You are on page 1of 21

7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566

ตอนที่ 3 วิทย์-ฟิสิกส์

1. ปริมาณใดต่อไปนี้เป็นปริมาณฐานทั้งหมด
ก. กำลัง มวล ความยาว ข. มวล เวลา ความยาว
ค. แรง งาน กระแสไฟฟ้า ง. เวลา ความดัน ปริมาณสาร

2. ปริมาณกายภาพในข้อใดที่ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทางจึงจะสมบูรณ์
ก. แรง งาน ความเร็ว ข. น้ำหนัก ความเร่ง การกระจัด
ค. โมเมนตัม สนามไฟฟ้า ความถี่ ง. สนามแม่เหล็ก ความเร็ว พลังงาน

3. ปริมาณกายภาพข้อใดไม่เป็นปริมาณเวกเตอร์
ก. ความเร็ว สนามแม่เหล็ก ข. กำลัง ความหนาแน่น
ค. มวล อุณหภูมิ ง. พลังงาน ความถี่

4. วัตถุชิ้นหนึ่งวางอยู่นิ่งบนพื้นที่ไม่มีแรงเสียดทาน เมื่อออกแรงคงตัว และ กระทำต่อวัตถุพร้อมกันในทิศทาง


ดังภาพ (เวกเตอร์ในภาพแสดงทิศทางของแรงเท่านั้น ไม่ได้แสดงถึงขนาดของแรง) ซึ่งการออกแรงแบ่งเป็น 2
ช่วงเวลาที่ต่อเนื่องกัน ดังตาราง
ขนาดของแรง (N)
ช่วงเวลา (ที่ต่อเนื่องกัน)

ช่วงที่ 1 90 100
ช่วงที่ 2 120 120

ในช่วงที่ 1 และ 2 วัตถุจะมีสภาพการเคลื่อนที่เป็นอย่างไร


ช่วงที่หนึ่ง ช่วงที่สอง
ก. เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว หยุดนิ่ง
ข. เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว
ค. เคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงตัว หยุดนิ่ง
ง. เคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงตัว เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว

1
7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566

5. กล่องบรรจุของหนัก 2,000 นิวตัน ถูกผลักให้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวไปบนพื้นถนน ซึ่งเกิดแรงเสียด


ทานจลน์ 2,500 นิวตัน จงหาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์ระหว่างกล่องบรรจุของกับพื้นถนน
ก. 0.75 ข. 1
ค. 1.25 ง. 1.5

6. แม่ค้าหาบตะกร้าผลไม้ 2 อัน ด้วยคานยาว 2 เมตร ถ้าตะกร้าอันหนึ่งมีมวล 30 กิโลกรัม จงหาว่าตะกร้าอีก


อันหนึ่งมีมวลเท่าไร ถ้าแม่ค้าหาบห่างจากตะกร้าอันที่เบาเป็นระยะ 120 เซนติเมตร
ก. 10 กิโลกรัม ข. 15 กิโลกรัม
ค. 20 กิโลกรัม ง. 25 กิโลกรัม

จากรูปที่กำหนดให้ คือรูปคาน AB ยาว 6 เมตร มีวัตถุแขวนตามตำแหน่งต่าง ๆ ดังภาพ โดยคานไม่มีน้ำหนัก


จงตอบคำถาม ข้อ 7-8

7. โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกามีค่าเท่าไร
ก. 20 N.m ข. 40 N.m
ค. 60 N.m ง. 80 N.m

8. เมื่อคานอยู่ภาวะสมดุล X มีค่าเท่าไร
ก. 10 N ข. 30 N
ค. 40 N ง. 50 N

2
7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566
9. เหล็กมีความหนาแน่น 7.8 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร เหล็กขนาด 2 ลูกบาศก์เมตร เหล็กจะมีน้ำหนัก
เท่าใด
ก. 15.6 กรัม ข. 15.6 นิวตัน
ค. 15600 กิโลกรัม ง. 156000 นิวตัน

10. เทน้ำมันลงในบีกเกอร์จนมีความสูง 10 เซนติเมตร จงหาความดันที่น้ำมันกระทำต่อก้นบีกเกอร์ ว่ามีค่ากี่


Pa. (กำหนดให้ ความหนาแน่นของน้ำมั้น มีค่า 800 kg/m³ )
ก. 1000 ข. 800
ค. 600 ง. 400

11. แท่งเหล็กอันหนึ่งมีความกว้าง 0.10 เมตร ยาว 0.30 เมตร และสูง 0.10 เมตร มีน้ำหนัก 67.6 นิวตัน เมื่อ
หย่อนลงไปในน้ำชั่งน้ำหนักได้ 38.2 นิวตัน จงหาแรงพยุง ของน้ำที่กระทำต่อแท่งเหล็ก
ก. 23.2 นิวตัน ข. 29.4 นิวตัน
ค. 25.8 นิวตัน ง. 30.2 นิวตัน

12. ผูกเชือกกับแท่งไม้ซึ่งวางอยู่บนพื้นราบที่มีความเสียดทาน แล้วออกแรงดึงเชือกในแนวระดับ แต่แท่งไม้ยัง


อยู่นิ่งไม่เคลื่อนที่ ดังภาพ

แรงที่มือดึงเชือก กับ แรงที่แท่งไม้ดึงเชือก เป็นแรงคู่กิริยา - ปฏิกิริยากันหรือไม่ เพราะเหตุใด(O-netปี62)


ก. เป็น เพราะแรงทั้งสองมีขนาดเท่ากันและมีทิศทางเดียวกัน
ข. เป็น เพราะแรงทั้งสองมีขนาดเท่ากันและมีทิศทางตรงข้ามกัน
ค. ไม่เป็น เพราะแรงทั้งสองเป็นแรงที่กระทำบนวัตถุต่างชิ้นกัน
ง. ไม่เป็น เพราะแรงทั้งสองเป็นแรงที่กระทำบนวัตถุชิ้นเดียวกัน
13. รถยนต์คันหนึ่งวิ่งด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จากเมือง A ไปยังเมือง B ที่อยู่ห่างกัน 200
กิโลเมตร ถ้าออกเดินทางเวลา 06.00 น. จะถึงปลายทางเวลาเท่าใด
ก. 07.30 น. ข. 08.00 น.
ค. 08.30 น. ง. 09.00 น.

3
7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566
15. รถยนต์คันหนึ่งวิ่งด้วยความเร็วคงที่ 40 km/hr เป็นเวลา 2 นาที แล้วเครื่องยนต์ดับ จึงปล่อยให้รถวิ่ง
ต่อไปด้วยความหน่วงคงที่ ซึ่งรถสามารถเคลื่อนที่ไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งหยุดนิ่งโดยใช้เวลาไปทั้งหมด 30 วินาที
ระยะทางที่รถเคลื่อนที่ได้ทั้งหมดมีค่าเท่าใด
ก. 0.5 m ข. 1.0 m
ค. 1.5 m ง. 2.0 m

16. ในการเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง กราฟข้อใดแสดงว่าวัตถุกำลังเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงตัว

ก. ข.

ค. ง.

17. รถยนต์ A และ B วิ่งคู่กันมาด้วยความเร็วคงตัว 15 m/s ขณะเวลาหนึ่งรถยยนต์ A เพิ่มความเร็วอย่าง


สม่ำเสมอด้วยอัตราคงตัว 5 m/s2 ขณะเดียวกัน รถยนต์ B ลดความเร็วลงด้วยอัตราคงตัว 5 m/s2 จงหาว่า
ทันทีที่รถยนต์ B หยุดนิ่ง รถยนต์ A อยู่ข้างหน้ารถยนต์ B เป็นระยะทางเท่าใด
ก. 40 m ข. 45 m
ค. 50 m ง. 55 m

4
7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566
18. โยนวัตถุก้อนหนึ่งขึ้นไปในแนวดิ่ง โดยวัตถุขึ้นถึงจุดสูงสุดที่ B ถ้า A และ C เป็นจุดที่อยู่ในระดับเดียวกัน
ดังรูป เมื่อไม่คิดผลของแรงต้านอากาศ ข้อใดต่อไปนี้ถูก

ก. ที่จุด B วัตถุมีความเร็วและความเร่งเป็นศูนย์
ข. ที่จุด A และ C วัตถุมีความเร็วเท่ากัน
ค. ที่จุด A และ C วัตถุมีความเร่งขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงข้าม
ง. ที่จุด A B และ C วัตถุมีความเร่งเท่ากันทั้งขนาดและทิศทาง

19. มะเฟืองยืนอยู่บนตึกสูง 500 m ปล่อยลูกบอลลงมาจากตึก อยากทราบว่าลูกบอลจะตกถึงพื้นเมื่อเวลา


ผ่านไปเท่าใด และขณะที่ลูกบอลกำลังจะถึงพื้น ความเร็วของลูกบอลเป็นเท่าใด
ก. ลูกบอลจะตกถึงพื้นเมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที และขณะที่ลูกบอลกำลังจะถึงพื้น ความเร็วของลูกบอลเป็น
100 เมตรต่อวินาที
ข. ลูกบอลจะตกถึงพื้นเมื่อเวลาผ่านไป 20 วินาที และขณะที่ลูกบอลกำลังจะถึงพื้น ความเร็วของลูกบอลเป็น
200 เมตรต่อวินาที
ค. ลูกบอลจะตกถึงพื้นเมื่อเวลาผ่านไป 30 วินาที และขณะที่ลูกบอลกำลังจะถึงพื้น ความเร็วของลูกบอลเป็น
300 เมตรต่อวินาที
ง. ลูกบอลจะตกถึงพื้นเมื่อเวลาผ่านไป 40 วินาที และขณะที่ลูกบอลกำลังจะถึงพื้น ความเร็วของลูกบอลเป็น
400 เมตรต่อวินาที

5
7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566
20. กรณีในข้อใดต่อไปนี้ไม่เกิดงานในความหมายทางฟิสิกส์
ก. ยกของจากพื้นขึ้นไปไว้บนโต๊ะ
ข. เดินจากชั้นล่างขึ้นชั้นบน
ค. กรรมกรเดินแบกกระสอบข้าวสารไปตามถนนราบ
ง. เข็นรถให้เคลื่อนที่

21. วัตถุมวล 4 กิโลกรัม วางนิ่งบนพื้นระดับ ถูกดึงให้เคลื่อนที่ในแนวตรงนาน 8 วินาที ความเร็วสุดท้ายเป็น


40 เมตร/วินาที งานที่เกิดกี่จูล
ก. 180 ข. 1600
ค. 3100 ง. 3200

22. ช้างหนัก 500 กิโลกรัม ลากท่อนซุงด้วยแรง 1,000 นิวตัน ไปได้เป็นระยะทาง 0.6 กิโลเมตร ในเวลา 10
นาที ช้างเชือกนี้จะมีกำลังกี่วัตต์
ก. 100 ข. 1,000
ค. 10,000 ง. 100,000

23. จงหากำลังของเครื่องจักรเครื่องหนึ่ง ซึ่งสามารถทำงานได้ 500 จูล ภายในเวลา 2 วินาที


ก. 250 วัตต์ ข. 498 วัตต์
ค. 502 วัตต์ ง. 1000 วัตต์

24. สปริงตัวหนึ่งมีค่าคงที่ 500 นิวตัน/เมตร เมื่อดึงให้สปริงยืดออกเป็นระยะทาง 10 เซนติเมตร ต้องใช้


พลังงานในการดึงสปริงเท่าใด
ก. 2.5
ข. 25
ค. 250
ง. 2500

6
7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566
25.

นักเรียนคนหนึ่งออกแรง 100 นิวตัน ผลักวัตถุให้เคลื่อนที่ได้ระยะทางดังภาพงานที่นักเรียนคนนี้ทำได้เท่ากับกี่


นิวตัน - เมตร
ก. 50 ข. 300
ค. 350 ง. 400

26. ลิฟท์ขนสินค้าตัวหนึ่งบรรทุกสินค้ามีน้ำหนักรวม 1,500 กิโลกรัม เคลื่อนที่จากชั้นล่างขึ้นไป ซึ่งสูงจากพื้น


28 เมตร จะมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงเท่าใด
ก. 420 กิโลจูล
ข. 320 กิโลจูล
ค. 220 กิโลจูล
ง. 120 กิโลจูล

27. อัตราเร็วของวัตถุหนึ่งเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าของเดิม อยากทราบว่าพลังงานจลน์จะเพิ่มขึ้นเป็นกี่เท่าจาก


ของเดิม
ก. 2 เท่า ข. 4 เท่า
ค. 6 เท่า ง. 8 เท่า

28. วัตถุ 0.5 กิโลกรัม กำลังเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 10 เมตรต่อวินาที ขณะกระทบพื้นมีพลังงานจลน์เท่าใด


ก. 5 จูล
ข. 15 จูล
ค. 25 จูล
ง. 35 จูล

7
7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566
29. คานในข้อใดเป็นคานประเภทสาม
ก. ค้อนงัดตะปู ข. คีมคีบน้ำแข็ง
ค. คีมปากนกแก้ว ง. กรรไกรตัดหญ้า

30. คันเบ็ดเป็นคานอันดับใด
ก. คานอันดับ 1 ข. คานอันดับ 2
ค. คานอันดับ 3 ง. คานอันดับใดก็ได้

31. วัตถุ 2 กิโลกรัม ตกจากดาดฟ้าตึกสูง 20 เมตร ขณะกระทบพื้นมีพลังงานจลน์เท่าใด


ก. 100 J ข. 200 J
ค. 300 J ง. 400 J

32. สปริงตัวหนึ่งมีค่าคงที่ 500 นิวตัน/เมตร เมื่อดึงให้สปริงยืดออกเป็นระยะทาง 10 เซนติเมตร ต้องใช้


พลังงานในการดึงสปริงเท่าใด
ก. 2.5 ข. 25
ค. 2500 ง. 25000

33. จากกราฟระหว่างปริมาณความร้อนที่ให้กับสาร กับอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น ข้อใดถูกต้อง โดยสารทั้งสองมีมวล


เท่ากัน

ก. สาร A มีความจุความร้อนจำเพาะมากกว่าสาร B
ข. สาร A มีความจุความร้อนจำเพาะน้อยกว่าสาร B
ค. สาร A มีความจุความร้อนจำเพาะเท่ากับสาร B
ง. สาร A มีความจุความร้อนเท่ากับสาร B

8
7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566
34. เหล็กความจุความร้อนจำเพาะ 450 J/kg K น้ำความจุความร้อนจำเพาะ 4,180 J/kg K เหล็กและน้ำมี
มวลเท่ากันอุณหภูมิเท่ากัน เมื่อทำให้อุณหภูมิลดลงเท่ากัน สารใดจะคายความร้อนได้มากกว่า
ก. เหล็ก ข. น้ำ
ค. เท่ากันทั้งเหล็กและน้ำ ง. ข้อมูลไม่เพียงพอ

35. ก้อนน้ำแข็งมวล 800 g อุณหภูมิ -10 °c ถ้าต้องการให้ละลายหมดพอดีจะต้องใช้พลังงานความร้อนอย่าง


น้อย กี่แคลอรี่ กำหนดความจุความร้อน จำเพาะของเเข็ง คือ 0.5 Cal/g °c และค่าความร้อนแฝงของการ
หลอมเหลวน้ำแข็งมีค่า 80 Cal/ g
ก. 680 Cal. ข. 6ม800 Cal.
ค. 68,000 Cal. ง. 680,000 Cal.

36. วัตถุชิ้นหนึ่งมีอุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส มีค่าเท่ากับกี่เคลวิน


ก. 273 K ข. 308 K
ค. -238 K ง. -373 K

37. เมื่อของเหลวได้รับความร้อน อนุภาคของของเหลวจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร


ก. พลังงานลดลง เคลื่อนที่ลดลง และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคลดลง
ข. พลังงานลดลง เคลื่อนที่ลดลง และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคมากขึ้น
ค. พลังงานเพิ่มขึ้น เคลื่อนที่เพิ่มขึ้น และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคมากขึ้น
ง. พลังงานเพิ่มขึ้น เคลื่อนที่เพิ่มขึ้น และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคลดลง

9
7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566
38. ถ้าต้องการผสมน้ำเพื่อให้เด็กทารก โดยผสมน้ำมวล 3,000 กรัม ที่มีอุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส เข้ากับน้ำ
ร้อนมวล 2000 กรัม อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส จงคำนวณอุณหภูมิของน้ำเมื่อเกิดสมดุลความร้อน (ความ
ร้อนจำเพาะของน้ำ เท่ากับ 1 แคลอรี/กรัม องศาเซลเซียส)
ก. 55 องศาเซลเซียส ข. 56 องศาเซลเซียส
ค. 57 องศาเซลเซียส ง. 58 องศาเซลเซียส

39. นักเรียนทดลองจับลวดที่ปลายด้านหนึ่ง และนำลวดปลายอีกด้านหนึ่งไปจ่อเหนือเปลวไฟ เพราะเหตุ


ใดเราจึงรู้สึกร้อนมือ
ก. เกิดการนำความร้อน ข. เกิดการพาความร้อน
ค. เกิดการกระจายความร้อน ง. เกิดการแผ่รังสีความร้อน

40. การแผ่รังสีความร้อนเกิดขึ้นในบริเวณสุญญากาศได้หรือไม่ เพราะเหตุใด


ก. ได้ เพราะบริเวณสุญญากาศเกิดการแผ่รังสีความร้อนได้ดีที่สุด
ข. ไม่ได้ เพราะบริเวณสุญญากาศไม่มีสารเป็นพาหะความร้อน
ค. ไม่ได้ เพราะบริเวณสุญญากาศมีความกดอากาศน้อยมาก ทำให้เคลื่อนที่ได้น้อย
ง. ได้ เพราะการแผ่รังสีความร้อนไม่จำเป็นต้องอาศัยอนุภาคของตัวกลาง
41. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ คำตอบที่ถูกคือ
1.คลื่นกล หมายถึงคลื่นที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
2.คลื่นตามขวาง หมายถึงคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางสั่นในทิศตั้งฉากกับทิศของคลื่น
3.คลื่นตามยาว หมายถึงคลื่นที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
ก. ข้อ 1 , 3 ข. ข้อ 2 , 3
ค. ข้อ 1 , 2 ง. ข้อ 1 , 2 , 3

10
7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566

42. จากภาพ A เรียกว่าอะไร และ จุด b ถึง f และ เรียกว่าอะไร ตามลำดับ

ก.ความยาวคลื่น และ แอมพลิจูด ข.แอมพลิจูดและ ความถี่คลื่น


ค. ความยาวคลื่น และ ท้องคลื่น ง. แอมพลิจูด และ ความยาวคลื่น

43. ความถี่เสียงช่วงใดที่หูของคนไม่ได้ยินเสียง
ก. สูงกว่า 20 Hz ข. สูงกว่า 20,000 Hz
ค. ช่วง 20-20,000 Hz ง. ต่ำกว่า 20,000 Hz

44. คลื่นขบวนหนึ่งเกิดจากแหล่งกำเนิด 400 ลูก ภายในเวลา 5 วินาที คลื่นนี้มีความถี่เท่าไร


ก. 20 เฮิรตซ์ ข. 40 เฮิรตซ์
ค. 60 เฮิรตซ์ ง. 80 เฮิรตซ์

45. สมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าตามทฤษฎีของแมกซ์เวลล์ ข้อใดผิด


ก. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิดต้องมีความเร็วเท่ากับแสง
ข. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกตัวมีพลังงาน
ค. ถ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าถูกดูดกลืนจะทำให้วัตถุที่รับคลื่นนั้นเย็นลง
ง. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดใดก็ตามเมื่อเกิดขึ้นแล้วต้องมีวิธีการที่ส่งพลังงานต่อไป

11
7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566
46. ข้อใดบรรยายลักษณะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่ถูกต้อง
ก. เป็นคลื่นตามขวาง
ข. ในสุญญากาศมีอัตราเร็วเท่ากับ 3×10⁸ m/s
ค. ประกอบด้วยคลื่นของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่สั่นตั้งฉากกัน
ง. เป็นคลื่นที่มีประจุไฟฟ้า

47. การตรวจหาตำแหน่งของวัตถุด้วยเรดาห์อาศัยการส่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในข้อใด
ก.รังสีแกมมา ข.อินฟาเรด
ค.คลื่นสั้น ง.ไมโครเวฟ

48. ข้อใดเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ก. คลื่นเสียง ข. แสง
ค. คลื่นในเส้นเชือก ง. คลื่นในสปริง

49. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่นิยมใช้ในรีโมทควบคุมการทำงานของเครื่องโทรทัศน์ คือข้อใด


ก.อินฟราเรด ข. ไมโครเวฟ
ค. คลื่นวิทยุ ง. อัลตราไวโอเลต

50. แสงสีใดต่อไปนี้ที่มีความถี่น้อยที่สุด
ก. สีน้ำเงิน ข. สีม่วง
ค. สีเหลือง ง. สีแดง

51. ข้อใดเรียงลำดับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากความยาวถี่คลื่นมากไปน้อยที่ถูกต้อง
ก. รังสีเอกซ์ อินฟาเรด ไมโครเวฟ
ข. อินฟราเรด ไมโครเวฟ รังสีเอกซ์
ค. รังสีเอกซ์ ไมโครเวฟ อินฟราเรด
ง. ไมโครเวฟ อินฟราเรด รังสีเอกซ์

12
7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566
52. ข้อใดเป็นภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ
ก. ภาพเสมือนจริง หัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ
ข. ภาพเสมือนจริง หัวตั้ง ขนาดเท่ากับวัตถุ
ค. ภาพจริง หัวกลับ ขนาดเล็กกว่าวัตถุ
ง. ภาพจริง หัวกลับ ขนาดโตกว่าวัตถุ
53. กระจกเงา 2 ชิ้น ทำมุมกัน 60 องศา เมื่อเรายืนที่หน้ากระจกเงาทั้งสอง จะเกิดการสะท้อนภาพให้เห็น กี่
ภาพ
ก. 5
ข. 6
ค. 7
ง. 8
54. กระจกเงาราบวางตั้งฉากกันดังรูป ถ้าฉายรังสีแสงให้ตกกระทบกระจก AB โดยทำมุม 30 องศากับผิว
กระจก รังสีแสงที่สะท้อนออกจากกระจก BC จะทำมุมกับผิวกระจก BC เท่าไร

ก. 30 องศา
ข. 45 องศา
ค. 53 องศา
ง. 60 องศา

13
7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566
55. วัตถุอยู่ที่ตำแหน่ง F ภาพจะเป็นภาพแบบใดและเกิดขึ้นที่ตำแหน่งใด

ก. ภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุที่ตำแหน่งระหว่างจุด V กับ F
ข. ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุที่ตำแหน่งระหว่างจุด V กับ F
ค. ภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุที่ตำแหน่งระหว่างจุด V กับ - F
ง. ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุที่ตำแหน่งระหว่างจุด V กับ - F

56. วัตถุอยู่ที่ตำแหน่ง ∞ กับ C

ก. ภาพจริงหัวกลับขนาดใหญ่กว่าวัตถุที่ตำแหน่งระหว่างจุด C กับ ∞
ข. ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุที่ตำแหน่งระหว่างจุด C กับ ∞
ค. ภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุที่ตำแหน่งระหว่างจุด C กับ F
ง. ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุที่ตำแหน่งระหว่างจุด C กับ F

57. การสะท้อนกลับหมดจะสามารถเกิดขึ้นเมื่อแสงเดินทางตามข้อใด
ก. จากอากาศไปน้ำ ข. จากอากาศไปแก้ว
ค. จากน้ำไปแก้ว ง. จากแก้วไปน้ำ

14
7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566
58. ถ้าเราอยู่ใต้น้ำเมื่อมองวัตถุบนอากาศจะมีลักษณะอย่างไร
ก. เห็นอยู่สูงกว่าตัวจริง ข. เห็นอยู่ต่ำกว่าตัวจริง
ค. เห็นตัวโตกว่าตัวจริง ง. เห็นเป็นภาพหัวกลับ

59. จะต้องวางวัตถุหน้าเลนส์เว้าเป็นระยะทางเท่าใดจึงเกิดภาพเสมือนขนาดเล็กกว่าวัตถุ
ก. ใกล้กว่าความยาวโฟกัสของเลนส์
ข. ไกลกว่า 2 เท่าของความยาวโฟกัสของเลนส์
ค. ไกลกว่าความยาวโฟกัสแต่ใกล้กว่าสองเท่าของความยาวโฟกัส
ง. ห่างจากเลนส์เท่าใดก็ได้

60. ภาพเสมือน คือ ภาพตามข้อใด

ก. ข้อ 1,3,5,7 ข. ข้อ 2,4,6,8


ค. ข้อ 3,4,5,6,8 ง. ข้อ 1,2,3,4,5,8

61. แว่นสำหรับผู้มีสายตายาว จะใช้เลนประเภทใด


ก.เลนส์เว้า ข.เลนส์กาบกล้วย
ค.เลนส์นูน ง.เลนส์ผสม

62. ทัศนะอุปกรณ์ที่ใช้ติดตามสี่แยกจราจร คืออะไร


ก. เลนนูน ข. กระจกโค้งนูน
ค. กระจกโค้งเว้า ง. กระจกเงาราบ
63. ทันตะแพทย์ใช้อุปกรณ์ใดในการส่องดูรายละเอียดของช่องปากและฟัน
ก.เลนนูน ข. กระจกโค้งนูน
ค. กระจกโค้งเว้า ง. กระจกเงาราบ

15
7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566
64. แว่นสำหรับผู้มีสายตาสั้น จะใช้เลนประเภทใด
ก.เลนส์เว้า ข.เลนส์กาบกล้วย
ค.เลนส์นูน ง.เลนส์ผสม

65. กระจกเว้าความยาวโฟกัส 8 cm ต้องการให้เกิดภาพจริงใหญ่กว่าวัตถุต้องวาง วัตถุไว้ที่ใด


ก. ห่างจากกระจก 8 cm ข. ห่างจากกระจกน้อยกว่า 8 cm
ค. ห่างจากกระจกมากกว่า 8 cm แต่น้อยกว่า 16 cm ง. ห่างจากกระจก 16 cm

66. นำกระจกนูนเข้ามาวางใกล้วัตถุชิ้นหนึ่ง โดยอยู่ห่างจากวัตถุไม่มากนัก พบว่าได้ ภาพหลังกระจกและอยู่


ห่างจากกระจก 15 cm ต้องใช้กระจกนูนความยาว โฟกัสเท่าใด
ก. 5 cm ค. 10 cm
ค. 15 cm ง. 20 cm

67. จงหาว่าต้องวางวัตถุไว้ห่างจากกระจกเว้าซึ่งมีความยาวโฟกัส 150 mm เป็นระยะเท่าใดจึงจะเกิดภาพ


หัวตั้งใหญ่กว่าวัตถุ 3 เท่า
ก. 100 mm ข. 200 mm
ค. 300 mm ง. 600 mm

68. เลนส์เว้ามีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร เมื่อวางวัตถุอยู่ห่างเลนส์นูน 6 เซนติเมตร ภาพที่เกิดขึ้นเป็น


ภาพชนิดใด และอยู่ที่ใด
ก. ได้ภาพจริงที่อยู่ห่างเลนส์นูน 15 เซนติเมตร
ข. ได้ภาพจริงที่อยู่ห่างเลนส์นูน 45 เซนติเมตร
ค. ได้ภาพเสมือนที่อยู่ห่างเลนส์นูน 5 เซนติเมตร
ง. ได้ภาพเสมือนที่อยู่ห่างเลนส์นูน 15 เซนติเมตร

16
7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566
69. วัตถุที่สูญเสียอิเล็กตรอนให้กับวัตถุอื่น วัตถุนั้นจะแสดงอำนาจไฟฟ้าตามข้อใด
ก. อำนาจไฟฟ้าบวก ข. อำนาจไฟฟ้าลบ
ง. สภาพเป็นกลาง ง. แสดงอำนาจทั้งบวกและลบ ลับกัน

70. ข้อใดอธิบายได้ถูกต้องเกี่ยวกับการไหลของกระแสไฟฟ้า
ก. ไหลจากที่ศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังศักย์ไฟฟ้าต่ำ ข. ไหลจากที่ศักย์ไฟฟ้าต่ำไปยังศักย์ไฟฟ้าสูง
ค. ไหลจากที่อุณหภูมิสูงไปยังที่อุณหภูมิต่ำ ง. ไหลจากขั้วลบไปยังขั้วบวก

71. กระแสไฟฟ้าที่ใช้ตามบ้านเรือนเป็นกระแสไฟฟ้าชนิดใด
ก. ไฟฟ้ากระแสตรง ข. ไฟฟ้ากระแสสลับ
ค. ไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ ง. กล่าวผิดทุกข้อ

72. อัตราส่วนระหว่าความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านลวดตัวนำไฟฟ้าใดๆคือข้อใด
ก. ปริมาณประจุไฟฟ้า ข. แรงเคลื่อนไฟฟ้า
ค. ความต้านทานไฟฟ้า ง. ความต่างศักย์ไฟฟ้า

73. เครื่องมือชนิดใดที่ใช้วัดค่าความต้านทาน
ก. โอห์มมิเตอร์ ข. แอมป์มิเตอร์
ค. โวลต์มิเตอร์ ง. วัตต์มิเตอร์

74.กฎของโอห์ม ให้ความสัมพันธ์ระหว่าง I และ V เป็นอย่างไร


ก. แปรผันตรง ข. แปรผกผัน
ค. ไม่แน่ใจ ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข้อ ข

17
7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566
75. เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้า คือข้อใด
ก. แอมมิเตอร์ ข. โวลต์มิเตอร์
ค. โอห์มมิเตอร์ ง. กัลป์วานอมิเตอร์

76. วิทยุเครื่องหนึ่งใช้ความต่างศักย์ 220 โวลต์ ขณะใช้งานมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านวิทยุ 2.2 แอมแปร์ อยาก


ทราบว่าวิทยุมีความต้านทานเท่าไร
ก. 0.01 โอห์ม ข. 100 โอห์ม
ค. 222.2 โอห์ม ง. 484 โอห์ม

77. ถ่านไฟฉายมีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 3 โวลต์ เมื่อต่อเข้ากับความต้านทานภายนอก 4 โอห์ม มีกระแสไหลผ่าน


วงจร 0. 5 แอมแปร์ จงหาความต้านทานภายใน
ก. 0.5 โอห์ม ข. 1 โอห์ม
ค. 2 โอห์ม ง. 7.5 โอห์ม

78. ในวงจรไฟฟ้าหนึ่งมีแบตเตอรี่แรงดันไฟฟ้า 24 V กระแสไฟฟ้าไหลผ่านหลอดไฟ 10mA ความต้านทาน


ของวงจรมีค่าเท่าใด
ก. 2.6 kΩ ข. 2 kΩ
ค. 2.2 kΩ ง. 2.4 kΩ

79. ข้อใดคือหน้าที่ของตัวต้านทาน
ก. ต้านทานแรงดันไฟฟ้า ข. จำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้า
ค. แบ่งกระแสไฟฟ้า ง. ลดแรงดันไฟฟ้า

18
7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566
80 . เมื่อตัวต้านทาน 3 ตัวต่ออนุกรมกันอยู่แล้วนำตัวต้านทานอีก 2 ตัว มาต่ออนุกรมเพิ่ม ค่าความต้านทาน
รวมของวงจรจะเป็นอย่างไร
ก. ยังเท่าเดิม ข. เพิ่มขึ้น
ค. ลดลง ง. เพิ่มขึ้น 1/3 เท่า

81. เมื่อตัวต้านทานตัวใดตัวหนึ่งใน 4 ตัวที่ต่ออนุกรมกันถูกนำออก (ไม่นำมาต่อใหม่) แล้วต่อวงจรที่จุดนั้น


ให้ครบวงจร จะทำให้กระแสในวงจรเป็นอย่างไร
ก. ลดลงตามจำนวนกระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานที่ถูกนำออก
ข. ลดลง 1/4 เท่า
ค. เพิ่มขึ้น 4 เท่า
ง. เพิ่มขึ้น

82. จากวงจร Rt มีค่าเท่าไร

ก. 75 Ω ข. 110 Ω
ค. 200 Ω ง. 280 Ω

83. พัดลมตั้งโต๊ะใช้พลังงานไฟฟ้า 68 จูล ในเวลา 1 วินาที หมายความว่าอย่างไร


ก. พัดลมตัวนี้มีกำลังไฟฟ้า 68 วัตต์
ข. พัดลมตัวนี้มีความต่างศักย์ไฟฟ้า 68 โวลต์
ค. พัดลมตัวนี้มีกระแสไฟฟ้าเป็น 68 แอมแปร์
ง. พัดลมตัวนี้มีความต้านทานไฟฟ้า 68 โอห์ม

19
7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566
84. หลอดไฟฟ้าที่ในร้านอาหารให้พลังงานไฟฟ้าไป 500 จูล ในเวลา 5 วินาที หลอดไฟฟ้าดวงนี้มี
กำลังไฟฟ้ากี่วัตต์
ก. 10 วัตต์ ข. 50 วัตต์
ค. 25 วัตต์ ง. 100 วัตต์

85. ถ้าต้องการต่อเครื่องสูบน้ำกับวงจรไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์ไฟฟ้า 220 โวลต์ กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านได้ 5


แอมแปร์ จะมีกำลังไฟฟ้าเท่าใด
ก. 44 วัตต์ ข. 88 วัตต์
ค. 1,100 วัตต์ ง. 2,200 วัตต์

86. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีสัญลักษณ์ 220 V 60 W จะสิ้นเปลืองกระแสไฟฟ้าเท่าใดขณะใช้งาน


ก. 0.03 แอมแปร์ ข. 0.06 แอมแปร์
ค. 0.27 แอมแปร์ ง. 3.7 แอมแปร์

87. วิทยุเครื่องหนึ่งใช้แบตเตอร์รี่ที่มีความต่างศักย์ 6 โวลต์ และวิทยุเครื่องนี้ใช้กำลังไฟฟ้า 3 วัตต์


กระแสไฟฟ้าทั้งหมดที่ไหลผ่านวงจรของวิทยุเป็นเท่าใด
ก. 0.5 แอมแปร์ ข. 0.6 แอมแปร์
ค. 18 แอมแปร์ ง. 3 แอมแปร์

88.หลอดไฟดวงหนึ่งไส้หลอดมีความต้านทาน 25 โอห์ม ถ้าผ่านกระแสไฟฟ้า 2 แอมแปร์ เข้าไปในหลอด


นี้ จงหากำลังไฟฟ้าของหลอด
ก. 50 วัตต์ ข. 100 วัตต์
ค. 12.5 วัตต์ ง. 625 วัตต์

20
7 วันอันตราย ติววิชาเอกวิทยาศาสตร์ สอบครูผู้ช่วย กรณีพิเศษ 2566
89. เตารีดเครื่องหนึ่งมีตัวเลขกำกับไว้ว่า 5 A 220 V ถ้านำเตารีดนี้ไปใช้กับไฟบ้านเป็นเวลา 1 นาที จะ
สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้าเท่าใด
ก. 110 กิโลจูล ข. 44 กิโลจูล
ค. 18.3 กิโลจูล ง. 66 กิโลจูล

90. ลวดเส้นหนึ่งมีความต้านทาน 10 โอห์ม เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าขนาด 2 แอมแปร์ เข้าไปเป็นเวลานาน


30 วินาที จงหาพลังงานความร้อนที่เกิดในลวดนี้
ก. 2,400 จูล ข. 1,200 จูล
ค. 3,000 จูล ง. 600 จูล

91. บ้านครูมีเครื่องใช้ไฟฟ้า 3 ชนิด คือทีวีขนาด 150 วัตต์ จำนวน 1 เครื่อง, พัดลมขนาด 100 วัตต์ จำนวน
1 เครื่อง และหลอดไฟขนาด 40 วัตต์ จำนวน 5 ดวง โดยครูจะเปิดทีวีและพัดลมพร้อมกันตั้งแต่เวลา 18.00 -
22.00 น. ทุกวัน ส่วนหลอดไฟจะเปิดพร้อมกันทั้ง 4 ดวงตั้งแต่เวลา 18.00 - 06.00 น. ทุกวัน อยากทราบว่า
ครูใช้ไฟฟ้าไปกี่ยูนิตในเดือนธันวาคม
ก. 34.20 ยูนิต ข. 38.13 ยูนิต
ค. 40.25 ยูนิต ง. 42.00 ยูนิต

21

You might also like