลในสภาวะที่มีกรดหรือเบส
เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา จะได้ไบโอดีเซลและกลีเซอรอลเป็นผลิตภัณฑ์
วิธีที่ 2 นาไตรกลีเซอไรด์มาทาปฏิกิริยากับเมทิลแอซิเทต ใน สภาวะ Supercritical
fluid จะได้ไบโอดีเซลและกลีเซอรินไตรแอซีเตตเป็นผลิตภัณฑ์
วิธีที่ 3 นาไตรกลีเซอไรด์มาทาปฏิกิริยากับไดเมทิลคาร์บอเนตในสภาวะ
supercritical fluid จะได้ไบโอดีเซลและกลีเซอรอลคาร์บอเนตเป็น
ผลิตภัณฑ์
วิธีใดให้ค่า Atom Economy สูงสุด (PAT2 มี.ค. 55)
1. วิธีที่ 1
2. วิธีที่ 2
3. วิธีที่ 3
4. เท่ากันทั้งสามวิธี

Page 103
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
8) เมื่อทาการทดลองสันดาปเมทานอลในสถานะมาตรฐานพบว่าการสันดาปเมทานอล 9) ไบโอดีเซลเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนาน้ามันพืชหรือไขมันสัตว์มาผ่านกระบวนการ
1 โมล ทางเคมี เพื่อให้ได้สารที่มีสมบัติใกล้เคียงกับน้ามันดีเซล
CH3OH(l) + (3/2)O2(g)  CO2(g) + 2H2O(g) พิจารณาวัตถุดิบต่อไปนี้ ได้แก่
ปลดปล่อยพลังาน -720 kJ ปาล์มน้ามัน มะพร้าว ถั่วเหลือง สบู่ดา สาหร่าย
เมทานอลสามารถนามาใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับเซลล์เชื้อเพลิงแบบ Direct มีกี่ชนิดที่นามาทาไบโอดีเซลได้ (PAT2 มี.ค. 60)
Methanol Fuel Cell(DMFC) โดยครึ่งปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น ณ ขั้วไฟฟ้าทั้งสองใน 1. 1
สถานะมาตรฐานมีศักย์ไฟฟ้าดังนี้ 2. 2
O2(g) + 4H+ + 4e-  2H2O(g) E0 = 1.25 V 3. 3
CO2(g) + 6H+ + 6e-  CH3OH(l) + H2O(g) E0 = 0.05 V 4. 4
เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของเซลล์เชื้อเพลิง เรานิยาม ร้อยละประสิทธิภาพในทาง 5. 5
ทฤษฎีของเซลล์เชื้อเพลิง() ดังนี้
9650x(จานวนอิเล็กตรอนที่ถ่ายเทระหว่างครึ่งเซลล์)x(ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์เชื้อเพลิงในหน่วยโวลต์)
=
ขนาดพลังงานที่ปลดปล่อยจากการสันดาปเมทานอล 1 โมล ในหน่วย kJ
ในสถานะมาตรฐาน ค่าร้อยละประสิทธิภาพในทางทฤษฎีของเซลล์เชื้อเพลิง
เมทานอลมีค่าใกล้เคียงกับตัวเลขในข้อใดที่สุด (PAT2 ต.ค. 59)
1. 65
2. 80
3. 96
4. 100
5. 145

เฉลย 1. 3 2. 3 3. 3 4. 2 5. - 6. 1
7. 3 8. 5 9. 5

Page 104
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
3) โครงสร้างของเมลามีน
ตัวอย่างข้อสอบ เคมี
บทที่ 13 พอลิเมอร์
1) โครงสร้างของเมลานีน และ ฟอร์มาลดีไฮด์เป็นดังนี้

เมื่อกินเมลามีนเข้าไป จะเกิดการตกตะกอนทาให้อุดตันในท่อหน่วยไตและมีน้าคั่งใน
ไตได้ การตกตะกอนดังกล่าวน่าจะเกิดจากสาเหตุใด (PAT2 ก.ค. 52)
1. เกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างเมลามีน
2. เกิดปฏิกิริยากรด – เบสระหว่างเมลามีน
3. เมลามีนเกิดการจับตัวกับโปรตีนในน้านม
4. เมลามีนเกิดการรวมตัวกับน้า
ในอุตสาหกรรมพลาสติกที่นาเมลามีนมาทาปฏิกิริยาควบแน่นกับฟอร์มาลดีไฮด์จะ
ได้ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างแบบใด (PAT2 มี.ค. 52)
1. เส้นตรง
2. ขดเป็นวง
3. ขดเป็นเกลียว
4. ร่างแห

4) จากสมการ
2) พอลิเมอร์ขนาดโมเลกุลใกล้เคียงกันที่มีโครงสร้างในข้อใดน่าจะมีจุดหลอมเหลวสูง
ที่สุด (PAT2 มี.ค. 52)

กาหนดให้ B มีน้าหนักโมเลกุลมากกว่า C ข้อใดไม่ถูกต้อง (PAT2 ก.ค. 52)


1. กระบวนการพอลิเมอไรเซชันที่เกิดขึ้นเป็นปฏิกิริยาการเติม
2. สาร A เป็นพอลิเมอร์แบบเส้นตรง
3. สาร B และสาร C ไม่เป็นพอลิเมอร์
4. สาร C มีฤทธิ์เป็นกรด

Page 105
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
5) ไคตินเป็นองค์ประกอบหลักในโครงสร้างแข็งภายนอกของสัตว์จาพวกครัสเตเชียน 7) พอลิเมอร์แบบกิ่งสามารถเตรียมได้จากปฏิกิริยาระหว่างเอทิลีนและสารใด
เช่น กุ้ง และ ปู โดยสารประกอบไคตินเป็นพอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างดังรูป (PAT2 มี.ค. 53)
1. acetylene
2. butadiene
3. ethylene glycol
4. hexene

เมื่อนาเปลือกกุ้งมาแยกไคตินออกแล้วทาปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสด้วยกรดแล้ว จะได้
ผลิตภัณฑ์เป็นพอลิเมอร์ชนิดใหม่ที่ชื่อว่าไคโตซาน มอนอเมอร์ของไคโตซานมีสูตร
โมเลกุลตามข้อใด (PAT2 ต.ค. 52)
1. C6H10O5
2. C6H12O6
3. C6H13NO5
4. C8H15NO6

8) พอลิเมอร์แลคไทด์เป็นพอลิเมอร์ที่ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ มีโครงสร้างดังรูป

สามารถเตรียมได้จากปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันของสารใด (PAT2 มี.ค. 53)

1.

6) สารประกอบ 3 ชนิดที่สามารถนามาใช้เป็นสารตั้งต้นสาหรับปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซ
ชันมีโครงสร้างดังภาพ
2.

พอลิเมอร์ที่ความเหนียวทนทานมากที่สุด เตรียมได้จากสารตั้งต้นในข้อใด 3.
(PAT2 ต.ค. 52)
1. A + B เพราะมีขั้วมากที่สุด
2. A + C เพราะมีพันธะไฮโดรเจน
3. B + C เพราะโมเลกุลเรียงชิดกันแน่น 4. ถูกทั้งข้อ 2 และ 3
4. A + B + C เพราะเป็นแบบร่างแห

Page 106
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
9) สารใดไม่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันกับ (PAT2 ก.ค. 53) 11) ไคโตซาน เป็นพอลิเมอร์ ที่มีโครงสร้างดังนี้

1.

ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการละลายของไคโตซาน (PAT2 ต.ค. 53)


1. ละลายได้ดีในตัวทาละลายอินทรีย์
2. ละลายได้ดีในน้าที่อุณหภูมิต่า
3. ละลายได้ดีในน้าเมื่อ pH สูง
4. ละลายได้ดีในน้าเมื่อ pH ต่า
2.

3.

4.

12) ซิลิโคนที่มีโครงสร้างดังรูป สามารถสังเคราะห์ได้จากสารใด (PAT2 มี.ค. 54)

10) ไดเมทิโคน(dimethicone) เป็นพอลิเมอร์ในกลุ่มซิลิโคนมีหน่วยซ้าเป็น –Si(CH3)2O-


สามารถเตรียมได้จากปฏิกิริยาระหว่าง Si(CH3)2Cl2 กับ H2O อัตราส่วนจานวน
1. (CH3)2SiCl2 และ H2O
โมลของสารตั้งต้น Si(CH3)2Cl2 : H2O ข้อใด ที่เตรียมเป็นพอลิเมอร์ได้สายยาวที่สุด
2. CH3Cl และ SiO2
(PAT2 ต.ค. 53)
3. CH3CH2Cl และ SiO2
1. 1 : 100
4. (CH3)2SiCl2 และ SiO2
2. 1 : 2
3. 1 : 1
4. 100 : 1

Page 107
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
13) ไคตินเป็นคาร์โบไฮเดรตที่ประกอบด้วย เอ็น-แอซีติลกลูโคซามีน มีโครงสร้างดังรูป 15) ถ้านากาวน้าชนิดใสผสมกับสารละลายบอแรกซ์ สารที่ได้สามารถปั้นเป็นก้อนได้
โครงสร้างของพอลิเมอร์ก่อนและหลังเติมสารละลายบอแรกซ์มีโครงสร้างเป็นแบบใด
(PAT2 มี.ค. 57)

ในขณะที่ไคโตแซนได้จากปฏิกิริยา ดีแอซีติเลชัน(deacetylation) ของไคติน แบบ ก. แบบ ข.


จงเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการต้มไคตินในกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นและ
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการต้มไคตินในสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (PAT2 มี.ค. 56)

แบบ ค.

14) พลาสติกบางชนิดมีความหนาแน่นดังนี้

16) ยางพาราเป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ มีโครงสร้างประกอบด้วย


มอนอเมอร์ไอโซพรีนที่เชื่อมต่อกันอยู่ในช่วง 1,500 ถึง 15,000 หน่วย หากนามาทา
ปฏิกิริยาในสภาพที่มีตัวเร่งปฏิกิริยา ได้พอลิเมอร์ที่มีคุณสมบัติเป็นสารกึ่งตัวนา
และของเหลวที่ใช้ในการทดสอบมีความหนาแน่นดังต่อไปนี้ ข้อใดคือโครงสร้างของพอลิเมอร์ของสารกึ่งตัวนานี้ (PAT2 มี.ค. 57)
1.

2.
ถ้านาพลาสติกชนิดหนึ่งไปทดสอบการลอยตัว ได้ผลการทดลองดังนี้

3.

จากข้อมูลข้างต้น พลาสติกนี้ควรเป็นพลาสติกชนิดใด (PAT2 มี.ค. 56)


1. พอลิไวนิลคลอไรด์ 4.
2. พอลิเอทิลีนความหนาแน่นต่า
3. พอลิเอทิลีนความหนาแน่นสูง
4. พอลิสไตรีน

Page 108
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
17) ฟลูออโรไซโคลเฮกเซน (C6H11F) ไม่เกิดปฏิกิริยากับไตรเอทิลไซเลน(Et3SiH) แต่ถ้า 2.
มีการเติม [(C6F5)3PF][B(C6F5)4] ลงไปจะได้ของเหลวชนิดหนึ่งที่มีจุดเดือด 80C
และ ไตรเอทิลฟลูออโรไซเลน(Et3SiF) ซึ่งเป็นแก๊สที่อุณหภูมิห้อง
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง (PAT2 มี.ค. 57)
1. ผลิตภัณฑ์ที่เป็นของเหลวคือไซโคลเฮกเซน
2. ปฏิกิริยานี้นาไปพัฒนาเพื่อกาจัดเทฟลอนได้
3. ถ้าใช้ Et3SiD เป็นสารตั้งต้น จะได้ C6H11D เป็นผลิตภัณฑ์
4. [(C6F5)3PF][B(C6F5)4] ทาหน้าที่เป็นเบสตามนิยามของลิวอิส

18) กรดริซิโนแลอิก (Ricinoleic Acid) พบมากในน้ามันละหุ่ง (Caster Oil) มีโครงสร้าง


ดังนี้

3.

มีการนากรดริซิโนเลอิกไปสังเคราะห์พอลิกลีเซอรอล พอลิริซิโยเลเอต
(Polyglycerol polyricinoleate) ซึ่งเป็นสารอิมัลซิฟายเออร์ในช๊อคโกแลต
สามารถเตรียมได้จากการให้ความร้อนกับกลีเซอรอลโดยมีเบสเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
4.
จากนั้นเติมกรดริซิโนเลอิกลงไปแล้วให้ความร้อนต่อเนื่องจะได้สารที่มีความหนืดสูง
ข้อใดเป็นโครงสร้างของพอลิกลีเซอรอล พอลิริซิโนเลเอต (PAT2 มี.ค. 57)
1.

Page 109
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
19) เซลล์เชื้อเพลิงแบบเบส (Alkaline Fuel Cells, AFC) เป็นเซลล์เชื้อเพลิงที่ผ่านแก๊ส 20) ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ของ 1,5-ไดเมทิล-1,5-ไซโคลออกตะไดอีน เป็นดัง
ไฮโดรเจนเข้าไปที่ขั้วแอโนดและผ่านแก๊สออกซิเจนเข้าไปที่ขั้วแคโทด มีอิเล็กโทรไลต์ สมการต่อไปนี้
เป็นโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ที่เคลื่อนที่อยู่ในพอลิเมอร์ เซลล์เชื้อเพลิงแบบนี้ควร
เลือกใช้พอลิเมอร์แบบใด (PAT2 มี.ค. 57)

1. ถ้าต้องการสังเคราะห์พอลิเมอร์ให้มีโครงสร้างเหมือนผลิตภัณฑ์สุดท้ายด้วยปฏิกิริยา
การเกิดพอลิเมอร์แบบเติม จะต้องใช้มอนอเมอร์ชนิดใด (PAT2 เม.ย. 57)
1. เอทิลีน
2. โพรพิลีน
3. 1-บิวทีน
4. เอทิลีน และ โพรพิลีน

2.

21) ถ้านา lysine มาทาปฏิกิริยาในบรรยากาศแก๊สไฮโดรเจนโดยมีตัวเร่งปฏิกิริยา จะได้


สาร lysinol และถ้านา lysinol มาทาปฏิกิริยากับ bis-epoxide จะได้พอลิเมอร์

3.

ข้อใดคือโครงสร้างของ lysinol (PAT2 พ.ย. 57)


1.

4.
2.

3.

4.

Page 110
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
22) ถ้านาขวดพอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (ขวด PET) มาต้มในเอทานอลที่มี
โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ ใช้เวลาหลายวันในการทาปฏิกิริยาขนขวด PET ละลาย
หมดไป หลังจากหยุดปฏิกิริยา พบว่าได้ผลิตภัณฑ์หลายชนิด
ข้อใดเป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นและมีน้าหนักมากที่สุด (PAT2 ต.ค. 59)
1. กลีเซอรอล
2. เมทิลีนไกลคอล
3. เอทิลีนไกลคอล
4. ไดเมทิลเทเรฟทาเลต
5. ไดเอทิลเทเรฟทาเลต

23) เทกาวลาเทกซ์ (พอลิไวนิลแอซีเตต) ลงในถ้วยพลาสติกประมาณ 10-20 กรัม เติม


น้าประมาณ 5 ลูกบาศก์เซนติเมตรแล้วคนให้เข้ากัน เติมสารละลายบอแรกซ์ลงใน
ถ้วย 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร แล้วคนสารไปเรื่อยๆให้เข้ากันจนได้สารข้นเหนียวหนืด
สามารถปั้นเป็นก้อนได้และมีความยืดหยุ่น
ผลิตภัณฑ์ที่ได้เป็นพอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างแบบใด (PAT2 มี.ค. 60)
1. แบบเส้น
2. แบบกิ่ง
3. แบบร่างแห
4. แบบวงกลม
5. แบบเกลียววนซ้าย

เฉลย 1. 4 2. 2 3. 2 4. 3 5. 3 6. 2
7. 4 8. 1 9. 4 10. 3 11. 4 12. 1
13. 2 14. 3 15. 1 16. 4 17. 4 18. 2
19. 1 20. 4 21. 2 22. 5 23. 2

Page 111
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
3) ถ้านากรดอะมิโนสองชนิดคือ ไกลซีน และ อะลานีน ชนิดละ 1 โมล มาต้มรวมกัน
ตัวอย่างข้อสอบ เคมี โดยมีกรดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา จะได้ผลิตภัณฑ์เฉพาะที่เป็นสารประกอบไดเพปไทด์
ทั้งสิ้นกี่ชนิด (PAT2 มี.ค. 52)
บทที่ 14 สารชีวโมเลกุล
1) หากนาสบู่ซึ่งมีโครงสร้างดังต่อไปนี้มาเติมสารต่างๆ ลงไป
O

Na+O-
1. 1 ชนิด
สารในข้อใดที่เกิดปฏิกิริยากับสบู่แล้วได้ตะกอนของกรดไขมันอิ่มตัวกลับคืนมา
2. 2 ชนิด
(PAT2 มี.ค. 52)
3. 3 ชนิด
1. HCl(aq)
4. 4 ชนิด
2. กลีเซอรอล
3. เอทานอล
4. ไม่เกิดปฏิกิริยากับสารใดๆ

4) ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสในสารละลายกรดด้วยการต้มของสารใดไม่ได้ผลิตภัณฑ์เป็น
แอลฟาอะมิโนแอซิด (PAT2 ก.ค. 52)
2) Thyrotropin-releasing hormone มีโครงสร้างเป็นเพปไทด์สายสั้นๆ ดังภาพ

H2N O 1.
N HN
O H
N
O
O
N
NH 2.

หากฮอร์โมนนี้จานวน 1 โมล เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสอย่างสมบูรณ์ด้วยสารละลาย


กรด จะได้ผลิตภัณฑ์ที่มีโครงสร้างเป็นกรดอะมิโน ที่แตกต่างกันทั้งสิ้นกี่ชนิด
(PAT2 มี.ค. 52)
1. 1 ชนิด 3.
2. 2 ชนิด
3. 3 ชนิด
4. 4 ชนิด

4.

Page 112
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
5) แอสปาร์แตม (aspartame) เป็นเมทิลเอสเทอร์ของสารประกอบเพปไทด์สายสั้นใช้ 7) ทราพอกซิน บี(trapoxin B) เป็นสารอินทรีย์ที่สกัดได้จากสาหร่ายชนิดหนึ่ง พบว่ามี
เป็นสารให้ความหวานแทนน้าตาล มีโครงสร้างประกอบจากกรดอะมิโนสองชนิดดังนี้ ฤทธิ์ในการต้านเซลล์มะเร็ง มีโครงสร้างดังนี้
(PAT2 ก.ค. 52)

ข้อใดไม่ถูกเกี่ยวกับทราพอกซิน บี (PAT2 ต.ค. 52)


1. เป็นสารประกอบประเภท เททระเพปไทด์
2. ประกอบด้วยกรดอะมิโน 4 โมเลกุล
ถ้าโครงสร้างของแอสปาร์แตมเป็นดังภาพ 3. ประกอบจากพันธะเพปไทด์ 4 พันธะ
4. เมื่อทาปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสโดยสมบูรณ์จะได้โมเลกุลขนาดเล็กออกมา 4 ชนิด

8) พันธะใดไม่พบในโครงสร้างโปรตีน (PAT2 มี.ค. 53)


ข้อใดแสดงสูตรโมเลกุลอย่างง่ายของแอสปาร์แตมถูกต้อง (PAT2 ก.ค. 52)
1. พันธะไฮโดรเจน
1. CH3O.Phe – Asp
2. พันธะไดซัลไฟด์
2. CH3O. Asp – Phe
3. พันธะไอออนิก
3. Phe – Asp.OCH3
4. พันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์
4. Asp – Phe.OCH3

9) จากโครงสร้างกรดไขมันชนิดหนึ่ง CH3(CH2)4(CH=CHCH2)3(CH2)3COOH
6) สารประกอบชีวโมเลกุลชนิดที่มีคุณสมบัติเป็นบัฟเฟอร์สาหรับกรด-เบส คือข้อใด ข้อใดถูก (PAT2 มี.ค. 53)
(PAT2 ต.ค. 52) 1. เป็นกรดไขมันโอเมกา -3
1. กรดไขมัน 2. เป็นกรดไขมันโอเมกา -6
2. กรดอะมิโน 3. เป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง
3. น้าตาลโมเลกุลเดี่ยว 4. ต้มกับด่างแก่จะไม่เกิดสบู่
4. คอเลสเตอรอล

Page 113
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
10) สารชีวโมเลกุลข้อใดเป็นสารประกอบประเภทเอสเทอร์ (PAT2 ก.ค. 53) 12) กรดไขมันชนิดใด น่าจะมีจุดหลอมเหลวต่าที่สุด (PAT2 ก.ค. 53)
1. วิตามิน ซี
1.

2. AMP 2.

3. อะเซทิลโคลีน 3.

4. เป็นเอสเทอร์ทุกชนิด

4.

11) สารใดใช้ทดสอบความแตกต่างระหว่างอะไมโลส กับ อะไมเลส


ก. สารละลายเบเนดิกต์ ข. สารละลายไอโอดีน
ค. สารละลายนินไฮดริน ง. สารละลายคอปเปอร์ซัลเฟต
(PAT2 ก.ค. 53)
1. ก และ ค
2. ก และ ง
13) สมบัติของกรดอะมิโนข้อใดถูกต้อง (PAT2 ต.ค. 53)
3. ข และ ค
1. ที่สารละลาย pH ต่าๆ จะมีประจุสุทธิเป็นลบ
4. ข และ ง
2. ที่สารละลาย pH ต่าๆ จะมีประจุสุทธิเป็นบวก
3. ที่สารละลาย pH สูงๆ จะมีประจุสุทธิเป็นบวก
4. ที่สารละลาย pH สูงๆ จะมีประจุสุทธิเป็นศูนย์

Page 114
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
14) โครงสร้างสารข้างล่างนี้ ข้อใดถูก (PAT2 ต.ค. 53) 17) ฟรักโทสถูกเปลี่ยนไปเป็นเมทิล แลกเทตซึ่งเป็นอนุพันธ์ของกรดแลกติกได้โดยมี
ซีโอไลต์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาและทาปฏิกิริยาในเมทานอล ได้ดังสมการ

1. มีพันธะเพพไทด์ 3 พันธะ
2. มีกรดอะมิโน 3 ชนิดเป็นองค์ประกอบ ถ้านาฟรักโทส 3.6 กรัม ทาปฏิกิริยากับเมทานอลที่มากเกินพอโดยมีซีโอไลต์เป็น
3. มีประจุสุทธิเป็นบวกเมื่ออยู่ในสารละลายด่าง ตัวเร่งปฏิกิริยา จะได้เมทิล แลกเทตกี่กรัม ถ้าปฏิกิริยาเกิดขึ้นสมบูรณ์
4. ละลายได้ดีในตัวทาละลายที่มี pH ประจุสุทธิเป็นศูนย์ (มวลอะตอม C = 12 , H = 1 , O = 16) (PAT2 ต.ค. 54)
1. 1.82
2. 2.08
3. 4.16
4. 5.43

15) ข้อใดไม่มีการแปลงสภาพของโปรตีน (PAT2 มี.ค. 54)


1. การบีบมะนาวในกุ้งเต้น
2. การใส่เกลือแกงลงในเนื้อหมู
3. การต้มไข่ในน้าเดือดประมาณ 5 นาที
4. การเช็ดผิวหนังด้วยสาลีชุบแอลกอฮอล์

16) จากข้อมูลกรดไขมันในไขมันและน้ามันจากสัตว์และพืช
18) ในเอนไซม์ไนโตรเจนจีเนสที่มีวาเนเดียมเป็นองค์ประกอบ พบว่า สามารถเร่ง
ปฏิกิริยา การเปลี่ยนแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์เป็นไฮโดรคาร์บอน เช่น เอทิลีน
อีเทน และ โพรเพน ถ้าแก๊ส 13CO ในปฏิกิริยานี้ เมื่อนาผลิตภัณฑ์ที่ได้ ไปตรวจ
ด้วยเครื่อง แมสสเปกโทรมิเตอร์ แมสสเปกตรัมของผลิตภัณฑ์จะไม่พบค่าใดต่อไปนี้
(มวลอะตอม C = 12, H = 1) (PAT2 ต.ค. 54)
1. 30.047
2. 31.038
3. 32.054
4. 47.073

ไขมันหรือน้ามันในข้อใดจะแข็งตัวเมื่อแช่ในตู้เย็นและเป็นของเหลวเมื่อตั้งทิ้งไว้ใน
ห้องที่เปิดแอร์ (อุณหภูมิห้อง 26 ºC) (PAT2 มี.ค. 54)
1. ไขมันวัว
2. น้ามันมะกอก
3. น้ามันถั่วเหลือง
4. น้ามันมะพร้าว

Page 115
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
19) ฟลักโตสเกิดปฏิกิริยา Dehydration ได้ 2-ไฮดรอกซีเมทิลเฟอร์ฟิวแรน หรือ 21) เมื่อนาน้ามันพืชแต่ละชนิด ชนิดละ 10 cm3 ใส่ลงในบีกเกอร์ ขนาด 50 cm3 แล้ว
HMF ดังรูป นาไปอุ่นให้ร้อน จากนั้นหยดทิงเจอร์ไอโอดีนลงในน้ามันทีละหยด จนกระทั่งสีไม่
เปลี่ยน น้ามันพืชชนิดใดใช้ทิงเจอร์ไอโอดีนมากที่สุด (PAT2 ต.ค. 55)

จากนั้น HMF สลายตัวต่อได้กรดลีวูลินิก (Levulinic acid) และกรดฟอร์มิก


ข้อใดคือโครงสร้างที่เป็นไปได้ของกรดลีวูลินิก (PAT2 มี.ค. 55)
1.

1. น้ามันมะพร้าว
2. น้ามันถั่วลิสง
3. น้ามันราข้าว
4. น้ามันถั่วเหลือง
2.

3.

22) เอนดอร์ฟินเป็นสารสื่อประสาทมีโครงสร้างดังรูป

4.

จากโครงสร้างดังกล่าว มีกรดอะมิโนกี่ชนิด (PAT2 มี.ค. 56)


1. 5
2. 7
3. 10
4. 11

20) ใส่น้ามันพืชที่ใช้แล้วสีดาปริมาตร 20 cm3 ในบีกเกอร์ 250 cm3 แล้วเติมเมทานอล


ลงไป 50 cm3 จากนั้นเติมเกล็ดโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ 5 g แล้วคนสารให้เข้ากัน
ต้มประมาณ 20 นาที และทิ้งไว้ให้เย็น จะสังเกตเห็นสิ่งใดต่อไปนี้ (PAT2 ต.ค. 55)
1. จะเห็นบีกเกอร์ว่างเปล่า
2. จะเห็นไขลอยอยู่เหนือของเหลว
3. จะเห็นของเหลวแยกชั้นเป็น 2 ชั้นอย่างชัดเจน
4. จะเห็นของเหลวใสไม่มีสีและมีของแข็งสีขาวเกิดขึ้น

Page 116
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
23) ถ้านาน้ามันทอดอาหารที่ผ่านการปรุงอาหารแล้วมาเติมเมทานอลและโซเดียม 25) ถ้านากรดอะมิโนมาทาปฏิกิริยากับ 2,3-butadione ในน้า โดยมีกรดแอซีติกเป็น
ไฮดรอกไซด์ แล้วให้ความร้อน จนพบมีไขเกิดขึ้น จะเกิดปฏิกิริยาใดมากที่สุด ตัวเร่งปฏิกิริยา จะได้เกลือ imidazonium ซึ่งเป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์ ionic
(PAT2 มี.ค. 57) liquid
1. ทรานส์เอสเทอริฟิเคชัน
2. เอสเทอริฟิเคชัน
3. สะปอนนิฟิเคชัน
4. ไฮโดรไลซิส

ถ้าสารตั้งต้นเป็น
ข้อใดคือผลิตภัณฑ์ที่เป็นไปได้ (PAT2 พ.ย. 57)

1.

2.

3.

24) ฮอร์โมนเพศชายที่สาคัญคือเทสโทสเทอโรน และฮอร์โมนเพศหญิงคืออีสโทรเจน มี


โครงสร้างดังนี้

4.
เทสโทสเทอโรน อีสโทรเจน (อีสทราไดออล)
ถ้าต้องการเปลี่ยนเทสโทสเทอโรนเป็นอีสโทรเจน จะต้องผ่านปฏิกิริยาใด
(PAT2 มี.ค. 57)
1. ปฏิกิริยาดึงไฮโดรเจน
2. ปฏิกิริยาเติมไฮโดรเจน
3. ปฏิกิริยากับเบสเพื่อดึงโปรตอน
4. ปฏิกิริยากาจัดเมทิลและตามด้วยปฏิกิริยาดึงไฮโดรเจน

Page 117
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
26) กรดไขมันชนิดใด ควรนามาใส่ในช็อกโกแลตเพื่อเพิ่มความนุ่มของเนื้อช็อกโกแลต 28) ใส่ไข่ขาวดิบในหลอดทดลองขนาดเล็กหลอดละ 1 cm3 จานวน 5 หลอด แล้วทาการ
(PAT2 ต.ค. 59) ทดลองต่อไปนี้
1. กรดลอริก หลอดที่ 1 แช่ในตู่เย็น 30 นาที
2. กรดสเตียริก หลอดที่ 2 ใส่น้ามะนาวเข้มข้น 5 หยด
3. กรดไมรีสติก หลอดที่ 3 ใส่สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ 6 mol/dm3 5 หยด
4. กรดปาล์มิติก หลอดที่ 4 ใส่เอทานอล 95% 5 หยด
5. กรดไลโนเลนิก หลอดที่ 5 ใส่สารละลาย Pb(NO3)2 0.5 mol/dm3 5 หยด
จากนั้นทาให้สารละลายแต่ละหลอดเป็นเบส โดยหยดสารละลาย KOH 2.5
mol/dm3 ทีละหยดจนเป็นเบส แล้วเติมสารละลาย CuSO4 0.1 mol/dm3 ลงในทุก
หลอด
จากการทดลองนี้ มีจานวนหลอดที่ให้สารสีม่วงน้าเงินกี่หลอด (PAT2 มี.ค. 60)
1. 1
2. 2
3. 3
4. 4
5. 5

27) ใส่ไขขาวดิบในหลอดทดลองขนาดเล็กหลอดละ 1 cm3 จานวน 5 หลอด แล้วทาการ


ทดลองต่อไปนี้
หลอด ก ให้ความร้อนด้วยการต้มในน้าเดือด 2 นาที
หลอด ข ใส่กรดแอซีติกเข้มข้น 5 หยด
หลอด ค ใส่สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ 6 mol/dm3 5 หยด
หลอด ง ใส่เอทานอล 95% 5 หยด
หลอด จ ใส่สารละลาย Pb(NO3)2 0.5 mol/dm3 5 หยด
จากนั้นทาให้สารละลายแต่ละหลอดเป็นเบส โดยหยดสารละลาย NaOH 2.5
mol/dm3 ทีละหยดจนเป็นเบส แล้วเติมสารละลาย CuSO4 0.1 mol/dm3 ลงในทุก
หลอด จากการทดลองนี้ มีจานวนหลอดที่ให้สารสีม่วงน้าเงินกี่หลอด
(PAT2 ต.ค. 59)
1. 1
2. 2
3. 3
4. 4
5. 5

เฉลย 1. 1 2. 3 3. 4 4. 3 5. 4 6. 2
7. 4 8. 4 9. 2 10. 4 11. 4 12. 3
13. 2 14. 1 15. 2 16. 4 17. 3 18. 4
19. 1 20. 4 21. 4 22. 2 23. 1 24. 4
25. 1 26. 5 27. 5 28. 5

Page 118
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
3) สมบัติของสารประกอบของธาตุสมมติ Q, R, T, X ซึ่งเป็นธาตุในคาบที่ 2
ตัวอย่างข้อสอบ เคมี แสดงดังตารางต่อไปนี้

ปี พ.ศ. 2561
1) พิจารณารูปแบบการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุสมมติต่อไปนี้
A : 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6
D : [A] 4s1 นักเรียน 3 คนวิเคราะห์สมบิตของธาตุสมมติทั้งสี่ได้ดังนี้
E : [A] 4s2 3d10 4p2 คนที่ 1 เลขหมู่ที่เป็นไปได้ของธาตุ Q, R, T และ X คือ VIA, VIIA, VA และ IVA
G : [A] 4s2 3d10 4p4 คนที่ 2 สูตรของไอออนลบที่เป็นไปได้ของธาตุ Q และ T คือ TQ2- และ TQ3-
ข้อใดผิดเกี่ยวกับสมบัติของธาตุสมมติทั้งสี่ คนที่ 3 เกลือโซเดียมของ X มีสูตรเป็น NaX
1. ในธรรมชาติ A อยู่ในลักษณะที่เป็นอะตอมเดี่ยว การวิเคราะห์ของนักเรียนคนใดถูก
2. D ไม่มีรูปผลึกที่แน่นอน 1. คนที่ 1 เท่านั้น
3. E เป็นสารกึ่งตัวนา 2. คนที่ 2 เท่านั้น
4. G รับอิเล็กตรอนได้ดีกว่า 33As 3. คนที่ 3 เท่านั้น
5. สารประกอบระหว่าง D และ G มีสูตรเป็น D2G 4. คนที่ 1 และ 2
5. คนที่ 2 และ 3

4) แก๊สคลอรีนและแก๊สฟลูออรียนเกิดปฏิกิริยาแล้วได้ผลิตภัณฑ์ที่มีโครงสร้างเป็น
รูปตัวที การทดลองนาแก๊สคลอรีนหนัก 7.1 กรัม และแก๊สฟลูออรีนหนัก 15.2 กรัม
2) พิจารณาข้อมูลของธาตุสมมติต่อไปนี้ มาทาปฏิกิริยากัน ผลได้ร้อยละของปฏิกิริยานี้เป็น 80 มวลของสารผลิตภัณฑ์จาก
ก. ธาตุ J ทาปฏิกิริยากับน้าได้สารประกอบไฮดรอกไซด์ที่มีสูตรเป็น JOH ปฏิกิริยานี้เท่ากับกี่กรัม (กาหนดให้มวลอะตอม F = 19, Cl = 35.5)
ข. ธาตุ L อยู่ในรูปที่เป็นโมเลกุลมีสูตรเป็น L2 เกิดสารประกอบกับ J ได้ JL3 1. 7.4
ค. ธาตุ M มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง เป็นธาตุในคาบที่ 3 และอยู่หมู่ 2. 9.25
เดียวกับธาตุ L 3. 14.8
ข้อใดเป็นสูตรของสารประกอบระหว่างธาตุ J และ M 4. 18.5
1. JM 5. 19.7
2. J2M
3. J3M
4. JM2
5. JM3

Page 119
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
5) กรดอ่อนชนิดหนึ่งแตกตัวให้ 2H+ ต่อหนึ่งโมเลกุล นากรดอ่อนชนิดนี้ปริมาตร 7) นักเรียนคนหนึ่งศึกษาจุดเดือดของสารละลาย 3 ชนิด โดยใช้ตัวละลายชนิดเดียวกัน
20 cm3 มาไทเทรตกับสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.10 mol/dm3 พบว่าจุดสมมูลที่ โดยตัวละลายนี้ไม่เกิดการแตกตัว และสารละลายแต่ละชนิดใช้ตัวทาละลาย
2 ใช้สารละลาย NaOH 20.0 cm3 พิจารณาข้อสรุปต่อไปนี้ 100 cm3 เท่ากัน
ก. pH ที่จุดสมมูลที่ 1 มีค่าน้อยกว่า 7
ข. ความเข้มข้นของกรดอ่อนมีค่าเท่ากับ 0.05 mol/dm3
ค. หลังจากเติม NaOH 5 cm3 ค่า pH ของสารละลาย = pKa1
ข้อสรุปใดถูก
1. ก เท่านั้น
2. ข เท่านั้น กาหนดให้ มวลโมเลกุลของตัวละลายเท่ากับ 100 g/mol และปริมาตรของ
3. ค เท่านั้น สารละลายหลังจากเติมตัวละลายจะเท่ากับปริมาตรของตัวทาละลายเริ่มต้น
4. ก และ ข จากข้อมูลข้างต้นนักเรียนคนนี้ได้ทานายผลการทดลองดังนี้
5. ข และ ค ก. ความเข้มข้นของสารละลายที่ 2 > 3 > 1
ข. ความหนาแน่นของสารลายที่ 1 > 3 > 2
ค. จุดเดือดของสารละลายที่ 3 > 1 > 2
ผลการทานายของนักเรียนข้อใดผิด
1. ก เท่านั้น
2. ข เท่านั้น
3. ค เท่านั้น
4. ก และ ข
5. ข และ ค

6) สารประกอบ AaDdEeGg (A, D, E, G เป็นสัญลักษณ์ของสมมติของธาตุ 8) เปลือกหอยมีองค์ประกอบหลักเป็น CaCO3 ซึ่งเป็นวัตถุดิบที่สาคัญในการนามาใช้


และ a, d, e, g เป็นตัวเลขจานวนเต็มบวก) เป็นของแข็งที่เกิดปฏิกิริยากับสารต่างๆ ผลิตโซดาแอซ ดังปฏิกิริยาต่อไปนี้ (สมการยังไม่ดุล)
ได้ดังสมการ ก. CaCO3(s)  CaO(s) + CO2(g)
AaDdEeGg(s) + O2(g)  AO2(s) + D2O3(s) + E2O3(s) + GO2(g) ข. CO2(g) + NaCl(aq) + NH4OH(aq)  NaHCO3(s) + NH4Cl(aq)
AaDdEeGg(s) + HCl(aq)  DCl3(aq) + ECI3(aq) + ของแข็ง ค. NaHCO3(s)  Na2CO3(s) + H2O(g) + CO2(g)
AaDdEeGg(s) + HF(aq)  AF4(g) + ของแข็ง ง. CaO(s) + H2O(l)  Ca(OH)2(aq)
AaDdEeGg(s) + NaOH(aq)  AO44-(aq) + DO2-(aq) + ของแข็ง จ. Ca(OH)2(aq) + NH4Cl(aq)  CaCl2(s) + NH3(g) + H2O(l)
นักวิจัยทาการทดลองเพื่อหาค่า a, d, e และ g โดยนาของแข็ง AaDdEeGg ถ้าเริ่มต้นด้วยเปลือกหอยหนัก 10 กรัม พบว่าผลิต CaCl2 ได้ 7.77 กรัม
มาทาปฏิกิริยากับสารต่างๆตามลาดับก่อนหลัง ดังแผนการการทดลอง จากข้อมูลนี้ เปลือกหอยมี CaCO3 คิดเป็นร้อยละโดยมวลเท่าใด และได้โซดาแอซ
3 แบบ ต่อไปนี้ กี่กรัมตามลาดับ (H=1, C=12, N=14, O=16, Na=23, Cl=35.5, Ca=40)
แบบที่ 1 O2  HF  NaOH 1. 35.00 , 3.71
แบบที่ 2 HF  NaOH  O2 2. 70.00 , 7.42
แบบที่ 3 HF  O2  HCl 3. 70.00 , 3.71
แผนการทดลองข้อใดจะช่วยให้นักวิจัยหาค่า a, d, e และ g ได้ถูกต้อง 4. 77.70 , 8.48
1. แบบที่ 1 เท่านั้น 5. 77.70 , 4.24
2. แบบที่ 2 เท่านั้น
3. แบบที่ 3 เท่านั้น
4. แบบที่ 1 และ 2
5. แบบที่ 2 และ 3

Page 120
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
9) ทาการทดลองวัดความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกับปริมาตรของแก๊สชนิดหนึ่งเมื่อ 11) แก๊สใดต่อไปนี้ เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเฉลี่ยสูงสุด
ความดันคงที่ ได้ข้อมูลดังตาราง (กาหนดให้มวลอะตอม H = 1, C = 12, O = 16, Cl = 35.5, S = 32)
ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ (t) กับปริมาตร (V) ของแก๊สเมื่อ 1. ไดคลอโรมีเทน
ความดันคงที่ 2. ฟอร์มาลดีไฮด์
3. ไฮโดรเจนซัลไฟด์
4. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
5. แก๊สทุกชนิดมีอัตราเร็วเฉลี่ยเท่ากันหมด ที่อุณหภูมิเดียวกัน

ข้อสรุปใดผิด
1. การทดลองนี้เป็นการศึกษากฎของชาร์ล
2. แก๊สชนิดนี้ต้องมีอัตราส่วนปริมาตรต่ออุณหภูมิ (V/t) คงที่
3. แก๊สมีปริมาตรเพิ่มขึ้นเนื่องจากอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นทาให้แก๊สเคลื่อนที่เร็วขึ้น
4. เมื่อเขียนกราฟระหว่าง V กับ t ปริมาตรแก๊สจะเป็นศูนย์ที่อุณหภูมิต่ากว่าศูนย์
องศาเซลเซียส
5. หากทาการทดลองซ้า โดยเปลี่ยนชนิดแก๊สในภาชนะทดลองโดยให้มีจานวนโมล
เท่าเดิมปริมาตรของแก๊สที่วัดได้ ณ อุณหภูมิต่างๆ จะมีค่าเท่ากับค่าปริมาตร
แก๊สที่แสดงในตาราง

10) ปฏิกิริยา 2A(g) + B(g) 2C(g) เกิดขึ้นในภาชนะขนาด 2 ลิตร 12) พิจารณาค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดักชันที่ 298 K ดังต่อไปนี้
เมื่อเริ่มต้นปฏิกิริยามี A 4 โมล B 4 โมล C 2 โมล เมื่อระบบเข้าสู่สมดุลพบว่ามี C
4 โมล จงคานวณหาค่าคงที่สมดุล
1. 1/16
2. 1/8
3. 2/3
4. 4/3
5. 8/3
ภายใต้สภาวะมาตรฐานของสารที่เกี่ยวข้อง ปฏิกิริยาใดต่อไปนี้ควรเกิดขึ้นได้เอง
1. 2Cl- + Br2(l)  2Br-(aq) + Cl2(l)
2. 2I-(aq) + Cl2(g)  I2(s) + 2Cl-(aq)
3. 2Fe2+(aq) + I2(s)  2Fe3+(aq) + 2I-(aq)
4. 2Au(s) + 3Br2(l)  6Br-(aq) + 2Au3+(aq)
5. 2Fe3+(aq) + 2Br-(aq)  2Fe2+(aq) + Br2(l)

Page 121
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
13) ที่อุณหภูมิหนึ่งสารละลายโบรมีนทาปฏิกิริยากับกรดฟอร์มิก ดังสมการ 15) การเพิ่มปัจจัยต่อไปนี้ ส่งผลต่อการเพิ่มค่าร้อยละการแตกตัว
Br2(aq) + HCOOH(aq)  2Br-(aq) + 2H+(aq) + CO2(g) ก. อุณหภูมิ
เมื่อวัดความเข้มข้นของสารละลายได้ผลดังตาราง ข. ค่าคงที่การแตกตัวของกรดอ่อน
ค. ความเข้มข้นของกรดอ่อน
ง. ความดัน
1. มีข้อถูกเพียงข้อเดียว
2. ข้อ ก และ ข ถูก
3. ข้อ ก และ ค ถูก
4. ข้อ ข และ ค ถูก
จากข้อมูลการทดลองที่ได้ จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ วินาทีที่ 100 ในหน่วย 5. ถูกทุกข้อ
(mol/dm3 s)
1. 2.2 x 10-5
2. 3.0 x 10-5
3. 2.0 x 10-4
4. 2.2 x 10-4
3. 3.0 x 10-4

16) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
14) นักเรียนทาการทดลองโดยใส่สารละลาย CuSO4 ลงในหลอดทดลอง 2 หลอด ก. เมื่อเติม HCl มากเกินพอลงใน CaCO3 จะเกิดแก๊สขึ้น เมื่อนาส่วนสารละลาย
หลอดละ 5 หยด โดย ที่เกิดปฏิกิริยาไประเหยแห้ง จะได้ของแข็งสีขาวของแคลเซียมคาร์บอเนต
- หลอดที่หนึ่ง เติมน้ากลั่นลงไป พบว่าสารละลายมีสีฟ้า กลับคืนมา
- หลอดที่สอง หยดสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) 6 โมลาร์ ลงไปทีละหยด ข. เมื่อนาสารละลาย NaOH และ FeCl3 มาทาปฏิกิริยากัน จะได้ตะกอนเบา
พร้อมกับเขย่าจนสารละลายเปลี่ยนเป็นสีเขียวแกมเหลือง จากนั้นเติมน้ากลั่น สีน้าตาลคล้ายวุ้นออกมา
เพิ่มลงไปพบว่า สารละลายกลับคืนมามีสีฟ้า ค. เมื่อนาแผ่นอลูมิเนียมมาทาปฏิกิริยากับสารละลาย NaOH จะให้ผลิตภัณฑ์ที่
นักเรียนคนดังกล่าววิจารณ์ผลการทดลองไว้ดังต่อไปนี้ เป็นแก๊สชนิดเดียวกันกับเมื่อนาไปทาปฏิกิริยากับสารละลาย HCl
ก. สารละลาย CuSO4 ในหลอดทดลองหนึ่งมีสีฟ้า เนื่องจากสีของเตตระ ข้อถูกต้อง
อาควาคอปเปอร์ (II) ไอออน [Cu(H2O)4]2+ 1. มีข้อถูกเพียงข้อเดียว
ข. สารละลายในหลอดที่สองเปลี่ยนสีเมื่อหยดสารละลายกรดไฮโดรคลอริก 2. ข้อ ก และ ข ถูก
เนื่องจากเกิดสารละลายเตตระคลอโรคิวเปรต (II) [CuCl4]2- ซึ่งมีสีเขียว 3. ข้อ ก และ ค ถูก
ค. การเติมน้ากลั่นเพิ่มลงในหลอดที่สอง แล้วได้สีฟ้ากลับคืนมาช่วยยืนยันการ 4. ข้อ ข และ ค ถูก
เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับได้ 5. ถูกทั้งข้อ ก ข และ ค
คาวิจารณ์ผลการทดลองข้อใดถูก
1. มีข้อถูกเพียงข้อเดียว
2. ข้อ ก และ ข ถูก
3. ข้อ ก และ ค ถูก
4. ข้อ ข และ ค ถูก
5. ถูกทั้งสามข้อ

Page 122
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
17) รูปแสดงการจัดอุปกรณ์การทดลองแยกทองแดงไอออนออกจากสารละลาย 19) ในการถลุงแร่ทองแดงจากแร่คาลโคไพไรต์ (CuFeS2) สารใดต่อไปนี้เป็นผลิตภัณฑ์ที่
CuSO4 ด้วยกระแสไฟฟ้า ได้หลังจากขั้นตอนการย่างแร่
1. Fe2O3
2. CuS
3. H2S
4. CuO
5. FeSiO3

กาหนดให้ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์รีดักชันมีค่าดังนี้
0.5S2O82-(aq) + e-  SO42-(aq) E0 = +2.01 V
0.5O2(g) + 2H (aq) + 2e  H2O(l)
+ -
E0 = +1.23 V
Cu2+(aq) + 2e-  Cu(s) E0 = +0.34 V
2H2O(l) + 2e-  H2(g) + 2OH- E0 = -0.83 V
ข้อความต่อไปนี้ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ขั้วไฟฟ้า ค เกิดครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน
2. เกิดโลหะทองแดงสะสมบริเวณขั้วไฟฟ้าที่ต่อกับขั้วลบของแบตเตอรี่
3. ไอออนซัลเฟตให้อิเล็กตรอนบริเวณขั้วไฟฟ้าที่ต่อกับขั้วบวกของแบตเตอรี่
4. ในการแยกทองแดงไอออนออกจากสารละลาย CuSO4 จะพบแก๊สที่ขั้วแอโนด
5. จากการทดลองดังรูปน้าจะเป็นตัวรีดิวซ์

20) โคลัมเบียม เป็นชื่อเก่าของของธาตุหนึ่ง มีสมบัติอ่อนนุ่ม สีเทา เหนียว รีดเป็นเส้น


ได้ สารประกอบของธาตุนี้ทาปฏิกิริยากับสารละลายผสมของกรดไฮโดรฟลูออริก
กับกรดซัลฟิวริกที่อุณหภูมิสูงกว่า 90 C จะได้สารประกอบฟลูออไรด์ ปัจจุบันทาง
IUPAC ได้ให้สัญลักษณ์ของธาตุนี้ว่าอะไร
18) พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 1. Sn
ก. น้าทะเลเป็นบัฟเฟอร์ โดยไอออนที่มีบทบาทสาคัญในการควบคุม pH ได้แก่ 2. Nb
โซเดียมไอออนและคลอไรด์ไอออนที่มีจานวนมาก 3. Zr
ข. ในเซลล์ของร่างกายมีฟอสเฟสบัฟเฟอร์ที่ทาหน้าที่ลดกรดด้วยปฏิกิริยา 4. Y
HPO42-(aq) + H3O+(aq) H2PO4-(aq) + H2O(l) 5. Ta
ค. สารละลายบัฟเฟอร์ (0.1 mol/dm CH3COOH + 0.1 mol/dm3 CH3COONa)
3

ปริมาตร 1,000 cm3 มีค่า pH = 4.74 เมื่อเติม 0.01 mol ของ NaOH
ลงไป pH ของสารละลายจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
1. มีข้อถูกเพียงข้อเดียว
2. ข้อ ก และข้อ ข ถูก
3. ข้อ ก และข้อ ค ถูก
4. ข้อ ข และข้อ ค ถูก
5. ถูกทั้ง ก ข และ ค

Page 123
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
21) แร่รัตนชาติในข้อใดที่องค์ประกอบหลักมีโลหะแทรนซิชันเป็นองค์ประกอบ 23) เตรียมแก๊สคลอรีน โดยใส่โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตลงในหลอดทดลอง A ที่มี
1. มรกต แขนข้างซึ่งมีสายยางและต่อหลอดแก้วหักงอไปในหลอดทดลอง B ขนาดกลางที่
2. ทับทิม บรรจุสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ 1.0 mol/dm3 ปริมาตร 5 cm3 และแช่อยู่ใน
3. โกเมน บีกเกอร์ที่มีน้าแข็งบรรจุอยู่ ดังรูป ปิดหลอดทดลอง A ด้วยจุกยางที่มีหลอดทดลอง
4. เพทาย บรรจุไฮโดรคลอริกเข้มข้นเสียบอยู่ หยดกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นลงบนโพแทสเซียม
5. ไพลิน เปอร์แมงกาเนตอย่างช้าๆ

ก่อนเริ่มทาการทดลอง มีการขยับของหลอดแก้วหักงอทาให้ไม่จุ่มลงไปในสารละลาย
NaOH แต่ยังอยู่ในหลอดทดลอง
เมื่อนาสารละลายในหลอดทดลองไปหยดบนกระดาษลิตมัสสีน้าเงินและสีแดงจะ
สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงสีของกระดาษลิตมัสน้าเงินและสีแดงอย่างไร ตามลาดับ
1. ได้สีน้าเงินและสีแดง
2. ได้สีน้าเงินทั้งคู่
3. ได้สีแดงทั้งคู่
4. ได้สีแดง และสีน้าเงิน
5. ได้สีขาวทั้งคู่

22) จัดอุปกรณ์ในการแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟ้าดังรูป เติมสารละลาย NaCl


อิ่มตัวลงในหลอดแก้ว ก ให้สารละลายไหลเข้าไปในหลอด ข และ ค จนเต็มต่อ
ปลายทั้งสองของไส้ดินสอเข้ากับแบตเตอรี่ขนาด 6 โวลต์ เป็นเวลา 5 นาที

24) พิจารณา 13CH3CH213CH3 , CH3CH215NH2 , CH3CH2OH


ข้อใดเปรียบเทียบจุดเดือดของแต่ละคู่ได้ถูกต้อง
1. จุดเดือดของ 13CH3CH213CH3 สูงกว่าจุดเดือดของ CH3CH215NH2
2. จุดเดือดของ 13CH3CH213CH3 สูงกว่าจุดเดือดของ CH3CH2OH
3. จุดเดือดของ CH3CH215NH2 ต่ากว่าจุดเดือดของ CH3CH2OH
4. จุดเดือดของ CH3CH215NH2 เท่ากับจุดเดือดของ CH3CH2OH
ถ้าทดสอบแก๊สที่เกิดขึ้นในหลอด ข และ ค โดยใช้กระดาษลิตมัสสีน้าเงินชื้นและ
5. จุดเดือดของ 13CH3CH213CH3 เท่ากับจุดเดือดของ CH3CH215NH2
กระดาษสีแดงชื้นอังเหนือปากหลอดทดลองของ ข และ ค ตามลาดับ
สีของกระดาษลิตมัสที่อังเหนือหลอด ข และ ค มีสีอะไร ตามลาดับ
1. สีน้าเงิน สีแดง
2. สีแดง สีน้าเงิน
3. สีน้าเงิน สีขาว
4. สีขาว สีน้าเงิน
5. สีขาว สีแดง

Page 124
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
25) นายาแอสไพรินที่เก็บไว้นานในที่ชื้นที่มี H218O และมีกลิ่นเหมือนน้าส้มสายชู 27) พิจารณาสารละลาย 4 ขวด ที่มีปริมาตรในแต่ละขวด 100 cm3 ต่อไปนี้
นามาละลายน้า กาหนดให้สารอื่นที่ผสมในเม็ดยาแอสไพรินไม่ละลายน้า ขวดที่ 1 สารละลาย NaCl เข้มข้น 0.01 mol/dm3
เมื่อตรวจวัดมวลโมเลกุลของสารละลายน้า (Mx) เปรียบเทียบกับมวลโมเลกุลของยา ขวดที่ 2 สารละลายผสมระหว่าง CH3COONa 0.001 โมล
แอสไพรินที่เพิ่งผลิต (MA) ข้อใดเป็นไปได้มากที่สุด และ CH3COOH 0.001 โมล
1. Mx > 2MA ขวดที่ 3 สารละลาย HCl เข้มข้น 0.01 mol/dm3
2. 2MA > Mx > MA ขวดที่ 4 สารละลาย NH3 เข้มข้น 0.01 mol/dm3
3. Mx = MA สารละลายผสมในข้อใดเกิดการเปลี่ยนแปลง pH มากที่สุดหลังจากเติมสารละลาย
4. MA > MX > MA / 2 NaOH เข้มข้น 0.001 mol/dm3 ปริมาตร 100 cm3 ลงไป
5. Mx < MA / 2 (Ka ของ CH3COOH = 1.8 x 10-5 และ Kb ของ NH3 = 1.8 x 10-5)
1. ขวดที่ 1 + ขวดที่ 2
2. ขวดที่ 1 + ขวดที่ 3
3. ขวดที่ 2 + ขวดที่ 3
4. ขวดที่ 1 + ขวดที่ 4
5. ขวดที่ 3 + ขวดที่ 4

26) พิจารณาข้อมูลของสารประกอบออกไซด์ที่มีประจุลบของธาตุ A, D, E และ G


ในตารางต่อไปนี้

28) ถ้านาแก๊สที่ได้จาก NGV และ LPG มาเติมในลูกโป่งลูกที่หนึ่งและลูกที่สอง


ตามลาดับโดยให้ลูกโป่งทั้งสองมีปริมาตรเท่ากัน ที่ความดันบรรยากาศและ
อุณหภูมิห้อง ข้อใดกล่าวถูกเกี่ยวกับการลอยเหนือพื้นของลูกโป่งแต่ละลูก
ธาตุ A, D, E และ G มีเลขอะตอมน้อยกว่า 18 จากข้อมูลข้างต้น 1. ลูกโป่งทั้งสองลอยเหนือพื้นโดยลูกโป่งลูกที่หนึ่งลอยเร็วกว่า
ให้พิจารณาข้อสรุปต่อไปนี้ 2. ลูกโป่งทั้งสองลอยเหนือพื้นโดยลูกโป่งลูกที่สองลอยเร็วกว่า
ก. ธาตุ A, D อยู่ในหมู่ที่ 3 ส่วนธาตุ E, G อยู่ในคาบที่ 2 3. ลูกโป่งลูกที่หนึ่งลอยเหนือพื้น ลูกโป่งลูกที่สองไม่ลอย
ข. เลขหมู่ของธาตุ A > E > D > G 4. ลูกโป่งลูกที่หนึ่งไม่ลอย ลูกโป่งลูกที่สองลอยเหนือพื้น
ค. GE2 มีโครงสร้างเป็นเส้นตรง แต่ DA3 มีโครงสร้างเป็นสามเหลี่ยมแบนราบ 5. ไม่มีลูกโป่งใดลอยเหนือพื้นเลย
ข้อสรุปที่เป็นไปได้เกี่ยวกับธาตุ A, D, E, G คือข้อใด
1. ข้อ ก เท่านั้น
2. ข้อ ข เท่านั้น
3. ข้อ ค เท่านั้น
4. ข้อ ก และ ข
5. ข้อ ข และ ค

Page 125
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
29) ใส่ซุปไก่ในหลอดทดลองขนาดเล็กหลอดละ 1 cm3 จานวน 5 หลอด
แล้วทาการทดลองต่อไปนี้
หลอดที่ 1 ใส่เอทานอล 59% 5 หยด
หลอดที่ 2 ใส่กรดแอซิติกเข้มข้น 5 หยด
หลอดที่ 3 ใส่สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ 6 mol/dm3 5 หยด
หลอดที่ 4 ใส่สารละลาย Pb(NO3)2 0.5 mol/dm3 5 หยด
หลอดที่ 5 ให้ความร้อนด้วยการต้มในน้าเดือด 2 นาที
จากนั้นทาให้สารละลายแต่ละหลอดเป็นเบส โดยหยดสารละลาย KOH
2.5 mol/dm3 ทีละหยดจนเป็นเบส แล้วเติมสารละลาย CuSO4 0.1 mol/dm3
ลงไปในหลอดทดลองทุกหลอด
จากการทดลองนี้ มีจานวนหลอดทดลองที่ให้สารสีม่วงน้าเงินกี่หลอด
1. 1 หลอด
2. 2 หลอด
3. 3 หลอด
4. 4 หลอด
5. 5 หลอด

30) เฮกซะเมทิลีนไดเอมีน (H2N(CH2)6NH2) และกรดอะดิปิก ((CH2)4(COOH)2)


เป็นสารตั้งต้นในการเตรียมไนลอน-6,6 สารทั้งคู่เป็นของแข็งสีขาว ไม่ละลายน้า
ละลายได้ดีในเอทานอล ถ้านาเฮกซะเมทิลีนไดเอมีนมาละลายในเอทานอลใน
บีกเกอร์จากนั้นนากรดอะดิปิกละลายเอทานอลในบีกเกอร์หนึ่ง นาสารละลาย
ทั้งสองบีกเกอร์ผสมกันที่อุณหภูมิห้องได้ผงสีขาวที่ไม่ละลายในเอทานอล จากนั้น
แยกผงสีขาวนี้ด้วยการกรอง
ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของการละลายที่อุณหภูมิห้องของผงสีขาวที่ได้จาก
การกรองนี้
1. ละลายในน้าและสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
2. ละลายในน้าและสารละลายกรดไฮโดรคลอริก
3. ละลายน้าและละลายได้บางส่วนในสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
4. ไม่ละลายน้าแต่ละลายในสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
5. ไม่ละลายน้าแต่สามารถละลายได้บางส่วนในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก

เฉลย 1. 2 2. 3 3. 4 4. 3 5. 5 6. 2
7. 4 8. 3 9. 2 10. 5 11. 2 12. 2
13. 3 14. 3 15. 2 16. 4 17. 3 18. 4
19. 2 20. 2 21. 4 22. 4 23. 5 24. 3
25. 5 26. 2 27. 1 28. 3 29. 5 30. 5

Page 126
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
3) พิจารณาออกไซด์ของไนโตรเจนต่อไปนี้ : NO และ NO2 ออกไซด์ของไนโตรเจนทั้ง
ตัวอย่างข้อสอบ เคมี สองชนิดนี้มีอิเล็กตรอนเดี่ยว (radical) ซึ่งทาให้โมเลกุลทั้งสองชนิดไม่เสถียร วิธีการ
ทาให้โมเลกุลเสถียรขึ้นมีดังนี้
ปี พ.ศ. 2562 ก. ให้ 1 อิเล็กตรอนแล้วเปลี่ยนเป็นไอออนบวก
ข. รับ 1 อิเล็กตรอนแล้วเปลี่ยนเป็นไอออนลบ
1) เปลวไฟที่ได้จากการเผาสารละลายของเกลือ 3 ชนิดต่อไปนี้
ค. เกิดการรวมตัวของ 2 โมเลกุล ได้ N2O2 (กรณี NO) หรือ N2O4 (NO2)
NaCl , CaCl2 และ BaCl2 มีสีที่แตกต่างกัน คือ เหลือง แดงอิฐ
ข้อใดถูกเกี่ยวกับการทาให้โมเลกุลเสถียรขึ้นของ NO และ NO2
และ เขียวเหลือง ตามลาดับ ข้อใดเกี่ยวข้องกับสีที่แตกต่างกันของเปลวไฟ
(เลขอะตอมของ N = 7 , O = 8)
1. ความเข้มข้นของสารละลายเกลือ
วิธีการทาให้โมเลกุลเสถียร
2. อุณหภูมิที่ใช้ในการเผาสารละลาย
NO NO2
3. จานวนโปรตอนในนิวเคลียสของไอออนลบ
1. ก ก
4. อัตราส่วนจานวนไอออนลบต่อไอออนบวก
2. ข ข
5. อิเล็กตรอนในไอออนบวกมีระดับชั้นพลังงานที่แน่นอน
3. ก และ ค ข และ ค
4. ข และ ค ก และ ค
5. ก และ ข ก และ ข

4) ในการสกัดลิกนินออกจากเส้นใยพืชเพื่อผลิตเซลลูโลส นิยมใช้สารละลาย NaOH


แต่พบว่า หลังจากสกัดลิกนินออก เส้นใยเซลลูโลสที่ได้มีความเป็นเบส โดยพบว่า
เส้นใยเซลลูโลส 1 กรัม มี NaOH 0.01 โมล กระจายอยู่บนเส้นใย
2) ธาตุต่อไปนี้ 14A , 15D , 16E , 17G เกิดสารประกอบได้ดังข้อมูลในตาราง
นักวิจัยสามคนทาการกาจัดความเป็นเบสบนเส้นใยเซลลูโลส 50 กรัม
สารประกอบ ชนิดของอะตอมที่เกิดพันธะ แรงระหว่างโมเลกุล
ด้วยการแช่ในสารละลายปริมาตร 500 cm3 ดังต่อไปนี้
1 A และ G แรงลอนดอน - นักวิจัยคนที่หนึ่งใช้สารละลาย NH4Cl เข้มข้น 2 mol/dm3
2 D และ G แรงลอนดอน - นักวิจัยคนที่สองใช้สารละลาย CH3COOH เข้มข้น 2 mol/dm3
3 E และ G แรงดึงดูดระหว่างขั้ว - นักวิจัยคนที่สามใช้สารละลาย HCl เข้มข้น 2 mol/dm3
นักเรียนคนหนึ่งสรุปข้อมูลของสารประกอบทั้งสามได้ดังนี้ วิธีการทั้งสามสามารถกาจัด NaOH ออกจากเส้นใยเซลลูโลสได้อย่างสมบูรณ์
ก. สารประกอบ 1 มีสูตรเป็น AG4 และปริมาตรของสารละลายกรดไม่เปลี่ยนแปลงหลังจากนาเส้นใยเซลลูโลสออกจาก
ข. สารประกอบ 2 มีสูตรเป็น DG3 สารละลาย รวมทั้งเส้นใยเซลลูโลสไม่ดูดกลับ (re-adsorption) ไอออนต่างๆ
ค. สารประกอบ 3 อาจมีสูตรเป็น EG2 หรือ EG4 จากสารละลาย
ข้อสรุปของนักเรียนคนนี้ข้อใดถูก หลังจากวิเคราะห์เส้นใยเซลลูโลสและสารละลายกรดที่ใช้แช่เส้นใยเซลลูโลส
1. ข้อ ก เท่านั้น ได้ผลการวิเคราะห์ดังนี้
2. ข้อ ก และ ข เท่านั้น ก. นักวิจัยคนที่หนึ่งได้สารละลายที่มี pH = 8.3
3. ข้อ ข และ ค เท่านั้น ข. นักวิจัยคนที่สองได้สารละลายที่มี pH = 4.7
4. ข้อ ก และ ค เท่านั้น ค. นักวิจัยคนที่สามได้สารละลายที่มี pH = 0.3
5. ถูกทั้งข้อ ก ข และ ค ผลการวิเคราะห์ข้อใดถูกต้อง
(กาหนดให้ log2 = 0.3 , log3 = 0.5 , log5 = 0.7 , Kb ของ NH3 = 2 x 10-5 ,
Ka ของ CH3COOH = 2 x 10-5)
1. ก เท่านั้น
2. ข เท่านั้น
3. ค เท่านั้น
4. ก และ ข เท่านั้น
5. ก และ ค เท่านั้น

Page 127
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
5) พิจารณาตัวอย่างการระบุตาแหน่งที่เกิดพันธะของสารประกอบในตารางต่อไปนี้ 7) นาฟอสฟอรัสมาทาปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนมากเกินพอ ได้ผลิตภัณฑ์เป็น P4O6
และ P4O10 ดังสมการปฏิกิริยาต่อไปนี้
P4(s) + O2(g)  P4O6(s) + P4O10(s)
จากการทดลองแปรค่าปริมาณของฟอสฟอรัสที่ใช้พบว่าได้อัตราส่วนโดยโมลของ
P4O6 / P4O10 เท่ากับ 0.25 และปฏิกิริยามีร้อยละของผลได้เป็น 100 ถ้าได้ P4O6
ในการศึกษาสารประกอบเชิงซ้อนสามชนิดต่อไปนี้ [Co(NH3)6]Cl3 , PbCrO4 หนัก 22.0 กรัม ต้องเริ่มต้นด้วยฟอสฟอรัสหนักกี่กรัม
และ Na2CoCl4 โดย (มวลอะตอมของ P = 31 , O = 16)
นักเรียนคนที่ 1 ระบุตาแหน่งที่เกิดพันธะไอออนิก 1. 3.1
นักเรียนคนที่ 2 ระบุตาแหน่งที่เกิดพันธะโคเวเลนต์ 2. 12.4
นักเรียนคนที่ 3 ระบุตาแหน่งที่เกิดพันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ 3. 15.5
ได้ผลดังตาราง 4. 49.6
5. 62.0

นักเรียนคนใดระบุตาแหน่งที่เกิดพันธะในสารประกอบเชิงซ้อนทั้งสามชนิดได้ถูกต้อง
1. คนที่ 1 เท่านั้น
2. คนที่ 2 เท่านั้น
3. คนที่ 1 และ 2 เท่านั้น
4. คนที่ 1 และ 3 เท่านั้น
5. คนที่ 2 และ 3 เท่านั้น

8) เพคตินเป็นพอลิเมอร์ที่ได้จากเปลือกผลไม้จาพวกส้ม มีการนาเพคตินไปใช้ในการ
ดูดซับ Cu2+ จากการศึกษาพบว่าความสามารถในการดูดซับ Cu2+ เท่ากับ
0.5 มิลลิกรัมต่อ 1 กรัมเพคติน สารละลายกรด HCl จะทาให้ Cu2+ หลุดจาก
6) หินปูนจากแหล่งผลิตหนึ่งในประเทศไทยมีองค์ประกอบหลักเป็น CaCO3 โมเลกุลของเพคติน น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งมี Cu2+ เข้มข้น
และมีสารเจือปนเป็น SiO2 และ Fe2O3 นักเคมีคนหนึ่งพยายามคิดวิธีการหา 700 ppm นาน้าจากแหล่งน้านี้ 100 cm3 มาเติมเพคติน 127 กรัม แล้วกรอง
เปอร์เซ็นต์โดยน้าหนักของ CaCO3 ในหินปูนนี้ โดยทดลองกระบวนการต่อไปนี้ เพคตินออก นาเพคตินมาละลายในสารละลายกรด HCl เข้มข้น 1 M ปริมาตร
ก. ใช้กรด HCl ละลายหินปูน แล้วหาน้าหนักที่หายไปของหินปูน 100 cm3 ระเหยน้าออกจะได้ผลึก CuCl2 ข้อใดเป็นน้าหนักในหน่วยมิลลิกรัม
ข. เผาหินปูนที่อุณหภูมิสูงกว่า 850 องศาเซลเซียส แล้วหาน้าหนักที่หายไป ของ CuCl2 ที่ได้
ของหินปูน (มวลอะตอมของ Cu = 63.5 , Cl = 35.5 , H = 1)
ค. ใช้สารละลาย NaOH เข้มข้นละลายหินปูน แล้วหาน้าหนักที่หายไปของหินปูน 1. 63.5
กระบวนการใดเป็นวิธีที่ถูกต้องในการหาเปอร์เซ็นต์โดยน้าหนักของ CaCO3 2. 99
ในหินปูนนี้ 3. 127
1. ก เท่านั้น 4. 134.5
2. ข เท่านั้น 5. 269
3. ค เท่านั้น
4. ก และ ข เท่านั้น
5. ก และ ค เท่านั้น

Page 128
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
9) การเปลี่ยนแปลงในข้อใดเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ 11) เมื่อผสมกรดไฮโดรคลอริก 0.1 M 50 cm3 กับสารละลายในข้อใด จะได้สารละลาย
1. การเกิดฟองแก๊สเมื่อหยดกรดไฮโดรคลอริกลงบนแคลเซียมคาร์บอเนต ผสมที่มีสมบัติเป็นบัฟเฟอร์
2. การเกิดของแข็งซิลเวอร์คลอไรด์สีขาวเมื่อผสมสารละลายโซเดียมคลอไรด์กับ 1. โซเดียมไฮดรอกไซด์ 0.1 M 50 cm3
สารละลายซิลเวอร์ไนเตรต 2. โซเดียมไฮดรอกไซด์ 0.1 M 75 cm3
3. การสลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ด้วยเอนไซม์ให้น้าและแก๊สออกซิเจนเป็น 3. โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ 0.1 M 25 cm3
ผลิตภัณฑ์ 4. แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ 0.1 M 50 cm3
4. การเปลี่ยนสีของสารละลายคอปเปอร์ซัลเฟตจากสีฟ้าเป็นสีน้าเงินเข้มเมื่อหยด 5. แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ 0.1 M 75 cm3
แอมโมเนีย
5. การเกิดตะกรันในหม้อต้มน้าร้อน

10) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศเกี่ยวข้องอย่างไรต่อการเกิดสนิมเหล็กใน 12) พิจารณาแก๊สอุดมคติ 1 โมล บรรจุในภาชนะปิดที่สามารถเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ


ธรรมชาติ และปริมาตรได้ ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้องที่สุด
1. ไม่เกี่ยวข้อง เนื่องจากมีสัดส่วนน้อยมากเพียงประมาณ 0.04% ในอากาศ 1. เมื่อเพิ่มความดันแก๊สเป็น 2 เท่า แก๊สจะมีปริมาตรลดลงเหลือ 1/2 เท่าเสมอ
2. เกี่ยวข้อง โดยเข้าไปเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาออกซิเดชัน เนื่องจากแก๊ส 2. เมื่อเพิ่มปริมาตรแก๊สเป็น 2 เท่า อัตราเร็วเฉลี่ยของแก๊สจะมีค่าลดลงเหลือ 1/2
คาร์บอนไดออกไซด์ละลายน้าให้ H+ ซึ่งร่วมกับออกซิเจนรับอิเล็กตรอน เท่าเสมอ
จากเหล็ก 3. เมื่อเพิ่มปริมาตรแก๊สเป็น 2 เท่า โดยควบคุมให้ความดันแก๊สลดลงเหลือ
3. เกี่ยวข้อง โดยเข้าไปเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยารีดักชัน เนื่องจากแก๊ส 1/2 เท่า แก๊สจะมีอุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลงเสมอ
คาร์บอนไดออกไซด์ละลายน้าให้ H+ ซึ่งร่วมกับออกซิเจนรับอิเล็กตรอน 4. เมื่อเพิ่มอุณหภูมิให้กับแก๊สขึ้นจาก 30 เป็น 60 องศาเซลเซียส ผลคูณระหว่าง
จากเหล็ก ค่าความดันและปริมาตรจะมีค่าเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า
4. เกี่ยวข้อง โดยเข้าไปเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาออกซิเดชัน เนื่องจากแก๊ส 5. เมื่อเพิ่มอุณหภูมิให้กับแก๊สขึ้นจาก 30 เป็น 60 องศาเซลเซียส ค่าพลังงานจลน์
คาร์บอนไดออกไซด์ละลายน้าให้ CO32- ซึ่งร่วมกับออกซิเจนรับอิเล็กตรอน เฉลี่ยของแก๊สจะมีค่าเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าเสมอ
จากเหล็ก
5. เกี่ยวข้อง โดยเข้าไปเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยารีดักชัน เนื่องจากแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ละลายน้าให้ CO32- ซึ่งร่วมกับออกซิเจนรับอิเล็กตรอน
จากเหล็ก

Page 129
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
13) ในห้องปฏิบัติการมีโซเดียมคลอไรด์และแมกนีเซียมคลอไรด์เก็บอยู่ในรูปของแข็ง 15) ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์สลายตัวให้ผลิตภัณฑ์เป็นน้าและแก๊สออกซิเจน ได้ดังสมการ
และมีขวดสารละลาย B ซึ่งมีฉลากเขียนว่าเป็น “โซเดียมคลอไรด์ความเข้มข้น 0.2M” 2H2O2(aq)  2H2O(l) + O2(g)
เหลืออยู่ในปริมาตร 200 cm3 หากนักเรียนต้องการเตรียมสารละลาย X ปริมาตร ปฏิกิริยาดังกล่าวเร่งให้เกิดได้ด้วยตัวเร่งให้เกิดได้ด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาของแข็ง MnO2
500 cm3 ซึ่งมีความเข้มข้นคลอไรด์ไอออนเป็น 0.1 M จากสารละลาย B ผู้ทดลองสามารถศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาโดยการวัดปริมาตรแก๊สออกซิเจนที่
ที่มีทั้งหมด นักเรียนควรทาอย่างไรจึงได้ความเข้มข้นคลอไรด์ไอออนในสารละลาย เกิดขึ้นโดยการแทนที่น้า
X ตามต้องการ หากทาการทดลองสลายตัวของสารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์เข้มข้น 0.1 M
1. นาสารละลาย B ทั้งหมดมาเติมน้าจนมีปริมาตรเป็น 500 cm3 ปริมาตร 50 cm3 ด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส จนปฏิกิริยา
2. ละลายโซเดียมคลอไรด์ 5 มิลลิโมล เพิ่มลงไปในสารละลาย B ทั้งหมดแล้ว สิ้นสุดสมบูรณ์ ได้เส้นกราฟทึบดังรูป
เติมน้า จนสารละลายมีปริมาตร 500 cm3
3. ละลายโซเดียมคลอไรด์ 20 มิลลิโมล เพิ่มลงไปในสารละลาย B ทั้งหมดแล้ว
เติมน้าจนสารละลายมีปริมาตร 500 cm3
4. ละลายแมกนีเซียมคลอไรด์ 5 มิลลิโมล เพิ่มลงไปในสารละลาย B ทั้งหมดแล้ว
เติมน้าจนสารละลายมีปริมาตร 500 cm3
5. ละลายแมกนีเซียมคลอไรด์ 10 มิลลิโมล เพิ่มลงไปในสารละลาย B
ทั้งหมดแล้วเติมน้าจนสารละลายมีปริมาตร 500 cm3

หากเปลี่ยนเงื่อนไขการทดลองดังข้อใดจึงทาให้ได้ผลการทดลองดังกราฟเส้นประ A
1. เพิ่มปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา
2. เพิ่มอุณหภูมิของสารละลาย H2O2
3. เพิ่มความเข้มข้นของสารละลาย H2O2
4. เพิ่มปริมาตรของสารละลาย H2O2
5. เพิ่มพื้นที่ผิวตัวเร่งปฏิกิริยาโดยการบดให้มีขนาดเล็กลง

14) เครื่องดื่มชูกาลังมีคาเฟอีน (C8H10N4O2) อยู่ 50 มิลลิกรัมใน 200 cm3


จงหาความเข้มข้นของคาเฟอีนในหน่วยโมลต่อลิตร
(กาหนดให้ มวลอะตอม C = 12 , H = 1 , N = 14 , O = 16)
1. 0.26 x 10-3
2. 1.29 x 10-3 16) เมื่อนาสารละลายใสไม่มีสี M3+ มาทาปฏิกิริยากับสารละลายใสไม่มีสี X- จะเกิดเป็น
3. 5.15 x 10-2 สารละลายสีส้มของสารเชิงซ้อน [MX]2+ โดยมีค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาดังกล่าว
4. 0.26 เท่ากับ 4.00 หากนาสารละลาย M3+ ความเข้มข้น 1.0 M ปริมาตร 100 cm3
5. 1.29 ผสมกับสารละลาย X- ความเข้มข้น 1.0 M ปริมาตร 100 cm3 จนสารละลายผสม
มีปริมาตรรวมเป็น 200 cm3 ทิ้งไว้จนปฏิกิริยาเข้าสู้สมดุล
(กาหนดให้ 15 = 3.9 และ 17 = 4.1)
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ที่สมดุลความเข้มข้นของสารเชิงซ้อนผลิตภัณฑ์มีค่า 0.25 M
ข. การเพิ่มอุณหภูมิจะทาให้สารละลายมีสีเข้มขึ้นเนื่องจากค่าคงที่สมดุลมีค่า
เพิ่มขึ้น
ค. ถ้าทาการทดลองที่อุณหภูมิเดิม และความเข้มข้นของสารตั้งต้นสองชนิด
ลดลงครึ่งหนึ่งความเข้มข้นของสารเชิงซ้อนจะมีค่าไม่เปลี่ยนแปลงจากเดิม
ข้อความข้างต้นข้อใดถูกต้อง
1. มีข้อความที่ถูกต้อง 1 ข้อความ
2. ข้อความ ก และ ข ถูก
3. ข้อความ ก และ ค ถูก
4. ข้อความ ข และ ค ถูก
5. ไม่มีข้อความใดถูก

Page 130
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
17) ความชื้นสูงสุดหรือไอน้าอิ่มตัว (100%) ที่พบในอากาศที่อุณหภูมิ 30 C 19) เมื่อให้ของผสมที่มีเอทานอลและกรดแอซิติกทาปฏิกิริยากับโซเดียมไฮโดรเจน
ความดัน 1 บรรยากาศ มีค่า 30 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร หากต้องการกาจัด คาร์บอเนต จะได้แก๊สเป็นผลิตภัณฑ์ เมื่อผ่านแก๊สเข้าทาปฏิกิริยากับแคลเซียม
ไอน้าลดลงครึ่งหนึ่ง (50%) ออกจากอากาศในห้องปริมาตร 60 ลูกบาศก์เมตร ไฮดรอกไซด์ จะเกิดเป็นตะกอน ถ้ากรดแอซิติกที่ใช้มี 14C เป็นองค์ประกอบ
ด้วยการควบแน่น จากนั้น นาน้าที่ควบแน่นได้ทั้งหมดมาแยกสลายด้วยกระแสไฟฟ้า กรดแอซิติกในของผสมนี้มีสูตรเคมีเป็น 14CH312COOH และโซเดียมไฮโดรเจน
(Electrolysis) จนปริมาตรน้า เหลือเพียงครึ่งหนึ่ง (50%) จะเกิดแก๊สที่ขั้วแคโทด คาร์บอเนตมีสูตรเคมีเป็น NaH12CO3 (14C เป็นไอโซโทปที่สลายตัวให้อนุภาคบีตา
และแอโนดขึ้นมาทั้งหมดกี่ลิตรที่ STP มีครึ่งชีวิต 5,730 ปี) ข้อใดเป็นสูตรเคมีของตะกอน
ขั้วแคโทด ขั้วแอโนด 1. Ca14CO3
1. 12.5 25.0 2. Ca(H14CO3)2
2. 25.0 12.5 3. Ca3(14CO3)2
3. 280 560 4. Ca12CO3
4. 560 280 5. Ca(H12CO3)2
5. 1120 560

18) ข้อความใดถูกต้อง 20) เมื่อกรดแอซิติกทาปฏิกิริยากับโลหะโซเดียม จะได้แก๊สเป็นผลิตภัณฑ์ จากนั้นนา


1. เพชรมีความหนาแน่นน้อยกว่าแกรไฟต์ แก๊สที่ได้มาผ่านสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต ถ้านาสารละลายที่ผ่านแก๊ส
2. ปฏิกิริยาการเปลี่ยนแกรไฟต์เป็นเพชรเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน แล้วมาทดสอบด้วยกระดาษลิตมัสสีแดงและสีน้าเงิน ตามลาดับ กระดาษลิตมัสจะให้
3. การอัดแกรไฟต์ภายใต้ความดันสูงมากเป็นวิธีหนึ่งที่เปลี่ยนแกรไฟต์เป็นเพชร สีอะไร ตามลาดับ
4. เพชรที่ได้จากการสังเคราะห์ในห้องปฏิบัติการมีความแข็งต่างจากเพชร 1. สีแดง สีน้าเงิน
ธรรมชาติ 2. สีแดง สีแดง
5. เพชรรัสเซียมีส่วนประกอบหลักเป็นอิตเทรียมออกไซด์ 3. สีน้าเงิน สีน้าเงิน
4. สีน้าเงิน สีแดง
5. สีขาว สีขาว

Page 131
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
21) “คาร์บอนฟุตพริ้นท์” หมายถึง ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาจาก 23) ในการถลุงแร่ ถ้าไม่มีการดักจับแก๊สที่เกิดขึ้นจากกระบวนการถลุงแล้ว แต่ในข้อใด
ผลิตภัณฑ์แต่ละหน่วย ตลอดวัฎจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่การได้มาซึ่งวัตถุดิบ จะก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศน้อยที่สุด
การขนส่ง การประกอบชิ้นส่วน การใช้งาน และการจัดการซากผลิตภัณฑ์หลังการ 1. แร่ทองแดง
ใช้งาน โดยคานวณออกมาในรูปของคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า 2. แร่สังกะสี
กิจกรรมใดต่อไปนี้ให้ค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์น้อยที่สุด 3. แร่ดีบุก
1. การปั่นจักรยาน 25 กิโลเมตร / วัน ไปทางาน 4. แร่โคลัมไบต์ – แทนทาไลต์
2. การนั่งรถไฟฟ้า 25 กิโลเมตร / วัน ไปทางาน 5. แร่พลวง
3. การขับรถ 25 กิโลเมตร / วัน ไปทางาน
4. การนั่งรถไฟดีเซล 25 กิโลเมตร / วัน ไปทางาน
5. การนั่งแท็กซี่ 25 กิโลเมตร / วัน ไปทางาน

22) ปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันของเอสเทอร์เป็นปฏิกิริยาที่เปลี่ยนเอสเทอร์เป็นแอลกอฮอล์
เช่น เปลี่ยนเมทิลเบนโซเอตเป็นเบนซิลแอลกอฮอล์ ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นได้ในสภาวะที่
มีตัวเร่งปฏิกิริยา (catalyst) เบส (base) ตัวทาละลาย (solvent)
และอัดแก๊สไฮโดรเจนที่ความดันสูง

ถ้านาขวดน้าดื่มที่ขายในร้านสะดวกซื้อมาทาปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันของเอสเทอร์ 24) พอลิออกซีเมทิลีนอีเธอร์ (Polyoxymethylene Ether) หรือ OMEn มีสูตรเคมี


ข้อใดเป็นผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยาดังกล่าว CH3(OCH2)nOCH3 เมื่อ n = 3-5 จะมีสถานะเป็นของเหลว มีสมบัติเป็นเชื้อเพลิง
1. ใช้แทนน้ามันดีเซลได้ ถ้า n มีค่าสูงขึ้น มีสถานะเป็นของแข็ง ถ้าเปรียบเทียบ OMEn
กับแอลเคน ข้อใดถูกต้อง
1. ในการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของ OMEn จะมีการผลิตแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่
มากกว่าการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของแอลเคนที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน
2. ในการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของ OMEn ต้องการแก๊สออกซิเจนมากกว่าการเผา
2. ไหม้อย่างสมบูรณ์ของแอลเคนที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน
3. ถ้านา OMEn ที่เป็นเชื้อเพลิงเหลวมาเติมรถบรรทุก จะมีการผลิตแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์น้อยกว่าน้ามันดีเซล
4. ถ้านา OMEn ที่เป็นเชื้อเพลิงเหลวมาเติมรถบรรทุก จะมีการผลิตไอน้ามากกว่า
น้ามันดีเซล
3. 5. ในการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของ OMEn จะมีการผลิตแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่
เท่ากับการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของแอลเคนที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน

4.

5.

Page 132
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
25) ถ้าต้องการผลิตเครื่องแก้วเพื่อใช้ในห้องปฏิบัติการ จะเลือกแก้วชนิดใดใน 27) การทดลองขวดสีน้าเงิน (Blue Bottle Experiment) เป็นการทดลองที่มีการผสม
กระบวนการผลิต สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ สารละลายกลูโคสมากเกินพอ และใส่สารละลาย
1. แก้วโซดาไลม์ เมทิลีนบลู (สีน้าเงิน) ในปริมาณน้อยเพื่อใช้เป็นอินดิเคเตอร์บอกการเปลี่ยนแปลง
2. แก้วโบโรซิลิเกต จากการโอนย้ายอิเล็กตรอน (หากเมทิลีนบลูรับอิเล็กตรอนจะเปลี่ยนจากสีน้าเงิน
3. แก้วคริสตัล เป็นใสไม่มีสี) หลังจากผสมสารละลายข้างต้น มีการเปลี่ยนสีจากสีน้าเงินเป็น
4. แก้วควอตซ์ ใสไม่มีสี จากนั้นทาการเขย่าสารละลายจะเปลี่ยนจากใสไม่มีสีเป็นสารละลายสี
5. แก้วโบฮีเมียน น้าเงิน ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. กลูโคสทาหน้าที่เป็นตัวออกซิไดซ์
2. เมทิลีนบลูทาหน้าที่เป็นตัวรีดิวซ์
3. การเขย่า ทาให้แก๊สออกซิเจนเติมลงไปในสารละลายและทาหน้าที่เป็นตัวรีดิวซ์
4. เมทิลีนบลูทาปฏิกิริยากับกลูโคสเพื่อเปลี่ยนจากสีน้าเงินเป็นใสไม่มีสี
5. ถ้าอัดแก๊สอาร์กอนไล่แก๊สออกซิเจนแล้วเขย่า จะได้สารละลายสีน้าเงิน

26) การนาแก๊สไฮโดรเจนทาปฏิกิริยากับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในสภาวะที่มีโลหะ 28) กรดกัดแก้ว HF เป็นกรดที่มีพลังในการกัดกร่อนสูงมาก ข้อใดควรมีไว้ใน


ออกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยามีโอกาสเกิดผลิตภัณฑ์ใดน้อยที่สุด ห้องปฏิบัติการหรือไว้ใกล้ๆ เวลาทางานกับกรดกัดแก้ว เพื่อใช้ปฐมพยาบาล
1. CH4 เบื้องต้น ในกรณีที่ทางานกับกรดกัดแก้ว แล้วมีการกระเด็นถูกผิวหนัง
2. C6H6 1. ยาสีฟันที่มีฟลูออไรด์
3. CH3OH 2. ครีมแคลเซียมกลูโคเนต
4. HCOOH 3. น้าเกลือ
5. H2O 4. ครีมทาบรรเทาปวดกล้ามเนื้อ
5. ยาระงับความปวด

Page 133
เคมี สามสิบวัน ทันสอบ สรุปเนื้อหา และ ตะลุยโจทย์
29) ของแข็ง A ทาปฏิกิริยากับแก๊ส D ได้ของแข็ง E และแก๊ส G เป็นผลิตภัณฑ์
ดังสมการ 4A(s) + D(g)  4E(s) + G(g) (สมการดุลแล้ว)
นาของแข็ง A 8.0 กรัม ทาปฏิกิริยากับแก๊ส D 0.2 โมล หลังจากเกิดปฏิกิริยา
ผ่านแก๊สที่ได้บรรจุในภาชนะที่มีอุณหภูมิ 300 K และปริมาตร 8.2 dm3
ทาการวิเคราะห์ของแข็งที่เหลือจากปฏิกิริยาพบว่า มีอัตราส่วนโดยน้าหนักของ
E/A = 6 นักเรียนคนหนึ่งทาการวิเคราะห์ผลจากปฏิกิริยา ได้ผลการวิเคราะห์ดังนี้
ก. มวลโมเลกุลของ E เป็น 240
ข. ความดันรวมของแก๊สเป็น 0.6 บรรยากาศ
ค. จานวนโมลของ A ที่เหลือในปฏิกิริยามีค่าเท่ากับ 0.04
ผลการวิเคราะห์ข้อใดถูก (ให้ R = 0.082 L.atm.mol-1.K-1 และมวลโมเลกุลของ
A = 40 , D = 180 , G = 100)
1. ข เท่านั้น
2. ก และ ข เท่านั้น
3. ข และ ค เท่านั้น
4. ก และ ค เท่านั้น
5. ก ข และ ค

30) พิจารณาปฏิกิริยาการเผาไหม้ของสารประกอบไซเลนที่มีสูตรเป็น Si(OR)4


(R = CnH2n+1) ดังนี้
Si(OR)4(l) + O2(g)  SiO2(s) + CO2(g) + H2O(g) (สมการยังไม่ดุล)
ถ้าเริ่มต้นด้วยสารประกอบไซเลนหนัก 132 กรัม ทาปฏิกิริยากับออกซิเจน
มากเกินพอแล้วผ่านแก๊สทั้งหมดเพื่อทาการควบแน่นที่อุณหภูมิ 4 C ได้ของเหลว
มีปริมาตร 126 cm3 ข้อใดเป็นสูตรเคมีของสารประกอบไซเลน
(มวลอะตอมของ Si = 28 , C = 12 , O = 16 , H = 1)
1. Si(OCH3)4
2. Si(OC2H3)4
3. Si(OC3H7)4
4. Si(OC4H9)4
5. Si(OC5H11)4

เฉลย 1. 5 2. 4 3. 3 4. 2 5. 5 6. 5
7. 5 8. 4 9. 3 10. 3 11. 5 12. 3
13. 4 14. 2 15. 3 16. 1 17. 4 18. 3
19. 4 20. 3 21. 1 22. 2 23. 3 24. 3
25. 2

Page 134
PAT 2 2563
ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ( เคมี )
ตะลุยโจทย์เคมี PAT2 ตะลุยโจทย์
1) พิจารณาข้อมูลของสารประกอบระหว่างธาตุในคาบที่ 2 ต่อไปนี้ 5) ในการเผาของแข็ง A ในภาชนะเปิดพบว่าเกิดปฏิกิรยิ าได้ของแข็ง B และแก๊ส C
สารประกอบระหว่าง สูตรเคมี โครงสร้างผลึก ดังนี้
ธาตุ 2A(s) → 3B(s) + 4C(g) (สมการดุลแล้ว)
A และ E AE4 ประกอบด้วยโมเลกุล เริ่มต้น 20g 0g 0g
ของ AE4 โดยมีแรง หลังสิ้นสุดปฏิกิริยา 2 g xg 4.5 g
ลอนดอนช่วยยึด ปฏิกริ ิยานี้มีร้อยละของผลได้เป็น 75 (ให้พิจารณาเฉพาะปฏิกริ ิยาที่กำหนดให้
โมเลกุลให้อยู่ เท่านัน้ ) หลังจากปฏิกิริยาสิ้นสุด น้ำหนักของสารที่เหลือในภาชนะที่ทำปฏิกิริยาเป็น
ด้วยกัน กี่กรัม (กำหนดให้มวลโมเลกุลของ A = 180)
D และ G D3G ไอออนของ D และ G 1. 11 2. 15.5
จัดเรียงสลับกัน 3. 20 4. 29
อย่างต่อเนื่องใน 3 5. 33.5
มิติ
E และ G E3G ประกอบด้วยโมเลกุล 6) นำสารละลายเบสอ่อน B ปริมาตร 20 cm3 มาสะเทินด้วยสารละลายกรด HCl
ของ E3G โดยมีแรง เข้มข้น 0.1 mol/dm3 พบว่าต้องใช้สารละลาย HCl 30 cm3 โดยปฏิกริ ยิ าที่เกิดขึน้
ระหว่างขั้วช่วยยึด เป็นดังนี้
โมเลกุลให้อยู่ B(aq) + HCl(aq) → BHCl(aq) (สมการดุลแล้ว)
ด้วยกัน หลังจากปฏิกริ ิยาเกิดขึ้นสมบูรณ์ วัด pH ของสารละลายได้เท่ากับ 6 ค่า Kb ของ
ข้อใดผิดเกี่ยวกับธาตุ A, D, E และ G เบสอ่อนนี้มีค่าเท่าใด
1. ธาตุ A เป็นธาตุทอี่ ยู่ในหมู่เดียวกับธาตุที่มีเลขอะตอมเท่ากับ 14 1. 1 x 10-10 2. 6 x 10-10
-4
2. ธาตุ D สูญเสียอิเล็กตรอนง่ายทีส่ ุดเมือ่ เทียบกับธาตุ A, E และ G 3. 1 x 10 4. 6 x 10-4
3. ธาตุ E มีเลขอะตอมเท่ากับ 9 5. 1 x 10-2
4. สารประกอบระหว่าง D และ E เป็นสารประกอบประเภทเดียวกับ D3G
5. ธาตุ G รับอิเล็กตรอนได้ง่ายกว่าธาตุ A 7) ทำการทดลองไทเทรตสารละลายกรดอ่อน HA ปริมาตร 20.00 cm3 ด้วย
สารละลาย NaOH เข้มข้น 1.0 M และวัด pH ของสารละลายหลังจากเติม
2) สารประกอบระหว่าง 12Mg กับธาตุในคาบสาม X, R, T และ Z มีสูตรเคมีเป็น สารละลาย NaOH พบว่าได้ขอ้ มูลดังตาราง
MgX2, MgR, Mg3T2 และ Mg2Z
สูตรเคมีของไอออนลบในข้อใดที่เป็นไปไม่ได้ ปริมาตรของสารละลาย NaOH (cm3) pH ของสารละลาย
1. XO32- 2. RO32- 2.00 3.2
3-
3. TO4 4. ZO44- 4.00 3.7
2-
5. RO4 6.00 4.2
8.00 8.58
3) โมเลกุลใดต่อไปนี้ทมี่ ีแรงระหว่างโมเลกุลไม่ใช่แรงระหว่างขั้ว 10.00 12.82
1. SOCl2 2. N(CH3)3 12.00 13.26
3. CH3OCH3 4. N2O4 หมายเหตุ ให้พิจารณาจุดสมมูลของการไทเทรตจากปริมาตร NaOH ทีป่ รากฏอยูใ่ น
5. HBr ตารางเท่านั้น
จากข้อมูลในตาราง นักเรียนคนหนึ่งวิเคราะห์ผลการทดลองดังนี้
4) นำสารละลาย Na2CO3 เข้มข้น 1.0 mol/dm3 ปริมาตร 250 cm3 มาทำปฏิกิริยากับ ก. กรดนีม้ ีค่า Ka 2.5 x 10-9
สารละลาย HCl เข้มข้น 3.0 mol/dm3 ปริมาตร 250 cm3 พบว่าเกิดปฏิกิริยาดังนี้ ข. กรดอ่อนมีความเข้มข้นเท่ากับ 0.4 mol/dm3
Na2CO3(aq) + HCl(aq) → NaCl(aq) + H2O(l) + CO2(g) ค. ค่า pH ที่จุดสมมูลของการไทเทรตนี้มคี า่ เท่ากับ 8.58
(สมการยังไม่ดุล) การวิเคราะห์ข้อมูลข้อใดผิด (กำหนดให้ log 2 = 0.3, log 3 = 0.5)
หลังจากรอให้ปฏิกริ ยิ าเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ แล้วระเหยน้ำออกจากภาชนะจนแห้ง 1. ก เท่านั้น 2. ข เท่านั้น
น้ำหนักของของแข็งที่เหลือในภาชนะควรเป็นกี่กรัม 3. ค เท่านั้น 4. ก และ ข
(มวลอะตอมของ H = 1, C = 12, O = 16, Na = 23, Cl = 35.5) 5. ข และ ค
1. 14.63 2. 29.25
3. 42.00 4. 47.50 8) ธาตุ X มีสมบัติเป็นโลหะในคาบเดียวกับธาตุท่ีมีเลขอะตอม 32 สามารถเกิด
5. 58.50 สารประกอบและไอออนได้หลายชนิดที่มสี ีต่างกัน และเลขออกซิเดชันสูงสุดของ X
พบใน XO42-
พิจารณาข้อมูลเกี่ยวกับธาตุ X
ก. ใช้เคลือบผิวโลหะเพื่อป้องกันสนิม
ข. ในธรรมชาติพบในแร่ที่มี FeO ผสมอยู่
ค. เป็นองค์ประกอบที่ทำให้เกิดสีน้ำเงินในเลือดปู
ข้อใดถูก
1. ก เท่านั้น 2. ข เท่านั้น
3. ค เท่านัน้ 4. ก และ ข
5. ข และ ค

Page 2
ตะลุยโจทย์เคมี PAT2 ตะลุยโจทย์
9) นักเรียนทำการทดลองเพือ่ หากฎอัตราของปฏิกิริยาเคมี A(g) + D(g) → X(g) ใน 13) นำของผสมระหว่างหินปูน (CaCO3) และปูนขาว (CaO) 10 กรัม มาเผาเพื่อเปลีย่ น
ภาชนะปิด โดยสารตัง้ ต้น A และ D มีความเข้มข้นเริ่มต้น 0.1 mol/dm3 และ หินปูนให้กลายเป็นปูนขาวโดยสมบูรณ์ พบว่าเกิดแก๊ส CO2 ขึ้น คิดเป็นปริมาตร
0.3 mol/dm3 ตามลำดับ ปฏิกริ ิยาดำเนินไปจนสมบูรณ์ในเวลา 100 วินาที หาก 0.672 ลิตร ที่ STP
ปฏิกิริยานีม้ ีอัตราที่เวลาอื่นไม่เท่ากับอัตรา ณ เวลา t = 0 วินาที กำหนดให้ จงหาร้อยละโดยมวลของปูนขาวในของผสม
ปฏิกิริยานี้มีค่าอัตราไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเปลี่ยนความเข้มข้น D(g) ข้อใดถูก กำหนดให้มวลอะตอม C = 12, O = 16, Ca = 40
1. เมื่อการทดลองสิน้ สุด ความดันภายในภาชนะจะมีค่าเพิ่มขึ้น 1. 15 2. 20
2. ผลิตภัณฑ์ X ที่เกิดขึ้นในช่วง 20 วินาทีแรก มีปริมาณน้อยกว่าที่เกิดขึ้นในช่วง 3. 30 4. 40
20 วินาทีสุดท้าย 5. 70
3. เมื่อทำการทดลองซ้ำโดยเพิ่มอุณหภูมิ ปฏิกิริยานีเ้ มื่อเกิดสมบูรณ์จะให้ผลิตภัณฑ์
X มากขึ้น 14) จงหาค่าผลรวม a+b+c+d+e+f จากการดุลสมการต่อไปนี้ในสภาวะกรด
4. เมื่อทำการทดลองซ้ำโดยใส่ตัวเร่งปฏิกิริยา ปฏิกิริยานีเ้ มื่อเกิดสมบูรณ์จะให้ a MnO4-(aq) + b C2O42-(aq) + c H+(aq) → d Mn2+(aq) + e CO2(g) + f H2O
ผลิตภัณฑ์ X เท่าเดิม โดย a, b, c, d, e, f เป็นเลขจำนวนเต็มที่น้อยที่สุด
5. เมือ่ ทำการทดลองซ้ำโดยลดความเข้มข้นเริม่ ต้นของ D ลงเหลือ 0.03 mol/dm3 1. 15 2. 28
ปฏิกิริยาดำเนินไปจนสมบูรณ์จะใช้เวลา 100 วินาที 3. 33 4. 43
5. 63
10) ปฏิกิริยาการสลายตัวของแก๊สไดไนโตรเจนเพนทอกไซด์ให้แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์
และแก๊สออกซิเจนในระบบปิด โดยที่อัตราการลดลงของแก๊สไดไนโตรเจนเพนทอก 15) หากนำ 2 ครึ่งเซลล์ชนิดเดียวกันที่มีขวั้ เหมือนกันในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ชนิด
ไซด์มีค่าไม่คงที่ ณ เวลาต่างๆ ข้อใดถูก เดียวกัน แต่มีไอออนโลหะที่มีความเข้มข้นต่างกันมาต่อกัน ข้อใดผิด
1. อัตราเกิดแก๊สผลิตภัณฑ์มีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อเวลาเพิ่มขึ้น 1. เมื่อเวลาผ่านไป ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์จะมีค่าเป็นลบ
2. เมื่อปฏิกิริยาดำเนินไป แก๊สในระบบปิดจะมีเขียวเข้มขึ้น 2. ครึ่งเซลล์ทมี่ ีความเข้มข้นมากจะเป็นครึ่งเซลล์ท่ีเกิดปฏิกริ ิยารีดักชัน
3. อัตราการเกิดแก๊สผลิตภัณฑ์มีค่าไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเวลาเพิ่มขึ้น 3. เมื่อเวลาผ่านไป ครึ่งเซลล์ที่เกิดปฏิกริ ิยารีดักชันจะมีค่าศักย์ไฟฟ้าลดลง
4. ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึน้ มากทีส่ ดุ คือ แก๊สออกซิเจน 4. เมื่อเวลาผ่านไป ครึ่งเซลล์ที่เกิดปฏิกริ ิยาออกซิเดชัน ไอออนโลหะจะมีความ
5. ความเข้มข้นของแก๊สไดไนโตรเจนเพนทอกไซด์ลดลงเร็วในช่วงเริม่ ต้นปฏิกริ ยิ า เข้มข้นเพิ่มขึ้น
และลดช้าลงในช่วงเวลาถัดไป 5. เมือ่ เวลาผ่านไป ไอออนโลหะในสารละลายของทั้งสองครึ่งเซลล์จะมีความเข้มข้น
เท่ากัน
11) สารละลายมีสขี องสารประกอบโลหะเชิงซ้อน MX63- ชนิดหนึ่งเตรียมขึ้นจากการ
ผสมสารละลายใสไม่มีสีของไอออนบวก M3+ ความเข้มข้น 0.02 mol/dm3 กับ 16) สาร M ทำปฏิกริ ิยากับสาร X เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ MX3 โดยอยู่ในสมดุลเคมี ดัง
สารละลายใสไม่มีสขี องไอออนลบ X- ความเข้มข้น 0.12 mol/dm3 อย่างละ 50 cm3 สมการ M + 3X MX 3
กำหนดให้ในระบบทีพ ่ ิจารณามีเฉพาะปฏิกิริยานี้เท่านั้น หาก ณ เวลาเริ่มต้น ความเข้มข้นของทั้ง M และ X ในสารละลายผสมมีค่า 0.10
ข้อสรุปจากการทดลองต่อไปนี้ mol/dm3 เมือ่ เข้าสู่สมดุล ความเข้มข้นที่สมดุลของ M มีค่า 0.08 mol/dm3
ก. ความเข้มข้นของ MX63- ในสารละลายผสมมีค่าสูงสุด 0.02 mol/dm3 จงหาค่าคงทีส่ มดุลทีอ่ ุณหภูมิดังกล่าว
ข. หากสารละลายผสมมีสจี างลงเมื่อเพิม่ อุณหภูมิ แสดงว่า ปฏิกิริยาการเกิด 1. 102/(4x4)
โลหะเชิงซ้อนเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน 2. 106/(2x4x4x4)
ค. หากตรวจพบความเข้มข้นของ MX63- ในสารละลายผสมมีค่า 0.005 3. 106/(4x4x4x4)
mol/dm3 แสดงว่า ปฏิกิรยิ านี้อยู่ที่สมดุล 4. 106/(2x6x6x6)
ข้อสรุปใดผิด 5. 106/(4x6x6x6)
1. ก เท่านั้น 2. ข เท่านั้น
3. ค เท่านั้น 4. ก และ ค 17) เกลือชนิดใดเมือ่ นำมาละลายน้ำ แล้วให้สารละลายมีค่า pOH น้อยกว่า 7
5. ข และ ค 1. KBr
2. KNO2
12) ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน แก๊สหรือไอชนิดใดต่อไปนี้ มีความหนาแน่นมาก 3. KNO3
ที่สุด กำหนดให้มวลอะตอมมีค่าดังนี้ H = 1, C = 12, F = 19, S = 32, I = 127 4. NH4Cl
1. แก๊สไข่เน่า 5. (NH4)2SO4
2. แก๊สหุงต้ม (LPG)
3. ไอของเกล็ดไอโอดีน 18) สารละลายผสมของสารละลาย NaOH และ HCl ต่อไปนี้ ข้อใดมีค่า pH สูงสุด
4. ไอของก้อนแนพทาลีน
5. ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ สารละลาย NaOH สารละลาย HCl
1. 0.10 mol/dm3, 50 cm3 0.10 mol/dm3, 50 cm3
2. 0.10 mol/dm3, 50 cm3 0.05 mol/dm3, 50 cm3
.3. 0.10 mol/dm3, 25 cm3 0.10 mol/dm3, 75 cm3
4. 0.10 mol/dm3, 75 cm3 0.10 mol/dm3, 25 cm3
5. 0.10 mol/dm3, 75 cm3 0.20 mol/dm3, 25 cm3

Page 3
ตะลุยโจทย์เคมี PAT2 ตะลุยโจทย์
19) แกรไฟต์มีโครงสร้างเป็นชั้นๆ ดังรูป 22) THCA (tetrahydrocannabinolic acid) เป็นสารทีพ
่ บในกัญชาที่ชื้น มีโครงสร้างดัง
รูป

ถ้านำเทปกาวมาแตะที่ผิวแกรไฟต์แล้วดึงจะได้แกรฟีน ถ้านำ THCA ไปให้ความร้อนที่อุณหภูมิมากกว่า 105 oC จะสลายตัวได้สาร 2 ชนิด


ข้อใดคือโครงสร้างของแกรฟีน สารชนิดที่หนึ่ง คือ THC (tetrahydrocannabinol) ทีม่ สูตรโมเลกุลเดียวกับ CBD
(cannabidiol)
สารชนิดที่สองคือผลิตภัณฑ์ใดต่อไปนี้
1. CH4
2. H2O
1. 2. 3. CO2
4. CO
5. HCOH
3. 4.
23) ศาสตราจารย์ G. N. Lewis ผูร้ ิเริ่มการวาดสูตรแบบจุดสำหรับสารเคมี รูปสูตรแบบ
จุดของกรดซัลฟิวริก แสดงดังรูป

5.

20) แกรเฟนเป็นวัสดุที่ได้จากการทำปฏิกริ ิยาเติมไฮโดรเจนของแกรฟีน รูปต่อไปนี้แสดง


ส่วนหนึ่งของแกรเฟน

ข้อใดคือสูตรโครงสร้างของซัลเฟตไอออนจากรูปสูตรแบบจุดข้างต้น

ข้อใดคือสูตรอย่างง่ายของแกรเฟน
1. 2.
1. C
2. CH
3. C2H3
4. CH2 3. 4.
5. C2H5

21) CBD (cannabidiol) เป็นสารที่สกัดได้จากกัญชา มีจุดหลอมเหลว 66 oC และมี


โครงสร้างดังรูป
5.

24) ในปี พ.ศ. 2562 นักเคมีสามารถสังเคราะห์สารประกอบแอลไคน์ที่มีโครงสร้างเป็น


วงได้ดังรูป
CBD มีสมบัติละลายได้ในตัวทำละลายอินทรียแ์ ละไม่ละลายน้ำถ้าต้องการให้ CBD
ละลายในน้ำ ต้องเติมสารละลายในข้อใด
1. NaBr
2. NaOH
3. NaCl
4. Na2SO4
5. Nal ข้อใดเป็นสูตรเคมีของโครงสร้างข้างต้น
1. C18H18
2. C18H9
3. C18
4. C18H36
5. C18H38

Page 4
ตะลุยโจทย์เคมี PAT2 ตะลุยโจทย์
25) โมเลกุล C35H56O มีสูตรโครงสร้างต่อไปนี้ 3. ค เท่านั้น
4. ก และ ข เท่านั้น
5. ข และ ค เท่านั้น

29) เศรษฐกิจชีวภาพหมายถึงการพัฒนาเศรษฐกิจที่มุ่งเน้นการใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรชีวภาพอย่างคุ้มค่าควบคู่ไปกับการรักษาสมดุลทางสิ่งแวดล้อมโดยอาศัย
จำนวนคาร์บอนที่มีโครงสร้างรอบอะตอมเป็นรูปทรงสี่หน้า และมีมุม CCC อย่าง ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีหลากหลายสาขา
น้อย 1 มุม มีทั้งหมดกีอ่ ะตอม การผลิตใดจัดเข้ากลุม่ การผลิตในเศรษฐกิจชีวภาพได้น้อยที่สดุ
1. 18 2. 20 1. การผลิตเอทานอลจากโมลาส
3. 27 4. 34 2. การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันปาล์ม
5. 35 3. การผลิตเฟอร์นิเจอร์จากไม้ยางพารา
4. การผลิตสารหล่อลื่นจากน้ำมันพืชที่ใช้แล้ว
5. การผลิตพอลิเอทิลีนจากอีทีนที่ได้จากแก๊สธรรมชาติ
26) X ในปฏิกิริยานิวเคลียร์ 73 Li + 11H → 63 Li + X นีค้ ืออะไร
1. แอลฟา
30) โมเลกุลของเบนซีนประกอบด้วยคาร์บอน 6 อะตอม ต่อกันเป็นวง คาร์บอนทุก
2. บีตา
อะตอมอยู่ในระนาบเดียวกัน และต่อกับไฮโดรเจนอีก 1 อะตอม
3. แกมมา
ในการอธิบายโครงสร้างของเบนซีนโดยนักเคมีจะใช้โครงสร้างเรโซแนนช์ดังนี้
4. นิวตรอน
5. ดิวเทอรอน

27) นำสารละลายเบสแก่ B(OH)2 เข้มข้น 2 mol/dm3 ปริมาตร 10 cm3 ใส่ในภาชนะ


แล้วต่อเข้ากับชุดเครื่องตรวจการนำไฟฟ้า แล้วเติมอินดิเคเตอร์พบว่าได้สารละลายสี
ม่วงหลังจากนั้นทำการเติมสารละลายกรดแก่ H2A พบว่าได้ผลการทดลองดังตาราง จำนวนไอโซเมอร์ของ C6H4Br2 เมื่อมีโครงสร้างเป็นวงเบนซีนและมีโครงสร้างเป็นรูป
ใดรูปหนึ่งของโครงสร้างเรโซแนนซ์เป็นเท่าใดตามลำดับ
ปริ มาณของ H2 A สีของสารละลาย การเปลี่ยนแปลงอืน่ ใน 1. 2 และ 3
ความสว่างของหลอดไฟ
(cm3 ) อินดิเคเตอร์ สารละลายผสม* 2. 3 และ 2
0 ม่วง สว่างมาก ไม่เกิดตะกอน
3. 3 และ 3
5 ม่วงจาง สว่างน้อยลง +
10 ฟ้า สว่างน้อยลง ++ 4. 3 และ 4
15 ฟ้า สว่างน้อยลงกว่าเดิม +++ 5. 4 และ 3
20 เขียว ไม่สว่าง ++++
25 ชมพูอ่อน กลับมาสว่างอีกครั้ ง +++++
31) เซลล์ลิเทียม-ไอออน มีการใช้งานในมือถือ คอมพิวเตอร์แบบพกพา และอุปกรณ์
(* + แทนปริมาณตะกอน)
อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพาเนื่องจากสามารถนำมาประจุไฟเพือ่ นำไปใช้ซ้ำได้
จากข้อมูลในตารางนักเรียนคนหนึ่งสรุปผลการทดลองได้ดังนี้
ก. ความเข้มข้นของสารละลายกรดแก่ H2A เท่ากับ 1 mol/dm3
ข. ตะกอนคือ BA
ค. หลังจากเติม H2A 10 cm3 ไอออนทีป่ รากฏในสารละลายคือ B2+, OH และ
A2-
ข้อสรุปข้างต้นข้อใดถูก (ให้พิจารณาจุดสมมูลจากปริมาตร H2A ที่ปรากฏอยู่ใน
ตารางเท่านั้น)
1. ก เท่านั้น เซลล์ลิเทียม-ไอออนมีขั้วไฟฟ้าปิโตรเลียมโค้ก (แกรไฟต์) ทีเ่ จือด้วยอะตอมลิเทียม
2. ข เท่านั้น ระหว่างชั้นของแกรไฟต์ (LixC6) และขั้วไฟฟ้าลิเทียมโคบอลต์ (IIl) ออกไซด์
3. ค เท่านั้น (LiCoO2) โดยมีอิเล็กโทรไลต์เป็นสารอินทรีย์ เช่น เอทิลีนคาร์บอเนตที่ผสมเกลือ
4. ก และ ข ลิเทียม สารตัวใดเกิดมากขึ้นที่ขั้วไฟฟ้าในขณะจ่ายไฟ
5. ข และ ค 1. C และ LiCoO2
2. C และ LixC6
28) ออกไซด์ของโลหะ M อยู่ในรูป MO และ M2O3 นำออกไซด์ของโลหะ M หนัก 69.6 3. LixC6 และ LiCoO2
g มาทำปฏิกิริยากับ AI ที่อุณหภูมิสูงเพือ่ รีดิวซ์ให้เป็นโลหะ M (ในภาชนะที่ไม่มีแก็ส 4. CoO2 และ C
ออกซิเจน) พบว่าต้องใช้ Al 21.6 g และหลังจากปฏิกิริยาสิน้ สุดไม่พบ AI เหลือใน 5. LiCoO2 และ CoO2
ภาชนะปฏิกิริยานี้มีร้อยละของผลได้เป็น 100 นักเรียนคนหนึ่งวิเคราะห์ผลการ
ทดลองได้ดังนี้
ก. ได้โลหะ M หนัก 91.2 g
ข. อัตราส่วนโดยโมลของ MO และ M2O3 มีค่าเป็น 1: 1
ค. ถ้าใช้ออกไซด์ของโลหะ M หนัก 139.2 g ต้องใช้ AI 43.2 g
การวิเคราะห์ข้างต้นข้อใดผิด
(กำหนดให้มวลอะตอมของ M = 56, Al = 27, 0 = 16)
1. ก เท่านั้น
2. ข เท่านั้น

Page 5
ข้อสอบ PAT 2 64
เคมี
ตะลุยโจทย์ PAT2 (เคมี) ปี 2564
1) ในห้องปฏิบัติการมีสารจะลาย HCI CaCI2 และ Na2CO3 ซึ่งเป็นสารละลาย 2) บนฉลากบรรจุภัณฑ์สารเคมีจะมีสัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายเพื่อความ
ใสไม่มีสีบรรจุอยู่ใน ขวด A B และ C แต่ไม่ทราบแน่ชัดว่าสารละลายแต่ละชนิด ปลอดภัยในการจัดเก็บ การนำไปใช้ และการกำจัด โดยสัญลักษณ์แสดงความเป็น
อยู่ในขวดใดจึงนำสารละลายในแต่ละขวด มาผสมกันเป็นคู่ ๆ บันทึกผลที่ได้จาก อันตรายที่นิยมใช้อย่างแพร่หลาย คือ GHS (Globally Harmonized System of
การสังเกตดังตาราง Classification and Labelling of Chemicals) ซึ่งมี
สารละลายในขวด A B C ตัวอย่าง รูปสัญลักษณ์ดังนี้
A ใส ไม่มีสี เกิดตะกอน เกิดฟองแก๊ส
B เกิดตะกอน ใส ไม่มีสี ใส ไม่มีสี รูปสัญลักษณ์ ประเภทความอันตราย

C เกิดฟองแก๊ส ใส ไม่มีสี ใส ไม่มีสี การกัดกร่อนโลหะ

ข้อใดระบุชนิดของสารละลายในแต่ละขวดได้ถูกต้อง เพราะเหตุใด การกัดกร่อนผิวหนัง


1. ขวด A บรรจุสารละลาย Na2CO3 เพราะมี CO32- ซึ่งเมื่อผสมกับ
สารละลายในขวด B จะเกิดตะกอน การระคายเคืองต่อผิวหนัง

2. ขวด A บรรจุสารละลาย HCI เพราะมีสมบัติเป็นกรด ซึ่งเมื่อผสมกับสารละลาย


การระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจหรืออาจทาให้ง่วงซึมมึนงง
ในขวด C จะเกิดฟองแก๊ส
3. ขวด B บรรจุสารละลาย CaCI2 เพราะมี CI¯ ซึ่งเมื่อผสมกับสารละลายใน
สารไวไฟ
ขวด A จะเกิดตะกอน
4. ขวด C บรรจุสารละลาย CaCI2 เพราะมี Ca2+ ซึ่งเมื่อผสมกับสารละลายใน สารทีล่ ุกติดไฟได้เองในอากาศ
ขวด B จะได้สารละลายใส ไม่มีสี
5. ขวด C บรรจุสารละลาย HCI เพราะมี CI¯ ซึ่งเมื่อผสมกับสารละลายในขวด A สารก่อมะเร็ง
จะเกิดฟองแก๊ส
ความเป็นพิษต่อระบบอวัยวะเป้าหมายอย่างเฉพาะเจาะจงจากการรับสัมผัสซา

สารออกซิไดส์

ความเป็นพิษเฉียบพลันทีอ่ าจเป็นอัตรายถึงชีวติ

สารเคมีชนิดหนึ่งมีจุดวาบไฟเท่ากับ 10 องศาเซลเซียส เมื่อสัมผัสผิวหนัง


จะทำให้เกิดอาการระคายเคือง และถ้าได้รับอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน จะทำให้
เป็นหมันได้ ฉลากบรรจุภัณฑ์ของสารเคมีชนิดนี้ควรปรากฏรูปสัญลักษณ์แสดงความ
เป็นอันตรายใดบ้าง

Page 2
ตะลุยโจทย์ PAT2 (เคมี) ปี 2564
3) ปฏิกิริยานิวเคลียร์ระหว่าง U-238 กับ Ca-48 ได้ผลิตภัณฑ์เป็นอนุภาคนิวตรอน 5) การกำจัดนิกเกิลออกจากน้ำด้วยวิธีอิเล็กโทรลิซิสในช่วงความเข้มข้น 0 01 - 10
และนิวเคลียสของธาตุใหม่ โดยมีการเสนอสมการของปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่อาจ ส่วนในล้านส่วนได้ผลดังกราฟ
เป็นไปได้ 3 สมการ ดังนี้
สมการที่ 1 238
92 U + 2048 Ca → 3 01n + 283
112 Cn
สมการที่ 2 238
92 U + Ca → 3 n +
48
20
0
1
286
109 Mt
สมการที่ 3 U + Ca → n +
238
92
48
20
1
0
285
111 Rg
สมการที่เสนอในข้อใดเขียนได้ถูกต้อง
1. สมการที่ 1 เท่านั้น
2. สมการที่ 2 เท่านั้น พิจารณาการกำจัดนิกเกิลในน้ำ 3 วิธีดังนี้
3. สมการที่ 3 เท่านั้น วิธี A ทำอิเล็กโทรดิซิสเป็นเวลา 7 ชั่วโมง
4. สมการที่ 1 และ 3 วิธี B ทำอิเล็กโทรลิซิสเป็นเวลา 5 ชั่วโมง จำนวน 2 รอบ
5. สมการที่ 2 และ 3 วิธี C ทำอิเล็กโทรลิซิสเป็นเวลา 2 ชั่วโมง จำนวน 3 รอบ
กำหนดให้ มวลต่อโมลของนิกเกิลเท่ากับ 59 กรัมต่อโมล
4) สาร A เมื่อได้รับความร้อน จะเกิดปฏิกิริยาสลายตัวได้แก๊สออกซิเจน ดังสมการเคมี ถ้าต้องการกำจัดนิกเกิลในแหล่งน้ำแห่งหนึ่งซึ่งมีความเข้มข้นของนิกเกิลเริ่มต้น
ต่อไปนี้ 0.05 มิลลิโมลต่อลิตร ให้เป็นไปตามเกณฑ์ของ US EPA ซึ่งกำหนดให้มีความ
 เข้มข้นของนิกเกิลในน้ำดื่มไม่เกิน 0.1 ส่วนในล้านส่วน
A(s) → B(s) + 3O 2 (g) วิธีใดสามารถกำจัดนิกเกิลให้มีความเข้มข้นเป็นไปตามเกณฑ์ของ US EPA
ทดลองใส่สาร A 12.00 กรัม ลงในบีกเกอร์มวล 40.00 กรัม แล้วให้ความร้อนที่ 1. B เท่านั้น
อุณหภูมิแตกต่างกันโดยการทดลองที่แต่ละอุณหภูมิจะบันทึกมวลรวมของบีกเกอร์ 2. C เท่านั้น
และสารที่เหลืออยู่ในบีกเกอร์ ณ เวลาต่างๆ หลังจากเริ่มปฏิกิริยา ได้ผลดังตาราง 3. A และ B เท่านั้น
มวลรวมของบีกเกอร์และสารที่เหลืออยู่ในบีกเกอร์ (g) 4. B และ C เท่านั้น
อุณหภูมิ (K) ที่เวลา 2 ทีเ่ วลา 4 ที่เวลา 6 ที่เวลา 8 5. A B และ C
ชั่วโมง ชั่วโมง ชั่วโมง ชั่วโมง
360 51.90 51.80 51.70 51.60 ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ในการตอบคำถามข้อ 22 - 23
380 51.70 51.40 51.10 50.80 น้ำบริสุทธิ์แตกตัวให้ไฮโดรเนียมไอออน ( H30+ ) และไฮดรอกไซด์ไอออน
400 51.50 51.00 50.50 50.00 ( OH¯ ) ดังสมการเคมีต่อไปนี้
420 51.30 50.60 49.90 49.20 2H2 O(I) h3 O + (aq) + OH − (aq) : K w
440 51.20 50.40 49.60 48.80 ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ค่าคงที่การแตกตัวของน้ำ ( Kw ) = 1.0 x 10-14
ถ้าใช้สาร A 12.00 กรัม ผลิตแก๊สออกซิเจนให้ได้อย่างน้อย 0.32 กรัมต่อชั่วโมง และค่า pKw ซึ่งเท่ากับ -log Kw จะมีค่าเท่ากับ 14.00 แต่ถ้าทดลองที่
จะต้องให้ความร้อนที่อุณหภูมิต่ำที่สุดกี่เคลวิน อุณหภูมิอื่นๆ ค่า pKw มีการเปลี่ยนแปลงดังกราฟ
1. 360
2. 380
3. 400
4. 420
5. 440

6) ข้อใดถูกต้อง
1. ค่าคงที่การแตกตัวของน้ำเท่ากับ [ H3 O+ ]2
2. การแตกตัวของน้ำเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน
3. การเพิ่มอุณหภูมิทำให้การแตกตัวของน้ำลดลง
4. ถ้าเพิ่มอุณหภูมิงนถึง 50 °C ในช่วงแรกก่อนเข้าสู่สมดุล จะมี [ HO¯ ]
มากกว่า [ H3O+ ]2
5. การเพิ่มความดันให้กับระบบทำให้ระบบเกิดการเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกับ
การเพิ่มอุณหภูมิ

Page 3
ตะลุยโจทย์ PAT2 (เคมี) ปี 2564
7) จากค่าคงที่การแตกตัวของน้ำและกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง PK w และ 9) กำหนดให้ ของเหลว A มีสีแดง สามารถเกิดปฏิกิริยาออกชิเดชันในอากาศได้เป็น
อุณหภูมิ ข้อสรุปใดถูกต้อง ของเหลว B ที่ไม่มีสี โดยของเหลว A และ B ผสมเป็นเนื้อเดียวกันและของเหลวทั้ง
1. ที่อุณหภูมิ 20°C น้ำบริสุทธิ์จะมี pH เท่ากับ 7.00 สองชนิดไม่ระเหย
2. ที่อุณหภูมิ 30°C น้ำบริสุทธิ์จะมี [ H3O+ ] เท่ากับ 1.0 x 10-14 โมล เมื่อเทของเหลว A ลงในบีกเกอร์ และวางไว้ในห้องปฏิบัติการที่อุณหภูมิ 35 องศา
ต่อลิตร เซลเซียส เป็นเวลา 10 วัน จากนั้นวางไว้ภายใต้บรรยากาศของแก๊สอาร์กอนที่
3. ที่อุณหภูมิ 40°C น้ำบริสุทธิ์จะมี [ HO¯ ] เท่ากับ 1.0 x 10-7 โมลต่อลิตร อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 20 วัน แล้วจึงนำออกมาวางไว้ภายใด้
4. ทีอ่ ณ
ุ หภูมิ 50°C น้ำบริสุทธิ์จะมี pH เท่ากับ 6.75 บรรยากาศปกติที่อณ ุ หภูมิ 3 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 วัน กราฟในข้อใดแสดง
5. ที่อุณหภูมิ 60°C น้ำบริสุทธิ์จะมี pOH เท่ากับ 13.40 แนวโน้มความเข้มของสีแดงของสารละลายได้ถูกต้อง

8) บิวทาไดอีน (butadiene) สามารถเกิดปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์แบบเติมเป็นพอ


ลิบิวทาไดอีน(polybutadiene) ได้ 2 รูปแบบ คือ
แบบที่ 1 การเติมแบบ 1,2 ได้พอลิเมอร์ A ซึ่งมีโครงสร้างดังนี้

1. 2.

แบบที่ 2 การเติมแบบ 1,4 ได้พอลิเมอร์ B ซึ่งมีโครงสร้างดังน

3. 4.

ถ้าพอลิเมอร์ทั้งสองชนิดมีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน พอลิเมอร์ชนิดใดจะมีความ
เหนียวมากกว่ากัน เพราะเหตุใด
1. พอลิเมอร์ A เพราะมีการเชื่อมขวางมากกว่าพอลิเมอร์ B
2. พอลิเมอร์ A เพราะมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลสูงกว่าพอลิเมอร์ B 5.
3. พอลิเมอร์ B เพราะสามารถเรียงตัวชิดติดกันได้มากกว่าพอลิเมอร์ A
4. พอลิเมอร์ B เพราะมีโครงสร้างแบบกิ่ง ส่วนพอลิเมอร์ A มีโครงสร้างแบบเส้น 10) กำหนดค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดักชันดังนี้
5. พอลิเมอร์ A และ B มีความเหนียวใกล้เคียงกัน เพราะมีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน
O 2 (g) + 4H+ (aq) + 4e − → 2H 2 O(I) E 0 = +1.23 โวลต์
2H+ (ag) + 2e − → H2 (g) E 0 = 0.00 โวลต์
I2 (s) + 2e − → 2I− (aq) E 0 = +0.53 โวลต์
Zn2 + (aq) + 2e − → Zn(S) E 0 = −0.76 โวลต์
ถ้าต้องการแยกสลายสารละลายซิงค์ไอโอไดด์ (ZnI2) ในภาวะกรดด้วยไฟฟ้า โดย
ให้ความต่างศักย์ 1.00 โวลต์ จะมีสารใดเกิดขึ้นที่แอโนด
1. Zn(s)
2. H2(g)
3. H2O(I)
4. O2(g)
5. I2(s)

11) เมื่อนำสารละลายสีส้มของ M(NO3)n ความเข้มข้น 2.0 โมลต่อลิตร


ปริมาตร 100.0 มิลลิลิตร มาผสมกับสารละลาย NaCI ความเข้มข้น 2.5 โมลต่อ
ลิตร ปริมาตร 400.0 มิลลิลิตร จะเกิดตะกอนสีเหลืองของ MCIn ในสารละลายไม่
มีสีที่มีความเข้มข้นของ CI¯ เท่ากับ 0.4 โมลต่อลิตร โดยมีสมการไอออนิกสุทธิดังนี้
Mn + (aq) + nCI− (aq) → MCIn (S)
ข้อใดเป็นสูตรเอมพิริคัลของ MCIn
1. MCI
2. MCI2
3. MCI3
4. MCI4
5. MCI5

Page 4
ตะลุยโจทย์ PAT2 (เคมี) ปี 2564
12) อินดิเคเตอร์กรค-เบสชนิดหนึ่งแตกตัวในน้ำได้ดังนี้ 14) พิจารณาสมการเคมีต่อไปนี้
P(g) + Q(g) 3R(g)
ไม่มีสี สีเหลือง ไม่มีสี
ถ้าบรรจุแก๊ส P และ Q ในภาชนะปิดที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส เมื่อสารทั้ง
สองทำปฏิกิริยากัน จนเข้าสู่สมดุล พบว่าภาชนะมีอุณหภูมิสูงขึ้นเปีน 60 องศา
เซลเซียส

ข้อใดเป็นวิธีที่ทำให้ของผสมในภาชนะมีสีเหลืองเข้มขึ้น และให้เหตุผลได้ถูกต้อง
อินดิเคเตอร์นี้เหมาะสมกับการไทเทรตสารละลายกรดและเบสในข้อใด และที่จุดยุติ 1. นำภาชนะไปแช่เย็น เพราะเป็นปฏิกิริยาแบบดูดพลังงาน
จะมีการเปลี่ยนสีอย่างไร 2. เติมตัวเร่งปฏิกิริยา เพราะทำให้พลังงานก่อกัมมันต์ลดลง
สารละลายในขวดรูปกรวย สารละลายในบิวเรตต์ การเปลี่ยนสีทจี่ ุดยุติ 3. ลดปริมาตรของภาชนะ เพราะทำให้ความดันรวมของระบบเพิ่มขึ้น
1. NaOH CH3COOH น้ำเงิน → เหลือง 4. เดิมแก๊ส P เพิ่มเข้าไปในภาชนะ เพราะทำให้ปริมาณสารตั้งต้นเพิ่มขึ้น
5. เติมแก๊สฮีเลียมเข้าไปในภาชนะ เพราะทำให้จำนวนโมลรวมของแก๊สเพิ่มขึ้น
2. CH3COOH NaOH น้ำเงิน → เหลือง
3. NH3 HCI น้ำเงิน → เหลือง
15) พิจารณาสมการเคมีต่อไปนี้
4. HCI NH3 เหลือง → น้ำเงิน
A(g) + B(g) → C(g)
5. NaOH HCI เหลือง → น้ำเงิน
บรรจุแก็ส A และแก๊ส B ชนิดละ 1.0 โมลในกระบอกสูบที่มีก้านกระบอกสูบ
เคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ จากนั้นวางกระบอกสูบในตู้อบที่มีอุณหภูมิ 350 เคลวิน และ
ความดัน 1 บรรยากาศ แล้วปล่อยให้แก๊ส A และแก๊ส B ทำปฏิกิริยากันจนกระทั่ง
13) เมื่อนำขวดก้นกลมปริมาตร 1 ลิตร ซึ่งบรรจุสาร A และภายในเป็นสุญญากาศไป
ไม่พบการเปลี่ยนแปลง
ต่อกับลูกโป่ง แล้วให้ความร้อนกับขวดก้นกลม สาร A จะสลายตัวให้แก๊ส
ถ้าต้องการทราบว่าผลได้ร้อยละของแก๊ส C เป็นเท่าใด จะต้องทำอย่างไร
ออกซิเจน ดังภาพ
1. ชั่งมวลของกระบอกสูบก่อนและหลังทำปฏิกิริยา
2. จับเวลาที่ใช้ทำปฏิกิริยาจนไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง
3. วัดปริมาตรของแก๊สภายในกระบอกสูบหลังทำปฏิกิริยา
4. วัดอุณหภูมิของแก๊สภายในกระบอกสูบหลังทำปฏิกิริยา
5. วัดความดันของแก๊สภายในกระบอกสูบหลังทำปฏิกิริยา

16) ปฏิกิริยารีดักชันของแก๊สออกซิเจนเป็นดังนี้
O2(g) + 4H+(aq) + 4e¯ → 2H2O(I)
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง pH และค่าศักย์ไฟฟ้ารีดักชันของแก๊สออกซิเจนที่
อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และความดัน 1 บรรยากาศ เป็นดังนี้

กำหนดให้ แก๊สออกซิเจนมีสมบัติเป็นไปตามกฎแก๊สอุดมคติ
ของแข็งที่อยู่ในขวดก้นกลมมีปริมาตรน้อยมาก
มวลต่อโมลของอะตอมออกซิเจนเท่ากับ 16 กรัมต่อโมล
R คือ ค่าคงตัวของแก๊สอุดมคติ มีหน่วยเป็น L ‧ atm ‧ mol-1 ‧ K-1
ถ้าให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 400 เคลวิน จนกระทั่งลูกโป่งไม่ขยายตัวเพิ่มขึ้นอีก
พบว่าถูกโป่งมีปริมาตร 4 ลิตร และความดัน 2 บรรยากาศ
สาร A จะสลายตัวให้แก๊สออกซิเจนทั้งหมดกี่กรัม จากกราฟ เมื่อค่า pH สูงขึน้ ความสามารถในการเป็นตัวออกซิไดส์ของแก๊ส
1 ออกซิเจนจะเปลี่ยนแปลง อย่างไร เพราะเหตุใด
1.
50R 1 เพิ่มขึ้น เพราะค่าศักย์ไฟฟ้ารีดักชันสูงขึ้น
1 2 เพิ่มขึ้น เพราะค่าศักย์ไฟฟ้ารีดักชันต่ำลง
2.
40R 3 ลดลง เพราะค่าศักย์ไฟฟ้ารีดักชันสูงขึ้น
2 4 ลดลง เพราะค่าศักย์ไฟฟ้ารีดักชันต่ำลง
3.
5R 5 ไม่เปลี่ยนแปลง เพราะความสามารถในการเป็นตัวออกซิไดส์ไม่ขึ้นอยู่กับค่า pH
4
4.
5R
16
5.
25R

Page 5
ตะลุยโจทย์ PAT2 (เคมี) ปี 2564
เฉลยคำตอบ
1) 1 2) 5 3) 1 4) 4 5) 4 6) 5
7) 4 8) 3 9) 3 10) 5 11) 5 12) 1
13) 4 14) 3 15) 3 16) 4

Page 6

You might also like