You are on page 1of 1

คอร์ส โปรโมชั่น ทีมสอน บทความ รีวิวคอร์สออนไลน์ เกี่ยวกับเรา Contact Now

เคมี - การจัดเรียงอิเล็กตรอน

จํานวนอิเล็กตรอนที่มีได้มากที่สุดในแต่ละระดับพลังงาน  = 2n2
เมื่อ n แทนลําดับพลังงาน (มีค่า = 1, 2, 3, …..ตามลําดับ)

ระดับพลังงาน  n = 1   มีจํานวนอิเล็กตรอนได้มากที่สุด = 2 ตัว

ระดับพลังงาน  n = 2   มีจํานวนอิเล็กตรอนได้มากที่สุด = 8 ตัว

ระดับพลังงาน  n = 3   มีจํานวนอิเล็กตรอนได้มากที่สุด = 18 ตัว

ระดับพลังงาน  n = 4   มีจํานวนอิเล็กตรอนได้มากที่สุด = 32 ตัว

     แต่สูตรการหาจํานวนอิเล็กตรอนดังกล่าวใช้ใด้กับระดับพลังงาน n = 1 ถึง  4 เท่านั้น เพราะในระดับพลังงาน


ต่อ ๆ ไปจะมีอิเล็กตรอนไม่เกิน 32 นอกจากนั้นการศึกษาค่าพลังงานไอออไนเซชัน โดยเรียก อิเล็กตรอนวงนอก
สุดว่า เวเลนซ์อิเล็กตรอน

การจัดเรียงอิเล็กตรอน แบบใช้หลัก  2  8  18  32  (สําหรับธาตุหมู่ 1A ถึงหมู่ 8A)

1. ให้จัดอิเล็กตรอนทั้งหมด โดยเรียงจํานวนตามขั้นบันไดขึน ้ ด้านบน


่ ไม่สามารถจัดอิเล็กตรอนขั้นถัดไป ให้จัดอิเล็กตรอนในบันไดขั้นเดิมได้ 1 ครั้งหรือขั้นที่ลดลงมา   โดย
2. เมือ
อิเล็กตรอนหลักสุดท้ายจะต้องมีจํานวนอิเล็กตรอนไม่เกิน 8 ตัว เสมอ

่ ยู่หมู่เดียวกันจะมีเวเลนซ์
เลขหมู่ จะตรงกับเลขหลักสุดท้ายของการจัดเรียงอิเล็กตรอน ดังนั้น ธาตุทีอ
อิเล็กตรอนเท่ากัน
จํานวนหลักของระดับพลังงาน จะตรงกับเลขของคาบ ดังนั้น ธาตุในคาบเดียวกันจะมีจํานวนระดับพลังงาน
เท่ากัน

การจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย (subshell / energy sublevel)

การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยต้องอาศัยหลักการต่าง ๆ ดังนี้

1. หลักกีดกันของเพาลี ในการบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัลซึ่งจะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ส่วนอิเล็กตรอนจะใช้


ลูกศร เช่น ↑ สําหรับสปินขึ้น และ ↓ สําหรับสปินลง ถ้าออร์บิทัลมีอิเล็กตรอนอยู่เต็มจะเขียนแทนด้วยรูปภาพ ↥⤓
เรียกอิเล็กตรอนทั้งสองว่า อิเล็กตรอนคู่ ถ้ามีอิเล็กตรอนเพี ยงครึ่งหนึ่ง นิยมเขียนเป็นสปินขึ้น ↥ และเรียกว่า
่ ว
อิเล็กตรอนเดีย

2. กฎของฮุนด์กล่าวว่า “ลักษณะที่ทําให้มีอิเล็กตรอนเดี่ยวมากที่สุดเท่าที่จะมากได้” ถ้าทุกๆ ออร์บิทัลในระดับ


พลังงานเดียวกันนั้น มีอิเล็กตรอนอยู่เต็ม (2 อิเล็กตรอนต่อ 1 ออร์บิทัล) เรียกว่าเป็น การบรรจุเต็ม (full-filled
configuration) แต่ถ้ามีอิเล็กตรอนอยู่เพี ยงครึ่งเดียว (1 อิเล็กตรอนต่อ 1 ออร์บิทัล) เหมือนกันหมด เราเรียก
่ (half-filled configuration)
ว่าเป็น การบรรจุครึง

3. หลักอาฟบาว กล่าวว่า การบรรจุอิเล็กตรอนลงในแต่ละออร์บิทัลจะต้องบรรจุลงในออร์บิทัลที่มีพลังงานตํ่าสุด


ก่อน แล้วจึงบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัลถัดไปที่มีพลังงานสูงขึ้นตามระดับพลังงานตํ่าไปสูง ซึ่งไปตาม
แผนผังดังนี้

มีบทต่อไป ->

เคมี ม.4 เทอม 1 (หลักสูตรใหม่)


วิเคราะห์เก่ง แก้โจทย์เป็น เห็นเป็นภาพ

ดร.ณัฏฐพล อิสรเสรีรักษ์ (อ.นัท)


-ป.ตรี-ป.เอก จุฬาฯ-

฿4,000

฿1,290

กลับไปหน้าบทความ กลับไปหน้าบทความ
หลัก เคมี

TAG:
TCAS, เรียนออนไลน์, เรียนTCAS, เรียนพิ เศษTCAS, ติวสอบแพทย์, ติวเข้าแพทย์, ติวสอบหมอ, ติวเข้าหมอ, ติวโอเน็ต,
ติวสอบonet, ติว9วิชาสามัญ, คอร์สติวpat2, คอร์สpat2, เรียนพิ เศษเคมี, เรียนพิ เศษเคมีออนไลน์, เรียนเคมี, ติวเคมี
ออนไลน์

!ด#อเรา ห)าห*ก คอ-สเ/ยน ส2ปเ4อหา


เกี่ยวกับเรา คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ ม.4 เทอม 1 รวมสรุปเนื้อหา
Website: www.panyasociety.com ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ ม.4 เทอม 2 สรุปเนื้อหาคณิตศาสตร์
Email: contact@panyasociety.com เคมี คณิตศาสตร์ ม.5 เทอม 1 สรุปเนื้อหาฟิสิกส์
Facebook: @panyasociety สังคม คณิตศาสตร์ ม.5 เทอม 2 สรุปเนื้อหาเคมี
LINE: @panyasociety ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ม.6 เทอม 1 สรุปเนื้อหาภาษาไทย
Youtube: BMAT คณิตศาสตร์ ม.6 เทอม 2 สรุปเนื้อหาสังคมศึกษา
www.youtube.com/c/PanyaSociety ทีมสอน ฟิสิกส์ ม.4 เทอม 1 สรุปเนื้อหาGAT-ENG
Instagram: panya_society FAQ ฟิสิกส์ ม.4 เทอม 2 สรุปสูตร
Tel: 082-986-9510 รีวิวคอร์สเรียน ฟิสิกส์ ม.5 เทอม 1 คลังข้อสอบ
ฟิสิกส์ ม.5 เทอม 2 บทสัมภาษณ์
ฟิสิกส์ ม.6 เทอม 1
เคมี ม.4 เทอม 1
เคมี ม.4 เทอม 2
เคมี ม.5 เทอม 1
เคมี ม.5 เทอม 2
เคมี ม.6 เทอม 1

Copyright © 2022 Panya Society. All rights reserved. Wishlist by iThemer

You might also like