You are on page 1of 57

1

เมื่อครูผู้สอนนาเอกสารประกอบการสอน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์


โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7E สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
5 เล่มที่ 1 เรื่องการสะท้อนของแสง ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ควรปฏิบัติดังนี้
1. ครูควรศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ในเอกสารประกอบการสอนนี้ให้
เข้าใจ จัดเตรียมสื่อการเรียนรู้ที่ใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ให้ครบถ้วนและตรวจสอบให้อยู่ใน
สภาพที่พร้อมใช้งาน
2. ครูต้องชี้แจงขั้นตอนการเรียนโดยใช้เอกสารประกอบการสอนตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด
กิจกรรม โดยเน้นที่เป้าหมายการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้และการวัดประเมินผล ให้นักเรียน
เข้าใจก่อน และควรดาเนินการจัดชั้นเรียนให้เหมาะสมกับกิจกรรมนั้นๆ
3. ทดสอบความรู้ก่อนเรียนของนักเรียนเพื่อวัดความรู้พื้นฐานของนักเรียนเป็นรายบุคคล
4. จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เอกสารประกอบการสอน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง แสงและ
ทัศนอุปกรณ์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7E สาหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1 เรื่องการสะท้อนของแสง เล่มนี้ควบคู่กับแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
เรื่องการสะท้อนของแสง ตามคู่มือครู
5. ขณะจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครูควรให้คาแนะนาแก่นักเรียนอย่างใกล้ชิด ควรให้กาลังใจ
กระตุ้นด้วยคาถาม การเสริมแรงทางบวกและตอบข้อซักถามตลอดการทากิจกรรม แต่ไม่ใช่การบอก
คาตอบของกิจกรรม
6. เมื่อนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตามที่ระบุไว้ในชุดกิจกรรมการเรียนรู้เสร็จเรียบร้อย
ทั้งหมดแล้วครูจึงตรวจคาตอบจากเฉลยในภาคผนวกและบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนนที่
สอดคล้องกับกิจกรรมและรายการประเมิน
7. การตรวจนับคะแนนแบบทดสอบหลังเรียน คิดคะแนนผ่านเกณฑ์ที่ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ถ้านักเรียนได้คะแนนน้อยกว่าร้อยละ 80 ควรให้คาแนะนาและจัดสอนซ่อมเสริมหรือให้นักเรียน
ศึกษาเพิ่มเติมนอกเวลาเรียนอีกครั้งตามความเหมาะสม
2

เมื่อนักเรียนใช้เอกสารประกอบการสอน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์


โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7E สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
5 เล่มที่ 1 เรื่องการสะท้อนของแสง เล่มนี้ไปใช้ในการเรียนรู้ ควรปฏิบัติดังนี้
1. ศึกษาคาชี้แจงและเป้าหมายการเรียนรู้เพื่อให้ทราบว่านักเรียนจะสามารถเรียนรู้อะไรและ
เรียนรู้ได้อย่างไร
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนแบบปรนัยจานวน 10 ข้อ
3. ศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับที่ได้ระบุไว้ในเอกสารประกอบการสอนทีละกิจกรรม
จนครบถ้วน ทั้งนี้นักเรียนต้องใช้ความรู้ของตนเอง มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองโดยไม่เปิดดูเฉลยก่อน
เมื่อทาเสร็จ
4. ทาแบบทดสอบหลังเรียนแบบปรนัยจานวน 10 ข้อ
5. ส่งเอกสารประกอบการสอนให้ครูตรวจคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน เมื่อ
ปฏิบัติกิจกรรมครบถ้วนแล้ว
6. นักเรียนต้องทาคะแนนแบบทดสอบหลังเรียนให้ได้คะแนน 8 คะแนนขึ้นไปจึงจะผ่าน
เกณฑ์การประเมิน ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กาหนดไว้ ให้นักเรียนปรึกษาครูผู้สอน ทบทวนเนื้อหา
และปฏิบัติกิจกรรมตามชุดกิจกรรมการเรียนรู้ใหม่อีกครั้ง โดยการเรียนซ่อมเสริมหรือให้นักเรียน
ศึกษาเพิ่มเติมนอกเวลาเรียนอีกครั้งตามความเหมาะสม
7. หากนักเรียนต้องการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเนื้อหาสาระที่ได้เรียนรู้ในเอกสารประกอบการ
สอนนี้เพิ่มเติม นักเรียนสามารถค้นคว้าได้จากบรรณานุกรมที่ให้ไว้ได้
8. หากนักเรียนมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการเรียนสามารถปรึกษาครูผู้สอนได้ตลอดเวลา
3
4

เอกสารประกอบการสอน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ โดยใช้


กระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7E สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เล่มที่ 1 เรื่องการสะท้อนของแสง มีเป้าหมายการเรียนรู้ดังต่อไปนี้

สาระที่ 5 พลังงาน
มาตรฐาน ว 5.1 : เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูป
พลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

2.1 การสะท้อนของแสง

3.1 อธิบายการสะท้อนของแสง การหาตาแหน่ง ขนาดและชนิดของภาพที่เกิดจาก


กระจกเงาราบและกระจกเงาโค้ง ทั้งโดยการเขียนภาพและการคานวณ

1. ยกตัวอย่างสถานการณ์เพื่ออธิบายว่าแสงเดินทางเป็นเส้นตรงด้วยอัตราเร็วที่สูงมาก
2. อธิบายการสะท้อนแสงที่ผิววัตถุต่างๆ และสรุปเป็นกฎการสะท้อนของแสงได้
3. เขียนรังสีของแสงเพื่อหาตาแหน่งของภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ กระจกเงาเว้า
กระจกเงานูนและคานวณปริมาณที่เกี่ยวข้องได้
4. ยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์กระจกเงาราบ กระจกเงาเว้า กระจกเงานูน

แสงเดินทางเป็นเส้นตรงด้วยอัตราเร็วที่สูงมาก (ประมาณ 3 x 108 เมตรต่อวินาที ใน


สุญญากาศ) เราจะแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงด้วยรังสีของแสง รังสีของแสง คือเส้นตรงที่ตั้ง
ฉากกับหน้าคลื่นและแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของแสง ณ ตาแหน่งที่แสงตกกระทบ ซึ่งเป็นไปตาม
กฎการสะท้อนของแสง ที่กล่าวว่า ณ ตาแหน่งที่แสงตกกระทบ เมื่อรังสีตกกระทบ รังสีสะท้อน
และเส้นแนวฉากอยู่ในระนาบเดียวกัน มุมตกระทบเท่ากับมุมสะท้อน
5

ภาพ คือ สิ่งที่ปรากฏแก่สายตา โดยรังสีแสงที่สะท้อนออกมาจากวัตถุได้เปลี่ยนทิศทาง


แล้วเข้าสู่ตา ทาให้ประสาทตารู้สึกว่ารังสีแสงมาจากจุดอื่นไม่ใช่วัตถุเดิม แบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ
ภาพจริง เป็นภาพเกิดจากรังสีของแสงตัดกันจริง ณ จุดที่เกิดภาพจริงจะใช้ฉากรับได้มีลักษณะหัว
กลับกับวัตถุ และ ภาพเสมือน เป็นภาพที่ไม่ได้เกิดจากรังสีของแสงไปตัดกันจริงแต่มีรังสีเสมือนซึ่ง
เป็นเส้นสมมติที่ลากต่อจากแนวรังสีจริงไปตัดกัน ณ จุดที่เกิดภาพ ภาพเสมือนสามารถมองเห็นได้
ด้วยตา แต่ไม่สามารถใช้ฉากรับภาพได้มีลักษณะหัวตั้งเช่นเดียวกับวัตถุ
เราเห็นภาพของวัตถุในกระจกเงาราบได้เพราะมีแสงตกกระทบวัตถุสะท้อนเข้าตา ภาพที่
เห็นจะเป็นภาพเสมือนหัวตั้งโดย ระยะภาพ (s/) เท่ากับระยะวัตถุ (s) และ ความสูงของภาพ
(y/) เท่ากับความสูงของวัตถุ (y)
กระจกเงาเว้า คือ กระจกเงาที่ใช้ผิวโค้งเว้าเป็นผิวสะท้อนแสง และกระจกเงานูน คือ
กระจกเงาที่ใช้ผิวโค้งนูนเป็นผิวสะท้อนแสง
ภาพที่เกิดจากกระจกเงาเว้ามีทั้งภาพจริงและภาพเสมือน ขนาดเล็กกว่า เท่ากัน และใหญ่
กว่าขนาดวัตถุ ขึ้นอยู่กับตาแหน่งของวัตถุที่วางหน้ากระจก ส่วนภาพที่เกิดจากกระจกเงานูนเป็น
ภาพเสมือน ขนาดภาพเล็กกว่าขนาดวัตถุเสมอ การหาตาแหน่งของภาพทาได้โดยใช้กฎการสะท้อน
ของแสง สามารถคานวณตาแหน่งภาพได้จากสมการ

และคานวณการเปรียบเทียบขนาดของภาพกับขนาดของวัตถุ เรียกว่า การขยาย ได้จาก


M = ขนาดภาพ / ขนาดวัตถุ = ระยะภาพ / ระยะวัตถุ
6

ขั้นที่ 1 ขั้นตรวจสอบความรู้เดิม (Elicitation Phase)


คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้โดยใช้ความรู้และประสบการณ์เดิม แล้วทาแบบทดสอบ
ก่อนเรียนเรื่องการสะท้อนของแสง

1. จากรูปคลื่นต่อไปนี้ ให้นักเรียนวาดเส้นรังสีที่แสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น
1.1 1.2

2. จากรูปเป็นคลื่นขบวนหนึ่งกาลังเคลื่อนที่เข้าหากาแพง อยากทราบว่าหลังจากที่คลื่นกระทบ
กับกาแพงแล้วจะมีการเปลี่ยนแปลงทิศทางการเคลื่อนที่อย่างไร

...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
..........................................................

3. แสง เป็นคลื่นชนิดใด เพราะเหตุใด


............................................................................................................................. ........................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
7

คาชี้แจง
ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย X ลงในช่อง □ ที่ตรงกับตัวอักษร ก ข ค และ ง
ซึ่งเป็นคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวในกระดาษคาตอบ จานวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที

1. ข้อใดถูกต้อง
1. แสงเดินทางในสุญญากาศด้วยอัตราเร็ว 3 x 108 เมตร/วินาที
2. ระยะทาง 1 ปีแสง เท่ากับ 9.5 x 1015 เมตร
3. แสงเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วสูงกว่าเสียง
4. แสงเดินทางเป็นเส้นตรง
ก. 1 และ 2
ข. 2 และ 4
ค. 1 , 2 และ 3
ง. 1 , 2 , 3 และ 4

2. ถ้านักเรียนทาการทดสอบกระจกที่วางหงายอยู่บนโต๊ะว่าจะเป็นกระจกเงาราบ , กระจกเว้า
หรือกระจกนูน ข้อสรุปใดถูกต้องที่สุด
ก. ถ้าได้ภาพขนาดเท่ากับวัตถุ ย่อมเป็นกระจกราบ
ข. ถ้าได้ภาพขนาดใหญ่กว่าวัตถุ ย่อมเป็นกระจกเว้า
ค. ถ้าได้ภาพขนาดเล็กกว่าวัตถุ ย่อมเป็นกระจกนูน
ง. ถ้าได้ภาพขนาดใหญ่หรือเล็กกว่าวัตถุ ย่อมเป็นกระจกนูน

3. จากการทดลองเรื่องการสะท้อนของแสง ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ข้อสรุปที่ถูกต้อง
1. มุมตกกระทบ และมุมสะท้อน มีค่าไม่เท่ากัน
2. มุมตกกระทบมีค่าเท่ากับมุมสะท้อนเสมอไม่ว่าผิวสะท้อนจะมีลักษณะอย่างไร
3. ถ้ารังสีตกกระทบตั้งฉากกับผิววัตถุ รังสีสะท้อนจะทามุม 90 องศา
ก. เฉพาะข้อที่ 1
ข. เฉพาะข้อที่ 2
ค. ข้อที่ 1 และ 3
ง. ข้อที่ 2 และ 3
8

4. ถ้ากาหนดให้ R คือรัศมีความโค้งของกระจกเว้า ถ้าต้องการให้เกิดลาแสงขนานส่งออกไปจาก


กระจกเงาเว้านี้ ควรจะวางหลอดไฟฟ้าไว้ที่ตาแหน่งใดบนเส้นแกนมุขสาคัญของกระจกนี้
ก. 2R
ข. R
ค.
ง.

5. วางวัตถุหน้ากระจกโค้งความยาวโฟกัส 40 เซนติเมตร ปรากฏว่าใช้ฉากรับภาพได้ที่ระยะ


120 เซนติเมตร หน้ากระจก วัตถุอยู่ห่างจากกระจกเท่าใด และได้ขนาดภาพเป็นกี่เท่า
ของขนาดวัตถุ
ก. วัตถุอยู่ห่างจากกระจก 80 เซนติเมตร และขนาดภาพเป็น 2 เท่าของขนาดวัตถุ
ข. วัตถุอยู่ห่างจากกระจก 60 เซนติเมตร และขนาดภาพเป็น 2 เท่าของขนาดวัตถุ
ค. วัตถุอยู่ห่างจากกระจก 40 เซนติเมตร และขนาดภาพเป็น 2 เท่าของขนาดวัตถุ
ก. วัตถุอยู่ห่างจากกระจก 20 เซนติเมตร และขนาดภาพเป็น 2 เท่าของขนาดวัตถุ

6. ทันตแพทย์ถือกระจกเว้ามีรัศมีความโค้ง 4.0 เซนติเมตร ห่างจากฟันที่ต้องการอุดเป็นระยะ


1.0 เซนติเมตร ทันตแพทย์จะเห็นฟันในกระจกขยายเป็นกี่เท่า
ก. 2 เท่า
ข. 3 เท่า
ค. 4 เท่า
ง. 5 เท่า

7. วางวัตถุไว้หน้ากระจกโค้งห่างกระจก 4 เซนติเมตร เกิดภาพเสมือนห่างกระจก 2 เซนติเมตร


จงหาความยาวโฟกัส และชนิดของกระจก
ก. ความยาวโฟกัส + 4 เป็นกระจกนูน
ข. ความยาวโฟกัส - 4 เป็นกระจกนูน
ค. ความยาวโฟกัส + 4 เป็นกระจกเว้า
ง. ความยาวโฟกัส - 4 เป็นกระจกเว้า
9

8. วัตถุสูง 7 เซนติเมตร วางห่างกระจกนูน 15 เซนติเมตร ซึ่งมีรัศมีความโค้ง 45 เซนติเมตร


จะเกิดภาพเป็นอย่างไร
ก. ภาพเสมือนหัวกลับหลังกระจก 9.0 เซนติเมตร มีความสูง 4.2 เซนติเมตร
ข. ภาพเสมือนหัวตั้งหลังกระจก 9.0 เซนติเมตร มีความสูง 4.2 เซนติเมตร
ค. ภาพเสมือนหัวตั้งหลังกระจก 45.0 เซนติเมตร มีความสูง 4.2 เซนติเมตร
ง. ภาพเสมือนหัวตั้งหลังกระจก 9.0 เซนติเมตร มีความสูง 0.6 เซนติเมตร

9. ถ้าวางวัตถุที่มีความสูง 10 เซนติเมตร ไว้หน้ากระจกนูนซึ่งมีรัศมีความโค้ง 50 เซนติเมตร


โดยวางให้ห่างจากกระจกเป็นระยะ 100 เซนติเมตร จงหาความสูงของภาพว่ามีขนาดกี่
เซนติเมตร
ก. 2 เซนติเมตร
ข. 5 เซนติเมตร
ค. 10 เซนติเมตร
ง. 20 เซนติเมตร

10. กระจกที่ใช้สองดูด้านหลังของรถยนต์ควรใช้กระจกชนิดใด เพราะอะไร


ก. กระจกเงาราบ เพราะภาพที่เกิดขึ้นเป็นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเท่ากับวัตถุ
ข. กระจกเว้า เพราะภาพที่เกิดขึ้นเป็นภาพจริงหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุ
ค. กระจกนูน เพราะภาพที่เกิดขึ้นเป็นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุ
ง. ถูกทั้งหมด
10

ข้อ ก ข ค ง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11

ขั้นที่ 2 ขั้นเร้าความสนใจ (Engagement Phase)


คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้โดยใช้ความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์เดิม
1. นักเรียนคิดว่าลักษณะการเคลื่อนที่ของแสงเป็นอย่างไรและอัตราเร็วในการเคลื่อนที่เท่าใด
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................

2. เมื่อแสงเคลื่อนที่ไปกระทบวัตถุที่แสงไม่สามารถทะลุผ่านได้จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
............................................................................................................................. ........................
................................................................................................................................................. ....
............................................................................................................................. ........................

3. การสะท้อนของแสงที่มาจากวัตถุเข้าตาเราจะทาให้เกิดภาพ นักเรียนคิดว่าภาพที่เกิดจากการ
สะท้อนของแสงแบ่งได้กี่ประเภท อะไรบ้าง และใช้เกณฑ์ในการจาแนกอย่างไร
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................

4. ลักษณะภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบเป็นอย่างไร
.......................................................................................................................................... ...........
...................................................................................................................... ...............................
............................................................................................................................. ........................

5. นักเรียนคิดว่าลักษณะภาพที่เกิดจากกระจกเงาทรงกลมเป็นอย่างไร
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
12

ขั้นที่ 3 ขั้นสารวจค้นหา (Exploration Phase)


คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้เกี่ยวกับเรื่องการสะท้อนของแสงโดยมีเนื้อหาสาระดังต่อไปนี้

ใบความรู้ที่ 1 เรื่องการสะท้อนของแสง

มนุ ษย์ มีความคุ้น เคยกับ แสงเป็นอย่างดีเพราะแสงเป็นส่ ว นส าคัญที่ทาให้ เกิดการมองเห็ น


แหล่งกาเนิดแสงมีหลายชนิด ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกาเนิดแสงที่มีความสาคัญต่อมนุษย์หลายด้าน
และทาให้เกิดปรากฏการณ์ที่สวยงามบนท้องฟ้า เช่น รุ้ง สีของท้องฟ้า เป็นต้น ถึงแม้ว่าเราจะ
คุ้นเคยกับแสงมาแต่กาเนิดก็ยังเป็นที่น่าสงสัยว่าธรรมชาติของแสงเป็นอย่างไร แสงเคลื่อนที่ไปใน
ตั ว กลางอย่ า งไร มี อั ต ราเร็ ว ในการเคลื่ อ นที่ เ ท่ า ไร สี ข องวั ต ถุ ต่ า งๆ เกี่ ย วข้ อ งกั บ แสงอย่ า งไร
หลักการของอุปกรณ์ที่ใช้แสงเป็นอย่างไร
แสงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ในสุญญากาศแสงจะเคลื่อนที่ในแนวตรงด้วยอัตราเร็ว
เท่ากัน คือ 299,792,458 เมตรต่อวินาที อย่างไรก็ตาม ในการคานวณที่ไม่ต้องการความแม่นยา
สูงมาก อาจใช้อัตราเร็วของแสงเป็น 3 x 108 เมตรต่อวินาที สาหรับอัตราเร็วของแสงในตัวกลาง
ต่างๆ จะมีค่าไม่เท่ากัน และทุกอัตราเร็วจะมีค่าน้อยกว่าอัตราเร็วแสงในสุญญากาศ
ในการอธิบายปรากฏการณ์ทางแสง การเขียนหน้าคลื่นจะทาให้เข้าใจดี ในกรณีแสงเคลื่อนที่
ผ่ านตัว กลางในแนวเส้ น ตรง พบว่าการเขียนเส้ นตรงที่ตั้งฉากกับหน้าคลื่ นและมีลู กศรแสดงทิ ศ
ทางการเคลื่อนที่ของแสง เรียกว่า รังสีของแสง (light ray) หรือเรียกสั้นๆ ว่า รังสี จะทาให้ง่าย
ต่อการเข้าใจเรื่องแสง

หน้าคลื่นตกกระทบ
รังสีตกกระทบ รังสีสะท้อน

หน้าคลื่นสะท้อน

รูปที่ 1 ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นและหน้าคลื่น
13

รังสีตกกระทบ รังสีสะท้อน
θ1 θ2

จุดที่แสงตกกระทบ

รูปที่ 2 รังสีตกกระทบและรังสีสะท้อน

1. การสะท้อนของแสง

ถ้าแสงเคลื่อนที่ไปกระทบวัตถุต่างชนิดกันและเป็นวัตถุทึบแสงที่มีผิวขัดมัน แสงจะเปลี่ยนทิศ
ทางการเคลื่อนที่ ณ ตาแหน่งบนผิวที่แสงกระทบและเคลื่อนที่ย้อนกลับในตัวกลางเดิม เรียกการ
เปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงนี้ว่า การสะท้อน (reflection)

รูปที่ 3 ภาพสะท้อนของต้นมะพร้าวที่ผิวน้า
14

รูปที่ 4 ลักษณะการสะท้อนของแสงที่ผิววัตถุ
ที่มา : http://phchitchai.wbvschool.net/wp-content/uploads/2011/02/chip-
image0021.jpg

ถ้าให้รังสีของแสงตกกระทบที่ผิวราบ ผิวโค้งนูนและผิวโค้งเว้า การสะท้อนของแสงที่แต่ละผิว


ให้ ผ ลเช่ น เดีย วกั น คือ รั งสี ต กกระทบ รังสี ส ะท้อนและเส้ น แนวฉากจะอยู่บ นระนาบเดียวกั น
นอกจากนี้มุมตกกระทบ 1 และมุมสะท้อน 2 ในแต่ละกรณีก็มีค่าเท่ากัน

รังสีตกกระทบ เส้นแนวฉาก รังสีสะท้อน

θ1 θ2

รูปที่ 5 การสะท้อนของแสงที่วัตถุผิวราบ
15

รังสีตกกระทบ เส้นแนวฉาก รังสีสะท้อน

θ1 θ2

รูปที่ 6 การสะท้อนของแสงที่วัตถุผิวโค้งนูน

รังสีตกกระทบ เส้นแนวฉาก รังสีสะท้อน

θ1 θ2

รูปที่ 7 การสะท้อนของแสงที่วัตถุผิวโค้งเว้า

ถ้าวัตถุมีผิวขรุขระ บริเวณเล็กๆของผิวขรุขระประกอบด้วยผิวเรียบจานวนมากโดยที่ผิวเรียบ
เหล่านั้นวางตัวทามุมต่างๆ กัน ดังนั้นถ้าให้แสงตกกระทบวัตถุที่มีผิวขรุขระ มุมตกกระทบที่ผิวเรียบ
เหล่านั้นจะมีค่าต่างๆ กัน แต่หากพิจารณาที่ตาแหน่งที่แสงตกกระทบจะพบว่ามุมตกกระทบ 1
ก็จะเท่ากับมุมสะท้อน 2 ณ ตาแหน่งที่แสงตกกระทบเสมอ

รังสีตกกระทบ เส้นแนวฉาก รังสีสะท้อน รังสีตกกระทบ เส้นแนวฉาก รังสีสะท้อน

θ1 θ2

รูปที่ 8 การสะท้อนของแสงที่วัตถุผิวขรุขระ

สรุปเป็น กฎการสะท้อนของแสง (laws of reflection) ที่ผิววัตถุใดๆ ได้ดังนี้


1. ณ ตาแหน่งที่แสงตกกระทบ รังสีตกกระทบ รังสีสะท้อนและเส้นแนวฉากอยู่ในระนาบ
เดียวกัน
2. มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน
16

1.1 ภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ
ภาพ คือ สิ่งที่ปรากฏแก่สายตา โดยรังสีแสงที่สะท้อนออกมาจากวัตถุได้เปลี่ยนทิศทางแล้ว
เข้าสู่ตา ทาให้ประสาทตารู้สึกว่ารังสีแสงมาจากจุดอื่นไม่ใช่วัตถุเดิม แบ่งออกได้ 2 ชนิด
1. ภาพจริง คือ ภาพเกิดจากรังสีของแสงตัดกันจริง ณ จุดที่เกิดภาพจริงจะใช้ฉากรับได้มี
ลักษณะหัวกลับกับวัตถุ
2. ภาพเสมือน คือ ภาพที่ไม่ได้เกิดจากรังสีของแสงไปตัดกันจริงแต่มีรังสีเสมือนซึ่งเป็นเส้น
สมมติที่ลากต่อจากแนวรังสีจริงไปตัดกัน ณ จุดที่เกิดภาพ ภาพเสมือนสามารถมองเห็นได้ด้วยตา
แต่ไม่สามารถใช้ฉากรับภาพได้ มีลักษณะหัวตั้งเช่นเดียวกับวัตถุ
เมื่อวางวัตถุไว้หน้ากระจกเงาราบ เราเห็นภาพของวัตถุในกระจกเงาราบได้เพราะมีแสงตก
กระทบวัตถุสะท้อนเข้าตา ตามปกติแสงจากวัตถุจะกระจายไปทุกทิศทางและตกกระทบเต็มพื้นที่ผิว
ของกระจกเงาราบโดยใช้หลักการสะท้อนของแสงดังรูป

y y/

s s/
รูปที่ 9 การเกิดภาพจากกระจกเงาราบของวัตถุ

ในการหาตาแหน่งของภาพสามารถทาได้ดังนี้
1.1.1 ถ้าวัตถุเป็นจุด
1. ลากรังสีตกกระทบ 2 รังสี คือ รังสีตกตั้งฉากและรังสีทามุมใดๆ กับกระจก
2. ที่ตาแหน่งซึ่งรังสีทั้ง 2 ตกกระทบให้เขียนรังสีสะท้อนตามกฎการสะท้อน จะ
พบว่าแนวรังสีสะท้อนจะไม่ตัดกันด้านหน้ากระจก แล้วต่อแนวรังสีสะท้อนไปด้านหลังกระจกทาให้
เส้นสมมติที่ต่อออกไปตัดกัน ตาแหน่งที่แนวรังสีสะท้อนตัดกัน คือ ตาแหน่งภาพ ดังรูป

s s/
รูปที่ 10 การเกิดภาพจากกระจกเงาราบของวัตถุที่เป็นจุด
17

1.1.2 ถ้าวัตถุมีขนาด
1. ลากรังสีตกกระทบ 2 รังสี จากปลายข้างใดข้างหนึ่งของวัตถุ โดยให้รังสีหนึ่ง
ตกตั้งฉากกับกระจก อีกรังสีหนึ่งทามุมใดๆ กับกระจก
2. ที่ตาแหน่ งซึ่งรังสี ทั้ง 2 ตกกระทบให้เขียนรังสี สะท้อนตามกฎการสะท้อน
ต่อแนวรังสีสะท้อนไปด้านหลังกระจกทาให้เส้นสมมติที่ต่อออกไปตัดกันจะได้ตาแหน่งภาพของปลาย
วัตถุนั้น
3. จากปลายอีกข้างหนึ่งของวัตถุ ลากรังสีตกกระทบตั้งฉากกับกระจกแล้วเขียน
รังสีสะท้อนตามกฎการสะท้อน แล้วต่อแนวรังสีสะท้อนไปด้านหลังกระจกจะได้ตาแหน่งภาพ ดังรูป

y y/

s s/
รูปที่ 11 การเกิดภาพจากกระจกเงาราบของวัตถุที่มีขนาด

ภาพของวัตถุในกระจกเงาเป็นภาพที่เกิดจากรังสีสะท้อนมาเข้าตาจึงทาให้ดูเสมือนว่า รังสี
เหล่านั้นมาจากภาพที่อยู่ด้านหลังกระจกเงา ภาพที่เกิดขึ้นในลักษณะเช่นนี้ เรียกว่า ภาพเสมือน
(virtual image)
สรุปเกี่ยวกับวัตถุที่อยู่หน้าผิวสะท้อนราบได้ว่า
1. ระยะภาพ (s/) เท่ากับระยะวัตถุ (s)
2. ความสูงของภาพ (y/) เท่ากับความสูงของวัตถุ (y)
18

1.2 ภาพที่เกิดจากกระจกเงาทรงกลม
กระจกเว้าทรงกลมเป็นส่วนหนึ่งของผิวโค้งทรงกลม ถ้ากระจกเงาใช้ผิวโค้งเว้าเป็นผิวสะท้อน
แสง เรียกว่า กระจกเงาเว้า ดังรูปที่ 12 และถ้ากระจกเงาใช้ผิวโค้งนูนเป็นผิวสะท้อนแสง เรียกว่า
กระจกเงานูน ดังรูปที่ 13

C F V

f
R

รูปที่ 12 กระจกเงาเว้าและตัวอย่างภาพที่เกิดจากกระจกเงาเว้า
ที่มา http://phchitchai.wbvschool.net/wp-content/uploads/2011/02/chip-
image00116.jpg

C F V F C

f
R

รูปที่ 13 กระจกเงานูน และภาพที่เกิดจากกระจกเงานูน


ที่มา http://phchitchai.wbvschool.net/wp-content/uploads/2011/02/chip-
image00110.jpg
19

พิจารณารูปกระจกเงาเว้าในรูปที่ 12 และกระจกเงานูนในรูปที่ 13
C เป็นศูนย์กลางความโค้งของกระจกเงาและของทรงกลม
R เป็นรัศมีความโค้งของทรงกลม
เส้นตรงที่ลากผ่านจุด C และจุด V เรียกว่า แกนมุขสาคัญ
V เรียกว่า จุดยอด
F เป็นจุดโฟกัส เป็นจุดที่อยู่บนแกนมุขสาคัญของกระจก รังสีขนานเมื่อตกกระทบ
กั บ กระจกจะสะท้ อ นผ่ า นจุ ด โฟกั ส หรื อ รั ง สี ต กกระทบผ่ า นโฟกั ส จะสะท้ อ นออกเป็ น รั ง สี ข นาน
จุดโฟกัสของกระจกเว้าเป็นจุดโฟกัสจริงอยู่หน้ากระจกเกิดจากรังสีสะท้อนจริงตัดกัน สาหรับจุด
โฟกัสของกระจกนูนเป็นจุดโฟกัสเสมือนจะอยู่หลังกระจกเกิดจากรังสีสะท้อนเสมือนตัดกัน
ระยะทางจากโฟกัสถึงจุดยอดของกระจกเงา เรียกว่า ความยาวโฟกัส (f)
ถ้า f เป็นความยาวโฟกัส และ R แทน รัศมีความโค้งของกระจกเงา จะได้ว่า
______(1)

1.2.1 การหาตาแหน่งภาพของวัตถุที่มีขนาดและอยู่หน้ากระจกเงาโค้ง
1. เขียนรังสีตกกระทบจากปลายวัตถุถึงผิวกระจกเงาในแนวซึ่งขนานกับแกนมุข
สาคัญจะได้รังสีสะท้อนจากผิวกระจกเงาผ่านโฟกัส
2. เขียนรังสีตกกระทบจากปลายวัตถุผ่านโฟกัสถึงผิวกระจกเงา จะได้รังสีสะท้อน
จากผิวกระจกเงาขนานกับแกนมุขสาคัญ
3. เขีย นรั งสีตกกระทบจากปลายวัต ถุผ่านศูนย์กลางความโค้งถึงผิ ว กระจกเงา
จะได้รังสีสะท้อนจากผิวกระจกเงาย้อนกลับทางเดิม ตาแหน่งที่รังสีทั้งสามตัดกันคือตาแหน่งภาพ

วัตถุ ภาพ

C F V

s/
s
รูปที่ 14 ตัวอย่างการหาตาแหน่งภาพที่เกิดจากกระจกเงาเว้า
20

วัตถุ ภาพ

C F V F C

s/
s
รูปที่ 15 ตัวอย่างการหาตาแหน่งภาพที่เกิดจากกระจกเงานูน

การหาตาแหน่งภาพนอกจากจะใช้วิธีการเขียนรังสีของแสงตกกระทบและรังสีของแสงสะท้อน
แล้วยังสามารถคานวณหาตาแหน่งภาพได้จากสมการ
1 1 1
______(2)

การใช้สมการนี้หาตาแหน่งของภาพหรือการขยายจะต้องกาหนดเครื่องหมาย + หรือ -
สาหรับ s , s/ และ f ดังนี้
1. ให้ระยะวัตถุและระยะภาพมีเครื่องหมาย + เมื่อวัดระยะจากขั้วกระจกเงาไปยังวัตถุและ
ภาพอยู่หน้ากระจกเงา
2. สาหรับภาพที่เกิดหลังกระจกเงาระยะภาพมีเครื่องหมาย –
3. ความยาวโฟกัสของโฟกัสที่อยู่ด้านหน้ากระจกเงามีเครื่องหมาย + แต่ถ้าโฟกัสอยู่
ด้านหลังกระจกเงา ความยาวโฟกัสมีเครื่องหมาย –

สาหรับขนาดภาพมีทั้งใหญ่กว่า เท่ากับและเล็กกว่าวัตถุ เรียกการเปรียบเทียบขนาดของภาพ


กับขนาดของวัตถุว่า การขยาย ให้ M แทนการขยาย จะได้
ขนาดภาพ ระยะภาพ
ขนาดวัตถุ ระยะวัตถุ

หรือ ______(3)
21

ภาพที่เกิดจากการวางวัตถุไว้หน้ากระจกเงาโค้งนั้นตามปกติมีทั้งภาพจริงและภาพเสมือนโดย
ภาพจริงจะอยู่ห น้ากระจกเงา และภาพเสมือนจะอยู่หลั งกระจกเงา ในชีวิตประจาวันเราได้รับ
ประโยชน์จากการใช้กระจกเงาราบ กระจกเงานูนและกระจกเงาเว้าในหลายๆ เรื่อง เช่น
กระจกเงาราบ ใช้ส่องเพื่อใช้ในการแต่งตัว ใช้ติดรถยนต์หรือรถจักรยานยนต์เพื่อดูรถที่อยู่
ด้านหลังคนขับ ใช้ในเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะเพื่อสะท้อนภาพบนฉาก
กระจกเงานูน ใช้ติดรถยนต์หรือรถจักรยานยนต์เพื่อดูรถที่ตามมาด้านหลังเช่นเดียวกับกระจก
เงาราบแต่ภาพที่เห็นจะอยู่ใกล้กว่าและครอบคลุมเป็นมุมที่กว้างกว่า ใช้ติดบริเวณทางเลี้ยวเพื่อช่วย
ให้มองเห็นรถยนต์ที่วิ่งมาจากด้านข้างได้ง่าย
กระจกเงาเว้า ใช้ในกล้องจุลทรรศน์เพื่อช่วยรวมแสงให้ตกที่แผ่นสไลด์เพื่อทาให้เราเห็นภาพ
ชัดขึ้น ทันตแพทย์ใช้ส่องดูฟันคนไข้เพื่อให้เห็นภาพของฟันมีขนาดใหญ่กว่าปกติ ทาให้สะดวกต่อการ
รักษา

ขั้นที่ 4 ขั้นอธิบาย (Explanation Phase)


คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้โดยการอธิบายโดยใช้ความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์
จากที่ได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องการสะท้อนของแสง
1. ลักษณะการเคลื่อนที่ของแสงเป็นอย่างไรและมีอัตราเร็วสูงสุดในการเคลื่อนที่เท่าใด
............................................................................................................................. ........................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................

2. กฎการสะท้อนของแสงกล่าวว่าอย่างไร
............................................................................................................................. ........................
................................................................................................................................................. ....
............................................................................................................................. ........................

3. ภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงแบ่งได้กี่ประเภท อะไรบ้าง และใช้เกณฑ์ในการจาแนก


อย่างไร
............................................................................................................................. ........................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
22

4. ลักษณะภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบเป็นอย่างไร
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
5. ลักษณะภาพที่เกิดจากกระจกเงานูนเป็นอย่างไร
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
6. ลักษณะภาพที่เกิดจากกระจกเงาเว้าเป็นอย่างไร
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
7. ให้นักเรียนเขียนแผนผังมโนทัศน์สรุปเกี่ยวกับสาระสาคัญของเรื่องการสะท้อนของแสง
23

ขั้นที่ 5 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration Phase)


คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างการคานวณเรื่องการสะท้อนของแสงดังต่อไปนี้

ตัวอย่างที่ 1 กาหนดความเร็วแสงในสุญญากาศมีค่าเท่ากับ 3x108 เมตรต่อวินาที ดังนั้นในเวลา


1 นาที แสงจะเคลื่อนที่ได้ระยะทางกี่เมตร

วิธีทา แสงเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 3x108 เมตร ในเวลา 1 วินาที


ดังนั้น ในเวลา 60 วินาที แสงจะเคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่ากับ
3x108 x 60 = 1.8 x 1010 เมตร

ตอบ ในเวลา 1 นาที แสงจะเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 1.8 x 1010 เมตร

ตัวอย่างที่ 2 วางวัตถุไว้หน้ากระจกเงาเว้าที่มีรัศมีความโค้ง 20 เซนติเมตร ให้ห่างจากกระจกเงา


20 เซนติเมตร จงหา
ก. ภาพเกิดขึ้นที่ใดและเป็นภาพชนิดใด
ข. การขยายของภาพเป็นเท่าใด

แนวคิด 1. เขียนทางเดินของแสงแสดงการเกิดภาพ

วัตถุ

C F V
ภาพ

s/
s = 20 cm

2. ใส่เครื่องหมาย + , - หน้าปริมาณต่างๆ ตามสถานการณ์กาหนด


(มีเครื่องหมาย + เพราะโฟกัสอยู่หน้ากระจกเงาเว้า)
s = + 20 cm (มีเครื่องหมาย + เพราะวัตถุอยู่หน้ากระจกเงาเว้า)
24

1 1 1
วิธีทา ก. หา s/ จาก

1 1 1
แทนค่า
1 2

s/ = 20 cm
ระยะภาพ
ข. หา M จาก
ระยะวัตถุ

2
แทนค่า
2

ตอบ ภาพเกิดที่หน้ากระจกเงาเว้า อยู่ห่างจากกระจกเงาเว้า 20 เซนติเมตร และเป็นภาพจริง


การขยายของภาพเท่ากับ 1 (ภาพเท่ากับวัตถุ)

ตัวอย่างที่ 3 วางวัตถุไว้หน้ากระจกนูนอันมีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ปรากฏว่าเกิดภาพ


ขึ้นที่ระยะห่างจากกระจก 5 เซนติเมตร จงหาว่าวัตถุอยู่ห่างกระจกกี่เซนติเมตร

แนวคิด 1. เขียนทางเดินของแสงแสดงการเกิดภาพ

วัตถุ
ภาพ

C F V F C
s/
s
=5 cm
f
=10 cm

2. ใส่เครื่องหมาย + , - หน้าปริมาณต่างๆ ตามสถานการณ์กาหนด


f = - 10 cm (มีเครื่องหมาย - เพราะโฟกัสอยู่หลังกระจกเงานูน)
s/ = - 5 cm (มีเครือ่ งหมาย - เพราะภาพเกิดอยู่หลังกระจกเงานูน)
25

1 1 1
วิธีทา หา s จาก

1 1 1
แทนค่า
1

s = 10 cm
ตอบ วัตถุอยู่ห่างกระจกนูน 10 เซนติเมตร

ขั้นที่ 6 ขั้นประเมินผล (Evaluation Phase)


คาชี้แจง ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 1.1 , 1.2 และ 1.3 แล้วทาแบบทดสอบหลังเรียนเรื่องการ
สะท้อนของแสง

แบบฝึกหัดที่ 1.1
เขียนรังสีของแสงเพื่อหาตาแหน่งของภาพ

คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนรังสีของแสงเพื่อหาภาพและระยะภาพที่เกิดจากการวางวัตถุไว้หน้า
กระจกแต่ละชนิดที่ตาแหน่งต่างๆ ต่อไปนี้ พร้อมทาเครื่องหมายวงกลมล้อมรอบคาตอบที่ถูกต้อง

1. วัตถุอยู่ที่ตาแหน่ง F

C F V -F -C

ก. ภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุที่ตาแหน่งระหว่างจุด V กับ F
ข. ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุที่ตาแหน่งระหว่างจุด V กับ F
ค. ภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุที่ตาแหน่งระหว่างจุด V กับ - F
ง. ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุที่ตาแหน่งระหว่างจุด V กับ - F
26

2. วัตถุอยู่ที่ตาแหน่ง C กับ F

C F V

ก. ภาพจริงหัวกลับขนาดใหญ่กว่าวัตถุที่ตาแหน่งระหว่างจุด C กับ ∞
ข. ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุที่ตาแหน่งระหว่างจุด C กับ ∞
ค. ภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุที่ตาแหน่งระหว่างจุด F กับ V
ง. ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุที่ตาแหน่งระหว่างจุด V กับ - F

3. วัตถุอยู่ที่ตาแหน่ง ∞ กับ C

C F V

ก. ภาพจริงหัวกลับขนาดใหญ่กว่าวัตถุที่ตาแหน่งระหว่างจุด C กับ ∞
ข. ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุที่ตาแหน่งระหว่างจุด C กับ ∞
ค. ภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุที่ตาแหน่งระหว่างจุด C กับ F
ง. ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุที่ตาแหน่งระหว่างจุด C กับ F
27

4. วัตถุอยู่ที่ตาแหน่ง F กับ V

C F V

ก. ภาพจริงหัวกลับขนาดใหญ่กว่าวัตถุที่ตาแหน่งระหว่างจุด F กับ ∞
ข. ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุที่ตาแหน่งระหว่างจุด F กับ ∞
ค. ภาพจริงหัวกลับขนาดใหญ่กว่าวัตถุที่ตาแหน่งระหว่างจุด - F กับ ∞
ง. ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุที่ตาแหน่งระหว่างจุด - F กับ ∞

5. วัตถุอยู่ที่ด้านหน้ากระจก

ก. ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเท่ากับวัตถุที่ตาแหน่งด้านหลังกระจก
ข. ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเท่ากับวัตถุที่ตาแหน่งด้านหน้ากระจก
ค. ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุที่ตาแหน่งด้านหน้ากระจก
ง. ภาพเสมือนหัวกลับขนาดใหญ่กว่าวัตถุที่ตาแหน่งด้านหน้ากระจก

ขอให้นักเรียนปฏิบัติ
กิจกรรมทุกขั้นตอนด้วย
ความซื่อสัตย์นะค่ะ
28

แบบฝึกหัดที่ 1.2
การสะท้อนของแสง

คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมายวงกลมล้อมรอบคาตอบที่ถูกต้อง

1. เมื่อนักเรียนส่องกระจกดูตัวเองในกระจกเงาราบภาพที่นักเรียนเห็นคือ
ก. ภาพจริงหลังกระจก
ข. ภาพจริงหน้ากระจก
ค. ภาพเสมือนหลังกระจก
ง. ภาพเสมือนหน้ากระจก

2. ลักษณะของภาพเสมือนคือข้อใด
ก. ฉากรับไม่ได้
ข. หัวกลับกับวัตถุ
ค. ขนาดโตกว่าวัตถุ
ง. ภาพอยู่ด้านหน้ากระจก

3. ถ้าแสงตกกระทบผิวของวัตถุซึ่งขรุขระจะเป็นอย่างไร
ก. มุมสะท้อนโตกว่ามุมตกกระทบ
ข. มุมตกกระทบโตกว่ามุมสะท้อน
ค. มุมสะท้อนเท่ากับมุมตกกระทบ
ง. มุมสะท้อนมีขนาดไม่เท่ากับมุมตกกระทบ

4. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับกฎการสะท้อนของแสง
1. รังสีตกกระทบเท่ากับรังสีสะท้อน
2. มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน
3. ค่า sin ของมุมตกกระทบเท่ากับค่า sin ของมุมสะท้อน
4. รังสีตกกระทบ รังสีสะท้อนและเส้นแนวฉากอยู่ในระนาบเดียวกัน
ก. 1 และ 3
ข. 2 และ 4
ค. 1 , 2 และ 3
ง. 2 , 3 และ 4
29

5. วัตถุ O วางอยู่หน้ากระจกเงาราบ ผู้สังเกตที่ P Q และ R จะเห็นภาพ O ที่จุดใด

P .A .B

O. .C
Q
.D
.E .F
R
ก. A , C และ E
ข. B , C และ E
ค. B , C และ D
ง. C , C และ C

6. กระจกเงาราบวางตั้งฉากกันดังรูป ถ้าฉายรังสีแสงให้ตกกระทบกระจก AB โดยทามุม


30 องศากับผิวกระจก รังสีแสงที่สะท้อนออกจากกระจก BC จะทามุมกับผิวกระจก
BC เท่าไร

A
30o

B
ก. 30 องศา C
ข. 45 องศา
ค. 53 องศา
ง. 60 องศา

7. กระจกนูนมีความยาวโฟกัส 6 เซนติเมตร ถ้าวางวัตถุห่างกระจก 12 เซนติเมตร


จะเกิดภาพชนิดใด ขนาดเท่าใด
ก. ภาพจริง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ
ข. ภาพจริง ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
ค. ภาพเสมือน ขนาดเล็กกว่าวัตถุ
ง. ภาพเสมือน ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
30

8. รังสีตกกระทบและรังสีสะท้อนในข้อใดไม่ถูกต้อง

ก.

C F V

ข.

C F V

ค.

C F V

ง.

C F V

9. ชายคนหนึ่งเดินเข้าไปซื้อของในร้านสะดวกซื้อแห่งหนึ่ง ในขณะที่เดินเข้าไปยังกระจกนูน
ที่ติดไว้ในร้าน ภาพของเขาจะเปลี่ยนไปอย่างไร
ก. กาลังขยายภาพจะคงที่
ข. กาลังขยายจะเพิ่มขึ้นในตอนแรกและจะค่อยๆ ลดลง
ค. กาลังขยายจะลดลงและลดลงมากที่สุดเมื่อเขายืนอยู่ชิดกับกระจก
ง. กาลังขยายภาพจะเพิ่มขึ้นและมีค่ามากที่สุดเมื่อเขายืนอยู่ชิดกับกระจก
31

10. พิจารณาจากรูปกระจก A , B , C และ D ตามลาดับ ควรเป็นกระจกชนิดใดบ้าง

A วัตถุ B
วัตถุ ภาพ

ภาพ

วัตถุ C ภาพ D
วัตถุ

ภาพ

ก.. กระจกเงานูน กระจกเงาเว้า กระจกเงาราบ และกระจกเงาเว้า


ข. กระจกเงาเว้า กระจกเงานูน กระจกเงาราบ และกระจกเงาเว้า
ค. กระจกเงาเว้า กระจกเงาเว้า กระจกเงาราบ และกระจกเงาเว้า
ง. กระจกเงานูน กระจกเว้า กระจกเงาราบ และกระจกเงาเว้า

ขอให้นักเรียนปฏิบัติ
กิจกรรมทุกขั้นตอนด้วย
ความซื่อสัตย์นะค่ะ
32

แบบฝึกหัดที่ 1.3
คานวณเกี่ยวกับการสะท้อนของแสง

คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนอธิบายเหตุผลหรือแสดงวิธีทา แล้วเติมคาตอบที่ถูกต้องลงในช่องว่าง

1. แสงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีอัตราเร็ว 3 x 108 เมตรต่อวินาที ในสุญญากาศ ถ้าส่งญาณ


คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปยังดาวเทียมซึ่งอยู่สูง 300 กิโลเมตร จากผิวโลก จงหาว่าหลังจากส่ง
สัญญาณไปแล้วนานกี่มิลลิวินาทีจึงจะได้สัญญาณที่สะท้อนกลับมาจากดาวเทียม
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
ตอบ หลังส่งสัญญาณไปแล้ว ___________มิลลิวินาที จะได้สัญญาณสะท้อนจากดาวเทียม

2. กระจกเงาราบสองบานวางทามุม ต่อกัน ถ้ารังสีตกกระทบครั้งแรกบนกระจกบานที่หนึ่งมี


ทิศขนานกับกระจกบานที่สอง และรังสีสะท้อนบนกระจกบานที่สองมีทิศขนานกับกระจกบาน
ที่หนึ่งจงหาค่าของมุม

𝜃 B
C
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.......................................................................................................................................... ...........
ตอบ มุมระหว่างกระจกสองบานเท่ากับ_______ องศา
33

3. เด็กคนหนึ่งอยู่ห่างจากกระจกเงาราบ 5 เมตร คลานเข้าหากระจกด้วยอัตราเร็ว


1 เมตรต่อวินาที เมื่อสิ้นวินาทีที่ 2 ภาพของเด็กจะอยู่ห่างจากตัวเด็กเท่าใด
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.......................................................................................................................................... ...........
ตอบ ภาพของเด็กจะอยู่ห่างจากตัวเด็กเท่ากับ __________ เมตร

4. จากรูปภาพที่เกิดจากกระจกโค้งถ้าภาพมีกาลังขยาย 2 เท่า ความยาวโฟกัสของกระจก 10


เซนติเมตร ระยะวัตถุจะมีค่าเท่าใด

C F

............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.......................................................................................................................................... ...........
ตอบ ระยะวัตถุจะมีค่าเท่ากับ__________ เซนติเมตร
34

5. วางตุ๊กตาที่มีความสูง 10 เซนติเมตร ไว้หน้ากระจกนูนซึ่งมีรัศมีความโค้ง 50 เซนติเมตร


โดยวางห่างจากหน้ากระจกเป็นระยะ 100 เซนติเมตร จงหาความสูงของภาพตุ๊กตาว่ามี
ขนาดกี่เซนติเมตร
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................

ตอบ ความสูงของภาพตุ๊กตาเท่ากับ_______ เซนติเมตร

6. เมื่อวางวัตถุไว้หน้ากระจกโค้งบานหนึ่งเป็นระยะ 10 และ 30 เซนติเมตร ปรากฏว่าได้ภาพ


มีขนาดเท่ากันพอดี ความยาวโฟกัสของกระจกโค้งนี้กี่เซนติเมตร
............................................................................................................................. ........................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................

ตอบ ความยาวโฟกัสของกระจกโค้งนี้เท่ากับ__________เซนติเมตร

7. ดินสอแท่งหนึ่งสูง 10 เซนติเมตร วางอยู่หน้ากระจกนูนระยะ 5 เซนติเมตร ได้ภาพใน


กระจกสูง 6 เซนติเมตร กระจกนูนมีรัศมีความโค้งกี่เซนติเมตร
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.......................................................................................................................................... ...........

ตอบ กระจกนูนมีรัศมีความโค้ง__________ เซนติเมตร


35

8. วางวัตถุสูง 2 เซนติเมตร ไว้ห่างจากกระจกเงาเว้าซึ่งมีรัศมีความโค้ง 20 เซนติเมตร


โดยวางห่างจากขั้วกระจกเท่ากับ 15 เซนติเมตร ระยะภาพเป็นเท่าใด
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.......................................................................................................................................... ...........
ตอบ ระยะภาพเท่ากับ__________ เซนติเมตร

9. ต้องใช้กระจกชนิดใดและรัศมีความโค้งเท่าใด จึงจะทาให้เกิดภาพจริงมีขนาด 1/3 เท่าของ


วัตถุ เมื่อวางวัตถุห่างจากกระจก 16 เซนติเมตร
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
ตอบ ใช้กระจกเงา ___________ และมีรัศมีความโค้ง __________ เซนติเมตร

10. กระจกโค้งอันหนึ่งเมื่อวางวัตถุห่างจากกระจก 60 เซนติเมตร ได้ภาพเสมือนหัวตั้งสูง


1.5 เท่าของความสูงวัตถุ กระจกนี้เป็นกระจกชนิดใด และมีความยาวโฟกัสเท่าใด
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................

ตอบ กระจกเงา _____________ และมีความยาวโฟกัส __________ เซนติเมตร

ขอให้นักเรียนปฏิบัติ
กิจกรรมทุกขั้นตอนด้วย
ความซื่อสัตย์นะค่ะ
36

คาชี้แจง
ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย X ลงในช่อง □ ที่ตรงกับตัวอักษร ก ข ค และ ง
ซึ่งเป็นคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวในกระดาษคาตอบ จานวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที

1. วัตถุสูง 7 เซนติเมตร วางห่างกระจกนูน 15 เซนติเมตร ซึ่งมีรัศมีความโค้ง 45 เซนติเมตร


จะเกิดภาพเป็นอย่างไร
ก. ภาพเสมือนหัวกลับหลังกระจก 9.0 เซนติเมตร มีความสูง 4.2 เซนติเมตร
ข. ภาพเสมือนหัวตั้งหลังกระจก 9.0 เซนติเมตร มีความสูง 4.2 เซนติเมตร
ค. ภาพเสมือนหัวตั้งหลังกระจก 45.0 เซนติเมตร มีความสูง 4.2 เซนติเมตร
ง. ภาพเสมือนหัวตั้งหลังกระจก 9.0 เซนติเมตร มีความสูง 0.6 เซนติเมตร

2. ถ้าวางวัตถุที่มีความสูง 10 เซนติเมตร ไว้หน้ากระจกนูนซึ่งมีรัศมีความโค้ง 50 เซนติเมตร


โดยวางให้ห่างจากกระจกเป็นระยะ 100 เซนติเมตร จงหาความสูงของภาพว่ามีขนาดกี่
เซนติเมตร
ก. 2 เซนติเมตร
ข. 5 เซนติเมตร
ค. 10 เซนติเมตร
ง. 20 เซนติเมตร

3. กระจกที่ใช้สองดูด้านหลังของรถยนต์ควรใช้กระจกชนิดใด เพราะอะไร
ก. กระจกเงาราบ เพราะภาพที่เกิดขึ้นเป็นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเท่ากับวัตถุ
ข. กระจกเว้า เพราะภาพที่เกิดขึ้นเป็นภาพจริงหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุ
ค. กระจกนูน เพราะภาพที่เกิดขึ้นเป็นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุ
ง. ถูกทั้งหมด
37

4. ข้อใดถูกต้อง
1. แสงเดินทางในสุญญากาศด้วยอัตราเร็ว 3 x 108 เมตร/วินาที
2. ระยะทาง 1 ปีแสง เท่ากับ 9.5 x 1015 เมตร
3. แสงเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วสูงกว่าเสียง
4. แสงเดินทางเป็นเส้นตรง
ก. 1 และ 2
ข. 2 และ 4
ค. 1 , 2 และ 3
ง. 1 , 2 , 3 และ 4

5. ถ้านักเรียนทาการทดสอบกระจกที่วางหงายอยู่บนโต๊ะว่าจะเป็นกระจกเงาราบ , กระจกเว้า
หรือกระจกนูน ข้อสรุปใดถูกต้องที่สุด
ก. ถ้าได้ภาพขนาดเท่ากับวัตถุ ย่อมเป็นกระจกราบ
ข. ถ้าได้ภาพขนาดใหญ่กว่าวัตถุ ย่อมเป็นกระจกเว้า
ค. ถ้าได้ภาพขนาดเล็กกว่าวัตถุ ย่อมเป็นกระจกนูน
ง. ถ้าได้ภาพขนาดใหญ่หรือเล็กกว่าวัตถุ ย่อมเป็นกระจกนูน

6. จากการทดลองเรื่องการสะท้อนของแสง ข้อใดต่อไปนีไ้ ม่ใช่ข้อสรุปที่ถูกต้อง


1. มุมตกกระทบ และมุมสะท้อน มีค่าไม่เท่ากัน
2. มุมตกกระทบมีค่าเท่ากับมุมสะท้อนเสมอไม่ว่าผิวสะท้อนจะมีลักษณะอย่างไร
3. ถ้ารังสีตกกระทบตั้งฉากกับผิววัตถุ รังสีสะท้อนจะทามุม 90 องศา
ก. เฉพาะข้อที่ 1
ข. เฉพาะข้อที่ 2
ค. ข้อที่ 1 และ 3
ง. ข้อที่ 2 และ 3

7. ถ้ากาหนดให้ R คือรัศมีความโค้งของกระจกเว้า ถ้าต้องการให้เกิดลาแสงขนานส่งออกไปจาก


กระจกเงาเว้านี้ ควรจะวางหลอดไฟฟ้าไว้ที่ตาแหน่งใดบนเส้นแกนมุขสาคัญของกระจกนี้
ก. 2R
ข. R
ค.
ง.
38

8. วางวัตถุหน้ากระจกโค้งความยาวโฟกัส 40 เซนติเมตร ปรากฏว่าใช้ฉากรับภาพได้ที่ระยะ


120 เซนติเมตร หน้ากระจก วัตถุอยู่ห่างจากกระจกเท่าใด และได้ขนาดภาพเป็นกี่เท่า
ของขนาดวัตถุ
ก. วัตถุอยู่ห่างจากกระจก 80 เซนติเมตร และขนาดภาพเป็น 2 เท่าของขนาดวัตถุ
ข. วัตถุอยู่ห่างจากกระจก 60 เซนติเมตร และขนาดภาพเป็น 2 เท่าของขนาดวัตถุ
ค. วัตถุอยู่ห่างจากกระจก 40 เซนติเมตร และขนาดภาพเป็น 2 เท่าของขนาดวัตถุ
ก. วัตถุอยู่ห่างจากกระจก 20 เซนติเมตร และขนาดภาพเป็น 2 เท่าของขนาดวัตถุ

9. ทันตแพทย์ถือกระจกเว้ามีรัศมีความโค้ง 4.0 เซนติเมตร ห่างจากฟันที่ต้องการอุดเป็นระยะ


1.0 เซนติเมตร ทันตแพทย์จะเห็นฟันในกระจกขยายเป็นกี่เท่า
ก. 2 เท่า
ข. 3 เท่า
ค. 4 เท่า
ง. 5 เท่า

10. วางวัตถุไว้หน้ากระจกโค้งห่างกระจก 4 เซนติเมตร เกิดภาพเสมือนห่างกระจก 2 เซนติเมตร


จงหาความยาวโฟกัส และชนิดของกระจก
ก. ความยาวโฟกัส + 4 เป็นกระจกนูน
ข. ความยาวโฟกัส - 4 เป็นกระจกนูน
ค. ความยาวโฟกัส + 4 เป็นกระจกเว้า
ง. ความยาวโฟกัส - 4 เป็นกระจกเว้า
39

ข้อ ก ข ค ง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
40

ขั้นที่ 7 ขั้นนาความรูไ้ ปใช้ (Extention Phase)


คาชี้แจง ให้นักเรียนอธิบายสถานการณ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้โดยใช้ความรู้เรื่องการสะท้อนของแสง

1. ถ้านักเรียนต้องการส่องกระจกเพื่อสารวจริ้วรอย จุดด่างดาบนใบหน้าให้เห็นชัดเจนกว่า
ปกติ นักเรียนควรเลือกใช้กระจกชนิดใด เพราะเหตุใด และมีวิธีการใช้ตามหลักการทาง
ฟิสิกส์อย่างไร
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
......................................................................................................................................... ............
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................

2. ถ้ากระจกมองหลังรถจักรยานยนต์ของนักเรียนแตกเสียหาย นักเรียนจะเลือกใช้
อุปกรณ์ชิ้นใดเพื่อทาหน้าที่เป็นกระจกมองหลังแทนชั่วคราว เพราะเหตุใด และ
มีวิธีการใช้ตามหลักการทางฟิสิกส์อย่างไร

ก. ตะหลิวโลหะผิวมันวาว ข. กระทะโลหะผิวมันวาว ค. แผ่นโลหะเรียบผิวมันวาว


............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
............................................................................................................................... ......................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................

ขอให้นักเรียนตอบจาก
แนวคิดของนักเรียนนะค่ะ
41

ตารางบันทึกคะแนนกิจกรรม

ร้อยละของ
รายการกิจกรรม คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
คะแนนเต็ม
ขั้นที่ 1 ขั้นตรวจสอบความรู้เดิม 6
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการสะท้อนของแสง 10
ขั้นที่ 2 ขั้นเร้าความสนใจ 5
ขั้นที่ 4 ขั้นอธิบาย 15
ขั้นที่ 6 ขั้นประเมินผล
แบบฝึกหัดที่ 1.1 10
เขียนรังสีของแสงเพื่อหาตาแหน่งของภาพ
แบบฝึกหัดที่ 1.2 10
การสะท้อนของแสง
แบบฝึกหัดที่ 1.3 20
คานวณเกี่ยวกับการสะท้อนของแสง
แบบทดสอบหลังเรียน 10
เรื่องการสะท้อนของแสง
ขั้นที่ 7 ขั้นนาความรู้ไปใช้ 10
สรุปผลการประเมิน

เกณฑ์การประเมิน
ผ่านเกณฑ์ เมื่อได้คะแนนแบบทดสอบหลังเรียนเรื่องการสะท้อนของแสงตั้งแต่
8 คะแนนขึ้นไป หรือคิดเป็นร้อยละ 80 ของคะแนนเต็มขึ้นไป
ไม่ผ่านเกณฑ์ เมื่อได้คะแนนแบบทดสอบหลังเรียนเรื่องการสะท้อนของแสงน้อยกว่า
8 คะแนน หรือคิดเป็นน้อยกว่าร้อยละ 80 ของคะแนนเต็ม
42

กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจากัด, 2551.
กฤตนัย จันทรจตุรงค์. ฟิสิกส์ O – NET & A – NET ช่วงชั้นที่ 4 (ม.4-5-6) สอบเข้า
มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : SCIENCE CENTER, ม.ป.ป.
ขวัญภพ ไชยวิภาส. สรุปกฎ สูตร ฟิสิกส์. กรุงเทพฯ : ภูมิบัณฑิตการพิมพ์ จากัด, ม.ป.ป.
จักรินทร์ วรรณโพธิ์กลาง. เทคนิคสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ฟิสิกส์ ม.5
Pure…Pure 2 ภาคเรียน. กรุงเทพฯ : พ.ศ. พัฒนาจากัด, 2548.
ชวลิต เลาหอุดมพันธ์. ฟิสิกส์ขนมหวาน เล่มที่ 2. กรุงเทพฯ : สามลดา, 2557.
ชิตชัย โพธิ์ประภา. แสงและทัศนอุปกรณ์. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2557, จาก
http://phchitchai.wbvschool.net/wp-content/uploads/2011/02
/chipimage0021.jpg
ช่วง ทมทิตชงค์ และคณะ. ฟิสิกส์ ม.5 เทอม 2. กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง จากัด, ม.ป.ป.
นิรันดร์ สุวรัตน์. ฟิสิกส์ ม.5. กรุงเทพฯ : พ.ศ. พัฒนาจากัด, 2551.
ประสิทธิ์ จันต๊ะภา. ติวสบาย 3 Weeks เข้ามหาวิทยาลัย ฟิสิกส์ ม. 4 – 6 PAT 2 โควตา
เล่ม 2. กรุงเทพฯ : ภูมิบัณฑิตการพิมพ์ จากัด, ม.ป.ป.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. คูม่ ือครูรายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม 3
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2555.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์
เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554.
43

ภาคผนวก
44

เฉลยคาตอบขั้นที่ 1 ขั้นตรวจสอบความรู้เดิม (Elicitation Phase)


คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้โดยใช้ความรู้และประสบการณ์เดิม แล้วทาแบบทดสอบ
ก่อนเรียนเรื่องการสะท้อนของแสง

1. จากรูปคลื่นต่อไปนี้ ให้นักเรียนวาดเส้นรังสีที่แสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น
1.1 1.2
ครูใช้ดุลยพินิจจากคาตอบของนักเรียน

2. จากรูปเป็นคลื่นขบวนหนึ่งกาลังเคลื่อนที่เข้าหากาแพง อยากทราบว่าหลังจากที่คลื่นกระทบ
กับกาแพงแล้วจะมีการเปลี่ยนแปลงทิศทางการเคลื่อนที่อย่างไร
ครูใช้ดุลยพินิจจากคาตอบของนักเรียน
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
..........................................................
3. แสง เป็นคลื่นชนิดใด เพราะเหตุใด
............................................................................................................................. ........................
ครูใช้ดุลยพินิจจากคาตอบของนักเรียน
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
............................................................................................................................. ........................

เกณฑ์การให้คะแนน : คะแนนเต็มข้อละ 2 คะแนน รวม 3 ข้อ 6 คะแนน ดังนี้


ได้คะแนนข้อละ 2 คะแนน เขียนคาตอบได้ครบถ้วน ชัดเจน ตรงประเด็น
ได้คะแนนข้อละ 1 คะแนน เขียนคาตอบได้ไม่ครบถ้วน ไม่ชัดเจน ตรงประเด็น
ได้คะแนนข้อละ 0 คะแนน ไม่เขียนตอบหรือเขียนคาตอบทีไ่ ม่ตรงประเด็นคาถาม
45

ข้อ ก ข ค ง
1. x
2. x
3. x
4. x
5. x
6. x
7. x
8. x
9. x
10. x

เกณฑ์การให้คะแนน ตอบได้ถูกต้องได้ 1 คะแนน ตอบไม่ถูกต้องได้ 0 คะแนน รวม 10 คะแนน

เฉลยคาตอบขั้นที่ 2 ขั้นเร้าความสนใจ (Engagement Phase)


คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้โดยใช้ความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์เดิม
1. นักเรียนคิดว่าลักษณะการเคลื่อนที่ของแสงเป็นอย่างไรและอัตราเร็วในการเคลื่อนที่เท่าใด
............................................................................................................................. ........................
ครูใช้ดุลยพินิจจากคาตอบของนักเรียน
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................

2. เมื่อแสงเคลื่อนที่ไปกระทบวัตถุที่แสงไม่สามารถทะลุผ่านได้จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
............................................................................................................................. ........................
ครูใช้ดุลยพินิจจากคาตอบของนักเรียน
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
46

3. การสะท้อนของแสงที่มาจากวัตถุเข้าตาเราจะทาให้เกิดภาพ นักเรียนคิดว่าภาพที่เกิดจากการ
สะท้อนของแสงแบ่งได้กี่ประเภท อะไรบ้าง และใช้เกณฑ์ในการจาแนกอย่างไร
............................................................................................................................. ........................
ครูใช้ดุลยพินิจจากคาตอบของนักเรียน
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................

4. ลักษณะภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบเป็นอย่างไร
............................................................................................................................. ........................
ครูใช้ดุลยพินิจจากคาตอบของนักเรียน
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................

5. นักเรียนคิดว่าลักษณะภาพที่เกิดจากกระจกเงาทรงกลมเป็นอย่างไร
............................................................................................................................. ........................
ครูใช้ดุลยพินิจจากคาตอบของนักเรียน
.................................................................................................................................... .................
.....................................................................................................................................................

เกณฑ์การให้คะแนน : คะแนนเต็มข้อละ 1 คะแนน รวม 5 ข้อ 5 คะแนน ดังนี้


ได้คะแนนข้อละ 1 คะแนน เขียนคาตอบได้ครบถ้วน ชัดเจน ตรงประเด็น
ได้คะแนนข้อละ 0.5 คะแนน เขียนคาตอบได้ไม่ครบถ้วน ไม่ชัดเจน ตรงประเด็น
ได้คะแนนข้อละ 0 คะแนน ไม่เขียนตอบหรือเขียนคาตอบไม่ตรงประเด็นคาถาม

เฉลยคาตอบขั้นที่ 4 ขั้นอธิบาย (Explanation Phase)


คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้โดยการอธิบายโดยใช้ความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์
จากที่ได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องการสะท้อนของแสง
1. ลักษณะการเคลื่อนที่ของแสงเป็นอย่างไรและมีอัตราเร็วสูงสุดในการเคลื่อนที่เท่าใด
แสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางในแนวเส้นตรงและมีอัตราเร็วในการคานวณที่ไม่ต้องการความ
............................................................................................................................. ........................
8
แม่นยาสูงมาก อาจใช้อัตราเร็วของแสงเป็น 3 x 10 เมตรต่อวินาที
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................

2. กฎการสะท้อนของแสงกล่าวว่าอย่างไร
1. ณ ตาแหน่งที่แสงตกกระทบ รังสีตกกระทบ รังสีสะท้อนและเส้นแนวฉากอยู
............................................................................................................................. ่ในระนาบ
........................
เดียวกัน
.....................................................................................................................................................
2. มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน
............................................................................................................................. ........................
47

3. ภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงแบ่งได้กี่ประเภท อะไรบ้าง และใช้เกณฑ์ในการจาแนก


อย่างไร
แบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ 1. ภาพจริง คือ ภาพเกิดจากรังสีของแสงตัดกันจริง ณ จุด
.....................................................................................................................................................
ที่เกิดภาพจริงจะใช้ฉากรับได้มีลักษณะหัวกลับกับวัตถุ
............................................................................................................................. ........................
2. ภาพเสมื อ น คื อ ภาพที ไ
่ ม่ ไ ด้ เ กิ ด จากรั ง สี ข องแสงไปตั ด กั น จริ ง แต่ ม ีรังสี
.....................................................................................................................................................
เสมือนซึ่งเป็นเส้นสมมติที่ลากต่อจากแนวรังสีจริงไปตัดกัน ณ จุดที่เกิดภาพ ........................
.............................................................................................................................

4. ลักษณะภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบเป็นอย่างไร
เป็นภาพเสมือนหัวตั้ง โดย
............................................................................................................................. ........................
/
1. ระยะภาพ (s ) เท่ากับระยะวัตถุ (s)
.....................................................................................................................................................
2. ความสูงของภาพ (y/) เท่ากับความสูงของวัตถุ (y) ........................
.............................................................................................................................
5. ลักษณะภาพที่เกิดจากกระจกเงานูนเป็นอย่างไร
ภาพที่เกิดจากกระจกเงานูนเป็นภาพเสมือน ขนาดภาพเล็กกว่าขนาดวัตถุเสมอ
............................................................................................................................. ........................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
6. ลักษณะภาพที่เกิดจากกระจกเงาเว้าเป็นอย่างไร
ภาพที่เกิดจากกระจกเงาเว้ามีทั้งภาพจริงและภาพเสมือน ขนาดเล็กกว่า เท่ากั........................
............................................................................................................................. น และ
ใหญ่กว่าขนาดวัตถุ ขึ้นอยู่กับตาแหน่งของวัตถุที่วางหน้ากระจก
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
7. ให้นักเรียนเขียนแผนผังมโนทัศน์สรุปเกี่ยวกับสาระสาคัญของเรื่องการสะท้อนของแสง
ครูใช้ดุลยพินิจจากคาตอบของนักเรียน

เกณฑ์การให้คะแนน : คะแนนเต็ม 15 คะแนน


ข้อที่ 1 – 6 : คะแนนเต็มข้อละ 2 คะแนน รวม 6 ข้อ 12 คะแนน ดังนี้
ได้คะแนนข้อละ 2 คะแนน เขียนคาตอบได้ครบถ้วน ชัดเจน ตรงประเด็น
ได้คะแนนข้อละ 1 คะแนน เขียนคาตอบได้ไม่ครบถ้วน ไม่ชัดเจน ตรงประเด็น
ได้คะแนนข้อละ 0 คะแนน ไม่เขียนตอบหรือเขียนคาตอบไม่ตรงประเด็นคาถาม
ข้อที่ 7 : คะแนนเต็ม 3 คะแนน ดังนี้
ได้คะแนนข้อละ 3 คะแนน เขียนอธิบายได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน มีรายละเอียดมาก
และตกแต่งสวยงาม
ได้คะแนนข้อละ 2 คะแนน เขียนอธิบายได้อย่างถูกต้อง ไม่ครบถ้วนชัดเจน มีรายละเอียด
น้อย และตกแต่งสวยงาม
ได้คะแนนข้อละ 0 คะแนน เขียนอธิบายได้อย่างถูกต้องบางส่วน มีรายละเอียดน้อย และ
ตกแต่งไม่สวยงาม
48

เฉลยคาตอบขั้นที่ 6 ขั้นประเมินผล (Evaluation Phase)


คาชี้แจง ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 1.1 , 1.2 และ 1.3 แล้วทาแบบทดสอบหลังเรียนเรื่องการ
สะท้อนของแสง

แบบฝึกหัดที่ 1.1
เขียนรังสีของแสงเพื่อหาตาแหน่งของภาพ

คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนรังสีของแสงเพื่อหาภาพและระยะภาพที่เกิดจากการวางวัตถุไว้หน้า
กระจกแต่ละชนิดที่ตาแหน่งต่างๆ ต่อไปนี้ พร้อมทาเครื่องหมายวงกลมล้อมรอบคาตอบที่ถูกต้อง
1. วัตถุอยู่ที่ตาแหน่ง F

วัตถุ
ภาพ

C F V F C

ตอบ ง. ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุที่ตาแหน่งระหว่างจุด V กับ - F

2. วัตถุอยู่ที่ตาแหน่ง C กับ F

วัตถุ

ภาพ
C F V

ตอบ ก. ภาพจริงหัวกลับขนาดใหญ่กว่าวัตถุที่ตาแหน่งระหว่างจุด C กับ ∞


49

3. วัตถุอยู่ที่ตาแหน่ง ∞ กับ C
วัตถุ ภาพ

C F V

ตอบ ค. ภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุที่ตาแหน่งระหว่างจุด C กับ F

4. วัตถุอยู่ที่ตาแหน่ง F กับ V

C F วัตถุ V ภาพ

ตอบ ง. ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุที่ตาแหน่งระหว่างจุด - F กับ ∞

5. วัตถุอยู่ที่ด้านหน้ากระจก

วัตถุ ภาพ

ตอบ ก. ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเท่ากับวัตถุที่ตาแหน่งด้านหลังกระจก

เกณฑ์การให้คะแนน : คะแนนเต็มข้อละ 2 คะแนน รวม 5 ข้อ 10 คะแนน ดังนี้


ได้คะแนนข้อละ 2 คะแนน เขียนรังสีแสงได้ถูกต้อง และเลือกตอบได้ถูกต้อง
ได้คะแนนข้อละ 1 คะแนน เขียนรังสีแสงได้ถูกต้อง หรือเลือกตอบได้ถูกต้อง
ได้คะแนนข้อละ 0 คะแนน ไม่เขียนตอบหรือเขียนคาตอบไม่ถูกต้อง
50

แบบฝึกหัดที่ 1.2
การสะท้อนของแสง

ข้อที่ คาตอบ ข้อที่ คาตอบ


1 ค 6 ง
2 ก 7 ค
3 ค 8 ค
4 ข 9 ง
5 ง 10 ข

เกณฑ์การให้คะแนน ตอบได้ถูกต้องได้ 1 คะแนน ตอบไม่ถูกต้องได้ 0 คะแนน รวม 10 คะแนน

แบบฝึกหัดที่ 1.3
คานวณเกี่ยวกับการสะท้อนของแสง

คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนอธิบายเหตุผลหรือแสดงวิธีทา แล้วเติมคาตอบที่ถูกต้องลงในช่องว่าง

1. แสงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีอัตราเร็ว 3 x 108 เมตรต่อวินาที ในสุญญากาศ ถ้าส่งญาณ


คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปยังดาวเทียมซึ่งอยู่สูง 300 กิโลเมตร จากผิวโลก จงหาว่าหลังจากส่ง
สัญญาณไปแล้วนานกี่มิลลิวินาทีจึงจะได้สัญญาณที่สะท้อนกลับมาจากดาวเทียม
วิธีทา หาเวลาไปและกลับ
2 3 1 3
จาก ( )
3 1
ตอบ หลังส่งสัญญาณไปแล้ว ____2_______มิลลิวินาที จะได้สัญญาณสะท้อนจากดาวเทียม

2. กระจกเงาราบสองบานวางทามุม ต่อกัน ถ้ารังสีตกกระทบครั้งแรกบนกระจกบานที่หนึ่ง


มีทิศ ขนานกับกระจกบานที่สอง และรังสีสะท้อนบนกระจกบานที่สองมีทิศขนานกับกระจก
บานที่หนึ่ง จงหาค่าของมุม
A
วิธีทา จากรูป 3 = 180o
= 60o
𝜃 B
C
ตอบ มุมระหว่างกระจกสองบานเท่ากับ____60___ องศา
51

3. เด็กคนหนึ่งอยู่ห่างจากกระจกเงาราบ 5 เมตร คลานเข้าหากระจกด้วยอัตราเร็ว


1 เมตรต่อวินาที เมื่อสิ้นวินาทีที่ 2 ภาพของเด็กจะอยู่ห่างจากตัวเด็กเท่าใด
1 m/s ภาพ

วิธีทา 5m 3m 3m
จากรูปภาพของเด็กอยู่ห่างจากเด็ก 3 + 3 = 6 เมตร
ตอบ ภาพของเด็กจะอยู่ห่างจากตัวเด็กเท่ากับ _____6_____ เมตร

4. จากรูปภาพที่เกิดจากกระจกโค้งถ้าภาพมีกาลังขยาย 2 เท่า ความยาวโฟกัสของกระจก


10 เซนติเมตร ระยะวัตถุจะมีค่าเท่าใด
วิธีทา กาลังขยายของภาพเป็น 2 เท่า และเป็นภาพเสมือนเกิดด้านหลังกระจก
นั่นคือ ระยะภาพ = -2 เท่าของระยะวัตถุ
1 1 1
จาก
1 1 1
1 2
S = 5 เซนติเมตร
ตอบ ระยะวัตถุจะมีค่าเท่ากับ_____5_____ เซนติเมตร

5. วางตุ๊กตาที่มีความสูง 10 เซนติเมตร ไว้หน้ากระจกนูนซึ่งมีรัศมีความโค้ง 50 เซนติเมตร


โดยวางห่างจากหน้ากระจกเป็นระยะ 100 เซนติเมตร จงหาความสูงของภาพว่ามีขนาด
กี่เซนติเมตร
วิธีทา จาก
2 2
เนื่องจากเป็นกระจกนูน ความยาวโฟกัสจะต้องติดลบ f = - 5 cm
จากสูตร

จะได้
2
แทนค่า
1 1 2

ตอบ ความสูงของภาพตุ๊กตาเท่ากับ___2____ เซนติเมตร


52

6. เมื่อวางวัตถุไว้หน้ากระจกโค้งบานหนึ่งเป็นระยะ 10 และ 30 เซนติเมตร ปรากฏว่าได้ภาพ


มีขนาดเท่ากันพอดี ความยาวโฟกัสของกระจกโค้งนี้กี่เซนติเมตร
วิธีทา จาก
จะได้ 1 2

1 3

f = 20 cm
ตอบ ความยาวโฟกัสของกระจกโค้งนี้เท่ากับ_____20_____เซนติเมตร

7. ดินสอแท่งหนึ่งสูง 10 เซนติเมตร วางอยู่หน้ากระจกนูนระยะ 5 เซนติเมตร ได้ภาพใน


กระจกสูง 6 เซนติเมตร กระจกนูนมีรัศมีความโค้งกี่เซนติเมตร
วิธีทา จาก
1
/
s = 3 cm เป็นภาพเสมือนเนื่องจากเกิดที่กระจกนูน
1 1 1
และจาก
2 1 1 1 1 3
3 1
R = - 15 cm
ตอบ กระจกนูนมีรัศมีความโค้ง_____15_____ เซนติเมตร

8. วางวัตถุสูง 2 เซนติเมตร ไว้ห่างจากกระจกเงาเว้าซึ่งมีรัศมีความโค้ง 20 เซนติเมตร


โดยวางห่างจากขั้วกระจกเท่ากับ 15 เซนติเมตร ระยะภาพเป็นเท่าใด
1 1 1
วิธีทา จาก
1 1 1
1 1
/
S = 30 cm
ตอบ ระยะภาพเท่ากับ______30____ เซนติเมตร
53

9. ต้องใช้กระจกชนิดใดและรัศมีความโค้งเท่าใด จึงจะทาให้เกิดภาพจริงมีขนาด 1/3 เท่าของ


วัตถุ เมื่อวางวัตถุห่างจากกระจก 16 เซนติเมตร
วิธีทา จาก
1
3 1
16 - f = 3f
f = 4 cm
R = 8 cm
ตอบ ใช้กระจกเงา _____เว้า______ และมีรัศมีความโค้ง ______8____ เซนติเมตร
10. กระจกโค้งอันหนึ่งเมื่อวางวัตถุห่างจากกระจก 60 เซนติเมตร ได้ภาพเสมือนหัวตั้งสูง 1.5
เท่าของความสูงวัตถุ กระจกนี้เป็นกระจกชนิดใด และมีความยาวโฟกัสเท่าใด
วิธีทา กระจกนี้เป็นกระจกเงาเว้าเพราะให้ภาพใหญ่กว่าวัตถุ
หาระยะภาพ s/ = - 1.5 s = - 1.5 x 60 = - 90 cm
1 1 1
จาก
1 1 1

f/ = 180 cm
ตอบ กระจกเงา ______เว้า_______ และมีความยาวโฟกัส ____180_____ เซนติเมตร

เกณฑ์การให้คะแนน : คะแนนเต็มข้อละ 2 คะแนน รวม 10 ข้อ 20 คะแนน ดังนี้


ได้คะแนนข้อละ 2 คะแนน แสดงวิธีทาได้ถูกต้องทุกขั้นตอน และเขียนคาตอบถูกต้อง
ได้คะแนนข้อละ 1 คะแนน แสดงวิธีทาได้ถูกต้องบางขั้นตอน และเขียนคาตอบถูกต้อง
ได้คะแนนข้อละ 0 คะแนน ไม่แสดงวิธีทาและไม่เขียนตอบหรือแสดงวิธีทาไม่ถูกต้องและ
เขียนคาตอบไม่ถูกต้อง
54

ข้อ ก ข ค ง
1. x
2. x
3. x
4. x
5. x
6. x
7. x
8. x
9. x
10. x

เกณฑ์การให้คะแนน ตอบได้ถูกต้องได้ 1 คะแนน ตอบไม่ถูกต้องได้ 0 คะแนน รวม 10 คะแนน

เฉลยคาตอบขั้นที่ 7 ขั้นนาความรู้ไปใช้ (Extention Phase)


คาชี้แจง ให้นักเรียนอธิบายสถานการณ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้โดยใช้ความรู้เรื่องการสะท้อนของแสง

1. ถ้านักเรียนต้องการส่องกระจกเพื่อสารวจริ้วรอย จุดด่างดาบนใบหน้าให้เห็นชัดเจนกว่า
ปกติ นักเรียนควรเลือกใช้กระจกชนิดใด เพราะเหตุใด และมีวิธีการใช้ตามหลักการทาง
ฟิสิกส์อย่างไร
.....................................................................................................................................................
ครูใช้ดุลยพินิจจากคาตอบของนักเรียน
............................................................................................................................. ........................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.................................................................................................................................. ...................
55

2. ถ้ากระจกมองหลังรถจักรยานยนต์ของนักเรียนแตกเสียหาย นักเรียนจะเลือกใช้
อุปกรณ์ชิ้นใดเพื่อทาหน้าที่เป็นกระจกมองหลังแทนชั่วคราว เพราะเหตุใด และ
มีวิธีการใช้ตามหลักการทางฟิสิกส์อย่างไร

ก. ตะหลิวโลหะผิวมันวาว ข. กระทะโลหะผิวมันวาว ค. แผ่นโลหะเรียบผิวมันวาว


............................................................................................................................. ........................
ครูใช้ดุลยพินิจจากคาตอบของนักเรียน
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................
.......................................................................................................................................... ...........
...................................................................................................................... ...............................
............................................................................................................................. ........................

เกณฑ์การให้คะแนน : คะแนนเต็มข้อละ 5 คะแนน รวม 2 ข้อ 10 คะแนน ดังนี้


ได้คะแนนข้อละ 5 คะแนน เขียนอธิบายการเลือกใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้องกับงาน อธิบายเหตุ
ผลได้สอดคล้องกับงาน และอธิบายวิธีการใช้งานตามหลักการทางฟิสิกส์ได้ถูกต้อง
ได้คะแนนข้อละ 4 คะแนน เขียนอธิบายการเลือกใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้องกับงาน อธิบายเหตุ
ผลได้สอดคล้องกับงานเป็นส่วนใหญ่ และอธิบายวิธีการใช้งานตามหลักการทางฟิสิกส์ได้ถูกต้องเป็น
ส่วนใหญ่
ได้คะแนนข้อละ 3 คะแนน เขียนอธิบายการเลือกใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้องกับงาน อธิบาย
เหตุผลไม่สอดคล้องกับงาน และอธิบายวิธีการใช้งานตามหลักการทางฟิสิกส์ได้ถูกต้องบางส่วน
ได้คะแนนข้อละ 2 คะแนน เขียนอธิบายการเลือกใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้องกับงาน อธิบาย
เหตุผลไม่สอดคล้องกับงาน และอธิบายวิธีการใช้งานตามหลักการทางฟิสิกส์ไม่ถูกต้อง
ได้คะแนนข้อละ 1 คะแนน เขียนอธิบายการเลือกใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้องกับงาน ไม่อธิบาย
เหตุผล และไม่อธิบายวิธีการใช้งานตามหลักการทางฟิสิกส์
ได้คะแนนข้อละ 0 คะแนน ไม่เขียนตอบหรือเลือกใช้อุปกรณ์ไม่ถูกต้องกับงาน
56

เอกสารประกอบการสอน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ โดยใช้


กระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7E สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
โรงเรียนสตรีศึกษา อาเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 27 จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ 2 รหัสวิชา ว30202
เป็นการพัฒนาการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เน้นกระบวนการสืบเสาะแสวงหาความรู้ โดยที่ผู้เรียนค้นพบ
ความรู้ และตอบสนองต่อสถานการณ์ต่างๆ ด้วยตนเอง โดยมีเป้าหมายเพื่อกระตุ้นให้เด็กได้มีความ
สนใจและสนุกกับการเรียน และยังสามารถปรับประยุกต์สิ่งที่ได้เรียนรู้ไปสู่การสร้างประสบการณ์
ของตนเอง ทาให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาฟิสิกส์ซึ่งนาไปสู่การมีผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้นต่อไป
ภายในเอกสารประกอบการสอนประกอบด้วย จุดประสงค์การเรียนรู้ คาแนะนาในการใช้
เอกสาร แบบทดสอบก่อนเรียน เนื้อหาสาระ กิจกรรมในบทเรียน แบบฝึกหัด คาถาม
แบบทดสอบหลังเรียน ซึ่งถูกจัดให้เป็นขั้นตอนตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการ
เรียนรู้ 7E โดยมีสื่อการเรียนการสอนที่เลือกไว้ในแต่ละกิจกรรมตามความเหมาะสม เพื่อให้ผู้เรียน
ได้เรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ ผู้จัดทาได้จัดทาเอกสารประกอบการสอนทั้งหมดจานวน 7 เล่ม เวลา
ที่ใช้ในการศึกษารวม 24 ชั่วโมง มีรายละเอียดดังนี้
เล่มที่ 1 เรื่องการสะท้อนของแสง จานวน 4 ชั่วโมง
เล่มที่ 2 เรื่องการหักเหของแสง จานวน 4 ชั่วโมง
เล่มที่ 3 เรื่องเลนส์บาง จานวน 4 ชั่วโมง
เล่มที่ 4 เรื่องปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแสง จานวน 2 ชั่วโมง
เล่มที่ 5 เรื่องทัศนอุปกรณ์ จานวน 4 ชั่วโมง
เล่มที่ 6 เรื่องความสว่างและการถนอมสายตา จานวน 4 ชั่วโมง
เล่มที่ 7 เรื่องตาและการมองเห็นสี จานวน 2 ชั่วโมง

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการสอนที่สร้างขึ้นเป็นนวัตกรรมในการจัดการ
เรียนรู้นี้จักก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้เรียนเรียนอย่างสูงสุด

ฐิติกานต์ เค้ามาก
ผู้จัดทา
57

หน้า

คานา ก
สารบัญ ข
คาชี้แจงสาหรับครู 1
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน 2
แผนผังลาดับการใช้เอกสารประกอบการสอน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง แสงและ
ทัศนอุปกรณ์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7E
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1 เรื่องการสะท้อนของแสง 3
เป้าหมายการเรียนรู้ 4
ขั้นที่ 1 ขั้นตรวจสอบความรู้เดิม (Elicitation Phase) 6
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการสะท้อนของแสง 7
ขั้นที่ 2 ขั้นเร้าความสนใจ (Engagement Phase) 11
ขั้นที่ 3 ขั้นสารวจค้นหา (Exploration Phase) 12
ขั้นที่ 4 ขั้นอธิบาย (Explanation Phase) 21
ขั้นที่ 5 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration Phase) 23
ขั้นที่ 6 ขั้นประเมินผล (Evaluation Phase) 25
แบบฝึกหัดที่ 1.1 เขียนรังสีของแสงเพื่อหาตาแหน่งของภาพ 25
แบบฝึกหัดที่ 1.2 การสะท้อนของแสง 28
แบบฝึกหัดที่ 1.3 คานวณเกี่ยวกับการสะท้อนของแสง 32
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่องการสะท้อนของแสง 36
ขั้นที่ 7 ขั้นนาความรู้ไปใช้ (Extention Phase) 40
ตารางบันทึกคะแนนกิจกรรม 41
บรรณานุกรม 42
ภาคผนวก 43
เฉลยคาตอบขั้นที่ 1 ขั้นตรวจสอบความรู้เดิม (Elicitation Phase) 44
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการสะท้อนของแสง 45
เฉลยคาตอบขั้นที่ 2 ขั้นเร้าความสนใจ (Engagement Phase) 45
เฉลยคาตอบขั้นที่ 4 ขั้นอธิบาย (Explanation Phase) 46
เฉลยคาตอบขั้นที่ 6 ขั้นประเมินผล (Evaluation Phase) 48
เฉลยคาตอบขั้นที่ 7 ขั้นนาความรู้ไปใช้ (Extention Phase) 54

You might also like