You are on page 1of 16

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 4

กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิชาวิทยาศาสตร์ 5 รหัสวิชา ว23101 ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3


หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 เรือ่ ง หน่วยทีก่ ำหนดลักษณะทางพันธุกรรม เวลา 1 ชัว่ โมง
สอนวันที่ ………/….……/…………

1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชีว้ ดั
ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญ ของการถ่ายทอดลักษณะทางพั น ธุกรรม สารพั น ธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒ นาการของสิ่งมีชีวิต
รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

2. ตัวชีว้ ดั
ม.3/1 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซม โดยใช้แบบจำลอง

3. สาระสำคัญ
ในบทเรียนนี้นักเรียนจะได้ทราบถึงลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตซึ่งถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปสู่ลูกได้โดยมี
สารพันธุกรรมในนิวเคลียสที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
โครโมโซมประกอบด้ ว ย ดี เอ็ น เอ และโปรตี น ขดอยู่ ใ นนิ ว เคลี ย ส ยี น ดี เอ็ น เอ และโครโมโซม มี
ความสัมพันธ์กัน โดยบางส่วนของดีเอ็นเอ ทำหน้าที่เป็นยีนที่กำหนดลักษณะของสิ่งมีชีวิต

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายหน่วยที่กำหนดลักษณะทางพันธุกรรมกับลักษณะของสิ่งแวดล้อมได้ (K)
2. ตีความหมายและสรุปผลการกำหนดลักษณะทางพันธุกรรมกับลักษณะของสิ่งมีชีวิต โดยใช้
แบบจำลองได้ (P)
3. ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ (A)

5. กิจกรรมการเรียนรู้
ขัน้ ที่ 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engagement)
1) ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยใช้สื่อวิดิทัศน์จาก
https://www.youtube.com/watch?v=rIJZNADwbj4 แสดง 10 อันดับ สุนัขที่น่ารักที่สุดในโลก
2) ครูใช้คำถามว่า สายพัน ธุ์ สุ นัขที่ นั กเรีย นเห็น ในวิดีทั ศน์ มี อะไรบ้างที่ นัก เรียนรู้จัก เพื่ อให้
นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงความเข้าใจในความหลากหลายของสายพันธุ์ในสิ่งมีชีวิต
ขั้นที่ 2 ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration)
1) แบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 4-5 คน
2) ครูเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมที่ 2.2 เรื่องหน่วยที่กำหนดลักษณะทางพันธุกรรมเกี่ยวข้องกับ
ลักษณะของสิ่งมีชีวิตอย่างไร โดยใช้คำถามว่า หน่วยที่กำหนดลักษณะทางพันธุกรรมบนสายดีเอ็นเอทำงานได้
อย่างไร
3) นักเรียนแต่กลุ่มดำเนินการทำกิจกรรม
4) ขณะที่แต่ละกลุ่มทำกิจกรรม ครูเดินสังเกตการทำกิจกรรมของนักเรียนแต่ละกลุ่ม และให้
คำแนะนำถ้านักเรียนมีข้อสงสัยในประเด็นต่าง ๆ เช่น การสุ่มหยิบชิ้นกระดาษรหัสภาพ การนำรหัสภาพไปเทียบ
กับ ตารางแปลลั กษณะแล้ วนำมาวาดเป็น ภาพสุนั ข ซึ่ ง ครูค วรรวบรวมปัญ หาและข้ อสงสัยที่ พ บจากการทำ
กิจกรรมของนักเรียน เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการอภิปรายหลังจากการทำกิจกรรม
ขัน้ ที่ 3 ขัน้ อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
1) นักเรียนบันทึกผลการทำกิจกรรมลงในแบบบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมที่ 2.2 เรื่องหน่วยที่
กำหนดลักษณะทางพันธุกรรมเกี่ยวข้องกับลักษณะของสิ่งมีชีวิตอย่างไร
2) ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอหน้าชั้นเรียน
ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
ครูให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติม สังเกตภาพจาก PowerPoint Presentation แสดงความสัมพันธ์
ระหว่างโครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีนมาให้นักเรียนดู จากนั้นให้นักเรียนอธิบายความสัมพันธ์ตามความเข้าใจ และ
ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้คำถามระหว่างเรียน
ขั้นที่ 5 ขั้นประเมิน (Evaluation) (5 นาที)
1) ครูตรวจสอบการส่งแบบบันทึกการค้นคว้าของนักเรียนและให้คะแนนประเมินตามเกณฑ์
การประเมิน (Rubrics Score)
2) ให้นักเรียนทำแบบทดสอบเก็บคะแนนใน
https://classroom.google.com/u/1/c/MTAzODUxODYyMjQ3

6. สือ่ การเรียนรู/้ แหล่งเรียนรู้


- https://www.youtube.com/watch?v=rIJZNADwbj4
- ใบงานที่แสดงการกำหนดรหัสภาพ ซองกระดาษ และกรรไกร
- ใบกิจกรรมที่ 2.2 หน่วยที่กำหนดลักษณะทางพันธุกรรมเกี่ยวข้องกับลักษณะของสิ่งมีชีวิตอย่างไร
- แบบบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมที่ 2.2 หน่วยที่กำหนดลักษณะทางพันธุกรรมเกี่ยวข้องกับลักษณะของ
สิ่งมีชีวิตอย่างไร
- https://classroom.google.com/u/1/c/MTAzODUxODYyMjQ3

7. การวัดและการประเมิน
ตัวชีว้ ดั /ผลการเรียนรู้ วิธกี ารวัด เครือ่ งมือวัด เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน
อธิบายหน่วยที่กำหนด - การตอบคำถาม - ข้อคำถาม ได้ไม่น้อยกว่า 2 คะแนน
ตัวชีว้ ดั /ผลการเรียนรู้ วิธกี ารวัด เครือ่ งมือวัด เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน
ลักษณะทางพันธุกรรมกับ - ตรวจแบบบันทึกการ - คำถามท้ายกิจกรรมที่ 2.2 ระดับคุณภาพดี ถือว่า
ลักษณะของสิ่งแวดล้อมได้ ค้นคว้ากิจกรรมที่ 2.2 หน่วยที่กำหนดลักษณะ ผ่านการประเมิน
(K) หน่วยที่กำหนดลักษณะทาง ทางพันธุกรรมเกี่ยวข้อง
พันธุกรรมเกี่ยวข้องกับ กับลักษณะของสิ่งมีชีวิต
ลักษณะของสิ่งมีชีวิตอย่างไร อย่างไร
ตีความหมายและสรุปผล ตรวจแบบบันทึกการค้นคว้า แบบบันทึกการค้นคว้า ได้ไม่น้อยกว่า 2 คะแนน
การกำหนดลักษณะทาง กิจกรรมที่ 2.2 หน่วยที่ กิจกรรมที่ 2.2 หน่วยที่ ระดับคุณภาพดี ถือว่า
พันธุกรรมกับลักษณะของ กำหนดลักษณะทาง กำหนดลักษณะทาง ผ่านการประเมิน
สิ่งมีชีวิต โดยใช้แบบจำลอง พันธุกรรมเกี่ยวข้องกับ พันธุกรรมเกี่ยวข้องกับ
ได้ (P) ลักษณะของสิ่งมีชีวิตอย่างไร ลักษณะของสิ่งมีชีวิตอย่างไร
ให้ความร่วมมือในการ - สังเกตความร่วมมือในการ - เกณฑ์การประเมินความ - ได้ไม่น้อยกว่า 2
ทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ ทำกิจกรรมของนักเรียน ร่วมมือในการทำกิจกรรม คะแนน ระดับคุณภาพดี
(A) ร่วมกับผู้อื่นของนักเรียน ถือว่าผ่านการประเมิน

7.1 เกณฑ์การประเมินผลนักเรียน เกณฑ์การประเมิน (Rubrics Score)

ค่าน้ำหนัก
ประเด็นการประเมิน แนวทางการให้คะแนน
คะแนน
การให้คะแนนตอบ 3 ตอบคำถามท้ายกิจกรรมที่ 2.2 ถูกต้อง จำนวน 4-5 ข้อ
คำถามท้าย 2 ตอบคำถามท้ายกิจกรรมที่ 2.2 ถูกต้อง จำนวน 2-3 ข้อ
กิจกรรมที่ 2.2 1 ตอบคำถามท้ายกิจกรรมที่ 2.2 ถูกต้อง จำนวน 1 ข้อ หรือ ไม่ถูกต้อง
การให้คะแนนการบันทึก บันทึกผลจากการทำกิจกรรมตอนที่ 1 และตอนที่ 2 ในแบบบันทึกการ
แบบบันทึกการค้นคว้า ค้นคว้าได้ชัดเจน ถูกต้อง ครบทุกประเด็นสอดคล้องกับเนื้อหาในกิจกรรม
3
กิจกรรมที่ 2.2 และมีการวาดภาพลักษณะสิ่งมีชีวิตได้ถูกต้อง มีส่วนประกอบที่เหมือนกับ
ของจริง
บันทึกผลจากการทำกิจกรรมตอนที่ 1 และตอนที่ 2 ในแบบบันทึกการ
2 ค้นคว้าได้ ถูกต้อง ครบทุกประเด็นสอดคล้องกับเนื้อหาในกิจกรรม
การวาดภาพลักษณะสิ่งมีชีวิตได้ แต่ส่วนประกอบไม่สอดคล้องกับของจริง
บันทึกผลจากการทำกิจกรรมตอนที่ 1 และตอนที่ 2 ในแบบบันทึกการ
1 ค้นคว้าได้ไม่ครบทุกประเด็น และการวาดภาพลักษณะสิ่งมีชีวิตได้ แต่
ส่วนประกอบไม่สอดคล้องกับของจริง
การให้คะแนนความ 3 ให้ความร่วมมือในทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นตลอดทั้งคาบเรียน ไม่ก่อความ
ค่าน้ำหนัก
ประเด็นการประเมิน แนวทางการให้คะแนน
คะแนน
ร่วมมือในการทำกิจกรรม วุ่นวายหรือปัญหาที่รบกวนการเรียนของผู้อื่น เช่น พูดเสียงดังโวยวาย
ร่วมกับผู้อื่น ลุกเดินไปมา หรือชวนผู้อื่นคุยเล่น ขณะครูทำการสอน
2 ให้ความร่วมมือในทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นเป็นบางครั้งในคาบเรียน และ
ก่อความวุ่นวายหรือปัญหาที่รบกวนการเรียนของผู้อื่น เช่น พูดเสียงดัง
โวยวาย ลุกเดินไปมา หรือชวนผู้อื่นคุยเล่น ขณะครูสอน
1 ไม่ให้ความร่วมมือในทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น ทำให้เกิดความวุ่นวายหรือ
ปัญหาที่รบกวนการเรียนของผู้อื่น เช่น พูดเสียงดังโวยวาย ลุกเดินไปมา
หรือ ชวนผู้อื่นคุยเล่น ขณะครูทำการสอน
7.2 ระดับคุณภาพ
คะแนนรวมเฉลี่ย 6.00 - 5.00 หมายถึง ดีมาก
คะแนนรวมเฉลี่ย 4.00 - 3.00 หมายถึง ดี
คะแนนรวมเฉลี่ย 2.00 - 1.00 หมายถึง พอใช้

8. ข้อเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................

นางสาวณัฎฐ์รฎา ยงศิริ ผู้สอน


แบบบันทึกการประเมินคุณภาพการเรียนรูข้ องนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3
รายวิชาวิทยาศาสตร์พนื้ ฐาน (ว23101) หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 พันธุศาสตร์ I
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 4 เรือ่ ง หน่วยทีก่ ำหนดลักษณะทางพันธุกรรม .
คำชี้แจง: ทำเครื่องหมาย ✓ ในช่องค่าน้ำคะแนนแต่ละด้านตามจุดประสงค์การเรียนรู้ โดยประเมินตามเกณฑ์ Rubrics Score
ด้านความรู้ (K) ด้านกระบวนการ (P) ด้านเจตคติ (A)

ระดับคุณภาพ
คะแนนรวม
เลข ชือ่ -นามสกุล/
ค่าน้ำหนักคะแนน ค่าน้ำหนักคะแนน ค่าน้ำหนักคะแนน
ที่ รหัสนักเรียน
3 2 1 3 2 1 3 2 1
1 ด.ช. เกรียงไกร บุญประกอบ
2 ด.ช. กชกร รักษาแดน
3 ด.ช. กฤตเมท รักษาแดน
4 ด.ช. กฤษณะ เสือวงษ์
5 ด.ช. เฉลิมพล จั่นศรี
6 ด.ช. นิติภูมิ กาเหว่าทอง
7 ด.ช. ภัทรพล ฮวดตี๋
8 ด.ช. ภูมิ มุ้ยประเสริฐ
9 ด.ช. ศักดิ์ดา สุภผล
10 ด.ช. ศุภากร อังกาบเอี่ยม
11 ด.ช. อนุชา บุญเกิด
12 ด.ช. อนุชา เลาะมิน
13 ด.ช. อนุสรณ์ พาพรมมา
14 ด.ช. อาทิวราห์ ลีรุ่งเรือง
15 ด.ญ. ขจาริน แสวงทอง
16 ด.ญ. ฉัตรมินตรา บุญอยู่
17 ด.ญ. ดวงรัตน์ พานิชดี
18 ด.ญ. นนทวัล บัวจร
19 ด.ญ. วัชรินทร์ ฝุ่นทอง
20 ด.ญ. วิมลรัตน์ ดลสุข
21 ด.ญ. ศิริพร แสวงทอง
22 ด.ญ. สรวีย์ อินทรพงษ์
23 น.ส. กัญญา ภูแข็ง
24 ด.ช. นิภัทร จันทร์เพ็ญ
25
26

เกณฑ์การพิจารณาคุณภาพ
- คะแนนรวมเฉลี่ย 6.00 - 5.00 หมายถึง ดีมาก
- คะแนนรวมเฉลี่ย 4.00 - 3.00 หมายถึง ดี
- คะแนนรวมเฉลี่ย 2.00 - 1.00 หมายถึง พอใช้
สือ่ การเรียนรูแ้ ผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 4: สื่อวิดีทัศน์

คลิปวิดที ัศน์: 10 อันดับ สุนขั ทีน่ า่ รักทีส่ ดุ ในโลก

แหล่งทีม่ า: เว็บไซต์อ้างอิง
https://www.youtube.com/watch?v=rIJZNADwbj4
เผยแพร่เมื่อ 5 มีนาคม พ.ศ. 2562
(ช่องYouTube: Perkak Eiei)
ใบกิจกรรมที่ 2.2 หน่วยทีก่ ำหนดลักษณะทางพันธุกรรมเกีย่ วข้องกับลักษณะของสิง่ มีชวี ติ อย่างไร

กิจกรรมที่ 2.2 หน่วยทีก่ ำหนดลักษณะทางพันธุกรรมเกีย่ วข้องกับลักษณะของสิง่ มีชวี ติ อย่างไร?


จุดประสงค์ อธิบายความเกี่ยวข้องของหน่วยที่กำหนดลักษณะทางพันธุกรรมกับลักษณะของ
สิ่งมีชีวิต
วัสดุอปุ กรณ์ วัสดุที่ใช้ต่อกลุ่ม
1) ชิ้นกระดาษที่มีรหัสภาพ ลักษณะละ 4 ชิ้น รวม 20 ชิ้น
2) ซองกระดาษ 5 ซอง
วิธดี ำเนินกิจกรรม 1. นักเรียนกำหนดรหัสภาพแทนแบบจำลองของหน่วยที่กำหนดลักษณะทาง
พันธุกรรมของสุนัข ลงในแบบบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมที่ 2.2 ตอนที่ 1
ออกแบบตารางการแปลรหัสภาพลักษณะของสุนัข
2. ตัดกระดาษที่มีรหัสภาพแบบต่าง ๆ ออกเป็นชิ้นยาว โดยใช้รหัสภาพกำหนด
ลักษณะทางพันธุกรรมของสุนัข 5 ลักษณะ ได้แก่ ลำตัว หัว ใบหู ขา และหาง
แต่ละลักษณะมีรหัสภาพที่แตกต่างกัน 4 แบบ
3. นำรหัสภาพแต่ละลักษณะ ซึ่งมี 4 ชิ้นใส่ในซองกระดาษลักษณะละ 1 ซอง
4. สุ่มหยิบชิ้นกระดาษ 1 ชิ้น จากซองกระดาษแต่ละซอง แล้วนำไปเทียบกับ
ตารางแปลรหัสภาพลักษณะต่าง ๆ ของสุนัขที่กำหนดให้ บันทึกผลลงในแบบบันทึก
การค้นคว้ากิจกรรมที่ 2.2 ตอนที่ 2
5. นำลักษณะจากข้อ 4 มาวาดเป็นภาพของสุนัขทั้งตัว
การเตรียมตัว สำเนาแบบบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมที่ 2.2 ตอนที่ 1 และตอนที่ 2 ให้เพียงพอ
ล่วงหน้า กับการใช้งาน

คำถามท้ายกิจกรรม

1. แบบจำลองรหัสภาพนี้ใช้แทนหน่วยที่กำหนดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตชนิดใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. รหัสภาพแบบต่าง ๆ ที่หยิบโดยการสุ่มแต่ละครั้งแทนลักษณะใดของสิ่งมีชีวิต
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ภาพสิ่งมีชีวิตของนักเรียนแต่ละกลุ่มเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. สิ่งใดเป็นตัวกำหนดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แบบบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมที่ 2.2
ตอนที่ 1 ออกแบบตารางการแปลรหัสภาพลักษณะของสุนขั
คำชี้แจง: ให้นักเรียนออกแบบลักษณะลำตัว หัว ใบหู ขา และหาง จำนวน 4 แบบ *โดยไม่ซ้ำกัน
ลักษณะของลำตัว ลักษณะของหัว
รหัส ABCD รหัส WXYZ

รหัส BCDA รหัส XYZW

รหัส CDAB รหัส YZWX

รหัส DABC รหัส ZWXY

ลักษณะของใบหู ลักษณะของขา
รหัส 1234 รหัส 6789

รหัส 2341 รหัส 7896

รหัส 3412 รหัส 8967

รหัส 4123 รหัส 9678

ลักษณะของหาง
ชื่อผูอ้ อกแบบ
รหัส กขคง

รหัส ขคงก

รหัส คงกข

รหัส งกขค
แบบบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมที่ 2.2
ตอนที่ 2 หน่วยทีก่ ำหนดลักษณะทางพันธุกรรมเกีย่ วข้องกับลักษณะของสิง่ มีชวี ติ อย่างไร

ชื่อ-นามสกุล.....................................................................................ชัน้ .................เลขที่...........กลุม่ ที่..........

 บันทึกผลการทำกิจกรรม
ผลการทำกิจกรรมขึ้นอยู่กับการสุ่มหยิบชิ้นกระดาษที่มีรหัสภาพของแต่ละลักษณะ เช่น สุ่มหยิบได้ชิ้น
กระดาษที่มีรหัสภาพที่กำหนดแต่ละลักษณะดังนี้

ลักษณะของลำตัวได้รหัสภาพ

ลักษณะของหัวได้รหัสภาพ

ลักษณะของใบหูได้รหัสภาพ

ลักษณะของขาได้รหัสภาพ

ลักษณะของหางได้รหัสภาพ

 เมือ่ นำรหัสภาพแต่ละลักษณะไปเทียบกับตารางแปลรหัสแล้วนำไปวาดภาพสุนขั ทัง้ ตัว จะได้สนุ ขั ที่มี


ลักษณะดังนี้

.
แนวทางการบันทึกการค้นคว้ากิจกรมที่ 2.2 ตอนที่ 1 ออกแบบตารางการแปลรหัสภาพลักษณะของสุนขั

คำชี้แจง: ให้นักเรียนออกแบบลักษณะลำตัว หัว ใบหู ขา และหาง จำนวน 4 แบบ *โดยไม่ซ้ำกัน


ลักษณะของลำตัว ลักษณะของหัว
รหัส ABCD รหัส WXYZ

รหัส BCDA รหัส XYZW

รหัส CDAB รหัส YZWX

รหัส DABC รหัส ZWXY

ลักษณะของใบหู ลักษณะของขา
รหัส 1234 รหัส 6789

รหัส 2341 รหัส 7896

รหัส 3412 รหัส 8967

รหัส 4123 รหัส 9678

ลักษณะของหาง
ชื่อผูอ้ อกแบบ
รหัส กขคง

รหัส ขคงก

รหัส คงกข

รหัส งกขค
แนวทางการบันทึกการค้นคว้ากิจกรมที่ 2.2 ตอนที่ 2
หน่วยทีก่ ำหนดลักษณะทางพันธุกรรมเกีย่ วข้องกับลักษณะของสิง่ มีชวี ติ อย่างไร

 บันทึกผลการทำกิจกรรม
ผลการทำกิจกรรมขึ้นอยู่กับการสุ่มหยิบชิ้นกระดาษที่มีรหัสภาพของแต่ละลักษณะ เช่น สุ่มหยิบได้ชิ้น
กระดาษที่มีรหัสภาพที่กำหนดแต่ละลักษณะดังนี้
ลักษณะของลำตัวได้รหัสภาพ ABCD
ลักษณะของหัวได้รหัสภาพ YZWX
ลักษณะของใบหูได้รหัสภาพ 4123
ลักษณะของขาได้รหัสภาพ 9678
ลักษณะของหางได้รหัสภาพ ขคงก

 เมือ่ นำรหัสภาพแต่ละลักษณะไปเทียบกับตารางแปลรหัสแล้วนำไปวาดภาพสุนขั ทัง้ ตัว จะได้สนุ ขั ที่มี


ลักษณะดังนี้

.
เฉลยใบกิจกรรมที่ 2.2 หน่วยทีก่ ำหนดลักษณะทางพันธุกรรมเกีย่ วข้องกับลักษณะของสิง่ มีชวี ติ อย่างไร

เฉลยคำถามท้ายกิจกรรม

1. แบบจำลองรหัสภาพนีใ้ ช้แทนหน่วยทีก่ ำหนดลักษณะทางพันธุกรรมของสิง่ มีชวี ติ ชนิดใด


แนวคำตอบ สุนัข

2. รหัสภาพแบบต่าง ๆ ทีห่ ยิบโดยการสุม่ แต่ละครัง้ แทนลักษณะใดของสิง่ มีชวี ติ


แนวคำตอบ ลักษณะลำตัว หัว ใบหู ขา และหาง

3. ภาพสิง่ มีชวี ติ ของนักเรียนแต่ละกลุม่ เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด


แนวคำตอบ อาจเหมือนกันหรือแตกต่างกัน แต่ส่วนใหญ่น่าจะมีลักษณะแตกต่างกัน เช่น ลักษณะหาง
ของสุนัข บางกลุ่มมีปลายหางม้วนเข้าหาลำตัว บางกลุ่มมีขนฟูอยู่ที่ปลายหาง บางตัวหางชี้ขึ้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับผล
ที่ได้จากการสุ่มหยิบชิ้นกระดาษที่มีรหัสภาพของแต่ละกลุ่ม

4. สิง่ ใดเป็นตัวกำหนดลักษณะทางพันธุกรรมของสิง่ มีชวี ติ


แนวคำตอบ รหัสภาพบนชิ้นกระดาษเป็นตัวกำหนดลักษณะของสิ่งมีชีวิต

3. จากกิจกรรมนี้ สรุปได้วา่ อย่างไร


แนวคำตอบ หน่วยที่กำหนดลักษณะทางพันธุกรรม ทำให้สิ่งมีชีวิตแสดงลักษณะต่าง ๆ ออกมา การที่
สิ่งมีชีวิตมีหน่วยที่กำหนดลักษณะทางพันธุกรรมแตกต่างกัน มีผลทำให้สิ่งมีชีวิตมีลักษณะแตกต่างกัน
บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก ..........................................................................
.......................................................................................................................................................
2. ผลการเรียนของนักเรียน
 จำนวนนักเรียนที่ผ่านการประเมิน .......................... คน คิดเป็นร้อยละ .................................
 จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................... คน คิดเป็นร้อยละ .................................
 อื่น ๆ .............................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา ควรปรับปรุงในเรื่อง.........................................
 มีนักเรียนทำใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกำหนดเวลา คือ..........................................................
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียนคือ...........................................................................................................
 อื่น ๆ .............................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนำแผนไปปรับปรุง เรื่อง ......................................................................................................
.......................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ..................................................................................
.......................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ปัญหานักเรียนที่ไม่สนใจเรียนคือ.................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ

ลงชื่อ ........................................... ผู้บันทึก


(นางสาวณัฎฐ์รฎา ยงศิริ)
ครูผู้สอน

บันทึกหลังการสอน ตามแผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ ได้รับการพิจารณาจากกลุ่มงานวิชาการแล้ว

ลงชื่อ ...........................................
(นางพันณี จิตรวิเศษสม)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้

ลงชื่อ ...........................................
(นางพันณี จิตรวิเศษสม)
ปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ

You might also like