You are on page 1of 97

คำนำ

หนังสื อเล่มนี้ใช้ประกอบการเรี ยนเรื่ องโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ โดยครู กุ๊ก สาหรับนักเรี ยน ม. 4 ซึ่ ง


ถือเป็ นบทเรี ยนแรกสาหรับมัธยมปลายที่เป็ นพื้นฐานสาคัญ มีเนื้ อหา แบบฝึ กหัด และโจทย์ครอบคลุมทุก
จุดสาคัญที่นิยมออกข้อสอบ โดยแบ่งเป็ น 2 ส่ วนคือ ส่ วนแรก (ร้อยละ 70) สาหรับเรี ยนในห้อง ฝึ กทาโจทย์
และแบบทดสอบในห้องเรี ยนไปพร้ อมกับครู และส่ วนที่ 2 เป็ นส่ วนที่นักเรี ยนต้องฝึ กทาด้วยตนเองเป็ น
การบ้าน (ส่ วนนี้จะง่ายกว่าส่ วนแรกเล็กน้อย)

นักเรี ยนสามารถใช้หนังสื อเล่มนี้ เรี ยนกับครู กุ๊ก ผ่านเว็บไซต์ www.krookook.com ได้ต้ งั แต่เดือนมิถุนายน
พ.ศ. 2554 เป็ นต้นไป อย่างไรก็ตาม หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใดในหนังสื อเล่มนี้ ผูเ้ ขียนต้องขออภัยเป็ น
อย่างสู ง และหากมีขอ้ สงสัยในเรื่ องใดๆ สามารถสอบถามจากครู ได้โดยตรง สุ ดท้ายนี้ ก็ขอให้นกั เรี ยนใช้
ประโยชน์จากหนังสื อเล่มนี้ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด

ครู กุ๊ก
สารบัญ

คาถามทดสอบความเข้ าใจเรื่องโครงสร้ างอะตอม ........................................................................ 1


ตารางธาตุ .................................................................................................................................. 12
แนวโน้ มการเปลีย่ นแปลงสมบัติของธาตุ .................................................................................... 15
สารประกอบ ................................................................................................................................ 17
ธาตุเรพีเซนเททีฟ ........................................................................................................................ 20
ธาตุทรานซิชัน ............................................................................................................................. 22
ธาตุกมั มันตรังสี ........................................................................................................................... 25
แนวข้ อสอบกลางภาค เรื่องโครงสร้ างอะตอม .............................................................................. 27
ตัวอย่างข้ อสอบกลางภาค เรื่องโครงสร้ างอะตอม ......................................................................... 37
แบบทดสอบ เรื่องตารางธาตุ ......................................................................................................... 40
ตัวอย่างข้ อสอบปลายภาค เรื่องโครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ ................................................. 42
การบ้ าน เรื่องโครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ ............................................................................. 54
เฉลยการบ้ าน ................................................................................................................................. 93
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 1

คาถามทดสอบความเข้ าใจเรื่องโครงสร้ างอะตอม


ทฤษฎีอะตอมของดอลตัน
1. ทฤษฎีอะตอมของดอลตันคลาดเคลื่อนไปจากข้อเท็จจริ งในปั จจุบนั อย่างไรบ้าง ให้อธิ บายตามหัวข้อต่อไปนี้
ก) ในแง่ขององค์ประกอบของอะตอม
……………………………………………….……………………………………………………
ข) อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันต้องเหมือนกันเสมอหรื อไม่?
……………………………………………….……………………………………………………
ค) อะตอมไม่สามารถถูกสร้างหรื อทาลายได้จริ งหรื อ?
……………………………………………….……………………………………………………
2. ทฤษฎีอะตอมของดอลตันที่ยงั คงเป็ นจริ งอยูใ่ นปั จจุบนั กล่าวว่าอย่างไรบ้าง จงอธิ บาย
……………………………………………….……………………………………………………
……………………………………………….……………………………………………………

แบบจาลองอะตอมของทอมสั น
3. ถ้าก๊าซในหลอดแก้วความดันไม่ต่ามากหรื อมีก๊าซอยูม่ ากเกินไปจะเกิดผลอย่างไร
……………………………………………….……………………………………………………
4. ถ้าใช้ความต่างศักย์ระหว่างขั้วต่าเกินไปจะเกิดผลอย่างไร
……………………………………………….……………………………………………………
5. ถ้าเพิ่มความต่างศักย์โดยที่ค่าสนามแม่เหล็กยังคงเดิม
รัศมีการเบี่ยงเบนของรังสี แคโทดจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร
……………………………………………….……………………………………………………
6. ถ้าเพิ่มค่าความแรงของสนามไฟฟ้ าโดยใช้ความต่างศักย์เดิม
รัศมีการเบี่ยงเบนของรังสี แคโทดจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร
……………………………………………….……………………………………………………
7. จากรู ป ถ้าแรงของสนามไฟฟ้ าหักล้างพอดีกบั แรงจากสนามแม่เหล็ก
รังสี แคโทดจะไม่เบี่ยงเบน จากสมดุลแรงนี้สามารถหาค่าใดได้
ซึ่ งค่าดังกล่าวนี้ใช้ในการหาค่าประจุต่อมวลของอิเล็กตรอน
……………………………………………….……………………
2 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

8. ถ้าก๊าซในหลอดไม่ใช่อากาศ แต่เป็ นก๊าซอื่นๆเช่น H2 F2 และอื่นๆ รังสี แคโทดและรังสี แอโนดจะมีการ


เบี่ยงเบนในสนามไฟฟ้ าเปลี่ยนไปหรื อไม่
……………………………………………….……………………………………………………
9. จงเติมตารางการเปรี ยบเทียบระหว่าง “รังสี แอโนด” กับ “รังสี แคโทด” ในด้านต่างต่อไปนี้

ข้อเปรี ยบเทียบ รังสี แอโนด รังสี แคโทด


การเกิด

จานวนอนุภาค

อานาจทะลุทะลวง

การเบี่ยงเบน

การทดลองของมิลลิแกน (oil drop experiment)


10. มิลลิแกนทาให้หยดน้ ามันมีประจุไฟฟ้ าได้อย่างไร
……………………………………………….……………………………………………………
11. ตามหลักกลศาสตร์ แล้ว มิลลิแกนอาศัยสมดุลของแรงอะไรที่กระทาต่อหยดน้ ามัน
……………………………………………….……………………………………………………
12. ถ้าหยดน้ ามันมีขนาดใหญ่เกินไปจะเกิดผลอย่างไร
……………………………………………….……………………………………………………

แบบจาลองอะตอมของรัทเธอร์ ฟอร์ ด
13. จงเติมตารางเปรี ยบเทียบระหว่าง “สมมติฐานของรัทเธอร์ ฟอร์ด” กับ “ผลการทดลองที่เกิดขึ้นจริ ง”
ผลการยิง ก. สมมติฐาน ข. ผลการทดลองจริ ง
อนุภาคที่ทะลุตรงไป

อนุภาคที่เบี่ยงเบน

อนุภาคที่สะท้อน*
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 3

จานวนอนุภาคที่สะท้อนหรื อเบี่ยงเบน
14. อัตราส่ วนของ สามารถคานวณเพื่อประมาณค่าใดสัดส่ วนของสิ่ งใด
จานวนอนุภาคที่ยิงทั้งหมด
……………………………………………….……………………………………………………
15. อนุภาคที่มีประจุบวกเหมือนกันย่อมผลักกัน ถ้าแบบจาลองของทอมสันเป็ นจริ งแล้ว
เหตุใดประจุบวกในอะตอมจึงไม่สามารถผลักอนุภาคแอลฟาให้เบี่ยงเบนออกจากแนวเดิมได้
……………………………………………….……………………………………………………
16. เหตุใดจึงเลือกใช้แผ่นทองคาในการทดลอง
……………………………………………….……………………………………………………
17. รัทเธอร์ ฟอร์ ดทราบได้อย่างไรว่าอนุภาคแอลฟาทะลุตรงไปหรื อสะท้อนกลับ
……………………………………………….……………………………………………………
18. ถ้ารัศมีนิวเคลียสเล็กกว่าอะตอม 50,000 เท่า ถ้าทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไป 1012 ครั้ง จะพบอนุภาคที่
เบี่ยงเบนหรื อสะท้อนประมาณกี่ครั้ง
……………………………………………….……………………………………………………
19. รัทเธอร์ ฟอร์ ดทราบได้อย่างไรว่าอิเล็กตรอนวิง่ วนรอบนิ วเคลียส ไม่ได้อยูน่ ิ่งอย่างที่ทอมสันกล่าว
……………………………………………….……………………………………………………
20. เท่าที่ทราบอะตอมมีขนาดประมาณ 10-10 m และนิวเคลียสมีขนาดราว 10-15 m มวลของอะตอมเกือบทั้งหมด
มาจากนิวเคลียส และอะตอมประกอบด้วยที่วา่ งเป็ นส่ วนมาก แล้วเหตุใดสสารจึงยังมีสถานะเป็ นของแข็ง
และของเหลวอยูไ่ ด้
……………………………………………….……………………………………………………
อนุภาคมูลฐานในอะตอม
21. อนุภาคบวกภายในอะตอมถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อ 20 ปี ก่อนหน้าที่ทอมสันจะค้นพบอิเล็กตรอน
โดยนักวิทยาศาสตร์ชื่อ …………………………………..
22. อนุภาคบวกภายในอะตอมถูกเรี ยกว่า “โปรตอน” โดยการค้นพบของรัทเธอฟอร์ด ในการทดลองเกี่ยวกับ
หลอดรังสี แอโนดแคโทด ในการทดลองนี้ รัทเธอร์ ฟอร์ ดสังเกตเห็นรังสี แอโนดที่เกิดจากก๊าซต่างๆมีลกั ษณะ
การเบี่ยงเบนสมัพนั ธ์กนั อย่างไร
……………………………………………….……………………………………………………
23. เหตุผลใดที่ทาให้รัทเธอฟอร์ ด คาดว่า “น่าจะมีอนุภาคที่เป็ นกลางทางไฟฟ้ าเป็ นองค์ประกอบในอะตอม
ด้วย” ……………………………………………….……………………………………………………
4 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

24. ในการค้นพบนิวตรอน แชดวิก ใช้รังสี ชนิดใด และยิงใส่ แผ่นโลหะที่ทาจากธาตุใด


……………………………………………….……………………………………………………
25. ในการทดลองของแชดวิก อนุภาคที่สามารถพุง่ ชนโปรตอนให้หลุดออกจากอะตอมได้ ต้องมีคุณสมบัติใด
……………………………………………….……………………………………………………

สั ญลักษณ์นิวเคลียร์
26. สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
A
A คือ ....................................... X
Z
Z คือ .......................................
27. ชนิดของธาตุ ถูกกาหนดด้วย ...........................................................................
28. ไอโซโทปของธาตุ หมายถึง ................................................................................
29. ไอโซโทน หมายถึง .............................................................................................
30. ไอโซบาร์ หมายถึง .............................................................................................
31. ไอโซอิเล็กทรอนิก หมายถึง ...............................................................................
32. จงเติมตารางให้สมบูรณ์
2-
ธาตุ −

มวลอะตอม
โปรตอน
นิวตรอน
อิเล็กตรอน

ธาตุคู่ที่เป็ นไอโซโทปกัน คือ ................................................................................


ธาตุคู่ที่เป็ นไอโซโทนกัน คือ .................................................................................
ธาตุคู่ที่เป็ นไอโซบาร์ กนั คือ .................................................................................
ธาตุคู่ที่เป็ นไอโซอิเล็กทรอนิ กกัน คือ ..................................................................
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 5

33. เหตุใดมวลอะตอมของธาตุในตารางธาตุจึงมีค่าเป็ นทศนิยม ทั้งๆที่จานวนอนุภาคมูลฐานในอะตอมเป็ น


จานวนเต็ม
……………………………………………….……………………………………………………
ความยาวคลืน่ แสง พลังงาน และความถี่
34. ความเร็ วแสงมีค่าประมาณ .......................................
35. ความเร็ วแสงมีค่าเท่ากับผลคูณของ ......................... กับ ...........................
ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ชื่อ ............................ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับความถี่ของแสง
พบว่า .....................................................................................................................
36. การคานวณพลังงานและความถี่ของแสง
ข้อ 1 2 3 4
3.02 x10-19 2.4 x10-19 7.8 x10-20 4.2 x10-19
พลังงาน (J)

ความถี่ (Hz)

37. การคานวณความถี่และความยาวคลื่นของแสง
ข้อ 1 2 3 4
2.5 x1014 6.6 x1014 1.33 x1014 8.1 x1014
ความถี่ (Hz)

(nm)

38. การคานวณพลังงานและความยาวคลื่นของแสง
ข้อ 1 2 3 4
5.4 x10-19 1.4 x10-19
พลังงาน (J)

400 nm 700 nm
(nm)
6 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

39. จงเติมสี ของแสงให้สัมพันธ์กบั ของความยาวคลื่นช่วงต่างๆ


380 nm 700 nm

แบบจาลองอะตอมของโบร์ ห
40. การทดลองศึกษาสี ของเปลวไฟ หรื อเส้นสเปกตรัม จะได้สีอย่างไร จงเติมในตาราง
สารประกอบ สี เปลวไฟ สารประกอบ สี เปลวไฟ
LiNO3 RbCl
LiCl CsCl
NaCl CaCl2
Na2SO4 BaSO4
K2CO3 CuSO4
ก๊าซ สี เส้นสเปกตรัม ก๊าซ สี เส้นสเปกตรัม
H2 He
N2 I2

41. สี ของเปลวไฟเมื่อเผาสารประกอบจะขึ้นกับ ....................................


42. สเปกตรัมเกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอย่างไร ........................................................................
43. พลังงานไอออไนเซชัน (IE n) หมายถึง ..............................................................................................................
44. จงระบุค่าพลังงานไอออไนเซชันที่ใช้ในแต่ละสมการ
1) Na(g) → Na+(g) + e- ใช้พลังงาน ........
2) Mg(g) → Mg+(g) + e- ใช้พลังงาน ........
3) Mg+(g) → Mg2+(g) + e- ใช้พลังงาน ........
4) Fe(g) → Fe2+(g) + 2e- ใช้พลังงาน ................
5) Al+(g) → Al3+(g) + 2e- ใช้พลังงาน .................
ถ้าอะตอมหรื อไออนไม่อยูใ่ นสภาวะก๊าซ พลังงานที่ใช้ในกระบวนการจะมีพลังงานอื่นๆ เกี่ยวข้องด้วย เช่น
6) K(s) → K+(g) + e- ใช้พลังงาน .....................
7) Q(s) → Q3+(g) + 3e- ใช้พลังงาน ...........................
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 7

45. เมื่อหาค่า IE ลาดับต่างๆของแต่ละธาตุได้แล้ว สามารถนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อให้ทราบถึงลักษณะ


ระดับวงโคจรของอิเล็กตรอน โดยอาศัยสมมติฐาน คือ ...................................................................................

46. ค่า IE1 ของธาตุ A มีค่า 0.23 MJ/mol และ ค่า IE1 ของธาตุ B มีค่า 0.28 MJ/mol
อิเล็กตรอนตัวนอกสุ ดของอะตอม A หรื อ B อยูห่ ่างนิวเคลียสมากกว่ากัน ............
47. เมื่อนาค่า IE ของแต่ละธาตุในคาบเดียวกันเปรี ยบเทียบก็จะทราบแนวโน้มของรัศมีที่อิเล็กตรอนวงนอกสุ ด
โคจรอยูใ่ นแต่ละอะตอม ซึ่ งบอกได้ถึง .............................

48. กาหนดให้ระดับพลังงานในสุ ด คือ n = 1 และระดับพลังงานถัดออกไปคือ n= 2, 3, 4 .... ตามลาดับ จานวน


อิเล็กตรอนที่มีได้มากที่สุดในแต่ละระดับพลังงานจะเท่ากับ ............
ระดับพลังงาน (n) 1 2 3 4 5
จานวนอิเล็กตรอน

49. จากรู ปการเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอน a-e จงคานวณว่า


แต่ละกรณี มีการดูดหรื อคายพลังงานเท่าใด ถ้าคายพลังงานจะให้
เส้นสเปกตรัมสี ใด
8 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

n=6
50. จากรู ป แสดงการเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนระดับพลังงานต่างๆ
n=5
ลงมายังระดับพลังงานที่ 2
n=4
การเปลี่ยนระดับพลังงาน ก ข ค ง
สี ของเส้นสเปกตรัม น้ าเงิน เขียวแก่ เหลือง แดง n=3
ความยาวคลื่น (nm) 450 510 590 680
n=2
ก ข ค ง
1) จงหาค่าระดับพลังงานของสเปกตรัม ก ข ค และ ง ในหน่วย kJ
ก ข ค ง

2) ถ้าระดับพลังงานที่ 2 มีค่าพลังงาน 1.5 x10-22 kJ จงหาค่าพลังงานของ n ต่างๆ


n=3 n=4 n=5 n=6

3) ถ้าอิเล็กตรอนเคลื่อนที่จาก n = 6 → n = 3 และ n = 5 → n = 4 จะให้สเปกตรัมความยาวคลื่นเท่าใด


(ในหน่วย nm)
n=6→n=3 n=5→n=4
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 9

การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ
51. จงเติมตารางให้สมบูรณ์
ธาตุ จานวน e คาบ หมู่ การจัดเรี ยงอิเล็กตรอน
Be
Ga
Ca
Kr
Cs
As
Cl
Ge
Sb
Se
Pb
Ba
Sn
Bi

แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
52. แบบจาลองอะตอมของโบห์รได้จากการศึกษาอะตอมของธาตุ .......................
จึงมีขอ้ จากัด คือ .......................................................................
53. แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก สร้างขึ้น
โดยอาศัยความรู้ดา้ น ...................................
54. จากรู ป แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
กลุ่มหมอก แสดงถึง ....................................................................
55. วงโคจรของอิเล็กตรอนนอกจากทรงกลมแล้ว ยังมีอีกรู ปทรงอื่นหรื อไม่ ..............................
ตัวอย่างเช่น ........................................................................
56. ตาแหน่งของอิเล็กตรอนหรื อระดับวงโคจรถูกกาหนดด้วยค่า ................... ของอิเล็กตรอนนั้น
10 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

ระดับพลังงานย่อย และ ออร์ บิทลั


57. ถ้า n ระดับพลังงานหลัก จานวนระดับพลังงานย่อยในแต่ละ n = n ดังตาราง
ระดับพลังงานหลัก ระดับพลังงานย่อย (sub shell) แผนภาพแสดงออร์บิทลั
n=1

n=2

n=3

n=4

n=5

58. การบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์ บิทลั นั้นมีหลักการคือ


- หลักของเอาฟ์ บาว (Aufbau principle)
.................................................................................................................
- กฎของฮุนด์ (Hund’s rule)
.................................................................................................................
- หลักการกีดกันของเพาลี (Pauli exclusion principle)
.................................................................................................................
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 11

59. จงเขียนจัดเรี ยงอิเล็กตรอนลงในตาราง


ธาตุ การจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบเต็ม แบบย่อ (short hand)
20Ca

22Ti

32Ge

35Br

56Ba

27Co

55Cs

54Xe

52Te

83Bi

60. การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนในออร์ บิทลั สุ ดท้าย มีความสัมพันธ์อย่างไรกับตาแหน่งธาตุในตารางธาตุ


...................................................................................................................................................................
12 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

ตารางธาตุ
การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ
ปี ค.ศ. 1863 จอห์น นิวแลนด์ (John Newlands)

ปี ค.ศ. 1869 เมนเดเลเอฟ (Mendeleev)

ปี ค.ศ. 1894 วิลเลียม แรมเซย์ (William Ramsay)

ลูทาร์ มายเออร์ (Lothar Meyer)

(ในปี ค.ศ. 1915 รัทเธอร์ฟอร์ ดค้นพบโปรตอนซึ่งเป็ นองค์ประกอบในนิวเคลียส)


เฮนรี มอสลีย ์ (Henry Moseley)

ตารางธาตุในปั จจุบนั แบ่งออกธาตุเป็ น 2 ประเภท คือ


1. ............................................................................................................................
2. .............................................................................................................................

นอกจากนี้ จากบทเรี ยนเรื่ องโครงสร้างอะตอม ตาแหน่งของธาตุในตารางธาตุ ยังสัมพันธ์กบั


.................................................................................................................
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 13

พฤติกรรมของก๊าซเฉื่อย
ธาตุหมู่ 8A หรื อก๊าซเฉื่ อย มีชื่อเรี ยกเช่นนี้ เพราะ .........................................................
สาเหตุ คือ ....................................................................................................................
ด้วยเหตุน้ ี อะตอมของธาตุหมู่ต่างๆ จึงพฤติกรรมไปในทางที่จะทาให้ .......................
......................................................................... ซึ่งเป็ นที่มาของกฏออกเตท

กฏออกเตท
1. ............................................................................................................................
2. ............................................................................................................................
อะตอมธาตุหรื อโมเลกุลที่ ยกเว้น ไม่เป็ นไปตามกฏออกเตท ได้แก่
1. ธาตุคาบ 1 คือ ………………………………………………………………….
2. ธาตุ Be และ B …………………………………………………………………
3. อนุมูลอิสระ (free radical) ……………………………………………………..
4. Hypervalent molecules ………………………………………………………
5. ธาตุทรานซิชนั …………………………………………………………………
ในบทเรี ยนระดับ ม.ปลาย จะกล่าวถึงพฤติกรรมของธาตุหมู่ 1 – 8 โดยละเอียด และกล่าวถึงธาตุทรานซิ ชนั พอ
สังเขป

การรับ-จ่ ายอิเล็กตรอน
ธาตุต่างๆจะพยายาม รับ หรื อ จ่าย อิเล็กตรอน เพื่อ ……………………………….การรับหรื อจ่ายอิเล็กตรอนของ
อะตอมธาตุต่างๆ ต้องพิจารณาถึงปั จจัยเกี่ยวข้อง กล่าวคือ
1. อิเล็กตรอนมีประจุ ...... โคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุ ....... จากโปรตอน
2. แรงที่กระทาระหว่าง อิเล็กตรอน กับ นิวเคลียส คือ …………………………
3. ขนาดของแรงดึงดูดระหว่าง นิวเคลียส กับ อิเล็กตรอน ขึ้นกับ
…………………………………………………............................................
14 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

ดังนั้นปั จจัยที่มีผลต่อการรับ หรื อ จ่าย อิเล็กตรอน ได้แก่


ปัจจัย รับอิเล็กตรอน จ่ ายอิเล็กตรอน
……………………….. …………………………
จานวนวาเลนต์
……………………….. ………………………
……………………….. …………………………
ขนาดอะตอม
……………………….. ………………………….
จานวนประจุบวก ……………………….. ………………………..
ในนิวเคลียส ……………………….. ………………………..

โลหะและอโลหะ
โลหะและอโลหะในตารางธาตุมีสมบัติแตกต่างกัน ดังนี้
ข้ อแตกต่ าง โลหะ อโลหะ
……………………….. ………………………..
ตาแหน่งในตารางธาตุ
……………………….. ………………………..
……………………….. ………………………..
การรับ-จ่ายอิเล็กตรอน
……………………….. ………………………..
พันธะที่เกิดระหว่าง ……………………….. ………………………..
ธาตุประเภทเดียวกัน ……………………….. ………………………..
คาถาม
1. ธาตุต่างๆจะมีการรับหรื อจ่ายอิเล็กตรอนเพราะเหตุผลใด
…………………………………………………………………………………
2. แรงดึงดูดระหว่างอิเล็กตรอน กับโปรตอน คือแรงชนิดใด
………………………………………………………………………………
3. ขนาดแรงดึ งดูดระหว่าง อิเล็กตรอน กับ โปรตอนในนิ วเคลี ยสนั้น ขึ้นกับจานวนประจุ (q) และ ระยะห่ าง
ระหว่างประจุ (r) ปั จจัยใดมีผลมากกว่ากัน
……………………………………………………………………………….
4. ระยะห่างวัดจากนิวเคลียสถึงอิเล็กตรอนในวงวาเลนต์ วัดได้จากสิ่ งใด
……………………………………………………………………………….
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 15

แนวโน้ มการเปลีย่ นแปลงสมบัตขิ องธาตุ (Periodic Trends)


แนวโน้มและสมบัติต่างๆที่ตอ้ งศึกษาเป็ นพื้นฐานในการเรี ยนเคมีบทต่อๆไปมีดงั นี้
สมบัติ แนวโน้มตามหมู่ (บนลงล่าง) แนวโน้มตาคาบ (ซ้ายไปขวา)
เพิ่ม เหตุผล เพิ่ม เหตุผล
ลด ลด
1. เลขอะตอม
2. มวลอะตอม
3. ขนาดอะตอม
(รัศมีอะตอม)
4. ขนาดไอออนที่เสถียร
(รัศมีไอออน)
5. ความเป็ นโลหะ
6. ความว่องไวในการ
เกิดปฏิกิริยาของโลหะ
7. ความเป็ นเบสของ
โลหะออกไซด์
8. ความหนาแน่นของ
โลหะ
9. mp. bp. ของโลหะ

10. ความว่องไวในการ
เกิดปฏิกิริยาของอโลหะ
11. ความเป็ นกรดของ
อโลหะออกไซด์
12. IE1 , EN, EA, E0

ข้ อสั งเกตและข้ อยกเว้น


1. …………………………………………………………………………………
2. …………………………………………………………………………………
3. …………………………………………………………………………………
4. …………………………………………………………………………………
16 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

รัศมีอะตอม (Atomic Radii)


รัศมีโลหะ (Metallic radii)ใช้กบั ………………………..
คือ ……………………………………………………….
รัศมีโควาเลนต์ (Covalent radii)ใช้กบั ………………….
คือ ……………………………………………………….
รัศมีแวนเดอร์วาลส์ (Van Der Waals radii)ใช้กบั ……….
คือ ……………………………………………………….
ตัวอย่าง
1. จงเรี ยงลาดับขนาดอะตอมต่อไปนี้ N Li Mg S Cl
…………………………………………………………………………………
2. เมื่อธาตุต่อไปนี้กลายเป็ นไอออนที่เสถียร N Li Mg S Cl จงเรี ยงลาดับขนาด
ของไอออน
…………………………………………………………………………………
3. T2+ U - W3- X Y + Z + เป็ นอะตอมหรื อไอออนที่เสถียรและมีจานวน
อิเล็กตรอนเท่ากัน
3.1 จงเรี ยงลาดับเลขอะตอมจากน้อยไปมาก ………………………………….
3.2 จงเรี ยงลาดับขนาดของอนุภาคจากเล็กไปใหญ่ ……………………………
4. ธาตุต่อไปนี้ 9A 12B 13C 15D 16E 19F
4.1 จงเรี ยงลาดับค่า IE1 จากน้อยไปมาก ………………………………………
4.2 จงเรี ยงลาดับค่า EN จากน้อยไปมาก ………………………………………
4.3 ธาตุที่เป็ นโลหะ คือ ……….………………………………………………
4.4 ธาตุใดที่เป็ นอโลหะ คือ …………………………………………………..
5. รัศมีอะตอมหาได้จาก …………………………………………………………
6. กาหนดความยาวพันธะต่อไปนี้ H−H = 74 C−C = 154 Cl−Cl = 198
6.1 จงหารัศมีอะตอมของ H C และ Cl ……………………………………..
6.2 จงหาความยาวพันธะของ C−H H−Cl และ C−Cl
……………………………………………………………………………
7. ปั จจัยที่มีผลต่อรัศมีอะตอม ได้แก่ 1) …………………. 2) …………………..
8. ปั จจัยที่มีผลต่อค่า IE EN EA ได้แก่ 1) ………………… 2) …………………
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 17

สารประกอบ (Compounds)
สารประกอบพื้นฐานที่ตอ้ งรู ้ได้แก่
สารประกอบของออกซิเจนกับธาตุอื่นเพียงชนิ ดเดียว เรี ยกว่า …………………….
สารประกอบของซัลเฟอร์ กบั ธาตุอื่นเพียงชนิ ดเดียว เรี ยกว่า …………………….
สารประกอบของคลอรีนกับธาตุอื่นเพียงชนิ ดเดียว เรี ยกว่า ……………………….
สารประกอบของโบรมีนกับธาตุอื่นเพียงชนิ ดเดียว เรี ยกว่า ……………………….
การเขียนสู ตรสารประกอบ
ประเภทธาตุ หมู่ของธาตุ สู ตรคลอไรด์ สู ตรออกไซด์
หมู่ 1
โลหะ หมู่ 2
หมู่ 3
หมู่ 7
หมู่ 6
อโลหะ
หมู่ 5
หมู่ 4

ความเป็ นกรดเบสของสารประกอบ
โลหะ อโลหะ
คลอไรด์ ออกไซด์ คลอไรด์ ออกไซด์
………………. ………………. ………………. ……………….
ยกเว้น ………. ยกเว้น ……….
………………. ……………….
………………. ……………….

Amphoteric oxide คือ ……………………………………………………………..


Al2O3 + 2NaOH + 3H2O → …………………………….
Al2O3 + 6HCl → …………………………….
BeO + 2NaOH + H2O → …………………………….
BeO + 2HCl → …………………………….
18 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

การละลายนา้ ของสารประกอบ
สารประกอบที่เกิดจากไอออนบวกเกาะตัวกับไอออนลบ เรี ยกว่า …………………
ไอออนบวก เกิดจาก ………………………. เช่น …………………………………
ไอออนลบ เกิดจาก …………………………. เช่น ………………………………..
ไอออนลบที่เป็ นกลุ่มอะตอม (polyatomic ion) หรื อเรี ยกว่า ……………… ได้แก่
ประจุ สู ตร ชื่อเรี ยก สู ตร ชื่อเรี ยก
NO3- NO2-
ClO4- ClO3-
ClO2- ClO-
MnO4- OH-
-1 CN - OCN -
I3- SCN -
O2- H2PO4-
HCO3- HSO4-
HCOO- CH3COO-
SO42- SO32-
S2O32- CO32-
-2 CrO42- Cr2O72-
MnO42- O22-
C2O42- [CoCl4]2-
-3 PO43- PO33-

นอกจากนี้ยงั มีไอออนบวกที่เป็ นกลุ่มอะตอม คือ ………. เรี ยกว่า …………………


สารประกอบทีล่ ะลายนา้ ได้ ดี
1. เกิดจากไอออนที่มีประจุ -1 หรื อ +1 เช่น ……………………………………..
ยกเว้น ……………………………. เช่น ……………………………………..
2. สารประกอบของ SO42- เช่น ………………………………………………….
ยกเว้น ………………………………………………………………………..
สารประกอบทีไ่ ม่ ละลายนา้
3. เกิดจากไอออนที่ไม่ใช่ -1 หรื อ +1 เช่น ……………………………………….
ยกเว้น …………………………………………………………………………
4. สารประกอบ O2- S2- OH – ของโลหะทรานซิ ชนั เช่น ……………………….
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 19

จุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารประกอบ
โลหะ อโลหะ
คลอไรด์ ออกไซด์ คลอไรด์ ออกไซด์
………………. ………………. ………………. ……………….
ยกเว้น ……….
……………….
……………….
1. สารประกอบออกไซด์และคลอไรด์ของธาตุ 9X 11Y 13Z
1.1 สู ตรสารประกอบออกไซด์ คือ …………………………………………..
1.2 สู ตรสารประกอบคลอไรด์ คือ ……………………………………………
1.3 สารประกอบที่เป็ นกรด ได้แก่ ……………………………………………
1.4 สารประกอบที่มี mp. bp. สู ง ได้แก่ ………………………………………
2. จงเขียนปฏิกิริยาของ Amphoteric oxide ให้สมบูรณ์ พร้อมทั้งดุลสมการ
Al2O3 + …HCl → ……… + …. H2O

Al2O3 + …..NaOH + ….H2O → ……….. + ….Na+

BeO + 2HCl → BeCl2 + …. H2O

BeO + …NaOH + H2O → ………… + ….Na+

3. สารต่อไปนี้ละลายน้ าหรื อไม่ K2S NiSO4 (NH4)3PO4 Ca(ClO)2


AgNO3 Hg2Cl2 PbSO4 CaO KMnO4 TiCl3 CuS
4. ธาตุสมมติ A B C และ D เป็ นธาตุในคาบ 3 มีขอ้ มูลดังนี้
ธาตุ A B C D
ค่า IE1 (kJ/mol) 577 738 1256 1060
รัศมีอะตอม W X Y Z
เมื่อธาตุเหล่านี้เกิดสารประกอบกันเอง ได้สาร AC3 และ B3D2
4.1 จงเรี ยงลาดับรัศมีอะตอมจากน้อยไปมาก ………………………………..
4.2 สารประกอบออกไซด์ของแต่ละธาตุ มีสถานะใด ……………………….
4.3 สารประกอบคลอไรด์ของแต่ละธาตุ มีความเป็ นกรด-เบสอย่างไร
……………………………………………………………………………
20 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

ธาตุเรพรีเซนเททีฟ (Representive Elements)


ธาตุหมู่ 1A
ธาตุหมู่ 1 เรี ยกอีกชื่ อว่า ………………….. หมายถึง ………. สมบัติเด่นๆ ของธาตุหมู่ 1 คือ
1) …………………………………… ........ 2) ………………………………........
3) …………………………………………. 4) …………………………………….
5) ………………………………………….
ปฏิกิริยาของโลหะหมู่ 1 กับน้ า ………………………………………………………
สารประกอบของธาตุหมู่ 1 ละลายน้ าได้ดี ยกเว้น ……………………………………
เมื่อเผาสารประกอบหมู่ 1 จะให้สีเปลวไฟเฉพาะตัว ดังนี้
สารประกอบของธาตุ สี ของเปลวไฟ
Li
Na
K
Rb
Cs
ธาตุหมู่ 2A
ธาตุหมู่ 2 เรี ยกอีกชื่ อว่า ……………………. หมายถึง ……………………………..
สมบัติเด่นๆ ของธาตุหมู่ 2 คือ 1) …………………….........…..…………………..
2) …………………………………………. 3) …………………………………….
4) …………………………………………. 5) ……………………………………..
ปฏิกิริยาของโลหะหมู่ 2 กับน้ า ………………………………………………………
เมื่อเผาสารประกอบหมู่ 2 จะให้สีเปลวไฟเฉพาะตัว คือ Ca ให้สี ..…. Ba ให้สี ….…

ธาตุหมู่ 8A
ธาตุหมู่ 8 เรี ยกได้หลายชื่อ คือ ……………………………………………………..
เนื่องจากเป็ นธาตุที่เฉื่ อยต่อปฏิกิริยา เนื่องจาก …………………………………….. จึงเป็ นธาตุอะตอมเดี่ยว ไม่มีสี
และกลิ่น มีแรงระหว่างโมเลกุลต่า
ธาตุหมู่ 8 ที่มีอะตอมใหญ่ได้แก่ Kr และ Xe สามารถเกิดสารประกอบกับธาตุที่มี EN สู งๆได้ คือ …………….
ตัวอย่างสารประกอบได้แก่ ………………………..
…………………………………………………………………………………….
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 21

ธาตุหมู่ 7A
ธาตุหมู่ 7 เรี ยกอีกชื่ อว่า ………………… หมายถึง …………………………………
มีสมบัติเด่น คือ …………………… และธาตุหมู่ 7 ที่อุณหภูมิหอ้ งมีท้ งั 3 สถานะและเป็ นโมเลกุลไม่มีข้ วั ละลาย
ในน้ าได้บา้ ง หรื อเอทานอล ละลายใน CCl4 หรื อ เฮกเซนได้ดี
สถานะ สี ของสารละลายใน สี ของสารละลายใน
ธาตุ สี
ที่ 25oC น้ าหรื อเอทานอล CCl4 หรื อเฮกเซน
F2 - -
Cl2
Br2
I2
อย่างไรก็ตาม เมื่อธาตุหมู่ 7 อยูใ่ นรู ปไอออน คือ ......................................... จะไม่มีสี
ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ 7
การถ่ายเทอิเล็กตรอนจาก …………………….. ไปยัง ………………………
ลาดับค่า EN ที่ตอ้ งทราบ คือ …………………………………………………
ตัวอย่าง
ปฏิกิริยาระหว่าง
สี ที่เปลี่ยนในชั้น
ใน CCl4 สมการ
ในน้ า CCl4 หรื อเฮกเซน
หรื อเฮกเซน
I- Br2
I- Cl2
Br- Cl2
S2- I2
KI Br2
Na2S Br2
KBr Cl2
Na2S Cl2
แต่อย่างไรก็ตาม การถ่ายเทอิเล็กตรอนในรู ปสารละลายดังในตาราง จะพิจารณาจากค่า E0
ซึ่ งมีแนวโน้มเดียวกับค่า EN
22 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

ธาตุทรานซิชัน (Transition Metals)


ธาตุทรานซิชนั เป็ นธาตุหมู่ B เป็ นโลหะที่มีสมบัติต่างจากโลหะหมู่ 1 และ 2 เนื่องจากมีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนที่
ไม่เป็ นไปตามกฏออกเตท

การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุทรานซิชันคาบที่ 4
การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของ K ………………….. Ca ……………………….
ธาตุ การจัดเรี ยงอิเล็กตรอน ธาตุ การจัดเรี ยงอิเล็กตรอน
Sc Fe
Ti Co
V Ni
Cr Cu
Mn Zn
การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของ Ga …………………..
แนวโน้มสมบัติของธาตุทรานซิ ชนั พิจารณาในคาบเดียวกัน
สมบัติ แนวโน้ม เหตุผล
ขนาดอะตอม
mp. bp.
ความหนาแน่น
ค่า IE และ EN
ความเป็ นสารแม่เหล็ก
ธาตุทรานซิชนั มีสมบัติความเป็ นโลหะ คือ ………………………………………..
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 23

เลขออกซิเดชัน (Oxidation State)


เลขออกซิเดชันคือ ……..….…… หรื อ …………………… มีค่าเป็ น …..………….
หลักการหาเลขออกซิเดชัน
1. ธาตุอิสระ ………………………….. เช่น ……………………………..
2. ผลรวมของเลขออกซิเดชันของทุกอะตอมในสู ตร จะเท่ากับ ………………….
3. ธาตุต่อไปนี้ เมื่อเกิดสารประกอบ จะมีเลขออกซิ เดชันคงที่เสมอ
…………………………………………………………………………………
4. H เกิดสารประกอบกับโลหะมีเลขออกซิ เดชันเป็ น …….
H เกิดสารประกอบกับอโลหะมีเลขออกซิ เดชันเป็ น …….
5. เลขออกซิเดชันของ O ในสารประกอบออกไซด์ …………..
สารประกอบเปอร์ ออกไซด์ ………… สารประกอบซูปเปอร์ ออกไซด์ ……...
6. ในสารประกอบธาตุคู่ ธาตุที่มีค่า EN สู ง เลขออกซิเดชันมีโอกาส …….
7. กลุ่มอะตอมที่มีประจุรวมเป็ นศูนย์ คือ ………………………………………
ตัวอย่าง
1. จงหาเลขออกซิเดชันของ C ใน

CO2 CO CaC2 CH4 C2H5OH


……………………………………………………………………………..
2. จงหาเลขออกซิเดชันของ Cl ใน

Cl2O ClO4- ClO3- ClO2- ClO-


……………………………………………………………………………….
3. จงหาเลขออกซิเดชันของ Mn ใน

KMnO4 K2MnO4 MnO2 Mn2O3


……………………………………………………………………………..
4. จงหาเลขออกซิเดชันของ Cr ใน

CrCl2 Cr2O3 CrO42- Cr2O72- Cr(OH)3


……………………………………………………………………………..
24 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

เลขออกซิเดชันของธาตุในตารางธาตุ

H He
+1
-1
Li Be B C N O F Ne
+1 +2 +3 +4 +5 -2 -1
+2 +4 -1
- 4 +3 -1/2
+2
+1 +2
-3
Na Mg Al Si P S Cl Ar
+1 +2 +3 +4 +5 +6 +7
- 4 +3 +4 +5
-3 +2 +3
-2 +1
-1
K Ca Sc Ti V Cr Mn Fe Co Ni Cu Zn Ga Ge As Se Br Kr
+1 +2 +3 +4 +5 +6 +7 +3 +3 +2 +2 +2 +3 +4 +5 +6 +7 +4
+3 +4 +3 +6 +2 +2 +1 - 4 +3 +4 +5 +2
+4 +3
+2 +3 +2 -3 -2
+3 +1
+2
+2 -1
Rb Sr Pd Ag Cd In Sn Sb Te I Xe
+1 +2 +4 +1 +2 +3 +4 +5 +6 +7 +6
+2 +2 +3 +4 +5 +4
+3
-3 -2 +2
+1
-1
Cs Ba W Pt Au Hg Tl Pb Bi Po At Rn
+1 +2 +6 +4 +3 +2 +3 +4 +5 +2 -1
+4 +2 +1 +1 +1 +2 +3
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 25

ธาตุกมั มันตรังสี (Radioactive Elements)


ธาตุกมั มันตรังสี คือ ………………………………………………………………….
ความไม่เสถียรในนิวเคลียส ได้แก่ ……………………….หรื อ ……………………
อนุภาคหรื อรังสี ที่ปลดปล่อย
วัสดุที่ใช้
อนุภาค/รังสี สัญลักษณ์ สาเหตุการปล่อย ผล
กั้น

แอลฟา

เบตา

โพรซิตอน

แกมมา

อนุภาคไอโซโทปของ H ที่ควรทราบ ได้แก่ …………………………………………


การดุลสมการนิวเคลียร์ มีหลักการคือ ……………………………………………..
ตัวอย่าง
1. + → + ……..
2. + → + …….. + 3
3. → + ……..
4. →3 + + ……..
5. + → …….. +
6. → + + ……..
7. + …….. → +
ปฏิกริ ิยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยาฟิ ชชัน คือ ………………………………………………………………….
ปฏิกิริยาฟิ วชัน คือ …………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
26 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

ครึ่งชีวติ ของธาตุกมั มันตรังสี


ครึ่ งชีวติ คือ …………………………………………. สัญลักษณ์ คือ ………..
สู ตรการคานวณ
N0 คือ ……………….
Nt คือ ……………….
n คือ ………………..
T คือ …………………
ตัวอย่าง
8. ธาตุ A สลายตัวมีมลวลดลงเป็ นครึ่ งหนึ่งของตอนแรกในเวลา 48 ชัว่ โมง ถ้าเริ่ มต้นด้วยสาร A 60 กรัม ใน
เวลา 2 สัปดาห์จะเหลือสาร A กี่กรัม
……………………………………………………………………………….
9. การเปลี่ยนแปลง X → Y มีครึ่ งชีวติ 40 วัน เริ่ มต้นด้วย X จานวน 12.4 กรัมถ้าสาร X สลายตัวไปจนเหลือ
1.55 กรัม จะเกิดสาร Y ขึ้นกี่กรัม และใช้เวลานานเท่าใด

……………………………………………………………………………….
10. เมื่อเวลาผ่านไป 20 วันไอโซโทปของธาตุหนึ่งปริ มาณ 20 กรัม สลายตัวเหลือ 2.5 กรัม จงหาครึ่ งชีวิต

……………………………………………………………………………….
11. ต้องการ 18F หนัก 1 กรัมสาหรับงานวิจยั จึงสัง่ ซื้ อจากบริ ษทั ในการขนส่ งใช้ระยะเวลาประมาณ 8 ชัว่ โมง ถ้า
ครึ่ งชีวติ ของธาตุน้ ี เท่ากับ 100 นาที ต้องสั่งสารนี้หนักเท่าใด

……………………………………………………………………………….
12. ตรวจซากเรื อไม้พบ 14C 1% ไม้ชนิดนี้เมื่อมีชีวติ อยูจ่ ะมี 14C อยู่ 3% จงหาอายุของซากเรื อลานี้ ถ้าครึ่ งชี วติ ของ
14
C = 5730 ปี

……………………………………………………………………………….
13. ถ้านิวเคลียสของธาตุหนึ่งมีสัดส่ วนของนิ วตรอนมากเกินไปและมีมวล 102 จะมีโอกาสแผ่รังสี ใดได้บา้ ง
เพราะเหตุใด

……………………………………………………………………………….
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 27

โจทย์ แนวข้ อสอบกลางภาค เรื่องโครงสร้ างอะตอม


ชุดที่ 1
1. จงระบุวา่ ข้อความต่อไปนี้ขอ้ ใดถูกหรื อผิด
(ถ้าถูกใส่ T ถ้าผิดใส่ F และแก้ให้ถูกต้อง)
1.1 ….. ทฤษฎีอะตอมของดอลตันไม่สอดคล้องกับการทดลองหลอดรังสี แคโทด
1.2 ….. การเบี่ยงเบนของรังสี แคโทดแปรผกผันกับค่าความต่างศักย์ระหว่าง
ขั้วแอโนดแคโทด
1.3 ….. รัทเทอร์ ฟอร์ ดได้ทดลองพบว่าอะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสที่มี
โปรตอนและนิวตรอนอยูต่ รงกลาง ส่ วนอิเล็กตรอนมีมวลน้อยวิง่ วนอยู่
รอบนิวเคลียส
1.4 ….. ช่วงแสงที่มองเห็น แสงสี ม่วงความยาวคลื่นสั้นที่สุดและมีพลังงานต่า

2. ถ้าอะตอมทองคามีขนาด 10-27 m3 และอัตราส่ วนอนุภาคที่สะท้อนหรื อเบี่ยงเบน ต่อ อนุ ภาคที่ยงิ ทั้งหมด


เท่ากับ 10-10 จงประมาณค่ารัศมีนิวเคลียสของอะตอมทองคา

3. จงเรี ยงลาดับรัศมีการเบนของรังสี แอโนดในหลอดบรรจุก๊าซ N2 Ne และ Cl2

4. ค่าประจุต่อมวล (e/m) ของอิเล็กตรอน มีค่าเป็ นกี่เท่าของ อนุภาค O2-


(กาหนดมวลของอิเล็กตรอน 9.1x10-28g มวลของโปรตอน 1.7x10-24 g
และ O มีมวลอะตอม 16)

5. จงคานวณมวลอะตอมของอิริเดียม (Ir) จากข้อมูลต่อไปนี้


โอโซโทป มวลอะตอม สั ดส่ วนทีพ่ บในธรรมชาติ
Ir-191 191.0 0.373
Ir-193 193.0 0.627
28 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

6. จากรู ปการเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอน n=5


6.1 จงระบุวา่ แต่ละความยาวคลื่นน่าจะตรงการเปลี่ยนระดับพลังงานแบบใด ค
n=4
n=3
1 2 3 4 5 ก จ
λ→ n=2
1 ตรงกับ ….. 2 ตรงกับ ….. 3 ตรงกับ ….. ง

4 ตรังกับ ….. 5 ตรงกับ ….. n=1
6.2 ถ้าสเปกตรัม จ มีความยาวคลื่น 1000 nm
สเปกตรัม ก มีความยาวคลื่น 400 nm
จงหาว่า สเปกตรัม ข มีความยาวคลื่นกี่ nm

7. ไอออนประจุ (3+) ของธาตุที่มีเลขอะตอม 26 มีการจัดอิเล็กตรอนในออร์บิทลั สุ ดท้ายอย่างไร

8. กาหนดปฏิกิริยาต่อไปนี้
Ca(s) → Ca(g) ดูดพลังงาน 184 kJ/mol
Ca+(g) → Ca2+(g) + e- ดูดพลังงาน 1145 kJ/mol
Ca(g) → Ca2+ (aq) + 2e- คายพลังงาน 415 kJ/mol
Ca2+(g) → Ca2+(aq) คายพลังงาน 2150 kJ/mol
ค่าพลังงานไออไนเซชันลาดับที่ 1 ของแคลเซี ยมเป็ นเท่าใดในหน่วย kJ/mol
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 29

ชุดที่ 2
1. จงระบุวา่ ข้อความต่อไปนี้ขอ้ ใดถูกหรื อผิด (ถูกใส่ T ผิดใส่ F และแก้ให้ถูกต้อง)
1.1) ..... ทอมสันพิสูจน์ได้วา่ อะตอมไม่ใช่สิ่งที่เล็กที่สุด โดยทาการทดลอง
เกี่ยวกับการนาไฟฟ้ าของโลหะต่างๆในหลอดรังสี แคโทด
1.2) ..... แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ ดเสนอมวลของอะตอมเกือบ
ทั้งหมดมาจากโปรตอน
1.3) ..... อะตอมที่มีระดับพลังงาน 4 ระดับ จะให้สเปกตรัมได้ 4 เส้น
1.4) ..... เปลวไฟที่เกิดจากการเผาธาตุต่างๆจะมีสีแตกต่างกันเนื่องจากความ
แตกต่างของนิวเคลียสของอะตอม
2. จากการทดลองของทอมสัน พบว่าค่า e/m ของอนุ ภาคจากขั้วแคโทดมีค่า 1.7x108 C/g ต่อมามิลลิแกนทาการ
ทดลองหาค่าประจุของอนุภาคนี้ได้ 1.6x10-19 C จงหาว่าอนุภาคนี้ 1030 อนุภาค มีมวลกี่กรัม

3. ถ้ารัศมีอะตอมทองคาใหญ่กว่ารัศมีนิวเคลียส 2x105 เท่า จงหาว่าถ้ายิงอนุ ภาคแอลฟา 1012 ครั้ง จะพบอนุ ภาค


แอลฟาที่ไม่วงิ่ ทะลุตรงไปในแนวเดิมกี่ครั้ง

4. จากการวิเคราะห์ดว้ ยเครื่ อง mass spectrograph พบว่าธาตุ A มี 2 ไอโซโทป ไอโซโทปที่ 1 มีมวลอะตอม


23.08 มีปริ มาณ 90.0% ในธรรมชาติ ถ้ามวลอะตอมเฉลี่ยของ A คือ 23.20 จงหาว่าไอโซโทปที่ 2 มีมวล
อะตอมเท่าใด

5. จากตารางระดับพลังงานของอะตอมหนึ่ง จงหาว่าสเปกตรัมสี เขียวที่มีความ


n พลังงาน (J)
คลื่น 500 นาโนเมตร เกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานอย่างไร
5 6.0x10-20
4 8.7x10-20
3 1.4x10-19
2 2.4x10-19
1 5.4x10-19
6. ธาตุที่มีเลขมวล 207 และมีจานวนนิวตรอนเท่ากับ 125 จะมีการจัดอิเล็กตรอนในออร์ บิทลั สุ ดท้ายอย่างไร
30 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

ชุดที่ 3
1. ในการทดลองหลอดรังสี แคโทดถ้าก๊าซในหลอดแก้วความดันไม่ต่ามากหรื อมี
อยูม่ ากเกินไปจะเกิดผลอย่างไร ………………………………………………
2. ในการทดลองของทอมสันถ้าใช้ความต่างศักย์ต่าเกินไปจะเกิดผลอย่างไร
………………………………………………………………………………..
3. ในการทดลองของทอมสัน ถ้าเพิ่มความต่างศักย์ระหว่างขั้วแอโนดแคโทดโดยที่ค่าสนามแม่เหล็กยังคงเดิม
รัศมีการเบี่ยงเบนของรังสี แคโทดจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร …………………………………………………
4. ในการทดลองหลอดรังสี แคโทดแอโนดถ้าก๊าซในหลอดไม่ใช่ไฮโดรเจน แต่เป็ นก๊าซอื่นๆเช่น H2 F2 และอื่นๆ
รังสี แคโทดและรังสี แอโนดจะมีการเบี่ยงเบนในสนามไฟฟ้ าเปลี่ยนไปหรื อไม่
………………………………………………
5. มิลลิแกนทาให้หยดน้ ามันมีประจุไฟฟ้ าได้อย่างไร ………………………….
6. มิลลิแกนอาศัยสมดุลของแรงอะไรที่กระทาต่อหยดน้ ามันเพื่อหาค่าประจุของ
อิเล็กตรอน …………………………………………………………………
7. ในการทดลองหยดน้ ามันในสนามไฟฟ้ า ถ้าหยดน้ ามันมีขนาดใหญ่เกินไปจะเกิดผลอย่างไร
………………………………………………………………
8. รัทเธอร์ ฟอร์ ดทราบได้อย่างไรว่าอนุภาคแอลฟาทะลุตรงไปหรื อสะท้อนกลับ
………………………………………………………………………………
9. รั ท เธอร์ ฟ อร์ ด ทราบได้อ ย่ า งไรว่ า อิ เ ล็ ก ตรอนวิ่ ง วนรอบนิ ว เคลี ย ส ไม่ ไ ด้อ ยู่ นิ่ ง อย่ า งที่ ท อมสั น กล่ า ว
…………………………………………………………
10. พลังงานไอออไนเซชัน (IE n) หมายถึง ………………………………………
………………………………………………………………………………
11. จานวนอิเล็กตรอนในแต่ละระดับพลังงาน n มีค่าเท่ากับ ……………………
12. ระยะห่างระหว่างระดับพลังงานที่อยูห่ ่างออกไปจะ ……..............................
13. ช่วงความยาวคลื่นแสงที่มนุษย์มองเห็น คือ …………………………... nm
14. กลุ่มหมอกอิเล็กตรอนแสดงถึงอะไร ……………………………………….
15. หลักการ 3 ข้อ ในการบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์ บิทลั ได้แก่
1. ……………………………………. …………….
2. …………………………………………………..
3. ……………………………………………………
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 31

ชุดที่ 4
1. ถ้ายิงแผ่นอะลูมิเนียมบางด้วยอิเล็กตรอน ให้ผลคือ Al 2 โมลถูกชนให้อิเล็กตรอนหลุดออกมากลายเป็ น Al3+
อิเล็กตรอนที่หลุดออกมาทั้งหมดมีประจุเท่าใด

2. ถ้าเกิดการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน 5 ระดับ จะสามารถเกิดเส้นสเปกตรัมได้มากที่สุดกี่เส้น

3. ถ้าสเปกตรัม ก เป็ นแสงอินฟราเรดความยาวคลื่น 1000 nm n=3


และสเปกตรัม ข เป็ นแสงสี ส้มความยาวคลื่น 670 nm n=2 ก
แล้วสเปกตรัมที่เกิดจาก n = 3 → n = 1 จะมี ข
n=1
ความยาวคลื่นกี่ nm

4. จง sketch กราฟลาดับของค่าพลังงานไอออไนเซชันของธาตุ 13Al


พลังงาน

IE1 IE2 IE3 IE4 IE5 IE6 IE7 IE8 IE9 IE10IE11IE12IE13 ลาดับค่า IE

5. เพราะเหตุใดรัทเธอร์ ฟอร์ ดจึงกล่าวว่าประจุบวกไม่ได้กระจายอยู่ท้ วั ทั้งอะตอมตามแบบจาลองอะตอม plum


pudding ของทอมสัน

6. จากการทดลองหลอดรังสี ของทอมสัน ในปี 1913 ทอมสันศึกษาอนุภาคบวกจากหลอดรังสี ที่บรรจุแก๊สนี ออน


เพียงชนิดเดียว พบว่ามีแนวการเบนเป็ น 2 แนว ผลการทดลองนี้นาไปสู่ การค้นพบเกี่ยวกับสิ่ งใด

7. จงเขียนการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนในออร์ บิทลั สุ ดท้ายของอนุภาคต่อไปนี้ Ca2+ Cu+ และ Co2+


32 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

8. เปลวไฟที่เกิดจากการเผาสารประกอบที่เป็ นผงสี ขาว 3 ชนิด คือ Na2CO3 BaSO4 และ KCl ซึ่ งบรรจุในขวด 3
ขวดที่ไม่ฉลากติด พบว่าขวด A ให้เปลวไฟสี ม่วง และขวด B ให้เปลวไฟสี เหลือง สารที่บรรจุในขวด A B
และ C คือสารใดตามลาดับ

9. ในการทดลองหลอดรังสี ถ้าบรรจุแก๊สต่างชนิ ดกัน รังสี แอโนดจะมีการเบี่ยงเบนไม่เท่ากัน ความแตกต่างนี้ มี


สาเหตุมาจากสิ่ งใด (ให้ตอบมา 2 ข้อ)

10. แสงที่ความถี่ 3x1014 Hz มีพลังงานมากกว่าหรื อน้อยกว่า แสงที่มีความยาวคลื่น 500 nm อยูก่ ี่จูล

11. นักวิทยาศาสตร์ สมัยหนึ่งมองภาพว่าอิเล็กตรอนโคจรรอบนิวเคลียสและ เส้นสเปกตรัม พลังงาน (J)


มีระดับพลังงานที่ลดหลัน่ กัน ระดับพลังงานในสุ ดเรี ยกว่า ชั้น K และชั้น สีมว่ ง 4.84x1019
ถัดๆมาเรี ยกว่าชั้น L M N ... เมื่อให้พลังงานแก่ไฮโดรเจนอะตอม จะได้ สีน้ าเงิน 4.57x1019
สเปกตรัมชุดหนึ่งออกมาดังตาราง ซึ่ งสรุ ปภายหลังว่าตรงกับการเปลี่ยน สีน้ าทะเล 4.08x1019
ระดับพลังงานจากชั้นสู งมาอยูท่ ี่ช้ นั L สีแดง 3.02x1019
ก. ถ้าอิเล็กตรอนของไฮโดรเจนเปลี่ยนจากชั้น O มาชั้น M จะคายพลังงานกี่จูล

ข. ถ้าอิเล็กตรอนของไฮโดรเจนเปลี่ยนจากชั้น Q มาชั้น N จะคายพลังงานกี่จูล

12. สิ่ งที่ใช้ในการแยกแสงเพื่อศึกษาสเปกตรัมมีอะไรบ้าง (ให้ตอบมาอย่างน้อย 2 อย่าง)

13. เมื่อทาให้อิเล็กตรอนตัวแรกหลุดออกจากอะตอมแล้ว สาเหตุใดทาให้การดึงอิเล็กตรอนตัวถัดไปใช้พลังงาน


มากขึ้นกว่าเดิม

14. จงเขียนสมการแสดงการดึงอิเล็กตรอนตัวที่ 3 และ 4 ออกจากธาตุ Al


โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 33

15. ธาตุ X มี 3 ไอโซโทป คือ a b และ c ถ้าไอโซโทป a มีปริ มาณเป็ น 2 เท่าของไอโซโทป b และไอโซโทป b มี
ปริ มาณเป็ น 3 เท่าของไอโซโทป c ถ้า a b และ c มีค่า 18, 19 และ 20 ตามลาดับ จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของ
ธาตุ X

16. ถ้าอิเล็กตรอนในออร์ บิทลั เดียวกันมีทิศทางการหมุนเหมือนกันจะเป็ นอย่างไร

17. ธาตุ A B C และ D มีเลขอะตอม 12 17 19 และ 38


แนวโน้มการเกิดเป็ นไอออนลบ คือ ................................

18. ธาตุ W X Y และ Z มีเลขอะตอม 34 35 37 และ 38


18.1) จงเรี ยงลาดับค่า IE2 ……………………..
18.2) จงเรี ยงลาดับค่า EN …………………….

19. ธาตุ 31A 35B 53C และ 56D จงพิจารณาข้อความใดต่อไปนี้ถูกหรื อ ผิด


19.1) ธาตุ C รับอิเล็กตรอนได้ยากกว่า A B และ D ……
19.2) ธาตุ A อยูห่ มู่เดียวกับธาตุที่มีเลขอะตอม 51 ……

20. กาหนดข้อมูลต่อไปนี้
A B C และ D เป็ นธาตุในคาบที่ 3 ของตารางธาตุ
สู ตรเคมีของสารประกอบระหว่างธาตุท้ งั สี่ คือ AC2 และ B2D
ค่า IE1 ของ A > B และ C > D
สารละลายออกไซด์ของ A และ B เป็ นเบส ส่ วนสารละลายออกไซด์ของ C และ D เป็ นกรด
20.1) เรี ยงลาดับจุดหลอมเหลว ..........................................
20.2) เรี ยงลาดับค่า EN ……………………………………
34 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

ชุดที่ 5
1. อะตอมเป็ นอนุภาคที่เล็กที่สุด แบ่งแยกไม่ได้ ไม่สามารถสร้างขึ้นหรื อทาลายได้เป็ นคาพูดของใคร
ต่อมานักวิทยาศาสตร์ พบข้อขัดแย้งกับคากล่าวนี้ เช่น (บอกมา 2 ข้อ)

2. การศึกษาเรื่ องใดนาไปสู่ การค้นพบอิเล็กตรอน และอิเล็กตรอนมีสมบัติอย่างไร

3. เกิดเป็ นโมเลกุลก๊าซ N2 ก๊าซนี้ 1 โมเลกุล จงหา


3.1) มวลของอิเล็กตรอนทั้งหมด

3.2) ประจุของโปรตอนทั้งหมด

4. การยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคาบาง โดยมีฉากเรื องแสงล้อมรอบอยูเ่ กิดผลหลายประการ


4.1) การเกิดจุดเรื องแสงบริ เวณด้านหน้าของแผ่นทองคาเกิดจากสาเหตุใด

4.2) มีโอกาสพบผลการทดลองแบบใดมากที่สุด

5. ธาตุ X มีเลขมวล 45 และมีการจัดอิเล็กตรอนในออร์บิทลั สุ ดท้ายเป็ น 3d1


5.1) จงบอกชนิดและ จานวนอนุภาคมูลฐานของธาตุ X
5.2) จงบอกจานวนเวเลนต์อิเล็กตรอนและสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ของธาตุ X
5.3) จงเปรี ยบเทียบขนาดอะตอมของธาตุ X กับ Ca

6. จากหลักการกีดกันของเพาลี อิเล็กตรอนคู่หนึ่งๆที่อยูใ่ นออร์ บิทลั เดียวกันต้องมีสิ่งใดแตกต่างกัน

7. จงเขียนแผนภาพแสดงการรบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทลั
ของธาตุที่มี 6 อิเล็กตรอน

8. เอาฟบาว เสนอให้บรรจุอิเล็กตรอนในออร์ บิทลั ที่มีพลังงานต่าสุ ดและว่างก่อนเสมอ เนื่ องจากเหตุผลใด


โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 35

9. สเปกตรัมของไฮโดรเจนอะตอมที่อยูใ่ นช่วง visible light มีสีใดบ้าง จงเรี ยงจากความถี่มากไปน้อย

10. จงหาพลังงานและความถี่ของสเปกตรัมที่มีความยาวคลื่น 486 นาโนเมตร

11. สเปกตรัมทั้ง 4 ของโฮโดรเจนมีผลต่างระหว่างพลังงานที่เท่ากันหรื อไม่ เพราะเหตุใด

12. แบบจาลองที่ได้จากการศึกษาสเปกตรัมของไฮโดรเจน ต่างจากแบบจาลองอะตอมที่ได้จากการยิงอนุภาค


แอลฟาอย่างไร

13. จอห์น นิวแลนด์ จัดธาตุเป็ นหมวดหมู่ โดยเรี ยงธาตุจากสิ่ งใด


14. Law of periodic ถูกตั้งโดยนักวิทยาศาสตร์ ท่านใด กฎนี้ อธิ บายว่าอย่างไร

15. ตารางธาตุในปั จจุบนั เรี ยงธาตุตามสิ่ งใด ตามข้อเสนอของใคร

16. ธาตุ alkali กับ halogen ต่างกันอย่างไรถ้าเปรี ยบเทียบตามตาราง


สมบัติ Alkali Halogen
สถานะ
ออร์ บิทลั ที่เวเลนต์อิเล็กตรอนอยู่

17. อะตอมของธาตุต่อไปนี้ สามารถบอกขนาดอะตอมด้วยรัศมีอะตอมแบบใด จงวาดรู ปประกอบ


17.1) Ca 17.2) Kr 17.3) I

18. Na+ Mg2+ และ Al3+ มีขนาดไอออนต่างเพราะเหตุใด

19. ธาตุ inner transition ประกอบด้วยธาตุกลุ่มใดบ้าง

20. นักวิทยาศาสตร์ กาหนดเลขออกซิ เดชัน เพื่อเหตุผลใด

21. แนวโน้มจุดเดือดของก๊าซมีตระกูลเป็ นอย่างไร


36 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

22. การคายพลังงานของอิเล็กตรอนที่เกิดจากการเผาสารประกอบ ทาให้เกิดสิ่ งใด และการคายพลังงานทีเกิดจาก


การรับอิเล็กตรอน 1 อนุภาคของธาตุในสถานะก๊าซ จะทาให้เกิดสิ่ งใด

23. ธาตุที่ 124 มีชื่อและสัญลักษณ์อย่างไร

24. ลาดับค่า IE ของธาตุ D คือ 1.24, 1.43, 3.31, 4.10, 17.6, 19.8, 20.4, 25.5, 27.9, 29.7, 38.4, 41.7, 231, 257
จงเขียนการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของธาตุ D

25. จงเปรี ยบเทียบค่า EN ของธาตุ D กับธาตุกามะถัน


โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 37

ตัวอย่ างข้ อสอบกลางภาคเรื่องโครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ


ข้ อสอบอัตนัย ข้ อละ 3 คะแนน
1. การทดลองของทอมสัน (ข้อละ 1.5 คะแนน)
1.1) ถ้าแบบทฤษฎีอะตอมของดอลตันเป็ นจริ ง การทดลองหลอดรังสี แคโทด
ของทอมสันจะให้ผลอย่างไร
…………………………………………………………………………
ถ้าบรรจุแก๊สไฮโดรเจนลงในหลอดรังสี แคโทดแอโนด โดยมีอากาศปนเข้าไปด้วย จัดอุปกรณ์ให้แก๊สมีความ
ดันต่าๆ และความต่างศักย์ระหว่างขั้วแอโนดและแคโทดสู งพอ คร่ อมสนามไฟฟ้ าที่ดา้ นหลังขั้วทั้งสองซึ่ ง
เจาะรู ไว้
1.2) แนวการเบี่ยงเบนของอนุภาคจากขั้วทั้งสองจะแตกต่างกันอย่างไร
…………………………………………………………………………
2. การทดลองของรัทเธอฟอร์ด (ข้อละ 1.5 คะแนน)
2.1) ถ้าทาการทดลองยิงแผ่นทองคาบางด้วยอนุภาคโปรตอนแทนอนุภาค
แอลฟา จานวนอนุ ภาคที่เบี่ยงเบนหรื อสะท้อนกลับจะน้อยลงหรื อมากขึ้น
จงให้เหตุผล
…………………………………………………………………………
2.2) จากการทดลองของรัทเธอฟอร์ด ถ้าโอกาสที่อนุภาคแอลฟาจะสะท้อน
กลับหรื อเบนจากแนวเดิมเท่ากับ 10-8 แล้วค่าอัตราส่ วนรัศมีของอะตอมต่อ
รัศมีนิวเคลียสควรมีค่าประมาณเท่าใด (ให้ตอบในรู ป 10n โดย n เป็ น
จานวนเต็ม)
…………………………………………………………………………
3. การทดลองของมิลลิแกน (ข้อละ 1.5 คะแนน)
3.1) มิลลิแกนมีวธิ ี การทาให้หยดน้ ามันมีประจุไฟฟ้ าได้อย่างไร
…………………………………………………………………………
3.2) เหตุใดมิลลิแกนจึงจัดสนามไฟฟ้ าในแนวดิ่งโดยให้แผ่นประจุไฟฟ้ าบวกอยูด่ า้ นบน
…………………………………………………………………………
4. การทดลองของโบหร์ (ข้อละ 1.5 คะแนน)
4.1) โบหร์ ใช้การทดลองเกี่ยวกับเรื่ องใด ที่ให้ผลทราบถึงการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนในแต่ละระดับพลังงาน
…………………………………………………………………………
4.2) จุดด้อยของแบบจาลองอะตอมของโบหร์ เมื่อเทียบกับแบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก คืออะไร
…………………………………………………………………………
38 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

5. ถ้าการเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนจาก n = 4→ n = 1 ให้สเปกตรัมที่
ความยาวคลื่น 250 nm และ n = 4 → n = 2 ให้สเปกตรัมที่ความยาวคลื่น 800
nm จงหาค่าความยาวคลื่นของสเปกตรัมที่เกิดจาก n = 2 → n = 1 (3 คะแนน)

6. จงเขียนการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนแบบระดับพลังงาน และแบบออบิทลั ของธาตุต่อไปนี้ (ข้อละ 1 คะแนน)


6.1) 31Ga …………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………
6.2) 53 I …………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………
6.3) 29Cu …………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………

7. จงระบุจานวนอิเล็กตรอนเดี่ยวของอนุภาคต่อไปนี้ (ข้อละ 1 คะแนน)


7.1) 24A …………………
7.2) 8B− …………………
7.3) 27C2+ ………………..

8. จากข้อมูลต่อไปนี้ จงระบุวา่ ข้อใดถูก (T) หรื อผิด (F) (ข้อละ 0.5 คะแนน)
9A 7B 8C 12D 13E 16F และ 2G
_____ 8.1) ค่า EN ของธาตุดงั กล่าวเรี ยงลาดับได้ดงั นี้ A > C > B > G > F
_____ 8.2) ขนาดอะตอมของ A ใหญ่ที่สุด และ G เล็กที่สุด
_____ 8.3) ขนาดไอออนที่เสถียรของ F2- > A- > B3- > D2+
_____ 8.4) A มีค่า IE สู งที่สุด
_____ 8.5) ความเป็ นโลหะของ E > D > C > A > B
_____ 8.6) ความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาของ A > D > E > B
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 39

9. ธาตุสมมติ X Y และ Z มีเลขอะตอมน้อยกว่า 20 ธาตุท้ งั สามเกิดสารประกอบ


ต่างๆ คือ CZ2 Cl2X และ Na3Y เมื่อนาธาตุท้ งั 3 มาทาปฏิกิริยากันเองจะเกิด
สาร XZ2 และ YZ2 ธาตุท้ งั สามคือธาตุใดบ้าง (3 คะแนน)
X คือ ......... Y คือ .......... Z คือ .............

10. ธาตุสมมติ A B C และ D เป็ นธาตุในคาบ 3 มีขอ้ มูลดังนี้


ธาตุ A B C D
ค่า IE1 (kJ/mol) 174 192 420 315
รัศมีอะตอม W X Y Z
เมื่อธาตุเหล่านี้เกิดสารประกอบกันเอง ได้สาร AC3 และ B3D2 (ข้อละ 1 คะแนน)
10.1) จงเรี ยงลาดับรัศมีอะตอมของธาตุท้ งั 3 จากน้อยไปมาก
…………………………………………………………………………
10.2) สารประกอบออกไซด์ของแต่ละธาตุ มีสถานะใด
…………………………………………………………………………
10.3) สารประกอบคลอไรด์ของแต่ละธาตุ มีความเป็ นกรด เบสอย่างไร
…………………………………………………………………………
40 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

แบบทดสอบเรื่องตารางธาตุ
ชุดที่ 1
1. P Q และ R เป็ นโลหะที่อยูใ่ นคาบเดียวกัน โดยความหนาแน่นของ R > Q > P จงเรี ยงลาดับสมบัติต่อไปนี้
จากน้อยไปมาก
1.1) จุดหลอมเหลว …………………………..
1.2) ขนาดอะตอม …………………………..
1.3) จานวนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนเมื่อเป็ นไอออนที่เสถียร …………
1.4) ความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยา …………………………..
2. S T และ U เป็ นอโลหะในหมู่เดียวกัน โดยความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาของ S > T > U จงเรี ยงลาดับ
สมบัติต่อไปนี้ จากน้อยไปมาก
2.1) จุดเดือด …………………………..
2.2) ความหนาแน่น …………………………..
2.3) ขนาดไอออนที่เสถียร …………………………..
2.4) ค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ี …………………………..
3. A B และ C เป็ นอโลหะหมู่เดียวกัน ความยาวพันธะ A−B = 172 B−C = 214 และ A−C = 186 จง
เรี ยงลาดับสมบัติต่อไปนี้จากน้อยไปมาก
3.1) ขนาดอะตอม …………………………..
3.2) ค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ี …………………………..
3.3) ความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยา …………………………..
3.4) พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 …………………………..
4. ธาตุ X และ Y เป็ นโลหะในคาบเดียวกัน ธาตุ X มวล 5 กรัมมีปริ มาตร 4.5 cm3 ส่ วน Y มวล 8 กรัมมีปริ มาตร 8.4 cm3
4.1) โลหะใดมีขนาดอะตอมใหญ่กว่า …………………………..
4.2) โลหะใดว่องไวต่อปฏิกิริยามากกว่า …………………………..
4.3) โลหะใดเป็ นโลหะหมู่ 1 …………………………..
5. D E และ F มีเลขอะตอม 38 53 และ 88 ตามลาดับ
5.1) ธาตุใดมีขนาดไอออนที่เสถียรใหญ่ที่สุด …………………………..
5.2) จงเรี ยงลาดับค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน …………………………..
5.3) จงเรี ยงลาดับความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยา …………………………..
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 41

ชุดที่ 2
1. จงระบุเลขออกซิ เดชันของธาตุที่เป็ นอะตอมกลางในสารประกอบเชิงซ้อนต่อไปนี้
1.1) [Cr(NH3)4(CO3)]+ 1.2) Na2[Cu(NH3)2Cl2SO4]

1.3) Ca[Au(CN)2]2 1.4) [Co(NH3)2(NO2)4]−

2. จงระบุเลขออกซิเดชันของธาตุในสารประกอบที่มีค่าต่าที่สุดและสู งที่สุด
2.1) K[Co(NH3)2(NO2)4] 2.2) Na2[Fe(CN)6]

2.3) [Cu(NH3)4]SO4 2.4) [V(H2O)3]Cl3

3. จงระบุเลขออกซิเดชันของโลหะ M ในสารประกอบต่อไปนี้
3.1) [M(OH)4(H2O)]2− 3.2) [M2O7]2−

3.3) [M(NH3)2Cl4]− 3.4) [M(SO4)2]−

4. จงพิจารณาสมการต่อไปนี้ ธาตุใดมีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิ เดชัน และเปลี่ยนแปลงอย่างไร


4.1) 2NO2 + 7H2 → 2NH3 + 4H2O
……………………………………………………………….
4.2) 2KClO3 → 2KCl + 3O2
………………………………………………………………
4.3) 3NaNO2 + K2Cr2O7 + 4H2SO4 → 3NaNO3 + K2SO4 + Cr2(SO4)3
………………………………………………………………
4.4) 2Na2S + Na2CO3 + 4SO2 → 3Na2S2O3 + CO2
………………………………………………………………
4.5) 2KMnO4 → K2MnO4 + MnO2 + O2
………………………………………………………………
42 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

ตัวอย่ างข้ อสอบปลายภาค เรื่องโครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ


ชุดที่ 1
1. จากรู ปแสดงโครงสร้างของหลอดรังสี แคโทดเมื่อให้ความต่างศักย์กบั แผ่น
เบี่ยงเบนโดยสนามไฟฟ้ าทั้ง 2 คู่ อิเล็กตรอนควรจะตกกระทบจอเรื องแสง ณ
ส่ วนใด
1) ส่ วนที่ 1
2) ส่ วนที่ 2
3) ส่ วนที่ 3
4) ส่ วนที่ 4

2. ไอออนคู่ใดมีจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนรวมไม่เท่ากัน
1) CO32- กับ NO3- 2) NO3- กับ SO32-
3) SO32- กับ ClO3- 4) ClO3- กับ PO33-
3. ธาตุ Cr มีเลขอะตอม 24 ถ้าเกิดเป็ น Cr3+ จะมีการบรรจุอิเล็กตรอนตัวสุ ดท้ายในออร์ บิทอลอย่างไร

4. ข้อมูลสาหรับธาตุ 9A, 17B, 18C, 19D, 54E มีดงั นี้ ข้อใดถูกต้อง


1. E มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนมากกว่า B แต่รัศมีอะตอมใหญ่กว่า C
2. D มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนมากกว่า C แต่รัศมีอะตอมเล็กกว่า E
3. A มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนน้อยกว่า B แต่รัศมีอะตอมเล็กกว่า B
4. C มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนมากกว่า E แต่รัศมีอะตอมใหญ่กว่า D
5. B มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนมากกว่า D แต่รัศมีอะตอมเล็กกว่า D
1) 1 และ 5 2) 2 และ 3
3) 3 และ 5 4) 3 และ 4

5. พลังงานไอออไนเซชันของ Li2+ มีค่า 1.961x10-17 J จะมีความยาวคลื่นกี่ nm กาหนดค่า h = 6.626x10-34 และ


c = 2.998x108
1) 9.92 2) 10.13
3) 20.26 4) 101.3
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 43

6. รัศมีอะตอมมี ขนาดใหญ่กว่านิ วเคลี ยสประมาณ 10,000 เท่า ถ้าเราวาดภาพขยายจนนิ วเคลี ยสมีรัศมี 2 cm


พื้นที่หน้าตัดอะตอมจะเป็ นเท่าใดในหน่วยตารางเมตร
1) 4,000 2) 40,000
3) 12,560 4) 125,600

7. A และ D เป็ นธาตุที่มีเลขอะตอมไม่เกิน 20 อยูใ่ นคาบเดียวกัน และมีตาแหน่งติดกันในตารางธาตุ คลอไรด์


ของ D มีสูตร DCl เมื่อเป็ นสารละลายไม่เลปี่ ยนสี กระดาษลิตมัส ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1) A มี IE1ต่ากว่า D
2) A มีจุดหลอมเหลวต่ากว่า D
3) ถ้าปริ มาตรเท่ากัน A มีมวลน้อยกว่า D
4) ไอออนที่เสถียรของ A มีขนาดเล็กกว่าไอออนที่เสถียรของ D

8. ธาตุ E อยูค่ าบเดียวกับธาตุ Y และธาตุ Y อยูห่ มู่เดียวกับ Z ในตารางธาตุ ธาตุท้ งั สามมีสมบัติดงั นี้
ก. ออกไซด์ของ E มีสูตร E2O3 เป็ นของแข็งทาปฏิกิริยาได้กบั HCl หรื อ KOH
ข. สารละลายของ Y2 ไม่มีสี สามารถทาปฏิกิริยากับ NaZ ได้สารละลายมีสีเหลืองในชั้นน้ าและชั้นของเฮ
กเซน
ข้อใดกล่าว ไม่ ถูกต้อง
1) สารประกอบซัลเฟตของ E ทาปฏิกิริยากับ BaCl2 ด้วยอัตราส่ วน 1 ต่อ 3 โดยโมล
2) สารประกอบคลอไรด์ของ E และ Z เป็ นกรด
3) ธาตุ E มีจุดหลอมเหลวสู งกว่า Y และ Z
4) E มีเลขออกซิ เดชันเป็ นบวก ส่ วน Y และ Z มีเลขออกซิเดชันเป็ นลบ

9. X เป็ นธาตุทรานซิ ชนั ในคาบที่ 4 สารประกอบเชิงซ้อนบางชนิดของ X มีสูตร์ NH4XO4 , (NH4)2XO4 ซึ่งมีสี


ม่วงแดงและสี เขียวตามลาดับ ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1) การเปลี่ยน (NH4)2XO4 ให้เป็ นสี ม่วงแดงทาให้เลขออกซิ เดชันของ X เพิ่มขึ้น 1
2) การที่ NH4XO4 และ (NH4)2XO4 มีสีต่างกันเพราะเลขออกซิ เดชันและชนิดของลิแกนด์ต่างกัน
3) X เป็ นธาตุทรานซิ ชนั ที่มีเวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1
4) X มีขนาดอะตอมใหญ่ข้ ึนเล็กน้อยเมื่อเทียบกับ Ca
44 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

10. สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุ A มีสูตร [A(H2O)6]SO4 มีสีเขียว A ควรเป็ นธาตุที่มีสัญลักษณ์ดงั ข้อใด


1) 88A 2) 85A
3) 50A 4) 28A
11. I-131 เป็ นไอโซโทปกัมมันตรังสี ที่มีครึ่ งชีวิต 8 วัน นาอโซโทปนี้ไปเตรี ยม NaI จานวน M กรัมแล้วตั้งทิง้ ไว้
40 วัน ปรากฎว่าเหลือ I-131 ในสารประกอบเพียง 3.08 กรัม จงหาว่า NaI จานวน M กรัมนี้ มี I-131 เป็ น
องค์ประกอบกี่กรัม
1) 98.56 2) 83.84
3) 4.81 4) 4.09
12. ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน ก๊าซ X2 และก๊าซ Y3 มีความหนาแน่น 0.5 g/cm3 เท่ากันถ้านาก๊าซแต่ละชนิด
มา 1 dm3 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูกต้อง
ก. ก๊าซ X2 มีมวลโมเลกุลน้อยกว่าก๊าซ Y3
ข. จานวนอะตอมของ Y มากกว่า X
ค. จานวนโมเลกุลของ X2 เท่ากับ Y3
1) ก และ ข 2) ก และ ค
3) ข และ ค 4) ก ข และ ค
13. A, B, C เป็ นสัญลักษณ์สมมุติถา้ A และ B เป็ นอโลหะในคาบที่ 2 และ C อยูห่ มู่เดียวกับ A เมื่อธาตุท้ งั สาม
สร้างพันธะโคเวเลนต์กนั วัดความยาวพันธะได้ดงั นี้ A−B = 140, B−C = 165 และ A−C = 210 การบอก
สมบัติของธาตุ A, B, C ข้อใดไม่ ถูกต้อง
1) พลังงานไอออนไนเซชันลาดับที่ 1 ของ A > C
2) A มีจานวนเวเลนซ์นอ้ ยกว่า B และเท่ากับ C
3) เมื่อเกิดเป็ นไอออนที่เสถียร ขนาดไอออน A ใหญ่กว่าขนาดไอออน B
4) ออกไซด์ของ C มีความเป็ นกรดมากกว่าออกไซด์ของ B
14. จากธาตุต่อไปนี้ 37A 14B 35C (สัญญลักษณ์สมมุติ) สมบัติต่อไปนี้ขอ้ ใดไม่ ถูกต้อง
1) เมื่อนาผสมสารละลาย KC กับ D2แล้วเติม CCl4 จะมีสีชมพูในชั้น CCl4
2) สารละลายคลอไรด์ของ C ทาปฏิกิริยากับเบสได้
3) ออกไซด์ของ B มีสูตร BO2 ทาปฏิกริ ยาได้กบั ทั้งกรดและเบส
4) เมื่อหยดฟี นอล์ฟทาลีนลงในสารละลายของสารประกอบออกไซด์ A จะให้สีชมพู
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 45

15. ให้นกั เรี ยนพิจารณาว่าข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของธาตุตามตาราธาตุ


1) ธาตุสแกนเดียม (Sc) ซึ่งมีเลขอะตอม 21 ในสารประกอบต่างๆ จะใช้เลขออกซิ เดชัน +3 เพียงคาเดียว
เพราะจ่ายเฉพาะเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่านั้นในการสร้างพันธะ
2) ธาตุในหมู่แฮโลเจนนอกจากมีค่าอิเล็กโทรเนกาตีวติ ีสูงแล้วยังมีเลข
ออกซิ เดชันได้หลายค่าในสารประกอบ ยกเว้นธาตุ F มีเลขออกซิ เดชันค่าเดียว
3) ธาตุในกลุ่มโลหะสามารถสร้างพันธะเคมีได้ท้ งั พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนท์ และพันธะโลหะ
4) ธาตุหมู่ IA IIA และ IIIA ต่างสามารถทาปฏิกิริยากับ H2O แต่จะต้องใช้ภาวะของปฏิกิริยาต่างกัน

16. ปฏิกิริยาใดต่อไปนี้ ไม่ มีการเปลี่ยนเลขออกซิ เดชันของธาตุทรานซิ ชนั แต่มีการเปลี่ยนแปลงสี ของสารละลาย


1) 2MnO4 + 10Br- + 16H+ → 2Mn2+ + 5Br2 + 8H2O
2) [Fe(H2O)6]3+ + SCN- →[Fe(H2O)5(SCN)] 2+ + H2O
3) Cr2O2-7 + 6I- + 14H+→ 2Cr3+ + 3I- + 7H2O
4) Hg2Cl2 + 2NH3→ HgNH2Cl + Hg + NH+4 + Cl-

17. ธาตุชุดที่ 1 ประกอบด้วย A, B และ C เลขอะตอม 9, 17 และ 35 ตามลาดับ ธาตุชุดที่ 2 ประกอบด้วย D, E


และ F เลขอะตอม 11, 12 และ 13 ตามลาดับ ข้อใดเป็ นการเรี ยงลาดับพลังงาน ไอออไนเซชันลาดับที่ 1 ได้
ถูกต้องสาหรับธาตุท้ งั 2 ชุด
1) A<B<C และ D<E<F
2) C<B<A และ D<F<E
3) A<B<C และ F<E<D
4) C<B<A และ D<E<F

18. สาเหตุที่ทาให้กราฟแนวโน้มค่า IE1 ของธาตุในคาบ 2 และคาบ 3 เกิดรอยหยักขึ้นในกราฟคือข้อใด


1) การเปลี่ยนระดับพลังงานย่อยระหว่าง s ออร์บิทลั และ p ออร์บิทลั
2) ปรากฎการกาบังของอิเล็กตรอนใน d ออร์บิทลั
3) การครบอิเล็กตรอนของ subshell-s และการครบครึ่ ง subshell-p
4) ไม่มีขอ้ ถูก
46 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

19. กาหนดค่า IE1 – IE5 (eV) ของธาตุสมมติ A, D, M, Q, X และ Z ดังตาราง ถ้าธาตุ


ธาตุ IE1 IE2 IE3 IE4 IE5
ข้างต้นนี้ มีเลขอะตอม 5, 6, 11, 13, 14 และ 19 ข้อใดระบุเลขอะตอมของธาตุได้
A 8.2 16.3 33.5 45.1 166
ถูกต้อง
D 4.3 31.8 45.8 61.0 82.7
เลขอะตอม M 5.1 47.3 71.7 98.9 138.4
ข้อ
5 6 11 13 14 19 Q 11.3 24.4 47.9 64.5 391
1) M D Z X Q A X 6.0 18.8 28.4 120 154
2) A D M Q X Z Z 8.3 25.2 37.9 259 339
3) X A D Z Q M
4) Z Q M X A D

20. P, Q, R, S และ T เป็ นธาตุสมมติ มีเลขอะตอม 7, 14, 15, 16 และ 33 ตามดาลับ ธาตุใดบ้างที่มีสมบัติแตกต่าง
จากธาตุ T
1) Q และ S เท่านั้น 2) P และ R เท่านั้น
3) Q, R และ S เท่านั้น 4) P, Q, R และ S

21. สารประกอบคลอไรด์ 2 ชนิดละลายน้ าได้ สารแรกละลายน้ าได้สารละลายที่เป็ นกลาง ส่ วนสารที่ 2 ได้


สารละลายที่เป็ นกรด สาร 2 ชนิดนี้คือสารในข้อใด
1) MgCI2, AlCl3 2) AlCl3, PCI5
3) BeCl2, MgCl2 4) LiCl, BeCl2

22. ธาตุ X, Y และ Z เป็ นธาตุที่มีจานวนโปรตรอน 6, 12 และ 17 ตามลาดับ ข้อใดแสดงสู ตรของคลอไรด์และ


ออกไซด์ที่ถูกต้องของธาตุท้ งั สาม
1) XO, YCI, ZCI2 2) XCI, YO, ZCI
3) XO2, YO, ZCI 4) XCI2, YCI2, ZO
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 47

23. ธาตุ A B C และ D มีสมบัติต่อไปนี้


สู ตรของ ความเป็ นกรด – เบสของ
ธาตุ สถานะออกไซด์
ออกไซด์ ออกไซด์
A A2O ของแข็ง เบส
B BO ของแข็ง เบส
C CO2 ก๊าซ กรด
D D2O ก๊าซ กรด
การจัดธาตุตามหมู่และคาบต่อไปนี้ ข้อใดเป็ นไปได้
ธาตุ หมู่ คาบ
1) A 2 2
2) B 1 4
3) C 4 3
4) D 7 3

24. ธาตุ A, B, C, D และ E มีเลขอะตอม 3, 8, 9, 15 และ 17 ตามลาดับ ธาตุหรื อไอออนคู่ใดมีขนาดต่างกันมาก


ที่สุด
1) D และ E 2) A+ และ C-
3) A+ และ E- 4) B2- และ B-
25. ถ้าธาตุ X มีเลขอะตอม 8 ผลต่างของพลังงานไอออไนเซชันในข้อใดมีมากที่สุด
1) IE8-IE7 2) IE7-IE6
3) IE6-IE5 4) IE5-IE4
48 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

ชุดที่ 2
1. การจัดเรี ยงอิเล้กตรอนในออร์ บิทลั ของธาตุที่มีเลขอะตอมเท่ากับ 7 ในข้อใดมีเสถียรภาพมากที่สุด
1s 2s 2px 2py 2pz 1s 2s 2px 2py 2pz
1) 2)
3) 4)

2. การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของธาตุ A หมู่ IV คาบที่ 3 และธาตุ E ที่มีเลขอะตอม ตรงกับข้อใดตามลาดับ


A E A E
1) [Ne] 3s2 3p2 [Ar] 4s2 3d4 2) [Ne] 3s2 3p2 [Ar] 4s1 3d5
3) [Ne] 3s2 3p4 [Ar] 4s2 3d4 4) [Ne] 3s2 3p4 [Ar] 4s1 3d5

3. W X Y และ Z ,เลขอะตอม 1, 6 ,13 และ 119 ตามลาดับ สมบัติของสารประกอบข้อใด ไม่น่าเป็ นไปได้


Oxide formula Acidity of oxide Chloride formula Acidity of chloride
1) W2O neutral WCl acidic
2) XO2 acid XCl4 unsoluble
3) Y2O3 amphoteric YCl3 neutral
4) Z2O basic ZCl neutral

4. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับธาตุในคาบเดียวกัน
1) เมื่อขนาดอะตอมเล็กลง ความเป็ นโลหะจะมากขึ้น
2) เมื่อจุดเดือดของโลหะเพิ่มขึ้น ความหนาแน่นของโลหะจะลดลง
3) เมื่อความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น ความเป็ นกรดของออกไซด์จะมากขึ้น
4) เมื่อความว่องไวของโลหะลดลง พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนจากอะตอมในภาวะก๊าซจะลดลง
5. พิจารณาสมบัติต่อไปนี้ของธาตทรานซิ ชนั
ก. เมื่ออยูใ่ นสภาพไอออน จะเป็ นไอออนเชิงซ้อนเท่านั้น
ข. สารประกอบมักมีสีหลากหลาย เนื่องจากไอออนของธาตุทรานซิชนั มีสี
ค. เมื่อเกิดสารประกอบจะมีเลขออกซิ เดชันหลายค่าและเป็ นศูนย์หรื อเป็ นบวกเท่านั้น
ง. เมื่อสร้างพันธะ สามารถสร้างได้ท้ งั พันธะโลหะ พันธะไอออนิก และพันธะโคเวเลนต์
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1) ถูกทุกข้อ 2) ก ข และ ค
3) ข ค และ ง 4) ข และ ค
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 49

6. X และ Y เป็ นธาตุในคาบที่ 3 สามารถทาปฏิกิริยากับน้ าดังสมการ


2X + 2H2O → 2XOH + H2 และ Y + 2H2O → Y(OH)2 + H2
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1) X เป็ นโลหะที่มีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนเป็ น 1S2 2s2 2p6 3s1
2) X มีจุดเดือดต่ากว่า Y เพราะ X มีจานวนเวเลนต์อิเล็กตรอนน้อยกว่า
3) ขนาดไอออนที่เสถียรของ X ใหญ่กว่า Y เพราะไอออนของ X มีโปรตอนน้อยกว่า
4) เมื่อผสมสารละลาย X2SO4 X2CO3 และ YCl2 เข้าด้วยกัน จะเกิดตะกอน 2 ชนิด
7. กาหนดให้ P Q R S และ T เป็ นธาตุสมมติที่มีเลขอะตอมเรี ยงกันแต่ไม่ได้เรี ยงลาดับ และอยูใ่ นคาบ 3-4 มี
สมบัติดงั นี้
P เมื่อเป็ นไอออนมีเลขออกซิเดชันเป็ น +3 ค่าเดียว และมีการจัดอิเล็กตรอนเป็ น 2 8 8
Q มีเลขออกซิ เดชันหลายค่า มีความหนาแน่นสู งกว่า P
R เป็ นโลหะที่มีค่า IE1 สู งกว่า T แต่มีขนาดอะตอมใหญ่กว่า P
S เป็ นธาตุที่เกิดปฏิกิริยากับธาตุอื่นๆได้ยาก
T มีขนาดอะตอมใหญ่ที่สุดในคาบเดียวกัน
ข้อใดเรี ยงลาดับเลขอะตอมจากน้อยไปมากได้ถูกต้อง
1) S T R P Q 2) T R P Q S
3) S Q P R T 4) T Q R P S
8. จากสู ตรสารประกอบต่อไปนี้ [Co(H2O)6]2(SO4)3 และ Zn4(Si2O7)(OH)2∙H2O เลขออกซิเดชันของธาตุที่ขีด
เส้นใต้มีค่าเท่าใดตามลาดับ
1) +3, +4 2) +3, +6
3) +2, +4 4) +2, +6
9. ผลึกแร่ ในธรรมชาติ 2 ชนิด มีสูตร Ca10Mg2Al4(SiO4)n(Si2O7)2(OH)4 และ Ca10Fe2Al4(SiO4)5(Si2O7)2F4
จงหาค่า n และเลขออกซิเดชันของ Fe ตามลาดับ
1) 5, +3 2) 5, +2
3) 10, +3 4) 10, +2
10. สารประกอบเชิงซ้อนข้อใดต่อไปนี้ที่ “ประจุของไอออนเชิงซ้อน” และ “เลขออกซิเดชันของธาตุทรานซิชนั ”
เท่ากับในสารประกอบ [Cr(H2O)4Cl2]NO3
1) [Ni(NH3)6]NO3 2) [Co(NH3)4SO4]Cl
3) Mg[PtCl6] 4) [Co(NH3)(H2O)5]Cl3
50 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

11. ปฏิกิริยาต่อไปนี้ ข้อใดที่ไม่มีการเปลี่ยนสี


ก. [Al(H2O)6]3+ + H2O → [Al(H2O)5OH]2+ + H3O+
ข. Fe2+ + 6H2O → [Fe(H2O)6]2+
ค. 2NaI + Cl2 → 2NaCl + I2
ง. [Cu(H2O)4]2+ + NH3 → [Co(NH3)(H2O)3]2+ + H2O
1) ไม่มีขอ้ ใดเปลี่ยนสี
2) ก เท่านั้น
3) ก และ ค
4) ข ค และ ง
12. พิจารณาสมการนิ วเคลียร์ ต่อไปนี้
ก. + → X
ข. → +Y
ค. + → + + 3Z
ง. → +W
ข้อความใด ไม่ ถูกต้อง
1) X คือธาตุทรานซิ ชนั ที่มีเลขอะตอมน้อยกว่า Fe อยู่ 1 หน่วย
2) Y เป็ นรังสี ที่เกิดจากการสลายตัวของนิวตรอนในนิวเคลียส
3) Z ถูกใช้เป็ นกระสุ นในการยิงนิวเคลียสของ ที่เหลือในระบบเพื่อเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่
4) W เบนเข้าหาขั้วบวกของสนามไฟฟ้ าและมีอานาจทะลุทะลวงมากที่สุด
13. Q เป็ นธาตุกมั มันตรังสี เมื่อนาธาตุน้ ีมา 150 กิโลกรัมทิ้งไว้ให้สลายตัวเป็ นเวลา 2 ปี น้ าหนักจะลดลงร้อยละ
25 ของตอนเริ่ มต้น จงหาเวลาครึ่ งชีวติ ของธาตุน้ ี
1) 1 ปี 2) 2 ปี
3) 5 ปี 4) 10 ปี
14. C-14 เป็ นธาตุกมั มันตรังสี ที่มีครึ่ งชีวติ 5730 ปี ในธรรมชาติจะมีสัดส่ วนของ C-14 ต่อ C-12 เท่ากับ 1 ต่อ 100
วัตถุโบราณชิ้นหนึ่งหนัก 642 กิโลกรัม มี C-12 เป็ นองค์ประกอบ 18.40 กิโลกรัม และตรวจพบ C-14 ใน
ปริ มาณเพียง 115.0 กรัม วัตถุโบราณนี้มีอายุกี่ปี
1) 5730 ปี 2) 11460 ปี
3) 17190 ปี 4) 22920 ปี
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 51

15. ฟอสฟอรัส-32 เป็ ฯธาตุกมั มันตรังสี ที่มีครึ่ งชีวติ 31 วัน โดยสลายตัวให้ ซัลเฟอร์ -32 ถ้านาหิ นก้อนหนึ่งมวล
300.8 กรัม ซึ่งมีฟอสฟอรัส-32 เป็ นอง์ประกอบ 6.4 กรัมตั้งทิง้ ไว้ 62 วัน ผลการทดลองไม่ควรเป็ นตามข้อใด
1) หิ นก้อนนี้มีมวลเหลือ 296.0 กรัม
2) เหลือฟอสฟอรัส-32 ในหิน 1.6 กรัม
3) เกิดซัลเฟอร์ -32 ขึ้นในหิ น 4.8 กรัม
4) หิ นก้อนนี้ทาให้สารเรื องแสงสามารถเรื องแสงได้
16. พิจารณาประโยชน์และการใช้งานของธาตุต่อไปนี้
ธาตุ ก ใช้ทาโครงสร้างเครื่ องบิน ยานอวกาศ ใช้ทากระป๋ องเครื่ องดื่ม
ธาตุ ข นามาผสมกับคาร์ บอนใช้ในการก่อสร้าง ผลิตเครื่ องยนต์ ตัวถังรถ เมื่อเคลือบด้วยธาตุ ง ใช้มุงหลังคา
ธาตุ ค เป็ นสารกึ่งตัวนา และเป็ นธาตุองค์ประกอบในการผลิตแก้ว
ธาตุ ง ใช้ทาถ่านไฟฉาย ใช้ในอุตสาหกรรมยา ออกไซด์ของ ง ใช้เป็ นตัวเร่ งในการผลิตยางรถยนต์
ธาตุ ก ข ค และง ควรเป็ นธาตุใดตามลาดับ
1) Ti Fe Ge Pb 2) Al Cr Si Cu
3) Ti Cr Ge Cu 4) Al Fe Si Zn
17. จงใช้ขอ้ มูลต่อไปนี้ในการตอบคาถาม
ธาตุ J K L และ M เป็ นธาตุในคาบที่ 3 และมีลาดับค่า IE ดังตาราง
ธาตุ IE1 IE2 IE3 IE4 IE5
J 793 1540 3240 4360 16100
K 502 4570 6920 9550 13360
L 584 1820 2750 11580 14840
M 744 1460 7740 10550 13640
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสารประกอบออกไซด์ของธาตุท้ งั สี่ น้ ี
1) ออกไซด์ของ J มีสูตร JO2 มีจุดเดือดต่า
2) ออกไซด์ของ K มีความเป็ นเบสน้อยกว่าออกไซด์ของ M
3) ออกไซด์ของ L ละลายได้ท้ งั ในสารละลายกรดหรื อเบส
4) ออกไซด์ของ M มีหลายสู ตรเช่น MO MO2 M2O3
18. จากข้อมูลข้อ 17 การทาให้ธาตุ J 0.2 โมล กลายเป็ นไอออน J2+ ต้องใช้พลังงานกี่กิโลจูล
1) 2333 2) 466.6
3) 308 4) 154
52 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

19. X Y และ Z เป็ นธาตุในหมู่เดียวกัน แลมีตาแหน่งติดกันในตารางธาตุ สามารถเกิดปฏิกิริยาดังนี้


CCl
ก. X2(aq) + NaY(aq) →4
สี น้ าตาลเหลือง
สี ม่วง
ข. X2(aq) + NaZ(aq) → ไม่เกิดปฏิกิริยา
ข้อใดกล่าถึงสมบัติของธาตุท้ งั ได้ถูกต้อง
1) ลาดับขนาดไอออน Z- > X- > Y-
2) จุดเดือด X2 > Y2 > Z2
3) สารละลาย X2 ใสไม่มีสี
4) เมื่อผสมสารละลาย Z2 กับ NaX จะได้ผลิตภัณฑ์ที่มีสีส้ม

20. A B C และ D เป็ นธาตุสมมติ A และ B เป็ นธาตุในคาบที่ 2 ส่ วน C และ D เป็ นธาตุในคาบที่ 3 โดย D มีเลข
อะตอมมากกว่า C อยู่ 1 หน่วย สู ตรและจุดเดือดของสารประกอบคลอไรด์แสดงในตาราง
สู ตร จุดเดือด (OC) สมบัติของสารละลาย
ACl3 12.5 กรด
Cl2B 59 กรด
CCl2 1412 กลาง
DCl3 183 (ระเหิ ด) กรด
การเรี ยงลาดับค่า IE1 ของธาตุขอ้ ใดถูก
1) B > A > D > C 2) B > A > C > D
3) A > B > C > D 4) D > C > A > B

21. การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของไอออนที่เสถียรของธาตุสมมติ 4 ชนิดเป็ นดังนี้


W+ 2 8 18 X+ 2 8 8 Y 2 8 18 8 Z3- 2 8 18 8
ข้อความใด ไม่ ถูกต้อง
1) ความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาของธาตุ X > W และ Y > Z
2) เมื่อเกิดสารประกอบ X มีเลขออกซิ เดชันค่าเดียว ส่ วน W Y และ Z มีเลขออกซิ เดชันหลายค่า
3) W+ มีขนาดไอออนเล็กที่สุดเพราะมีจานวนโปรตอนมากที่สุดในขณะที่มีระดับพลังงานน้อยที่สุด
4) ธาตุ W Y และ Z เมื่อสร้างพันธะกับธาตุอื่น สามารถสร้างได้ท้ งั พันธะไอออนิกและพันธะโคเวเลนต์
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 53

22. ข้อใดต่อไปนี้อธิ บายสมบัติของธาตุทรานซิ ชนั ในคาบที่ 4 ไม่ ถูกต้อง


1) จุดหลอมเหลวสู งเพราะขนาดอะตอมเล็กทาให้สร้างพันธะโลหะได้แข็งแรง
2) ขนาดอะตอมใกล้เคียงกันเพราะมีเวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากัน ยกเว้น Cr และ Cu
3) เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น ค่า EN และ IE เพิ่มขึ้นเพราะขนาดอะตอมเล็กลง
4) เกิดไอออนเชิงซ้อนได้ดี และเกิดด้วยพันธะโคเวเลนต์

23. พิจารณาสารประกอบคู่ใดที่มีสีแตกต่างกันเพราะเลขออกซิ เดชันที่แตกต่างและชนิดลิแกนด์ที่ต่างกัน


1) K3[Fe(CN)6)] Ca2[Fe(CN)6]
2) Mg[Co(NH3)(SCN)5] [Co(NH3)5Cl]SO4
3) Na2[CoCl4] [Co(NH3)4]Cl2
4) K2[Co(NH3) 2(SCN)4] [Co(NH3)5Cl]SO4

24. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับธาตุกมั มันตรังสี


1) เป็ นธาตุที่มีนิวเคลียสไม่เสถียร จึงแผ่รังสี เพื่อให้นิวเคลียสเสถียร
2) หลังจากแผ่รังสี บีตาแล้ว นิวเคลียสจะมีจานวนอิเล็กตรอนลดลง แต่มีเลขมวลคงเดิม
3) หลังจากการแผ่รังสี แกมมาแล้ว นิวเคลียสจะมีพลังงานต่าลงโดยมีอนุภาคต่างๆคงเดิม
4) หลังจากแผ่รังสี แอลฟาแล้ว นิวเคลียสจะมีจานวนโปรตอนและนิวตรอนลดลงอย่างละ 2 อนุภาค

25. จงหามวลอะตอมของธาตุ A ถ้านาธาตุ A มา 1.2288 kg มีครึ่ งชีวติ 8 วัน เมื่อทิ้งไว้ 40 วัน ปรากฎว่ามีธาตุ A
เหลืออยู่ 0.8 โมล
1) 48 2) 30
3) 24 4) 12
54 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

การบ้ าน
ชุดที่ 1
1. จงบอกชื่อนักวิทยาศาสตร์ ที่เกีย่ วข้ องกับข้ อความในแต่ ละข้ อต่ อไปนี้
(…………) 1. การทดลองหยดน้ ามันในสนามไฟฟ้ า (Oil drops Exp.) ซึ่ งนาไปสู่
การค้นพบประจุของอิเล็กตรอน
(…………) 2. ยิงรังสี แอลฟาซึ่ งมีประจุบวกใส่ แผ่นโลหะบางชนิดหนึ่งเพื่อศึกษา
ทิศทางการเคลื่อนที่ผา่ นแผ่นโลหะ
(…………) 3. ค้นพบอนุภาคมูลฐานที่มีมวลใกล้เคียงกับโปรตอนและไม่เบี่ยงเบน
ในสนามไฟฟ้ า
(…………) 4. ศึกษาลาอนุภาคในหลอดรังสี ที่เบี่ยงเบนเข้าหาขั้วลบของ
สนามไฟฟ้ า
(…………) 5. แบบจาลองอะตอมที่แสดงถึงระดับพลังงานของอิเล็กตรอนรอบๆ
นิวเคลียสซึ่ งใช้อธิ บายการเกิดสเปกตรัมได้

(…………) 6. เป็ นผูก้ ล่าวว่าอิเล็กตรอนที่มีระดับพลังงานค่าหนึ่ง จะอยูใ่ นบริ เวณ


หนึ่งมากกว่าบริ เวณอื่นๆ
(…………) 7. การรวมตัวกันของธาตุสองชนิดขึ้นไปจะมีสัดส่ วนการรวมตัวที่เป็ น
เลขลงตัวน้อยๆ
(…………) 8. ค้นพบว่าอะตอมประกอบด้วยที่วา่ งเกือบทั้งหมด มวลของอะตอม
คือมวลของนิวเคลียส
(…………) 9. อิเล็กตรอนอาศัยอยูใ่ นออร์ บิทอลต่างๆที่มีหลายรู ปร่ าง ไม่ได้มี
เพียงเฉพาะรู ปทรงกลมเท่านั้น
(…………) 10. การทดลองของเขาสามารถประมาณค่าสัดส่ วนของ“รัศมีของ
นิวเคลียส” ต่อ”รัศมีของอะตอมได้”
2. ข้ อใดคือวิวฒ
ั นาการของแบบจาลองอะตอมจากอดีตถึงปัจจุบัน ตามลาดับ
1) ดอลตัน ทอมสัน รัทเธอร์ฟอร์ ด มิลลิแกน กลุ่มหมอก
2) ดอลตัน ทอมสัน รัทเธอร์ ฟอร์ ด โบห์ร กลุ่มหมอก
3) ดอลตัน รัทเธอร์ ฟอร์ ด ทอมสัน มิลลิแกน กลุ่มหมอก
4) ดอลตัน ทอมสัน รัทเธอร์ ฟอร์ ด โบห์ร กลุ่มหมอก
3. ถ้ าธาตุ และ เป็ นไอโซโทนกันแล้ ว ธาตุค่ ูใดต่ อไปนี้ ไม่ เป็ นไอโซโทนกัน
1) ธาตุ และ 2) ธาตุ และ
3) ธาตุ และ 4) ธาตุ และ
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 55

4. ถ้ าธาตุ กับ เป็ นไอโซบาร์ กนั และธาตุ กับ เป็ นไอโซโทปกัน ข้ อใดถูกต้ อง
ตัวเลือก ไอโซบาร์ ไอโซโทป
1) และ และ
2) และ และ
3) และ และ
4) และ และ
5. ไอออนในข้ อใดมีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากันทั้งหมด
1) Na+ K+ Rb+ 2) Ca2+ K+ Cl-
3) S2- F - Al3+ 4) Li+ Be2+ Al3+
6. ดึงโปรตอนและนิวตรอนอย่างละ 2 อนุภาคออกจาก จะได้ ธาตุตามข้ อใด
1) 2)
3) 4)
7. ธาตุ X มีเลขมวลเท่ากับ 39 มีเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนเท่ากับ 1 ในระดับพลังงานที่ 4 จงหาว่า X+ ไอออน มีจานวน
นิวตรอนเท่าได
1) 19 2) 20
3) 39 4) 40
8. คลอรีนมีมวลอะตอม 35.5 และมีเลขอะตอม 17 แสดงว่าคลอรีนในธรรมชาติจะต้ องมีส่วนประกอบดังนี้
โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน
1) 18 17 18
2) 18 17 หรื อ 19 17
3) 17 18 หรื อ 20 17
4) 17 18 17
9. ธาตุ A มีมวลเป็ นสามเท่ าของของธาตุหมู่ 1 คาบ 3 และมีเลขอะตอมเป็ นหกเท่ าของธาตุหมู่ 3 คาบ 2 จงเขียน
สั ญลักษณ์ นิวเคลียร์ ของธาตุ A

10. ถ้ า M3+ มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากับ 36 และมีเลขมวลเท่ากับ 88 จงหาจานวนนิวตรอนของธาตุ M


56 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

11. ข้ อใดกล่ าวถูกต้ อง


1) ธาตุที่มีจานวนโปรตอนเท่ากันจะเป็ นธาตุเดียวกันเสมอ
2) จานวนนิวตรอน = (เลขอะตอม – มวลอะตอม)
3) อะตอมที่มีเลขมวลเท่ากันจะมีจานวนนิวตรอนเท่ากันด้วย
4) ธาตุใดๆ จะมีจานวนนิ วตรอนไม่นอ้ ยกว่าจานวนโปรตอน
12. สเปกตรัมของธาตุต่างๆเกิดจากข้ อใด
1) การที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่กลับไปสู่ ระดับพลังงานต่ากว่า
2) การที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่กลับไปสู่ สภาวะพื้น
3) การที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปยังระดับพลังงานที่สูงกว่า
4) การที่อิเล็กตรอนหลุดจากอะตอมในภาวะก๊าซ
13. จงคานวณความยาวคลืน่ แสงทีม่ ีความถี่ 8 x1014 รอบต่ อวินาที
1) 125 nm 2) 240 nm
3) 375 nm 4) 800 nm
14. ค่ าพลังงานไอออไนเซชั นของธาตุ X มีดังนี้ IE1 = 0.72 IE2 = 0.84 และ IE3 = 6.53 MJ/mol ถ้ าต้ องการให้
เกิดไอออน X2+ ต้ องใช้ พลังงานกี่ MJ/mol
1) 0.84 2) 1.56
3) 7.37 4) 8.09
15. ข้ อใดมีความสอดคล้องกับตารางต่ อไปนี้
นักวิทยาศาสตร์ การทดลอง การค้นพบ
มิลลิแกน Oil drop exp. X
แชดวิก ยิง 𝛂 ใส่ แผ่นเบอริ ลเลียม Y
1) X = หาค่าประจุของอิเล็กตรอนได้ Y = พบอนุภาคที่ไม่มีประจุไฟฟ้ าในอะตอม
2) X = หาค่าประจุของอิเล็กตรอนได้ Y = พบนิวตรอนและโปรตอนในนิวเคลียส
3) X =หาค่าประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนได้ Y = พบอนุภาคที่ไม่มีประจุไฟฟ้ าในอะตอม
4) X = หาค่าประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนได้ Y = พบนิวตรอนและโปรตอนในนิวเคลียส
16. การทดลองใดกล่ าวถูกต้ องเกี่ยวกับอะตอม
1) การทดลองหลอดรังสี แคโทดทาให้ทราบค่ามวลของอิเล็กตรอน
2) การทดลองหยดน้ ามันทาให้ทราบประจุต่อมวลของอิเล็กตรอน
3) การทดลองแผ่นทองคาทาให้คน้ พบโปรตอนที่มีประจุบวก
4) การทดลองยิงแผ่นเบอริ ลเลียมด้วยแอลฟาค้นพบนิวตรอน
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 57

17. ข้ อใดกล่ าว ไม่ ถูกต้ องเกีย่ วกับแบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก


1) กลุ่มหมอกคืออิเล็กตรอนที่อยูร่ อบนิวเคลียส
2) มีระดับพลังงานย่อยในระดับพลังงานหลัก
3) มีออร์ บิทลั อยูใ่ นระดับพลังงานย่อย
4) ในระดับพลังงาน n จะมีจานวนระดับพลังงานย่อยเท่ากับ n

18. ถ้ าอะตอมของอาร์ ซีนิกได้ รับ 3 อิเล็กตรอนเพิม่ ขึน้ จะได้ อนุภาคทีม่ ีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเหมือนกับอะไร


1) อาร์กอน 2) โบรมีน
3) คริ ปทอน 4) แอนติโมนี

19. ธาตุชนิดหนึ่งมีมวล 137 มีจานวนนิวตรอนเท่ากับ 81


จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนในออร์ บิทลั สุ ดท้ ายอย่างไร

20. ไอออนในข้ อใดมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเหมือน Ne และ Ar ตามลาดับ


1) K+, Mg2+ 2) Al3+, O2-
3) Ca2+, P3- 4) N3-, S2-

21. ธาตุ Cr มีเลขอะตอม 24 ถ้ าเกิดเป็ น Cr3+ จะมีการบรรจุอเิ ล็กตรอนตัวสุ ดท้ ายในออร์ บิทอลอย่ างไร
1) 3d3 2) 3d4
3) 3d5 4) 4s1

22. แบบจาลองอะตอมกลุ่มหมอกอธิบายสิ่ งใดได้ ดีกว่ าแบบจาลองอะตอมของโบห์ ร


1) การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนในอะตอม
2) เส้นสเปกตรัมของธาตุ
3) พลังงานไอออไนเซชัน
4) การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน
23. จากข้ อเสนอเกีย่ วกับระดับพลังงานของอิเล็กตรอนและแบบจาลองอะตอมกลุ่มหมอกทาให้ ข้อสรุ ปใดเป็ นไป
ได้ มากทีส่ ุ ด
1) สามารถระบุขอบเขตของอะตอมได้จากบริ เวณที่กลุ่มหมอกหนาทึบที่สุด
2) อิเล็กตรอนของระดับพลังงานใดก็จะคงอยูร่ ะดับพลังงานนั้นตลอด
3) โอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนทั้งหมดในบริ เวณที่มีหมอกทึบมาก
4) โอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนที่มีระดับพลังงานใกล้เคียงกันในบริ เวณหนึ่งมากกว่าบริ เวณอื่น
58 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

24. เมื่อเผาสารประกอบของโลหะ สี ของเปลวไฟหรือสเปกตรัมทีเ่ กิดขึน้ เกิดจากการเปลีย่ นแปลงพลังงานตาม


ข้ อใด
1) รับพลังงานเพื่อย้ายอิเล็กตรอนไปสู่ ระดับพลังงานที่สูงกว่า
2) ปล่อยพลังงานย้ายอิเล็กตรอนไปสู่ ระดับพลังงานที่ต่ากว่า
3) ปล่อยพลังงานเพื่อสร้างพันธะใหม่กบั ออกซิ เจน
4) รับพลังงานเพื่อสลายพันธะในการเผาไหม้สาร

25. พลังงานในข้ อใดคือพลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 3 ของธาตุ A


1) A(s) + พลังงาน → A3+(g) + 3e-
2) A2+(s) + พลังงาน → A3+(g) + e-
3) A(g) + พลังงาน → A3+(g) + 3e-
4) A2+(g) + พลังงาน → A3+(g) + e
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 59

ชุดที่ 2
1. จงระบุว่าข้ อความต่ อไปนีถ้ ูก (T) หรือผิด (F) ถ้ าผิด จงแก้ ไขให้ ถูกต้ องด้ วย
____ 1) อะตอมที่เป็ นกลางจะมีจานวนอนุภาคมูลฐานเท่ากัน
____ 2) รังสี แคโทด และอนุภาคบวกมาจากแหล่งกาเนิดเดียวกันในหลอดรังสี แคโทด
____ 3) พลังงานแสงจะแปรผันตรงกับความถี่ และแปรผกผันกับควมยาวคลื่นของแสงนั้น
____ 4) ภายในหลอดรังสี ตอ้ งมีความดันต่าเพื่อให้ก๊าซภายในหลอดนาไฟฟ้ าได้
____ 5) นักวิทยาศาสตร์คน้ พบอนุภาคบวกภายในอะตอมจากการทดลองโดยใช้
หลอดรังสี แคโทดแอโนด
____ 6) การทดลองหยดน้ ามันเพื่อหาประจุของ e- อาศัยสมดุลระหว่างแรงไฟฟ้ าและแรงแม่เหล็กที่กระทาต่อ
หยดน้ ามัน
____ 7) ทฤษฎีอะตอมของดอลตันไม่ได้กล่าวถึงอนุภาคมูลฐานภายในอะตอม
____ 8) เปลวไฟที่เกิดจากการเผาธาตุต่างๆจะมีสีแตกต่างกันเนื่องจากความ
แตกต่างของนิวเคลียสของอะตอม
____ 9) การทดลองยิงอนุภาคแอลฟาผ่านแผ่นทองคาบาง พิสูจน์ได้วา่ อะตอมประกอบอิเล็กตรอน
____ 10) สเปกตรัมเกิดจากการเคลื่อนที่ของ e- จากระดับพลังงานสู งสู่ ระดับ
พลังงานต่า และเป็ นสมบัติเฉพาะตัวของธาตุ
____ 11) ธาตุต่างชนิ ดกันอาจมีเส้นสเปกตรัมบางเส้นซ้ ากันได้
____ 12) อะตอมที่มีระดับพลังงาน 4 ระดับ จะให้สเปกตรัมได้ 4 เส้น
2. ข้ อใดมีความสอดคล้องกับตารางต่ อไปนี้
นักวิทยาศาสตร์ การทดลอง การค้นพบ
ทอมสัน หลอดรังสี แคโทด A
รัทเทอร์ฟอร์ ด Gold foil scattering exp. B
1) A = พบอนุภาคบวกในอะตอม B = หาค่าประจุบวกของโปรตอนได้
2) A = พบอนุภาคบวกในอะตอม B = หาสัดส่ วนที่วา่ งของอะตอมได้
3) A = หาค่าประจุต่อมวลของอิเล็กตรอน B = หาค่าประจุบวกของโปรตอนได้
4) A = หาค่าประจุต่อมวลของอิเล็กตรอน B = หาสัดส่ วนที่วา่ งของอะตอมได้

3. ข้ อความต่ อไปนี้ ข้ อใดถูกต้ อง


1) อะตอมของธาตุชนิ ดเดียวกัน ย่อมมีมวลเท่ากัน
2) นิวตรอนเป็ นอนุภาคที่เป็ นกลางทางไฟฟ้ า คือมีประจุเป็ นศูนย์
3) มวลของอะตอมส่ วนใหญ่ คือ มวลของโปรตอน
4) ธาตุ 14A กับ 14B เป็ นไอโซโทป
60 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

4. ถ้ าท่ าสามารถดึงเอาอิเล็กตรอนจากธาตุ Sb ออกมาได้ 4 ตัว และดึงโปรตอนออกมาได้ 3 ตัว ผลทีเ่ กิดขึน้ คือ


ข้ อใด
1) Sb+ 2) Sb2+
3) Cd+ 4) Cd2+
5. ธาตุ 126C และ 2412Mg สองอะตอมนีม้ ีอะไรทีเ่ หมือนกัน
1) จานวนโปรตอน
2) จานวนนิวตรอน
3) จานวนโปรตอนเท่ากับจานวนนิวตรอน
4) จานวนโปรตอนรวมกับนิวตรอน
6. ไอโซโทปหนึ่งของออกซิเจนคือ ออกซิเจน -18 ไอโซโทปนีใ้ นรู ปของออกไซด์ ไอออนจะมีจานวนอิเล็กตรอน
และนิวตรอนเท่าใดตามลาดับ
1) 8, 8 2) 8, 10
3) 10, 10 4) 10, 18
7. ไอโซโทปหนึ่งของอโลหะทีม่ ีเลขมวล 65 และมี 35 นิวตรอนภายในนิวเคลียส ไอออนบวกทีไ่ ด้ จากไอโซโทปนี้
มี 28 อิเล็กตรอน จงเขียนสั ญลักษณ์ของไอออนบวกนี้

8. ไอโซโทปหนึ่งของอโลหะทีม่ ีเลขมวล 127 และมี 74 นิวตรอนภายในนิวเคลียส ไอออนลบทีไ่ ด้ จากไอโซโทปนี้


มี 54 อิเล็กตรอน จงเขียนสั ญลักษณ์ของไอออนลบนี้

9. สั ญลักษณ์ ใดต่ อไปนีใ้ ห้ ข้อมูลมากทีส่ ุ ด 23Na กับ 11Na จงอธิบาย

10. ธาตุ Ga ในธรรมชาติมีเลขอะตอม 31 และมีเลขมวล 69.7 ประกอบด้ วยไอโซโทปทีม่ ีเลขมวลเป็ น 69 และ 71


ตามลาดับ ข้ อใดกล่าวผิด
1) ในธรรมชาติมี 69Ga มากกว่า 71Ga
2) ในอะตอมของ 69Ga และ 71Ga มีนิวตรอนอยู่ 38 และ 40 ตามลาดับ
3) 71Ga เป็ นไอโซโทปกัมมันตรังสี
4) ไอโซโทปทั้งสองชนิดมีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนเป็ น 2, 8, 18, 3
11. คาร์ บอนมีไอโซโทป 2 ชนิด คือ 12C มีในธรรมชาติ 98.89% และ 13C มี 1.11% มวลอะตอม C มีค่าเท่าใด
1) 11.998 2) 12.001
3) 12.011 4) 12.103
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 61

12. ธาตุ X ประกอบด้ วยไอโซโทป 2 ชนิดทีม่ ีมวลอะตอม 14.00 และ 15.00 ตามลาดับ หากมวลอะตอมเฉลีย่ ของ
ธาตุ X เท่ากับ 14.10 ปริมาณของไอโซโทปทีม่ ีมวลอะตอม 15 เท่ากับข้ อใด
1) 5% 2) 10%
3) 15% 4) 20%
13. ข้ อความใดกล่ าวถูกต้ อง
ก. การหาประจุของอิเล็กตรอน อาศัยสมดุลระหว่ างแรงไฟฟ้าและแรงแม่ เหล็กบนหยดนา้ มัน
ข. ทฤษฎีอะตอมของดอลตันไม่ ได้ กล่ าวถึงอนุภาคมูลฐานภายในอะตอมเลย
ค. เปลวไฟจากการเผาธาตุต่างๆจะมีสีต่างกันเนื่องจากความแตกต่ างของนิวเคลียสของอะตอม
ง. การทดลองยิงอนุภาคแอลฟาผ่ านแผ่ นทองคาบาง พิสูจน์ ได้ ว่าอะตอมประกอบอิเล็กตรอน
1) ก และ ข 2) ก และ ค
3) ข เท่านั้น 4) ง เท่านั้น
14. ข้ อใดกล่ าวเรียงลาดับเกีย่ วกับการเกิดสเปกตรัมได้ ถูกต้ อง
ก. อิเล็กตรอนเคลือ่ นตัวสู่ สภาวะพืน้ และคายพลังงานแสงออกมา
ข. อะตอมถูกกระตุ้นด้ วยพลังงานจากเปลวไฟ หรือศักย์ ไฟฟ้า
ค. อิเล็กตรอนเคลือ่ นตัวไปอยู่ในระดับพลังงานที่ห่างออกไปจากนิวเคลียส
ง. พลังงานบางส่ วนถูกอิเล็กตรอนดูดกลืน
1) ก ข ค ง 2) ข ค ก ง
3) ค ข ง ก 4) ข ง ค ก
15. ความยาวคลืน่ ของสเปกตรัม 4 เส้ น ดังนี้ A = 404 nm B = 450 nm C = 455 nm D = 608 nm
เส้ นสเปกตรัมใดทีอ่ เิ ล็กตรอนมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานน้ อยทีส่ ุ ด
1) A เท่านั้น 2) B และ C
3) C เท่านั้น 4) D เท่านั้น
กาหนดข้ อมูลต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ 16-17 เส้นสเปกตรัมจากการเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอน
A เกิดจาก n3 → n2 , B เกิดจาก n2 → n1 , C เกิดจาก n3 → n1
16. จงเรียงลาดับพลังงานของแสงสเปกตรัมทีเ่ กิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานดังกล่าว
1) A < B < C 2) C < B < A
3) B < C < A 4) A < C < B
17. จงเรียงลาดับความยาวคลืน่ ของแสงสเปกตรัมที่เกิดจากการเปลีย่ นระดับพลังงานดังกล่ าว
1) A < B < C 2) C < B < A
3) B < C < A 4) A < C < B
62 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

18. เส้ นสเปกตรัมต่ อไปนีเ้ กิดจากการเปลีย่ นระดับพลังงานของอิเล็กตรอน คือ


P เกิดจาก n4 → n3 , Q เกิดจาก n3 → n2 , R เกิดจาก n2 → n1
สี ของเส้ นสเปกตรัมในข้ อใดทีไ่ ม่ น่าเป็ นไปได้
ตัวเลือก P Q R
1) IR เหลือง เขียว
2) ส้ม เขียว น้ าเงิน
3) ส้ม คราม เหลือง
4) เหลือง ม่วง UV

19. ถ้ าเส้ นสเปกตรัมสี เขียวอ่อนเกิดจากการเปลีย่ นระดับพลังงานจาก


n4 → n2 แล้วเมื่ออิเล็กตรอนเปลีย่ นระดับพลังงานจาก n4 → n1 จะ ไม่ มี โอกาสเห็นเส้ นสเปกตรัมสี ใด
1) เหลือง 2) น้ าเงิน
3) เขียวแก่ 4) ม่วง
20. ถ้ าแผนผังการเปลีย่ นระดับพลังงานของอิเล็กตรอนของธาตุหนึ่ง เป็ นดังแสดง
และถ้ าเส้ นสเปกตรัมสี แดงเกิดจาก III เส้ นสี ม่วงมีโอกาสเกิดจากข้ อใด
1) I 2) II
3) III หรื อ IV 4) IV หรื อ V

I II III IV V
21. แสงทีม่ ีความยาวคลื่น 670 นาโนเมตร มีพลังงานต่ างจากแสงทีท่ คี วามยาวคลืน่ 520 นาโนเมตรเท่าใด
1) 9.9 x10-19 2) 9.9 x10-20
3) 8.6 x10-19 4) 8.6 x10-20

22. จากแผนผังการเปลีย่ นแปลงระดับพลังงานของอิเล็กตรอนของธาตุหนึ่ง ข้ อใดกล่ าวถูกต้ อง


1) ถ้าอิเล็กตรอนที่สภาวะพื้นได้รับพลังงาน 4.8 x10-19 J จะขึ้นไปอยูท่ ี่ n=6
n=5
ระดับพลังงาน n=6
2) อิเล็กตรอนที่ระดับพลังงาน n=4 คายพลังงานออกมา 9 x10-20 J เพื่อ n=4
มาอยูท่ ี่ระดับ n=3
3) อิเล็กตรอนดูดกลืนคลื่นแสงสี เขียวเพื่อให้เคลื่อนที่ข้ ึนไปได้ 2 ระดับ n=3
4.8x10-19 J

3.9x10-19 J
4.4x10-19 J

3.0x10-19 J

พลังงาน
4) อิเล็กตรอนจะคายคลื่นแสงสี เหลือง เมื่อเคลื่อนจาก n=6 มายัง n=4 n=2
ม่วง ฟ้ า เขียว แดง
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 63

23. ข้ อความใดต่ อไปนีท้ ไี่ ม่ ถูกต้ อง


1) ธาตุแต่ละธาตุมีเส้นสเปกตรัมเป็ นลักษณะเฉพาะตัวไม่ซ้ ากัน
2) สมบัติของแต่ละธาตุมีความสัมพันธ์กบั การจัดเรี ยงอิเล็กตรอน
3) การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนมีทิศทางแน่นอน
4) เมื่อเผาสารประกอบ สี ของเปลวไปและสเปกตรัมเกิดจากส่ วนที่เป็ นไอออนของโลหะ

24. กาหนดปฏิกริ ิยาต่ อไปนี้


Mg(s) → Mg(g) ดูดพลังงาน 136 kJ/mol
Mg(g) → Mg+(g) + e- ดูดพลังงาน 738 kJ/mol
Mg(g) → Mg2+ (aq) + 2e- ดูดพลังงาน 368 kJ/mol
Mg2+(g) → Mg2+(aq) คายพลังงาน 1820 kJ/mol
ผลรวมค่ าพลังงานไออไนเซชันลาดับที่ 2 ของแมกนีเซียมเป็ นเท่าใดใน
หน่ วย kJ/mol
1) 738 2) 1082
3) 1450 4) 2188

25. เมื่อใช้ พลังงานทาให้ อเิ ล็กตรอนตัวนอกสุ ดหลุดออกจากอะตอม กลายเป็ นไอออนทีม่ ีประจุบวก อิเล็กตอรนที่
เหลือในไอออนนีจ้ ะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรเมื่อเทียบกับอะตอมปกติ
1) อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เข้าใกล้นิวเคลียสมากขึ้น
2) อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่อยูไ่ กลจากนิวเคลียส
3) อิเล็กตรอนจะยังคงอยูใ่ นวงโคจรตาแหน่งเดิม
4) อิเล็กตรอนจะยังคงอยูใ่ นตาแหน่งเดิมหรื อเข้าใกล้นิวเคลียสมากขึ้นก็ได้
64 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

ชุ ดที่ 3
1. จงระบุว่าข้ อความต่ อไปนีถ้ ูกหรือผิด ถ้ าผิด จงแก้ ไขให้ ถูกต้ องด้ วย
____ 1) ดอลดันเสนอว่า สารประกอบเกิดจากการรวมตัวของธาตุต้ งั แต่สองชนิดขึ้นไปและมีอตั ราส่ วนการ
รวมตัวเป็ นเลขลงตัวอย่างง่าย
____ 2) ทอมสันได้ทาการทดลองใช้หลอดรังสี แคโทดแอโนดหาค่าหาค่าประจุ
ต่อมวลของอนุ ภาคมีค่าเท่ากับ 1.7x108 C/g
____ 3) โกลด์ชไตน์เป็ นผูท้ าการทดลองพบอนุ ภาคบวกที่เรี ยกว่าโปรตอนและ
มีประจุต่อมวลคงที่
____ 4) มิลลิแกนได้ทดลองหาค่าประจุของอิเล็กตรอนได้ 1.6x10-19 C
____ 5) รัทเทอร์ ฟอร์ ดได้ทดลองพบว่าอะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสที่มี
โปรตอนและนิวตรอนอยูต่ รงกลาง ส่ วนอิเล็กตรอนมีมวลน้อยวิง่ วนอยู่
รอบนิวเคลียส
____ 6) แบบจาลองอะตอมของดอลตันเสนอว่าสารประกอบด้วยอนุภาคขนาด
เล็กเรี ยกว่าอะตอม ไม่มีการกล่าวถึงโปรตอนอิเล็กตรอน
____ 7) แบบจาลองอะตอมของโบร์ เสนอว่าอิเล็กตรอนที่อยูร่ อบนิวเคลียส
โคจรเป็ นวงเหมือนดาวเคราะห์ในระบบสุ ริยะจักรวาล
____ 8) แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ ดเสนอมวลของอะตอมเกือบ
ทั้งหมดมาจากโปรตอน
____ 9) แบบจาลองอะตอมของทอมสันเสนอว่าอะตอมประกอบด้วยโปรตอน
และอิเล็กตรอนกระจายอยูท่ วั่ ทั้งอะตอม อิเล็กตรอนและโปรตอนมี
อัตราส่ วนประจุต่อมวลเป็ นค่าคงที่
____ 10) ช่วงแสงที่มองเห็น แสงสี ม่วงความยาวคลื่นสั้นที่สุดและมีพลังงานต่า
____ 11) ระดับพลังงานที่อยูใ่ กล้นิวเคลียสจะชิดกันมากกว่าระดับพลังงานสู งๆ
ที่ห่างออกไป
____ 12) ค่า IE ลาดับที่ 1 ไม่วา่ จะเป็ นธาตุใดจะมีค่าต่าที่สุดเมื่อเทียบกับค่า IE
ลาดับอื่นๆของธาตุเดียวกัน
2. ทฤษฎีอะตอมของดอลตันในข้ อใดทีย่ งั คงใช้ ได้ ในปัจจุบัน
ก. สสารประกอบด้ วยอนุภาคขนาดเล็ก คือ อะตอม
ข. อะตอมแบ่ งแยกไม่ ได้ สร้ างขึน้ หรือ สู ญหายไม่ ได้
ค. อะตอมของธาตุเดียวกันมีสมบัติเหมือนกันแต่ จะแตกต่ างจากธาตุอนื่
ง. สารประกอบเกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุในอัตราส่ วนอย่ างง่ าย
1) ก และ ข 2) ก ข และ ค
3) ก และ ง 4) ก ข ค และ ง
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 65

3. ในการทดลองของทอมสั นเกี่ยวกับหลอดรั งสี แคโทด ได้ ค่าประจุต่อมวลของอนุภาค 1.7 x108 C/g เมื่อบรรจุ
ก๊ าซออกซิเจนในหลอดรังสี แคโทด จะได้ ค่าประจุต่อมวลกี่ C/g
1) 1.7 x108 2) 8 x1.7 x108
3) 16 x1.7 x108 4) ไม่มีขอ้ ถูก
4. ถ้ าเลือ่ นอุปกรณ์ สร้ างสนามไฟฟ้าไปไว้ ยงั ตาแหน่ งต่ างๆ จะเป็ นอย่ างไร

1) ที่ตาแหน่งที่ 1 รังสี จะเบนขึ้นด้านบน


2) ที่ตาแหน่งที่ 2 รังสี จะคงที่เพราะหักล้างกันพอดี
3) ที่ตาแหน่งที่ 2 จะมีท้ งั รังสี ที่เบนขึ้นและเบนลง
4) ที่ตาแหน่งที่ 3 รังสี จะเบนลงด้านล่าง
5. จากรู ปข้ อทีแ่ ล้ ว ถ้ าใช้ ก๊าซไฮโดรเจนและดิวทีเรี ยม ทาการทดลองเปรี ยบเทียบกัน โดยเลื่อนสนามไฟฟ้าไปที่
ตาแหน่ งต่ างๆเช่ นเดิม ทีต่ าแหน่ งใดจะให้ ผลไม่ แตกต่ างกัน
1) ตาแหน่ง 1 2) ตาแหน่ง 2
3) ตาแหน่ง 1 และ 2 4) ตาแหน่ง 3
4. ถ้ าโปรตอนและอิเล็กตรอนมีมวลเท่ ากับ 1.7x10-27 และ 9.1x10-31 kg ตามลาดับ อัตราส่ วน e/m ของ
อิเล็กตรอนจะเป็ นกีเ่ ท่ าของอนุภาคแอลฟา
1) ประมาณ 1800 เท่า 2) ประมาณ 3700 เท่า
3) ประมาณ 900 เท่า 4) ประมาณ 4 เท่า
5. สมมติว่าท่ านมีปืนทีม่ ีกระสุ นเป็ นอิเล็กตรอน และยิงไปที่เป้า ปรากฎว่ ากระสุ นมีวิถีเบนบ่ ายออกจากเส้ นทาง
เดิมแสดงว่า
1) กระสุ นวิง่ ไปกระทบผิวอะตอม
2) กระสุ นวิง่ ไปกระทบนิวเคลียส
3) กระสุ นวิง่ ผ่านไปในอากาศซึ่ งเป็ นที่วา่ ง
4) กระสุ นวิง่ ผ่านไปในที่วา่ งระหว่างนิวเคลียสกับอิเล็กตรอน
66 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

6. ในการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่ นทองคา พบว่ าในจานวน 108 อนุภาคอนุภาคที่ยิงไป มีเพียง 1 อนุภาค


เท่ านั้นที่สะท้ อนกลับ ถ้ าอัตราส่ วนจานวนอนุภาคที่สะท้ อนกลับ ต่ อ จานวนอนุภาคที่ยิงทั้งหมด มีค่าเท่ ากับ
อัตราส่ วนระหว่ างพื้นที่หน้ า ตัดของนิวเคลียส ต่ อ พื้นที่หน้ าตัดของอะตอมทองคา ถ้ าทองคา 1 อะตอมมี
ปริมาตร 10-30 m3 นิวเคลียสของอะตอมทองคาควรมีรัศมีเท่ าไร
1) 10-2 m 2) 10-8 m
3) 10-10 m 4) 10-14 m
7. จงพิจารณาข้ อความต่ อไปนี้ แล้วตอบคาถามต่ อไปนี้
1. แบบจาลองอะตอมเป็ นข้ อสั นนิษฐานทีน่ ักวิทยาศาสตร์ สร้ างขึน้ โดย
อาศัยข้ อมูลจากการทดลอง
2. ในการทดลองของทอมสั นเกี่ยวกับการนาไฟฟ้ าของก๊าซนั้น ก๊ าซทีบ่ รรจุในหลอดรังสี ต้องมีความดันสู ง
3. ความแตกต่ างระหว่างแบบจาลองของทอมสั นกับรัทเทอร์ ฟอร์ ด ก็คือประจุไฟฟ้าของอนุภาคในอะตอม
ข้ อใดบ้ างที่ ไม่ ถูกต้ อง
1) ข้อ 1, 3 2) ข้อ 2, 3
3) ข้อ 2 4) ข้อ 3
8. ข้ อความใดถูกต้ องทีส่ ุ ด
1) ทอมสันพิสูจน์ได้วา่ อะตอมไม่ใช่สิ่งที่เล็กที่สุด โดยทาการทดลองเกี่ยวกับการนาไฟฟ้ าของโลหะต่างๆ
ในหลอดรังสี แคโทด
2) ค่าประจุต่อมวลของอนุภาคที่ทอมสันค้นพบ จะมีค่าไม่คงที่เมื่อเปลี่ยนชนิ ดของก๊าซที่บรรจุในหลอด
รังสี แคโทด
3) โกลด์ชไตน์พบอนุภาคอีกชนิ ดหนึ่งที่มีประจุตรงข้ามกับอนุภาคที่ทอมสันพบ และค่าประจุต่อมวลไม่
คงที่เปลี่ยนชนิดของก๊าซในหลอดรังสี แคโทด
4) มิลลิแกนทาการทดลองเกี่ยวกับหยดน้ ามันในสนามไฟฟ้ าเพื่อหาค่า มวลของอนุภาคที่ทอมสันค้นพบ
9. ในการทดลองยิงแผ่ นทองคาบางด้ วยอนุภาคแอลฟา ตามสมมติฐานของรัทเธอร์ ฟอร์ ด ถ้ าแบบจาลองอะตอม
ของทอมสั นเป็ นจริง ผลการทดลองควรจะเป็ นอย่างไรเมื่อเทียบกับผลการทดลองของรัทเธอร์ ฟอร์ ด
1) ได้ผลการทดลองเช่นเดียวกัน 2) อนุภาคจะสะท้อนกลับมากกว่า
3) อนุภาคส่ วนใหญ่ถูกดูดหายไปในแผ่นทองคา
4) อนุภาคทั้งหมดจะทะลุตรงผ่านแผ่นทองคาไป
10. ในการทดลองของยิงแผ่ นทองคาบางด้ วยอนุภาคแอลฟา ข้ อใดกล่ าวถูกต้ องเมื่อมีการเปลีย่ นแปลงการทดลอง
บางอย่าง
1) ถ้าเปลี่ยนเป็ นการยิงด้วยอนุภาคโปรตอน จานวนอนุภาคจะมีการสะท้อนกลับหรื อเบี่ยงเบนจะมากขึ้น
2) ถ้าเปลี่ยนการยิงด้วยอิเล็กตรอนอนุภาคส่ วนใหญ่จะเบี่ยงเบนออกจากแนวเดิม
3) ถ้าแผ่นทองคาหนาขึ้นจานวนอนุภาคจะสะท้อนหรื อเบี่ยงเบนจะน้อยลง
4) ถ้าใช้แผ่นอลูมิเนียมบางๆแทนแผ่นทองคา อนุภาคจะสะท้อนกลับน้อยลง
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 67

11. ผลการทดลองข้ อใด ทาให้ รัทเธอร์ ฟอร์ ดสั นนิษฐานว่ าในนิวเคลียสมีอนุภาคอีกชนิดหนึ่งนอกจากโปรตอน


ก. อนุภาคบวกของนีออนภายในหลอดรั งสี แคโทดมีมวล 2 ค่ า คือ 20 และ 22หน่ วย
ข. มวลอะตอมของธาตุส่วนใหญ่ มีค่าเป็ น 2 เท่าหรือมากกว่ามวลของโปรตอนทั้งหมดรวมกัน
ค. เมื่อยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่ นทองคาบางๆพบว่ าอนุภาคส่ วนใหญ่ วงิ่ เป็ นเส้ นตรงทะลุแผ่ นทองคาไป
1) ก เท่านั้น 2) ข เท่านั้น
3) ก และ ข 4) ข และ ค
12. จงเลือกข้ อความทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ด
1) นิวเคลียสของ 17Cl- มีประจุลบ
2) 11Na+ มีจานวนอิเล็กตรอนมากกว่า 8O2- สามอิเล็กตรอน
3) มีจานวนอิเล็กตรอนมากกว่า หนึ่งอิเล็กตรอน
4) กับ มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากัน

13. จงพิจารณาข้ อมูลต่ อไปนีข้ ้ อใดถูกต้ อง


ก. ถ้ าให้ โปรตอน 2 โปรตอน และอิเล็กตรอน 4 อิเล็กตรอนหลุดออกจาก จะเกิดเป็ น
ข. 19K+ มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากับ 16S 2-
ค. มีจานวนอิเล็กตรอนน้ อยกว่ า อยู่ 2
ง. มีจานวนนิวตรอนเท่ากับ
1) 1 และ 2 2) 2 เท่านั้น
3) 2 และ 3 4) 2, 3 และ 4

14. จงพิจารณาข้ อมูลต่ อไปนี้


ก. ธาตุ X มีอเิ ล็กตรอนเท่ากับ 21 และมีเลขมวลเป็ น 45 จะมีอเิ ล็กตรอนเท่ากับจานวนอิเล็กตรอนของ 24Cr3+
2- -
ข. มีจานวนนิวตรอนเท่ากับจานวนนิวตรอนใน
ค. ไอโซโทปของ 17Cl ชนิดหนึ่งมีมวลเท่ากับ 37 จะมีจานวนโปรตอนเท่ ากับธาตุทมี่ ีเลขอะตอม 17
ง. 20Ca2+ มีจานวนอิเล็กตรอนน้ อยกว่า 19K+
ข้ อใดถูกต้ อง
1) ก และ ข 2) ข และ ง
3) ก และ ค 4) ค และ ง

15. ไอออนคู่ใดมีจานวนอิเล็กตรอนเท่ ากัน


- + 2+ 3+
ก. กับ ข. กับ
2- 3- - 2+
ค. กับ ง. กับ
1) ก และ ข 2) ค และ ง
3) ก ข และ ค 4) ก ข ค และ ง
68 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

16. ไอออนคู่ใดมีจานวนเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนรวมไม่ เท่ ากัน


1) CO32- กับ NO3- 2) NO3- กับ SO32-
3) SO32- กับ ClO3- 4) ClO3- กับ PO33-
17. การทีค่ ลอรีนมีมวลอะตอม 35.453 แทนทีจ่ ะเป็ น 35.000 เนื่องมาจากสาเหตุใด
1) อะตอมของคลอรี นมี 17 โปรตอน
2) หนึ่งอะตอมคลอรี นมีมวลเป็ น 35.453 เท่า ของมวลไฮโดรเจนหนึ่งอะตอม
3) คลอรี นมีไอโซโทปอย่างน้อยสองชนิดในธรรมชาติ
4) โปรตอนและนิวตรอนมีมวลไม่เป็ น 1 หน่วย
18. แมสสเปกโทรมิเตอร์ ได้ ผลจากการทดลองว่า ก๊าซอาร์ กอนประกอบด้ วย 3 ไอโซโทปคือ 36Ar 38Ar และ 40Ar
ปริมาณของแต่ ละไอโซโทปมี 0.1% 0.3% และ 99.6% ตามลาดับ Ar มีมวลอะตอมเท่าใด
1) 38.99 2) 39.99
3) 39.03 4) 40.00
19. ธาตุ X มี 3 ไอโซโทป มีมวลอะตอมดังนี้ 19.99, 20.99 และ 21.99 แต่ ละไอโซโทปมีปริมาณดังนี้ 90.02%
0.26% และ 8.86% ตามลาดับ จงหามวลอะตอมของธาตุ X
1) 19.99 2) 20.18
3) 20.99 4) 21.49
20. สเปกตรัม ก มีความยาวคลืน่ 400 นาโนเมตร สเปกตรัม ข มีความถี่ 3 x1014 รอบต่ อวินาที และเส้ นสเปกตรัม
ค มีสีส้ม สเปกตรัมเส้ นใดมีพลังงานมากทีส่ ุ ด
1) ข้อมูลไม่เพียงพอ 2) ก 3) ข 4) ค
21. ข้ อใดกล่ าวถูกต้ อง
1) ความยาวคลื่นของสเปกตรัมของแต่ละธาตุเป็ นค่าเฉพาะ ใช้ระบุชนิดของธาตุได้
2) ตามนุษย์มองเห็นแสงในช่วงความถี่ประมาณ 3 x1014 ถึง 9 x1014 Hz
3) อะตอมที่มี 4 ระดับพลังงานจะสามารถให้สเปกตรัมได้ 4 เส้น
4) ระดับพลังงานที่อยูห่ ่างไกลออกไปจะห่างกันมากขึ้น
22. เมื่อนาคอปเปอร์ (II) คลอไรด์ มาเผาให้ ร้อนจัด จะได้ เปลวไฟสี เขียวแกมฟ้า เพราะเหตุใด
1) โมเลกุลของเกลือนี้หลอมเหลวและลุกติดไฟ
2) อิเล็กตรอนในอะตอมของทองแดงได้รับพลังงานสู งขึ้น จึงคายพลังงานส่ วนเกินออกมาในรู ปของแสง
3) อิเล็กตรอนในอะตอมของทองแดงเคลื่อนที่จากชั้นหนึ่งๆกลับไปกลับมาและบางครั้งก็หลุดออกมาเป็ น
พลังงานในรู ปของแสง
4) โปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียสเกิดการสัน่ สะเทือน และคายพลังงานออกมาในรู ปของแสง
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 69

23. ในการเผาสารประกอบของโซเดียมเพือ่ ส่ องดูสเปกตรัม พลังงานจากเปลวไฟทาหน้ าทีอ่ ะไร


1) ทาให้แถบสี แยกออกเป็ นเส้นที่มีความถี่ต่างๆกันบนสเปกตรัม
2) ทาให้อิเล็กตรอนที่ระดับพลังงานสู งๆคายพลังงานดังปรากฎเป็ นเส้นสเปกตรัม
3) ทาให้เกิดแถบสี ม่วง คราม น้ าเงิน เขียว เหลือง แสด แดง ติดต่อกัน
4) ทาให้เกิด Na+ และทาให้อิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่าๆมีพลังงานสู งขึ้น
24. ข้ อใดกล่ าวถูกต้ อง
1) เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้ าเข้าไปในหลอดรังสี แคโทดที่ต่อกับความต่างศักย์
สู งมาก จะเกิดอนุภาคบวกและอนุภาคลบวิง่ ไปยังขั้วแอโนดและแคโทด
ตามลาดับ
2) อะตอมประกอบด้วยที่วา่ งเป็ นส่ วนใหญ่โดยมีนิวเคลียสเป็ นศูนย์กลาง
และมีอิเล็กตรอนโคจรอยูร่ อบๆในระยะที่ห่างออกมามาก
3) การศึกษาสี ของสเปกตรัมที่เปล่งออกมาจากธาตุต่างๆจะเห็นชัดเจนขึ้น
เมื่อใช้แผ่นเกรติงช่วย
4) ธาตุๆหนึ่งจะเปล่งแสงออกมาเพียงสี เดียวและเป็ นเอกลักษณ์ของธาตุ
นั้นซึ่ งบอกถึงระดับพลังงานที่แตกต่างของสถานะพื้นและสถานะกระตุน้
25. ข้ อความต่ อไปนีข้ ้ อใดถูกต้ อง
1) การที่สเปกตรัมในช่วงแสงขาวของธาตุไฮโดรเจนมีเพียง 4 เส้นแสดงว่า
อิเล็กตรอนในไฮโดเจรมีระดับพลังงานเพียง 4 ระดับ
2) ถ้าอะตอมของธาตุ ก มีอิเล็กตรอนมากกว่าอะตอมของธาตุ ข จานวน
เส้นสเปกตรัมในช่วงแสงขาวของ ก จะมากกว่าของ ข ด้วย
3) จานวนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในธาตุชนิดต่างๆ จะเพิ่มขึ้นตาม
เลขอะตอม
4) ธาตุต่างชนิดกันอาจมีเส้นสเปกตรัมบางเส้นอยูท่ ี่ตาแหน่งเดียวกันได้
26. การเปลีย่ นแปลงระดับพลังงานทีท่ าให้ เกิดสเปกตรัมเปล่งแสง ทีม่ ี
n=5
ความยาวคลืน่ เรียงลาดับจากสั้ นไปยาวคือข้ อใด n=4
ค ฉ
1) จ ก ง n=3

2) ง ก จ จ
n=2
3) ค ข ฉ ข

4) ฉ ข ค n=1
70 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

27. นักวิทยาศาสตร์ สมัยหนึ่งมองภาพว่าอิเล็กตรอนโคจรรอบนิวเคลียสและ


เส้นสเปกตรัม พลังงาน (J)
มีระดับพลังงานทีล่ ดหลัน่ กัน ระดับพลังงานในสุ ดเรียกว่ า ชั้ น K และชั้น
สีมว่ ง 4.84x1019
ถัดๆมาเรียกว่าชั้น L M N ... เมื่อให้ พลังงานแก่ไฮโดรเจนอะตอม จะได้
สีน้ าเงิน 4.57x1019
สเปกตรัมชุ ดหนึ่งออกมาดังตาราง ซึ่งสรุ ปภายหลังว่ าตรงกับการเปลีย่ น
สีน้ าทะเล 4.08x1019
ระดับพลังงานจากชั้ นสู งมาอยู่ทชี่ ้ ั น L ถ้ าอิเล็กตรอนของไฮโดรเจน
สีแดง 3.02x1019
เปลีย่ นจากชั้น O มายังชั้น M จะคายพลังงานกีจ่ ูล
1) 2.70 x10-20 2) 7.60 x10-20 3) 1.55 x10-19 4) 1.86 x10-19
28. หลอดไฟตามถนนและทางด่ วน เป็ นหลอดทีบ่ รรจุไอของโซเดียมหรือไอ
ปรอท ใช้ เวลาในการเปล่งแสง 3-5 นาที แสงทีเ่ ปล่งออกจากหลอดเกิด
จากข้ อใด
1) อิเล็กตรอนเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ วรอบนิวเคลียสเปล่งแสงออกมา
2) อิเล็กตรอนเคลื่อนที่จากระดับพลังงานหนึ่ งไปยังระดับพลังงานที่ต่ากว่า
3) อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอม กระทบสารเรื องแสงที่ผวิ หลอดด้านใน
4) ความต่างศักย์ระหว่างขั้วสู งทาให้อะตอมโซเดียมหรื อปรอทแตกตัว
29. กาหนดปฏิกริ ิยาต่ อไปนี้
Al(s) → Al(g) ดูดพลังงาน a kJ/mol
Al(s) → Al3+ (aq) + 3e- ดูดพลังงาน b kJ/mol
Al3+(g) → Al3+(aq) คายพลังงาน c kJ/mol
ผลรวมค่ าพลังงานไออไนเซชันลาดับที่ 1 ถึง 3 ของอลูมิเนียมเป็ น
เท่าใดในหน่ วย kJ/mol
1) b-a 2) a + c – b
3) b + c – a 4) c – b + a
30. จากค่ าพลังงานไอออไนเซชั นของธาตุในคาบที่ 2 ดังตารางในหน่ วย MJ/mol ข้ อความใดผิด
ธาตุ IE1 IE2 IE3 IE4 IE5 IE6 IE7
Be 0.90 1.76 14.8 21.0
B 0.80 2.43 3.66 25.0 32.8
C 1.09 2.35 4.62 6.22 37.8 47.2
N 1.40 2.86 4.58 7.48 9.44 53.3 64.4
1) Be + 2.66 MJ → Be2+ + 2e-
2) B+ + 6.09 MJ → B3+ + 2e-
3) C+ + 10.84 MJ → C4+ + 3e-
4) N + 8.84 MJ → N3+ + 3e-
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 71

31. จากตารางค่ าพลังงานไอออไนเซชั นในข้ อทีแ่ ล้ ว ข้ อใดถูกต้ อง


1) Be เป็ นธาตุหมู่เดียวกับ 12Mg
2) B มีพลังงานเฉลี่ยในระดับ n=1 น้อยกว่า n=2 อยู่ 21.34 MJ/mol
3) C(g) + 3.44 MJ → C2+(g) + e-
4) N มีพลังงานเฉลี่ยในระดับ n=2 น้อยกว่า n=1 อยู่ 43.9 MJ/mol
32. ถ้ าธาตุ Z เป็ นธาตุในคาบที่ 4 และมีลาดับค่ าพลังงานไอออไนเซชันเป็ น
0.52 1.23 3.16 14.8 16.4 20.7 .... MJ/mol และมีมวล
อะตอมเป็ น 63 จงหาจานวนนิวตรอนของธาตุ Z
1) 31 2) 32
3) 42 4) 63
33. จากแบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก ข้ อใดผิด
1) เราไม่สามารถบอกตาแหน่งที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้
2) ระดับพลังงานต่างๆ คือที่อยูข่ องอิเล็กตรอน
3) แบบจาลองพิสูจน์จากทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัม
4) สามารถใช้อธิบายสเปกตรัมของอะตอมที่มีหลายอิเล็กตรอนได้
34. การจัดเรียงอิเล็กตรอนใน 2p-orbital เป็ นดังนี้
ข้ อใดถูกต้ อง ก. ข.
1) ก 2) ก ข
3) ค ง 4) ถูกทุกข้อ ค. ง.

35. เหตุใดอิเล็กตรอนทีอ่ ยู่ในออร์ บิทลั เดียวกัน จึงต้ องมีทศิ ทางการหมุน


ตรงกันข้ าม
ก. เพือ่ ให้ เกิดความแตกต่ างทีส่ ามารถระบุได้ ว่าเป็ นอิเล็กตรอนตัวที่ 1 2 3 ...
ข. เพือ่ ให้ เกิดความเสถียร
ค. เพือ่ ให้ เกิดการหักล้างกันของสนามแม่ เหล็ก
ง. เพือ่ ลดแรงผลักของอิเล็กตรอน
1) ก 2) ข ค
3) ข ค ง 4) ถูกทุกข้อ
72 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

ชุดที่ 4
1. การเขียนกราฟแสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างรัศมีอะตอมของธาตุในคาบที่ 3 ผลจากกราฟควรเป็ นอย่างไร
1) รัศมีอะตอมเพิ่มขึ้นเมื่อเลขอะตอมของธาตุเพิ่มขึ้น
2) รัศมีอะตอมลดลงเมื่อเลขอะตอมของธาตุเพิ่มขึ้น
3) รัศมีอะตอมไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเลขอะตอมของธาตุเพิม่ ขึ้น
4) รัศมีอะตอมลดลงเมื่อเลขอะตอมของธาตุลดลง
2. ไอออน X2+ และ Y - มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากับ 18 อิเล็กตรอนเท่ ากัน ธาตุ X และ Y อยู่ในคาบทีเ่ ท่ าไรและอยู่
ในหมู่ใด
X Y
คาบที่ หมู่ที่ คาบที่ หมู่ที่
1) 2 2 3 7
2) 3 7 2 2
3) 4 3 3 2
4) 4 2 3 7

3. จากความรู้ เรื่องโครงสร้ างของอะตอม เมื่ออะตอมของ 11Na เปลีย่ นเป็ นไอออน Na+ ท่านคิดว่าขนาดของ
ไอออนทีไ่ ด้ เมื่อเทียบกับอะตอมเดิมจะเป็ นอย่างไร
1) ใหญ่ข้ ึน 2) เล็กลง
3) เท่าเดิม 4) ยังสรุ ปไม่ได้
4. ไอออนใดมีขนาดเล็กทีส่ ุ ด
1) Al3+ 2) Na+
3) B3- 4) C4-
5. รัศมีของอะตอมหรือไอออนใดยาวทีส่ ุ ด
1) 7N 2) 9F-
3) Ne
10 4) 11 Na+
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 73

ใช้ ตัวเลือกต่ อไปนี้ ตอบคาถามข้ อ ...


1) Li+ Na+ K+ Rb+ Cs+
2) F- Ne Na+ Mg2+ Al3+
3) Na Mg Al Si
4) Mg Ca Sr Ba

6. การเรียงข้ อใดมีการเรียงตามลาดับพลังงานไอออไนชันจากน้ อยไปมาก

7. การเรี ยงอนุภาคแบบใดที่แต่ ละอนุภาคมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบก๊ าซเฉื่อย

8. การจัดเรียงแบบใดทีแ่ ต่ ละอนุภาคเป็ นไอโซอิเล็กทรอนิกกัน

9. พลังงานไอออไนเซชันอันดับที่ 1 ของธาตุในคาบเดียวกันของตารางธาตุจากซ้ ายไปขวามีแนวโน้ มพลังงาน


อย่ างไร เพราะเหตุใด
1) ค่อยๆ น้อยลง เพราะขนาดของอะตอมค่อยๆ เล็กลงตามลาดับ
2) ค่อยๆ น้อยลง เพราะขนาดของอะตอมค่อยๆ ใหญ่ข้ ึนตามลาดับ
3) ค่อยๆ มากขึ้น เพราะขนาดของอะตอมค่อยๆ เล็กลงตามลาดับ
4) ค่อยๆ มากขึ้น เพราะขนาดของอะตอมค่อยๆ ใหญ่ข้ ึนตามลาดับ
10. ธาตุหนึ่งๆ เมื่อทราบลาดับของค่ า IE ก็จะสามารถระบุหมู่ของธาตุน้ ันได้ จงบอกหมู่ของธาตุต่อไปนีจ้ าก
ข้ อมูลลาดับของค่ า IE ของแต่ ละธาตุ
ธาตุ IE1 IE2 IE3 IE4 IE5 IE6 IE7 IE8 (kJ/mol) หมู่
A 1090 2400 4600 6200 8100 22500 26700 ____
B 500 4600 6900 9500 - ____
C 740 1500 7700 10500 13200 - ____
D 800 2800 3700 25000 29800 - ____
E 220 580 1020 1800 2400 4700 5500 23700 ____
11. ธาตุหมู่ 6 มีสมบัติการเป็ นโลหะเพิม่ ขึน้ หรือลดลงอย่างไร
1) เพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มเลขอะตอม
2) ลดลงเมื่อเพิม่ เลขอะตอม
3) ไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก
4) เพิ่มขึ้นเมื่อพลังงานไอออไนเซชันเพิ่มขึ้น
12. ผลการทดสอบสมบัติทางเคมี ออกไซด์ ของธาตุใดแสดงความเป็ นเบสมากทีส่ ุ ด
1) MgO 2) Al2O3
3) SO2 4) SiO2
74 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

13. สารประกอบคลอไรด์ ใดเมื่อละลายนา้ มีสมบัติเป็ นกลาง


1) SCI2 2) AlCl3 3) MgCI2 4) SiCl4
14. ออกไซด์ ของธาตุใดเมื่อละลายนา้ แสดงความเป็ นกรดมากทีส่ ุ ด
1) AI2O3 2) CO2 3) SO2 4) BeO
15. ถ้ าธาตุ X รวมกับธาตุออกซิเจนเป็ นออกไซด์ ทมี่ ีสูตร XO สู ตรของสารประกอบของธาตุ X คู่ใดถูกต้ อง
1) XCI, XI2 2) XS, XF2
3) XH3, XBr 4) X2S3, X3P2
16. โลหะ X ทาปฏิกิริยากับโบรมีน ออกซิเจนและซัลเฟอร์ ได้ สารประกอบทีม่ ีสูตร XBr, X2O และ X2S
ตามลาดับ สารประกอบโบรไมด์ และออกไซด์ ของธาตุ X เมื่อละลายนา้ จะได้ สารละลายทีม่ ีสมบัติอย่างไร
1) กรด เบส 2) กลาง เบส
3) เบส เบส 4) กลาง กรด
17. สารประกอบออกไซด์ ของ X มีสูตร XO แสดงว่าอย่างไร
1) ธาตุ X มีค่าเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 0
2) ธาตุ X อยูห่ มู่เดียวกันกับ O
3) ธาตุ X เป็ นธาตุหมู่ 2
4) ธาตุ X เป็ นธาตุหมู่ 6
18. ธาตุ X ทีมีเลขอะตอมเท่ าใดทีอ่ อกไซด์ ของธาตุมีสมบัติเป็ นเบส และคลอไรด์ ของธาตุมีสมบัติเป็ นกลาง
1) 20 2) 18 3) 16 4) 13
19. สาร A เป็ นธาตุมีสมบัตินาไฟฟ้าได้ ทั้งซั ลไฟด์ และคลอไรด์ ของ A เป็ นของเหลวที่ไม่ ละลายน้า A ควรเป็ น
ธาตุใด
1) Ca 2) N 3) C 4) Sn
20. ธาตุ X เกิดสารประกอบทีส่ ู ตร XCI3, X2O5 และ Ca3X2 แต่ ไม่ เกิด XF3 อยากทราบว่า X เป็ นธาตุใด
1) Al 2) N 3) Br 4) B
21. ธาตุ Y เกิดสารประกอบโคเวเลนต์ กบั ไฮโดรเจนทีม่ ีสูตรเป็ น H2Y เมื่อละลายนา้ สารประกอบนีม้ ีฤทธิ์เป็ นกรด
ธาตุ Y คืออะไร
1) Be 2) S 3) O 4) Ca
22. ธาตุทอี่ ยู่ในหมู่เดียวกันของตารางย่ อมมีสมบัติคล้ ายกัน และสมบัติเหล่ านั้นเรียงกันตามลาดับในหมู่เดียวกัน
ข้ อความนีจ้ ัดเป็ น
1) กฎ 2) ทฤษฎี 3) สมมติฐาน 4) ความจริ ง
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 75

23. ธาตุ A, B, C และ D มีค่าเลข เรียงตามลาดับ คือ 14, 15, 16 และ 17 ดังนั้น ธาตุทมี่ ีสมบัติทางเคมีคล้ ายกับ
ธาตุ 7N มากทีส่ ุ ดคือธาตุใด
1) ธาตุ A 2) ธาตุ B 3) ธาตุ C 4) ธาตุ D
24. ธาตุแฮโลเจนจัดเรียงอะตอมมิกนัมเบอร์ ที่เพิ่มขึน้ ตามลาดับ ดังนี้ F, CI, Br และ I ปฏิกิริยาเคมีในข้ อใดที่
เกิดขึน้ ได้ จริง
1) 2NaBr + CI2 → 2NaCl + Br2
2) 2NaBr + I2 → 2NaI + Br2
3) 2NaCl + I2 → 2NaI + CI2
4) 2NaF + Br2 → 2NaBr + F2
25. ในหมู่ธาตุเฉื่อยด้ วยกัน ธาตุใดทาปฏิกริ ิยาได้ ดีทสี่ ุ ด
1) He 2) Ne 3) Ar 4) Kr
26. สารประกอบทีเ่ ตรียมขึน้ จากการรวมตัวของ Krypton กับธาตุในตารางธาตุมีสูตรอย่ างไร
1) KrO3 2) KrBr2 3) KrTe3 4) KrF2
27. สารประกอบทีเ่ กิดขึน้ จากการรวมตัวของซีนอนได้ ดีกบั ธาตุในตารางมีสูตรอย่ างไร
1) XeF4 2) XeCI 3) LiXe 4) RbXe
28. ถ้ าดูตารางธาตุในหมู่ที่ 7 จากข้ างบนลงมาข้ างล่ าง อิเล็กโทรเนกาติวติ ีของธาตุเป็ นอย่ างไร
1) ลดลงในขณะที่รัศมีของอะตอมเพิ่มขึ้น
2) ลดลงในขณะที่รัศมีของอะตอมลดลง
3) เพิม่ ขึ้นในขณะที่รัศมีของอะตอมลดลง
4) เพิ่มขึ้นในขณะที่รัศมีของอะตอมเพิ่มขึ้น
29. สารประกอบคลอไรด์ ต่อไปนี้ สารประกอบใดน่ าจะเป็ นสารประกอบทีม่ ีสี
1) KCl 2) AlCl3 3) NiCl2 4) CaCl2
30. ธาตุในกลุ่มใดทีป่ ระกอบด้ วยธาตุทรานซิชันทั้งหมด
1) Fe, Si, Sb, Rb 2) Fe, Al, Cr, Fr
3) Fe, Co, Te, At 4) Fe, Cu, Cr, Mn
31. ธาตุทรานซิชันต่ อไปนี้ ธาตที่อยู่ในคาบเดียวกันทั้งหมด คือ
1) Ti, V, Ni, Cu 2) Sc, Mo, Cu, Zn
3) V, Fe, Co, Pd 4) Ni, Fe, Mn, Cd
76 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

32. จากธาตุทมี่ ีการจัดเรียงอิเล็กตรอนต่ อไปนี้ ธาตุใดเป็ นธาตุทรานซิชัน


1) 2, 8, 7 2) 2, 8, 15, 2
3) 2, 8, 18, 2 4) 2, 8, 18, 8
33. ธาตุ Ni มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนในแบบใด
1) 2, 8, 18 2) 2, 8, 17, 1
3) 2, 8, 16, 2 4) 2, 8, 15, 2, 1
34. ออกซิเดชันนัมเบอร์ ของ N ใน (NH4)3 PO4 เป็ นเท่าใด
1) +3 2) -3 3) +4 4) –4
35. ค่ าออกซิเดชั นของธาตุ N ในไอออน [Cu(NH3)4]2+ มีค่าเท่ ากับ
1) 0 2) +3 3) +5 4) -3
36. จงหาเลขออกซิเดชั นของแต่ ละธาตุในสารต่ อไปนี้

1) CH3OH 2) V2[SO4]3.3H2O

3) KCr[SO4]2 4) S2O62-

5) [Fe(CN)6]4- 6) K4[Fe(CN)6]

7) Na2[Cu(NH3)2Cl2SO4] 8) [Cr(NH3)4Cl2]+

37. พิจารณาข้ อมูลต่ อไปนี้ ขัอใดถูกต้ อง


ธาตุ A เป็ นธาตุหมู่เดียวกับ Na และอยู่คาบเดียวกับ As
ธาตุ B มีเลขอะตอมเท่ากับ 20 เมื่อเกิดสารประกอบคาร์ บอเนต หรือซัลเฟต จะ ได้ เกลือทีไ่ ม่ ละลายนา้
ธาตุ C มักมีเลขออกซิเดชันเท่ากับ -2 ยกเว้นเมื่อเกิดสารประกอบกับ F2 จะมีเลขออกซิเดชันเป็ นบวก
ธาตุ D อยู่หมู่เดียวกับ Si แต่ มีเลขอะตอมน้ อยกว่า
1) ธาตุ A จะมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ีสูงกว่า B
2) ธาตุ B สามารถทาปฏิกิริยากับ C เกิดเป็ น BC2 ได้
3) ธาตุ C มีค่า IE1 สู งกว่า A, B และ D
4) ธาตุ D อยูใ่ นคาบเดียวกับ S
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 77

38. ธาตุ A, B, C, D, E, F, G, H เป็ นธาตุทอี่ ยู่ในคาบเดียวกัน โดย


ธาตุ A เป็ นธาตุเวเลนซ์ ทมี่ ีอเิ ล็กตรอนเท่ ากับ 2
ธาตุ B เป็ นธาตุทมี่ ีอเิ ล็กโทรเนกาติวติ ีสูงสุ ด
ธาตุ C ไม่ ว่องไวในการทาปฏิกริ ิยา
ธาตุ D ทาปฏิกริ ิ ยากับธาตุ B ได้ สารประกอบไอออนิกทีม่ ีสูตร DB
ธาตุ E มีเลขอะตอมมากกว่า D อยู่ 2
ธาตุ F มีค่า IE สู งกว่ าธาตุ H แต่ มีขนาดใหญ่กว่า
ธาตุ G เป็ นอโลหะทีม่ ีจุดหลอมเหลวสู งมาก และมีขนาดเล็กกว่ าธาตุ E แต่ ใหญ่ กว่ าธาตุ B
การจัดเรียงธาตุของทั้ง 8 จากเลขอะตอมน้ อยไปมาก ข้ อใดถูกต้ อง
1) D A E H F G B C 2) D A E G F H C B
3) D A E G H F B C 4) D A E G F H B C
39. ธาตุสมมติ A อยู่คาบที่ 3 ของตารางธาตุ มีค่าพลังงานไอออนไนเซชั น
(IE1 – IE5) ดังนี้ IE1 < IE2 < IE3 < IE4 << IE5 ข้ อสรุ ปใดถูกต้ อง
1) ธาตุน้ ีมีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนเป็ น 2, 3
2) คลอไรด์ของธาตุน้ ีมีสมบัติเป็ นกรด
3) ธาตุ A เป็ นอโลหะ
4) เมื่อธาตุ A เกิดสารประกอบซัลไฟด์ ได้สารที่มีสูตรเคมีเป็ น AS
40. ธาตุ X มีการจัดเรียงลิเล็กตรอนเป็ นแบบ 2, 8, 6 เลขออกซิเดชั นของธาตุนีจ้ ะมีค่าสู งสุ ดและต่าสุ ดเป็ นดังนี้
1) +2 และ -6 2) +6 และ -2
3) +4 และ -2 4) +6 และ -4
41. ในสารประกอบเชิงซ้ อน [Cu(NH3)4]SO4H2O การจัดเรียงอิเล็กตรอนของ คอปเปอร์ ไอออนจะเป็ นไปดังข้ อ
ใด (Cu มีเลขอะตอม = 29)
1) 2, 8, 18 2) 2, 8, 17
3) 2, 8, 16 4) 2, 8, 8, 9
42. ผลรวมของเลขออกซิเดชั นของโลหะทรานซิชันในสารคู่ใดต่ อไปนีม้ ีค่าสู งสุ ด
1) K4[Fe(CN)6] , K2[PtCl4] 2) Na3[Fe(CN)6] , [Cu(NH3)4]SO4

3) K[Cr(SO4)2] , [V(H2O)3]Cl3 4) K2[CuCl4] , K3[CrF6]


78 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

43. จงพิจารณาอะตอมกลางของสารประกอบเชิงซ้ อนต่ อไปนี้ ข้ อใดถูกต้ อง


1. K3[Fe(CN)6] 2. Na2[CuCl4]
3. K[Co(SO4)2] 4. Na2[Ni(CN)4]
1) อะตอมกลางของ 1 มีเลขออกซิเดชันสู งสุ ด
2) อะตอมกลางของ 2 มีเลขออกซิเดชันต่าสุ ด
3) ทุกอะตอมกลางมีจานวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 4 เท่ากัน
4) ทุกอะตอมกลางมีจานวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 3 ไม่เท่ากัน
44. เกีย่ วกับไอออนลบต่ างๆ [VO4] -3, [CrO4]2-, [MnO4] -, [CIO4] -, [SO4] 2-, [PO4] 3- ข้ อความใด ผิด
1) อะตอมกลางมีเลขออกซิ เดชันสู งสุ ดเท่าที่จะเป็ นไปได้สาหรับธาตุน้ นั ๆ
2) ธาตุที่เป็ นอะตอมกลางสามารถมีเลขออกซิ เดชันได้หลายค่าทุกธาตุ
3) ไอออนลบทั้งหมดที่ให้มานี้ บ้างก็มีสี บ้างก็ไม่มีสี
4) ธาตุที่เป็ นอะตอมกลางมีการจัดอิเล็กตรอนเหมือนกันทั้งหมด
45. ถ้ าสมบัติต่อไปนีเ้ ป็ นสมบัติที่อยู่ในคาบเดียวกัน
1) มีจานวนเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนเท่ากัน
2) พลังงานไอออนไนเซชันแตกต่ างกันมาก
3) มีเลขออกซิเดชันได้ หลายตัว
4) เกิดสารประกอบทีม่ ีสีต่างๆ
5) รัศมีอะตอมยาวขึน้ เมื่อเลขอะตอมสู งขึน้
สมบัติข้อใด ไม่ ใช่ สมบัติของธาตุแทรนซิชันทัว่ ไป
1) 1, 2 2) 2, 5 3) 1, 5 4) 3, 4
46. ไอออนเชิงซ้ อนของโลหะทรานซิชันเป็ น ดังนี้
1. [M(OH)4(H2O)] 2- 2. [M(NH3)CI4]
3. [M2O7] 2- 4. [M(SO4)2]
เลขในชุ ดใดทีเ่ ป็ นเลขออกซิเดชั นของโลหะทรานซิชัน (M) ในไอออน 1-4
ตามลาดับ
1) +2, +3, +6, +3 2) +3, +2, +6, +3
3) +3, +3, +4, +2 4) +2, +3, +4, +2
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 79

47. ธาตุกมั มันตรังสี เฟอร์ เมียม ได้ จากการสั งเคราะห์ ทางปฏิกิริยานิวเคลียร์ ของ

เมื่อ X, Y เป็ นจานวนโมล และ B, C เป็ นอนุภาคใด ๆข้ อใดถูก
ข้อ X B Y C
1) 5 3
2) 10 23
3) 17 8
4) 18 1

48. ในการสลายตัวของ ประกอบด้ วยขั้นตอน 14 ขั้นตอน แต่ ละขั้นปล่อยรังสี ออกมาดังต่ อไปนี้ α, β, β, α,


α, α, α, α, β, α, β, β, β และ α ผลผลิตสุ ดท้ ายทีไ่ ด้ คืออะไร
1) 2)
3) 4)

49. Rn-222 มวล 10 ไมโครกรัม สลายตัว 7 วัน เหลือมวลเพียง 2.82 ไมโครกรัม จงคานวณหาครึ่งชี วติ ของธาตุนี้
1) 1.95 วัน 2) 2.51 วัน
3) 2.95 วัน 4) 3.83 วัน

50. ถ้ าทิง้ ไอโซโทปกัมมันตรังสี ชนิดหนึ่ง 20.0 กรัม ไว้นาน 28 วัน ปรากฎว่ า มีไอโซโทปนั้นเหลืออยู่ 1.25 กรัม
ครึ่งชีวติ ของไอโซโทปนี้ มีค่าเท่ าใด
1) 28 วัน 2) 20 วัน
3) 12 วัน 4) 7 วัน
80 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

ชุดที่ 5
1. พิจารณาหมู่และคาบของธาตุต่อไปนี้
ธาตุ หมู่ คาบ
A 1 3
B 2 3
C 2 4
D 5 3
E 6 2
ขนาดของอะตอมเรียงจากใหญ่ไปเล็กเป็ นไปตามข้ อใด
1) A>B>C>E 2) C>B>A>D>E
3) C> A>B>D> E 4) A = C>B>D>E
2. ธาตุ 117 (สั ญลักษณ์ A) ซึ่งเป็ นธาตุทคี่ ้ นพบใหม่ น่ าจะมีสมบัติอย่ างไร
1. เป็ นของแข็งสี ดา มีสูตรโมเลกุล A2
2. เกิดสารประกอบธาตุค่ ูได้ หลายชนิด เช่ น NaA, MgA2, OA2 เป็ นต้ น
3. มีขนาดของอะตอมใหญ่ ทสี่ ุ ดในหมู่
4. มีจุดเดือด จุดหลอมเหลว ต่ากว่ าทุกธาตุในหมู่เดียวกัน
1) 2 และ 3 2) 2 และ 4
3) 1 2 และ 3 4) 1 2 และ 4
3. กาหนดเลขอะตอมของ O, F, Na, Mg และ Al เท่ากับ 8, 9,11, 12 และ 13 ตามลาดับการเรียงลาดับของขนาด
ของไอออน O2-, F-, Na+, Mg2+ และ Al3+ ในข้ อใดถูก
1) O2->F->Na+ >Mg2+>Al3+
2) Al3+> Mg2+>Na+>F ->O2-
3) Na+>Mg2+>Al3+>O2->F -
4) O2->F ->Al3+>Mg2+>Na+
4. พลังงานไอออไนเซชันลาดับทีห่ นึ่งของ Li Na และ K มีค่า 0.525, 0.502 และ 0.425 เมกะจูล ตามลาดับ
ข้ อมูลนีส้ นับสนุนข้ อความใด
1) เวเลนซ์อิเล็กตรอนของ K อยูห่ ่างนิวเคลียสมากกว่า Li
2) Na มีอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงกว่า K
3) Li มีอิเล็กโทรเนกาติวติ ีสูงกว่า Na
4) ไอออน K + เสถียรกว่า Na+ และ Li + ตามลาดับ
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 81

5. ถ้ าโลหะ M ใช้ พลังงานเพือ่ เกิดการเปลีย่ นแปลงดังนี้


A) M(s) → M(g) B) M(s) → M+(g) + e-
C) M(g) → M+(g) + e- D) M(g) → M2+(g) + 2e-
พลังงานไอออไนเซชั นลาดับทีส่ องของธาตุ M หาได้ จากข้ อใด
1) A + D 2) B + C
3) D – C 4) D – C + A
6. พิจารณาหมู่และคาบของธาตุ A, B, C และ D ต่ อไปนี้
ธาตุ หมู่ คาบ
A 1 2
B 5 3
C 1 4
D 4 4
พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 ของธาตุท้งั 4 เรียงจากน้ อยไปหามาก ข้ อใด
ถูกต้ อง
1) A<C<B< D 2) C<A<D<B
3) A<C<D<B 4) C<A<B<D
7. ข้ อความเปรี ยบเทียบสมบัติของธาตุหมู่ 1 และธาตุหมู่ 2 ในคาบเดียวกันต่ อไปนี้ ข้ อใดไม่ ถูกต้ อง
1) ธาตุหมู่ 2 มีรัศมีอะตอมใหญ่กว่าธาตุหมู่ 1
2) อะตอมของธาตุหมู่ 2 มีมวลเล็กกว่าธาตุหมู่ 1
3) ธาตุหมู่ 2 มีความหนาแน่นมากกว่าธาตุหมู่ 1
4) ธาตุหมู่ 2 มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ีสูงกว่าธาตุหมู่ 1
8. ถ้ า S มีรัศมีอะตอม 103 แล้วรัศมีอะตอมของ Ar และจุดหลอมเหลวของ S ควรเป็ นไปตามข้ อใด

ตัวเลือก รัศมีอะตอม Ar จุดหลอมเหลว S


1) 88 113
2) 88 29
3) 192 29
4) 192 113
82 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

9. ข้ อใดทีอ่ ธิบายเกีย่ วกับธาตุ 9A 19D 34E และ 35G ไม่ ถูกต้ อง


1) 9A และ 35G มีสมบัติทางเคมีคล้ายกัน
2) 19D มีรัศมีไอออนน้อยกว่า 34E
3) 35G มีระดับพลังงานชั้นนอกสุ ด คือชั้น N
4) 34E มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ีมากว่า 9A
10. จากธาตุต่อไปนี้ 12A 13B 17C 9D และ 19E จงพิจารณาข้ อความต่ อไปนี้ ข้ อใดถูกต้ อง
1) ลาดับขนาดของอะตอมคือ D > C > B > A > E
2) ลาดับค่า IE1 คือ D > C > B > A > E
3) ลาดับความเป็ นโลหะคือ D > C > B > A > E
4) ลาดับค่า EN คือ D > C > B > A > E
11. พิจารณาข้ อมูลเกีย่ วกับธาตุ X, Y และ Z ต่ อไปนี้
ความว่องไวในการเกิด pH ของสารละลาย pH ของสารละลาย
ปฏิกริ ิยาของธาตุ คลอไรด์ ของธาตุ ออกไซด์ ของธาตุ
X> Y> Z X> Y X> Z> Y
สารประกอบคลอไรด์ ของธาตุ Z ไม่ ละลายนา้ ธาตุ X, Y และ Z น่ าจะเป็ นธาตุ
ในข้ อใดตามลาดับ
1) P, C และ N 2) Mg, Si และ Be
3) Na, S และ C 4) H, N และ B
12. ธาตุ X, Y และ Z มีเลขอะตอม 7, 12 และ 15 ตามลาดับ สมบัติเกีย่ วกับธาตุท้งั สามในข้ อใดถูกต้ อง
ตัวเลือก สมบัติ ความสัมพันธ์
1) พลังงานไอออไนเซชัน X < Y< Z
2) ขนาดของอะตอม Y < Z< X
3) อิเล็กโทรเนกาติวติ ี X > Z> Y
4) ความเป็ นกรดของออกไซด์ Z > Y> X
13. สารประกอบคลอไรด์ 2 ชนิดละลายนา้ ได้ สารแรกละลายนา้ ได้ สารละลายทีเ่ ป็ นกลาง ส่ วนสารที่ 2 ได้
สารละลายทีเ่ ป็ นกรด สาร 2 ชนิดนีค้ ือสารในข้ อใด
1) MgCI2, AlCl3 2) AlCl3, PCI5
3) BeCl2, MgCl2 4) LiCl, BeCl2
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 83

14. การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ A (2, 4) ธาตุ B (2, 8, 8, 1) ธาตุ C (2, 8, 6) และธาตุ D (2, 8, 8, 2) สารละลาย
ในนา้ ของออกไซด์ ของธาตุใดทีส่ ามารถเปลี่ยนสี กระดาษสี นา้ เงินเป็ นสี แดง
1) ธาตุ A กับ B 2) ธาตุ A กับ C
3) ธาตุ C กับ D 4) ธาตุ B กับ D

15. เมื่อเผาธาตุ A ซึ่งเป็ นของแข็งกับคลอรีน จะได้ ธาตุทมี่ ีสูตร ACI2 แต่ เมื่อเผาธาตุในอากาศ จะได้ ธาตุทมี่ ี
สมบัติเป็ นกรด ผลการทดลองนีส้ รุ ปได้ ว่า
1) A เป็ นธาตุโลหะในหมู่ 2
2) A เป็ นธาตุอโลหะในหมู่ 6
3) ออกไซด์ของ A ควรมีสูตร AO
4) A ควรนาไฟฟ้ าเมื่อหลอมเหลว

16. ธาตุ X, Y และ Z เป็ นธาตุทมี่ ีจานวนโปรตรอน 6, 12 และ 17 ตามลาดับ ข้ อใดแสดงสู ตรของคลอไรด์ และ
ออกไซด์ ทถี่ ูกต้ องของธาตุท้งั สาม
1) XO, YCI, ZCI2 2) XCI, YO, ZCI
3) XO2, YO, ZCI 4) XCI2, YCI2, ZO

17. สารประกอบซัลไฟด์ ของธาตุ A, B และ C ซึ่งมีเลขอะตอม 5, 15 และ 20 ตามลาดับ ควรมีสูตรอย่ างไร


ตามลาดับ
1) A2S3, B2S5, CS2 2) A2S3, B2S5, CS
3) AS, B2S3,C2S 4) AS, B2S5, CS

18. ธาตุ A มีการจัดเรียงลิเล็กตรอนเป็ น 2, 8, 6 ทาปฏิกริ ิยากับ B ซึ่งมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็ น 2, 6 จะได้


สารประกอบทีม่ ีสูตรอย่ างไร แล้ วเมื่อนาสารนีม้ าละลายนา้ จะได้ สารละลายสมบัติอย่ างไร
1) AB2 เป็ น เบส
2) AB2 เป็ น กรด
3) AB2 และ AB3 เป็ น เบส
4) AB2 และ AB3 เป็ น กรด
84 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

19. ธาตุ A, B, C มีเลขอะตอม 37, 34, 56 ตามลาดับ เมื่อนาสารประกอบออกไซด์ และคลอไรด์ ของธาตุเหล่ านี้มา
ละลายนา้ สมบัติของสารละลายข้ อใดถูกต้ อง
( …. หมายถึง ไม่ ได้ ทดลอง)
การทดลอง A B C
ที่ ออกไซด์ คลอไรด์ ออกไซด์ คลอไรด์ ออกไซด์ คลอไรด์
1) เบส ..... กรด ..... เบส .....
2) ..... กรด ..... กรด ..... กลาง
3) กรด ..... ..... กลาง ..... กลาง
4) ..... กลาง เบส ..... ..... กรด
20. ออกไซด์ ประเภทใดเมื่อละลายนา้ แล้ วแสดงความเป็ นเบสมากทีส่ ุ ด
1) CO2, SO2 2) SiO2, MnO2
3) AI2O3 และ CuO 4) MgO และ Li2O
21. ธาตุ A ทาปฏิกริ ิยากับไฮโดรเจนได้ สารประกอบมีสูตร H2A เมื่อ H2A ละลายนา้ สารทีไ่ ด้ มี pH น้ อยกว่า 7
ธาตุ A ควรอยู่ในหมู่ใดของตารางธาตุ
1) หมู่ที่ 2 2) หมู่ที่ 4
3) หมู่ที่ 6 4) หมู่ที่ 7

22. ผลการทดสอบสมบัติของสารประกอบดังต่ อไปนี้


สมบัติ การเปลี่ยนสี กระดาษ
สถานะ จุดหลอมเหลว
สารประกอบ ลิตมัส
คลอไรด์ของอโลหะ ของแข็ง ของเหลว ต่า น้ าเงิน แดง
คลอไรด์ของโลหะ ของแข็ง B น้ าเงิน แดง
ออกไซด์ของอโลหะ A ต่า น้ าเงิน แดง
ออกไซด์ของโลหะ ของแข็ง สู ง C
สมบัติทถี่ ูกต้ องทีช่ ่ องว่าง A B และ C คืออะไร ตามลาดับ
1) ของเหลว สู ง น้ าเงิน → แดง
2) ของแข็ง ต่า แดง → น้ าเงิน
3) ก๊าซ ต่า น้ าเงิน → แดง
4) ของแข็ง สู ง แดง → น้ าเงิน
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 85

23. ธาตุ X Y และ Z อยู่ในหมู่เดียวกัน แต่ อยู่ในคาบที่ 3 4 และ 5 ตามลาดับ ข้ อใดกล่ าวถูกต้ อง
1) สารประกอบคลอไรด์ของธาตุท้ งั 3 ชนิดจะมีสูตรเหมือนกัน เมื่อละลายน้ ามีฤทธิ์ เป็ นกรด
2) ธาตุท้ งั 3 มีเวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากัน เมื่อกลายเป็ นไอออนที่เสถียรจะมีอิเล็กตรอนเท่ากัน
3) ค่า IE1 ของ X > Y > Z และธาตุ X มีความเป็ นโลหะมากที่สุด
4) ขนาดไอออนของ X < Y < Z เมื่อเป็ นไอออนที่เสถียรจะมีเวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากัน
24. ธาตุ X ทาปฏิกริ ิยากับนา้ เป็ นดังสมการ 2X(s) + 2H2O(l) → 2XOH(aq) + H2(g)
ข้ อความต่ อไปนี้ ข้ อใดผิด
1. ธาตุ X อาจเป็ นโลหะแอลคาไล
2. สารละลาย XOH(aq) ประกอบด้ วย X+, OH-, H2(g)
3. ธาตุ X นาไฟฟ้าได้ ดี และจุดหลอมเหลวต่ากว่ า 100๐C
4. ปฏิกริ ิยานีเ้ หมาะทีจ่ ะทาการทดลองในห้ องปฏิบัติการ เพราะเป็ นปฏิกิริยาที่ทาการทดลองได้ ง่าย
1) 1 และ 3 2) 2 และ 4
3) 2 เท่านั้น 4) 2 และ 3
25. การทานายว่าก๊าซคลอรีนจะทาให้ สารไอโอไดด์ เปลีย่ นเป็ นธาตุไอโอดีนได้
หรือไม่ ต้ องอาศัยค่ า
1) ค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ี 2) ศักย์ไฟฟ้ าครึ่ งเซลล์
3) ค่าคงที่ของสมดุล 4) พลังงานพันธะ
26. เมื่อเรียงธาตุเฮโลเจนจากบนลงล่ างตามลาดับในตารางธาตุ จะเป็ นดังนี้ F, Cl, Br และ I ปฏิกริ ิยาเคมีในข้ อใด
ต่ อไปนีท้ เี่ กิดได้ จริง
1) 2Cl –(aq) + Br2(g) → 2Br- (aq) + Cl2(g)
2) 2F – (aq) + Cl2(g) → 2Cl-(aq) + F2(g)
3) 2I-(aq) + Br2(g) → 2Br-(aq) +I2(g)
4) 2Cl-(aq) + I2(g) → 2NaBr + F2
27. การทดลองข้ อใดทาให้ เกิดปฏิกริ ิยาออกซิเดชันของเฮไลด์ ไอออน
1) การเติม Br2 ลงในสารละลาย NaF
2) การเติม I2 ลงในกรด HCl
3) การเติม Cl2 ลงในกรด HI
4) การเติม Cl2 ลงในสารละลาย NaCl
86 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

28. ถ้ าก๊ าซมีตระกูลสองชนิด คือ X และ Y มีจุดเดือด -106 ๐C และ -150 ๐C ตามลาดับ จากสมบัติของธาตุ เรา
อาจบอกได้ ว่า
1) X มีรัศมีอะตอมสั้นกว่า Y
2) X มีแรงยึดเหนี่ยวแวนเดอร์ วาลส์นอ้ ยกว่า Y
3) Y มีมวลโมเลกุลน้อยกว่า X
4) Y มีเลขที่ของคาบมากกว่า X
29. สมบัติใดในข้ อต่ อไปนีท้ บี่ ่ งว่ าไฮโดรเจนมีสมบัติคล้ ายธาตุหมู่ VIIA
1) เกิดสารประกอบกับออกซิ เจนได้สารละลายที่มีฤทธิ์ เป็ นทั้งกรด กลาง เบส
2) เมื่อเกิดสารประกอบกับธาตุ X (จัดเรี ยงอิเล็กตรอน 2, 8, 7) ทาให้ H มีเลขออกซิเดชัน +1 อย่างเดียว
3) เมื่อเกิดสารประกอบกับธาตุ Y (จัดเรี ยงอิเล็กตรอน 2, 8, 1) ทาให้ H มีเลขออกซิเดชัน +1, -1, +7
4) เมื่อเกิดสารประกอบกับธาตุ Y (จัดเรี ยงอิเล็กตรอน 2, 8, 1) ทาให้ H มีเลขออกซิเดชัน -1 อย่างเดียว
30. สมบัติต่อไปนีข้ ้ อใด ไม่ ใช่ สมบัติของแอลคาไล
1) เป็ นตัวออกซิไดส์ที่ดี
2) มีพลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 ต่า เมื่อเทียบกับธาตุในคาบเดียวกัน
3) นาไฟฟ้ าและความร้อนได้ดี
4) ทาปฏิกิริยาเกิดเป็ นสารประกอบออกไซด์ คลอไรด์และซัลไฟด์
31. ธาตุ A, B, C, D, E, F, G, H เป็ นธาตุทอี่ ยู่ในคาบเดียวกัน โดยทีธ่ าตุ A เป็ นธาตุที่มีค่าอิเล็กโทรเนติวีตีสูงที่สุด
ธาตุ B มีอิเล็กตรอนวงนอกสุ ดเท่ ากับ 2 ธาตุ C ทาปฏิกิริยากับธาตุ A ได้ สารประกอบไอออนิกที่มีสูตร CA
ธาตุ D เป็ นธาตุที่ไม่ ว่องไวในการปฏิกิริยา ธาตุ E มีเลขอะตอมมากกว่ าธาตุ C อยู่เท่ ากับ 2 ธาตุ F มีขนาด
อะตอมอยู่ระหว่ างอะตอม G และธาตุ H โดยที่ธาตุ G มีขนาดเล็กกว่ าธาตุ E แต่ ใหญ่ กว่ าธาตุ A เราจะ
เรียงลาดับธาตุท้งั 8 ให้ ถูกตาแหน่ งในคาบ ในตารางธาตุจากซ้ ายไปขวาได้ อย่ างไร
1) D A H F G E B C 2) C B E H F G D A
3) D A G F H E B C 4) C B E G F H A D
32. สมบัติใดใช้ จาแนกธาตุออกเป็ นโลหะและอโลหะไม่ ได้
1. การนาไฟฟ้ า 2. การนาความร้ อน
3. สถานะทีอ่ ุณหภูมิห้อง
4. การละลายของสารประกอบออกไซด์ ในนา้
5. pH ของสารละลายของออกไซด์ และซัลไฟด์
1) 1 และ 2 2) 1, 2 ละ 3
3) 3 และ 4 4) 4 และ 5
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 87

33. สมบัติของธาตุไฮโดรเจนในข้ อใดบ้ างทีไ่ ม่ เหมาะกับการจัดธาตุนีไ้ ว้ ในหมู่เดียวกับโลหะแอลคาไล


ก. จานวนเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอน ข. ชนิดของสารประกอบและพันธะ
ค. จุดหลอมเหลวและจุดเดือด ง. พลังงานไอออไนเซชัน
1) ก ข 2) ข ค
3) ข ค ง 4) ก ข ค ง

34. การจัดเรียงอิเล็กตรอนอย่างไรใช้ สาหรับอะตอมของโลหะแอลคาไลไม่ ได้


1) 2, 8, 8, 1 2) 2, 8, 18, 1
3) 2, 8, 18, 8, 1 4) 2, 8, 18, 18, 8, 1

35. สมบัติบางประการของธาตุ M N O P แสดงในตาราง


พลังงานไอออไนเซชัน อิเล็กโทร- จุดหลอมเหลว
ธาตุ E0 (V)
ลาดับที่ 1 (kJ/mol) เนกาติวติ ี (๐C)
M 1015 2.5 114 + 0.54
N 1006 2.5 113 - 0.48
O 744 1.2 649 - 2.36
P 425 0.8 64 -2.92
ข้ อใดเรียงลาดับหมู่ของธาตุ M N O P ได้ ถูก
1) I, II, VI, VII 2) II, I, VII, VI
3) IV, VII, I, II 4) VII, VI, II, I

36. กาหนดสมบัติต่างๆของธาตุ 4 ชนิด ดังนี้


ธาตุ จุดเดือด (๐C) อิเล็กโทรเนกาติวติ ี รัศมีอะตอม pm IE1 kJ/mol
A 445 2.58 104 1006
B 1490 1.00 197 596
C 1640 0.89 217 509
D 4830 2.55 77 1093
ธาตุค่ ูใดควรเป็ นธาตุหมู่เดียวกัน
1) A, B 2) B, C
3) C, D 4) D, A
88 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

37. การเปรี ยบเทียบสมบัติของโลหะแอลคาไลและโลหะแอลคาไลเอิร์ททีอ่ ยู่ในคาบ


เดียวกันต่ อไปนี้ ข้ อใดไม่ ถูกต้ อง
ตัวเลือก สมบัติ โลหะแอลคาไล โลหะแอลคาไลเอิร์ท
1) พลังงานไอออไนเซชัน E สู งกว่า E
2) รัศมีอะตอม r น้อยกว่า r
สารละลายของ ละลาย ไม่ละลาย
3)
สารประกอบคลอไรด์
ปฏิกิริยาของโลหะกับน้ า เกิดง่าย, รุ นแรง ส่วนใหญ่เกิดได้แต่ไม่
4)
รุ นแรงเท่า

38. ธาตุชนิดหนึ่งมีเลขอะตอม 115 อยู่ในคาบที่ 7 และอยู่ในหมู่ที่ 5 ของตารางธาตุ ธาตุนีค้ วรมีสมบัติอย่ างไร


1) เป็ นโลหะ สารประกอบออกไซด์มีสมบัติเป็ นเบส และมีเลขค่าออกซิ เดชันได้มากกว่า 1 ค่า
2) เป็ นโลหะ สารประกอบออกไซด์มีสมบัติเป็ นเบส และมีเลขค่าออกซิเดชันได้เพียงค่าเดียว
3) เป็ นโลหะ สารประกอบออกไซด์มีสมบัติเป็ นกรด และมีเลขค่าออกซิ เดชันได้มากกว่า 1 ค่า
4) เป็ นโลหะ สารประกอบออกไซด์มีสมบัติเป็ นกรด และมีเลขค่าออกซิ เดชันได้เพียงค่าเดียว

39. ธาตุ A, B, C คือธาตุทรานซิชันแถวแรก เมื่อกลายเป็ นไอออนจะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอน ดังนี้


A+ = 2, 8, 13 B2+ = 2, 8, 11 C2+ = 2, 8, 14
A, B, C คือ ธาตุใดตามลาดับ
1) Ni, Cr, Fe 2) V, Cr, Ni
3) Cr, V, Fe 4) Fe, V, Cr

40. ธาตุชนิดหนึ่งมีสมบัติดังต่ อไปนี้


1. เกิดสารประกอบได้ หลายชนิดกับธาตุออกซิเจน
2. สารประกอบทีเ่ กิดขึน้ แต่ ละชนิดมีสีต่างๆกัน
3. พบมากในแร่ ไพโรลูไซต์
จากสมบัติท้งั สามข้ อนี้ ธาตุนี้ควรมีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนแบบใด
1) 2, 8, 7 2) 2, 8, 8, 2
3) 2, 8, 7 4) 2, 8, 13, 2
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 89

41. ธาตุทรานซิชันเมื่อเกิดสารประกอบจะมีเลขออกซิเดชั น และสี อย่ างไร และเป็ นธาตุทอี่ ยู่ส่วนใดในตารางธาตุ


1) มีเลขออกซิ เดชันได้หลายค่า มีสี และเป็ นธาตุที่อยูร่ ะหว่างหมู่ที่ 2 และ 3
2) มีเลขออกซิเดชันเพียงค่าเดียว มีสี และเป็ นธาตุที่อยูร่ ะหว่างหมู่ที่ 3 และ 4
3) มีเลขออกซิเดชันเพียงค่าเดียว ไม่มีสีและเป็ นธาตุที่อยูร่ ะหว่างหมู่ที่ 2 และ 3
4) มีเลขออกซิ เดชันได้หลายค่า ไม่มีสี และเป็ นธาตุที่อยูร่ ะหว่างหมู่ที่ 3 และ 4
42. สารประกอบคลอไรด์ ของธาตุ A มีสูตร ACl2 และมีสีฟ้าอมเขียว เมื่อนามาละลายน้าแล้ วเติมสารละลาย
แอมโมเนียจะเกิดตะกอนสี ฟ้าของ A(OH)2 ซึ่งเมื่อเติมสารละลายแอมโมเนียมากขึ้นตะกอนจะละลายให้
สารละลายสี นา้ เงินเข้ ม A ควรอยู่ตาแหน่ งใดในตารางธาตุ
1) คาบ 3 หมู่ IIA 2) คาบ 3 หมู่ IIIA
3) คาบ 4 หมู่ IB 4) คาบ 4 หมู่ IIIB
43. อะตอมกลางของสารประกอบเชิ งซ้ อนชนิดใดทีม่ ีเลขออกซิเดชั นสู งสุ ด
1) K3[CoF6] 2) [Cr(H2O)6]Cl2
3) Pb[CrO4] 4) Na3[Mn(CN)6]
44. ปกติออกซิเจนจะมีเลขออกซิเดชันนัมเบอร์ เท่ากับ -2 แต่ ในสารประกอบ ประเภทซู เปอร์ ออกไซด์ เช่ น KO2
ออกซิเจนจะมีเลขออกซิเดชันนัมเบอร์ ต่างออกไป ถ้ า K มีออกซิเดชันนัมเบอร์ ปกติ แต่ ละอะตอมของ
ออกซิเจนใน KO2 จะมีออกซิเดชันนัมเบอร์ เท่าใด
1) +1/2 2) -1/2
3) +1 4) -1
45. ออกซิเจนมีออกซิเดชันนัมเบอร์ ได้ หลายค่ า จากตัวอย่างข้ างล่างนี้ จงเลือกสารประกอบทีอ่ อกซิเจนมี
ออกซิเดชันนัมเบอร์ +2
1) H2CO3 2) CH3COOH
3) KO2 4) OF2
46. เลขออกซิเดชันของโลหะแทรนซิชัน (X) ในสาร 4 ชนิด มีค่าเท่ากับเท่าใด ตามลาดับ KX(SO4)2,
[X(NH3)6]CI2, K2X(CN)6, [X(H2O)6]Br3
1) +3, +2, +2, -3 2) +2, +1, -2, +3
3) +3, +2, +4, +3 4) +1, +3, -4, +6
47. ออกซิเดชันนัมเบอร์ ของ Cl ใน HClO, HClO2, HClO3 และ HClO4 มีค่าเรียงตามลาดับ
1) 0, +1, +2, +3 2) -1,+1, +2, +3
3) +1, +2, +3, +4 4) +1, +3, +5, +7
90 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

48. เลขออกซิเดชันของโลหะแทรนซิชัน ในสารประกอบต่ อไปนี้


[Cr(NH3)4SO4]Cl , [Fe(H2O)5(OH)]Cl2 และ K2[PtCl4]
เป็ นดังข้ อใดตามลาดับ
1) 2 2 3 2) 2 3 2
3) 3 3 2 4) 3 3 3
49. เลขออกซิเดชั นของธาตุฮาโลเจนในสารประกอบต่ อไปนี้ มีค่าเรียงลาดับอย่ างไร
NaF, HBrO2, KIO3, KClO4, OF2
1) -1, +3, +5, +5, -1 2) -1, +3, +5, +7, +1
3) -1, +3, +5, +7, -1 4) -1, +5, +5, +7, +1
50. เลขออกซิเดชันของ Cr ใน Cr2O7 2-, CrO42- และ K3Cr(CN)6 ตามลาดับ ตรงกับข้ อใด
1) +7, +4, และ +3 2) +6, +5 และ +2
3) +6, +6 และ +3 4) +6, +6 และ +2
51. จงหาเลขออกซิเดชั นของธาตุ transition ในสารต่ อไปนี้

Co3[AsO4]2.H2O Pb3[VO4]2.PbCl2

[Cu(NH3)4]Cl2 [Fe(H2O)6]SO4

52. ผลรวมเลขออกซิเดชั นของธาตุทมี่ ีเลขออกซิเดชั นสู งทีส่ ุ ดในสารประกอบ


ต่ อไปนีเ้ ป็ นเท่าใด
K2Cr2O7 PbSO4 K2MnO4 VPO3

53 การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุทรานซิชัน มี 2 แบบ คือ 2, 8, X, 2 หรือ 2, 8, X, 1 โดย X อาจมีค่า


ระหว่าง 9-18 การจัดเรียงอิเล็กตรอนในข้ อใดเหมือนกัน (เลขอะตอม Cr = 24, Mn = 25, Fe = 26, Co = 27)
1) Fe4+ และ Mn2+ 2) Cr+ และ Co4+
3) Cr อะตอม และ Fe2+ 4) Co2+ และ Fe3+
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 91

54. ในการศึกษาเกีย่ วกับสารประกอบเชิ งซ้ อนของธาตุทรานซิชันนั้น ข้ อความใดต่ อไปนี้ ไม่ ถูกต้ อง


1) ธาตุทรานซิ ชนั มีเลขออกซิ เดชันได้หลายค่า จึงเกิดสารประกอบเชิงซ้อนได้หลายชนิด
2) เลขออกซิเดชันของโครเมียมในสารเชิงซ้อน K[Cr(SO4)2] และ K3[CrF6] มี ค่าเท่ากัน
3) สี ของสารประกอบเชิงซ้อนของธาตุทรานซิชนั จะเปลี่ยนเมื่อเลขออกซิเดชันของธาตุทรานซิชนั
เปลี่ยนไป
4) สี ของสารประกอบเชิงซ้อนของธาตุทรานซิ ชนั ที่มีเลขออกซิ เดชันค่าเดียวกันจะเหมือนกัน ถึงแม้วา่
ไอออนที่มาล้อมรอบธาตุทรานซิชนั จะ ต่างกันก็ตาม

55. สมบัติข้อใดทีไ่ ม่ ใช่ สมบัติของธาตุทรานซิชัน


1) เวเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตุทรานซิ ชนั ในแต่ละคาบอยูร่ ะดับพลังงาน
เดียวกัน และมักมีค่าเป็ น 1 หรื อ 2 เช่นเดียวกับธาตุหมู่ 1 และหมู่ 2
2) มีเลขออกซิ เดชันได้หลายค่า และสารประกอบเชิงซ้อนหลายชนิดมักมีสี
3) เนื่องจากธาตุทรานซิ ชนั อยูใ่ นตาแหน่งที่ต่อจากธาตุหมู่ 1 และหมู่ 2 ในตารางธาตุ
จึงย่อมมีจุดหลอมเหลวจุดเดือด และ E0 ต่ากว่าโลหะหมู่ที่ 1และหมู่ที่ 2
4) ธาตุทรานซิ ชนั มีสมบัติคล้ายกันตามคาบมากกว่าธาตุอื่นๆ ในตารางธาตุ

56. เมื่อเติมสารละลายแอมโมเนียลงในสารละลายทีม่ ีไอออน X2+ และ Y3+ ปนกันอยู่ จะได้ ตะกอนเกิดขึน้ ในครั้ง
แรก แต่ หลังจากที่เติมแอมโมเนียมากขึน้ ตะกอนบางส่ วนทีเ่ กิดจาก X จะละลายกลายเป็ นสารละลายสี ฟ้า
ส่ วนตะกอนทีเ่ หลือจะมีสีขาว ซึ่งเมื่อเติม OH – มากเกินพอ ตะกอนจะละลายกลายเป็ นสารละลาย จากการ
ทดลองนี้ ข้ อใดสรุ ปถูกต้ อง
1) ธาตุ X และ Y เป็ นธาตุทรานซิ ชนั ทั้งคู่
2) ธาตุ X เป็ นโลหะ แต่ธาตุ Y เป็ นธาตุทรานซิชนั
3) ธาตุ X เป็ นธาตุในหมู่อื่น แต่ธาตุ Y เป็ นธาตุทรานซิชนั
4) ธาตุ X เป็ นธาตุทรานซิ ชนั แต่ธาตุ Y เป็ นธาตุในหมู่อื่น
92 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

57. ถ้ ายิงอนุภาคแอลฟาเข้ าไปในนิวเคลียสของ จะให้ และ X


ถ้ ายิงอนุภาคแอลฟาเข้ าไปในนิเคลียสของ จะให้ และ Y
ถ้ ายิง 14N ด้ วย Z จะให้ 14C และโปรตอน
X, Y และ Z คืออนุภาคใด ตามลาดับ
1) นิวตรอน โพรซิตรอน รังสี แอลฟา
2) รังสี บีตา โพรซิตรอน รังสี แอลฟา
3) โปรตรอน โพรซิตรอน นิวตรอน
4) โพรซิตรอน นิวตรอน นิวตรอน

58. ถ้ า Pb – 214 สลายตัวให้ รังสี ต่างๆ ดังนี้


→ → →
x y z
รังสี x, y และ z คืออะไร ตามลาดับ
1) รังสี บีตา นิวตรอน รังสี แอลฟา
2) รังสี แอลฟา รังสี บีตา รังสี แกมมา
3) รังสี บีตา รี งสี บีตา รังสี แอลฟา
4) รังสี แกมมา รังสี บีตา รังสี แอลฟา

59. ในการรักษาโรคมะเร็งโดยใช้ รังสี บาบัด จะอาศัย Co-60 เพือ่ ให้ รังสี ทาลายเนือ้ เยือ่ มะเร็งตามปฏิกริ ิยา
→ + Y + Z จงหาว่า Y และ Z คือข้ อใด
1) รังสี เอ็กซ์ รังสี แกมมา 2) รังสี แกมมา รังสี แอลฟา
3) รังสี แอลฟา รังสี เบตา 4) รังสี เบตา รังสี แกมมา

60. พิจารณาการสลายตัวของ C-14


→ + t1/2 = 5730 ปี ถ้ าเริ่มต้ นด้ วย C-14 ปริมาณ 28 มิลกรัม เมื่อเวลาผ่ านไป 17,190 ปี จะ
มี N-14 เกิดขึน้ กีม่ ิลลิโมล
โครงสร้ างอะตอมและตารางธาตุ | 93

เฉลยการบ้ าน
ชุ ดที่ 1 ชุ ดที่ 2
ข้อ 1-5 ข้อ 6-10 ข้อ 11-15 ข้อ 16-20 ข้อ 21-25 ข้อ 1-5 ข้อ 6-10 ข้อ 11-15 ข้อ 16-20 ข้อ 21-25
- 1 1 4 1 - 3 3 1 4
2 2 1 1 4 4 Zn2+ 2 2 2
2 2 3 3 4 2 I- 3 3 3
1 2 6s2 2 3 - 4 1 3
2 49 1 4 4 3 3 4 4 1
ชุ ดที่ 3
ข้อ 1-5 ข้อ 6-10 ข้อ 11-15 ข้อ 16-20 ข้อ 21-25 ข้อ 26-30 ข้อ 31-35
- 4 3 2 1 2 2
3 3 3 3 2 3 2
1 3 2 3 4 2 2
3 4 3 2 3 3 4
4 2 4 2 4 3 3
ชุ ดที่ 4
ข้อ 1-5 ข้อ 6-10 ข้อ 11-15 ข้อ 16-20 ข้อ 21-25 ข้อ 26-30 ข้อ 31-35 ข้อ 36-40 ข้อ 41-45 ข้อ 46-50
2 2 1 2 2 4 1 - 2 1
4 1, 2 1 3 1 1 2, 3 3 3 3
2 2 3 1 2 1 3 4 4 3
1 3 3 3 1 3 2 2 4 4
2 - 2 2 4 4 4 2 2 4
ชุ ดที่ 5
ข้อ 1-5 ข้อ 6-10 ข้อ 11-15 ข้อ 16-20 ข้อ 21-25 ข้อ 26-30 ข้อ 31-35 ข้อ 36-40 ข้อ 41-45 ข้อ 45-50 ข้อ 51-55 ข้อ 56-60
3 2 3 2 3 3 4 2 1 3 - 4
3 1 3 2 4 3 3 3 3 4 21 4
1 1 1 4 4 3 3 1 3 3 2 3
1 4 2 1 2 4 2 3 2 3 4 4
3 4 2 4 2 1 4 4 4 3 3 1.75

You might also like