You are on page 1of 24

รายงาน

เรื่อง การศึกษาปริมาณอาหารเลีย้ งจุลนิ ทรีย์ที่เหมาะสมและประสิ ทธิภาพของ


จุลนิ ทรีย์สังเคราะห์ ต่อการเจริญเติบโตของพืช

เสนอ
คุณครู สุพตั รา ใจดี

จัดทำโดย
เด็กหญิงธัญวรัตม์ ชาญกิจกรรณ์ เลขที่ 18
เด็กหญิงธันยพร อำภาพันธ์ เลขที่ 19
เด็กหญิงสาริ ศา ฐานะวุฑฒ์ เลขที่ 31
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/1

รายงายงานฉบับนี้ เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาโลกทั้งระบบ (ว 22208)


โรงเรี ยนอุทยั วิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดอุทยั ธานี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4
1

กิตติกรรมประกาศ
รายงานฉบับนี้ สำเร็ จลุล่วงได้ดว้ ยความกรุ ณาจากคุณครู สุพตั รา ใจดี อาจารย์ที่ปรึ กษาโครง
งานที่ได้ให้คำเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่ องต่างๆ มาโดยตลอด จนโครงงานเล่มนี้
เสร็ จสมบูรณ์
สุ ดท้ายนี้ขอขอบพระคุณโรงเรี ยนอุทยั วิทยาคม จังหวัดอุทยั ธานี ที่เป็ นแหล่งให้การศึกษา
เรี ยนรู้และการดำรงชีวิตในสังคมของผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ทั้งนี้เพราะเป็ นองค์ประกอบสำคัญ
ส่ วนหนึ่งที่ทำให้โครงงานครั้งนี้สำเร็ จลุล่วงได้ดว้ ยดี คณะผูจ้ ดั ทำขอขอบคุณเป็ นอย่างสู งไว้ ณ ที่น้ ี
ด้วย

คณะผูจ้ ดั ทำโครงงาน
2

ชื่อเรื่อง การศึกษาปริ มาณอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยท์ ี่เหมาะสมและประสิ ทธิ ภาพของ


จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์ต่อการเจริ ญเติบโตของพืช
ผู้จัดทำ เด็กหญิงธัญวรัตม์ ชาญกิจกรรณ์
เด็กหญิงธันยพร อำภาพันธ์
เด็กหญิงสาริ ศา ฐานะวุฑฒ์
อาจารย์ที่ปรึกษา นางสาวสุ พตั รา ใจดี
ปี การศึกษา 2562

บทคัดย่ อ
รายงานเรื่ องการศึกษาปริ มาณอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยท์ ี่เหมาะสมและประสิ ทธิ ภาพของ
จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์ต่อการเจริ ญเติบโตของพืช มีวตั ถุประสงค์ดงั นี้ เพื่อศึกษาปริ มาณที่เหมาะสม
ของอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง เพื่อศึกษาประสิ ทธิ ภาพของจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงต่อ
การเจริ ญเติบโตของพืช เมื่อคณะผูจ้ ดั ทำได้ทำการศึกษาหาปริ มาณอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยท์ ี่เหมาะสม
โดยสังเกตจากการเปลี่ยนแปลงของสี พบว่าจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงสู ตรที่ 1 ที่มีปริ มาณอาหารเลี้ยง
จุลินทรี ยจำ์ นวน 1 ช้อนโต๊ะ มีเปลี่ยนแปลงของสี ของจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงมากที่สุด รองลงมาคือ
สู ตรที่ 2 ที่มีปริ มาณอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยจำ
์ นวน 2 ช้อนโต๊ะ และสู ตรที่ 3 ที่มีปริ มาณอาหารเลี้ยง
จุลินทรี ยจำ ์ นวน 3 ช้อนโต๊ะ และนำจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงสู ตรที่ 1 ที่มีปริ มาณอาหารที่เหมาะสม
ไปทดสอบกับผักบุง้ โดยตรวจวัดจากความสู ง พบว่าจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงมีประสิ ทธิ ภาพที่ดี
3

สารบัญ
เรื่อง หน้ า
กิตติกรรมประกาศ ก
บทคัดย่อ ข
สารบัญ ค
สารบัญรู ปภาพ ง
สารบัญตาราง จ
บทที่ 1 บทนำ 1-2
- ที่มาและความสำคัญ 1
- คำถามการวิจยั 1
- วัตถุประสงค์ 1
- สมมติฐาน 1-2
- ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง 2
- นิยามคำศัพท์เฉพาะ 2
- ขอบเขตของการศึกษา 2
- ประโยชน์ที่ได้รับ 2
บทที่ 2 เอกสารที่เกีย่ วข้ อง 3-8
- จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง 3-4
- อาหารเลี้ยงจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง 5-8
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน 9 - 10
- วัสดุอุปกรณ์ 9
- วิธีการดำเนินงาน 9 - 10
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน 11
บทที่ 5 สรุ ป อภิปราย และข้ อเสนอแนะ 13
- สรุ ปผลการทดลอง 13
- อภิปรายผลการทดลอง 13 - 14
- ข้อเสนอแนะ 14
บรรณานุกรม 15
ภาคผนวก 16 - 19
สารบัญรู ปภาพ
ภาพที่ หน้ า
ภาพที่ 1 นำน้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติใส่ ลงในขวดพลาสติก 17
ภาพที่ 2 จัดทำอาหารเลี้ยงจุลินทรี ย ์ 17
4

ภาพที่ 3 ใส่ อาหารเลี้ยงจุลินทรี ย ์ ลงไปในขวดพลาสติกที่เตรี ยมไว้ 18


ภาพที่ 4 ทำอีก 2 สูตร 18
ภาพที่ 5 นำไปตั้งไว้บริ เวณกลางแจ้งที่มีแดดส่ องถึง 19
ภาพที่ 6 นำจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงที่ได้ท้ งั สามขวดไปรดกับผักบุง้ 19
ภาพที่ 7 สังเกตการเจริ ญเติบโตของผักบุง้ จากความสู งของลำต้น 20

สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้ า
ตารางที่ 1 ผลการศึกษาปริ มาณอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง 11
ตารางที่ 2 แสดงผลศึกษาประสิ ทธิภาพของจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง 12
1

บทที่ 1
บทนำ
ที่มาและความสำคัญ
เกษตรกรรมเป็ นอาชีพส่ วนใหญ่ของไทยตัง่ แต่อดีตถึงปั จจุบนั และเป็ นพื้นฐานในการ
พัฒนาเศรษฐกิจ ผลผลิตที่ได้จึงต้องมีประสิ ทธิ ภาพและปลอดภัยต่อผูบ้ ริ โภคอย่างไรก็ตาม
เกษตรกรชาวไทยยังคงเลือกภัณฑ์เคมีเกษตรที่มีราคาสู งส่ งผลกระทบต่อราคาต้นทุนการผลิตสู งขึ้น
และก่อให้เกิดปัญหาดินสิ่ งแวดล้อม เช่น สารเคมีตกค้างในผลผลิต ตลอดจนการปนเปื้ อนของสาร
เคมีในแหล่งน้ำหรื อดิน และปัญหาต่อความปลอดภัยในสุ ขภาพของเกษตรกรและผูบ้ ริ โภคซึ่ งจะส่ ง
ผลให้เกิดอันตรายต่อสุ ขภาพเนื่องจากได้รับสารเคมีเข้าไปในร่ างกาย
ในปัจจุบนั การใช้ผลิตภัณฑ์เคมีเกษตรมีแนวโน้มลดลง เนื่ องจากผูค้ นตระหนักถึงปั ญหาดัง
กล่าว จึงหันมาเลือกใช้แนวความคิดเกษตรอินทรี ยม์ ากขึ้น เช่น การใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ ปุ๋ ยอินทรี ย ์
งดหรื อลดการใช้สารเคมีเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช เป็ นต้น
จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงสามารถช่วยตรึ งไนโตเจนในดิน และเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช
ทำให้พืชแข็งแรงแล้วโตเร็ ว ช่วยในการย่อยธาตุอาหารและวัตถุอินทรี ยใ์ นดิน เพื่อให้พืชดูดซึ มไป
ใช้ได้อย่างง่ายดาย ป้ องกันพืชโดยการทำลายจุลินทรี ยไ์ ม่ดีในดิน ที่เป็ นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคพืช
จากสาเหตุดงั กล่าว ดังนั้นคณะผูจ้ ดั ทำจึงใช้แนวความคิดที่จะจัดทำจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงโดยใช้
อาหารเลี้ยงได้แก่ ไข่ไก่ น้ำปลา และเครื่ องดื่มชูกำลัง เพื่อช่วยลดปั ญหาจากการใช้สารเคมี อีกทั้ง
เป็ นทางเลือกให้กบั เกษตรกรและผูส้ นใจต่อไป

คำถามการวิจัย
1. หากใช้น ้ำจากแหล่งน้ำที่ต่างกันจะส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการใช้งานของจุลินทรี ย ์
สังเคราะห์แสงหรื อไม่
2. อาหารเลี้ยงจุลินทรี ยส
์ งั เคราะห์แสงสามารถทำจากอะไรได้อีกบ้าง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาปริ มาณที่เหมาะสมของอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง
2. เพื่อศึกษาประสิ ทธิภาพของจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงต่อการเจริ ญเติบโตของพืช
สมมติฐาน
1. จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงสู ตรที่ 1 มีปริ มาณอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยท์ ี่เหมาะสม
2. พืชมีการเจริ ญเติบโตได้ดีเมื่ อใส่ จุลินทรี ยส
์ งั เคราะห์แสง

ตัวแปรที่เกีย่ วข้ อง
ตอนที่ 1 ศึกษาปริมาณอาหารเลีย้ งจุลนิ ทรีย์สังเคราะห์ แสงต่ อสี ที่เปลีย่ นแปลง
ตัวแปรต้น ปริ มาณอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง
ตัวแปรตาม สี ของจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง
2

ตัวแปรควบคุม ระยะเวลาในการทดลอง ปริ มาณส่ วนผสมที่ใช้


ทำอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง
ตอนที่ 2 ศึกษาประสิทธิภาพของจุลนิ ทรีย์สังเคราะห์ แสงต่ อการเปลีย่ นแปลงของพืช
ตัวแปรต้น ชุดการทดลอง
ตัวแปรตาม ความสูงของพืช
ตัวแปรควบคุม ระยะเวลาในการทดลอง ชนิดพืช ชนิดดิน

นิยามคำศัพท์ เฉพาะ
1. จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง คือ จุลินทรี ยท์ ี่อยูใ่ นกลุ่มของจุลินทรี ยส์ ี ม่วง มักจะพบบ่อยในบริ เวณ
น้ำพุร้อน หรื อในบ่อปิ ดที่น ้ำไม่มีการเคลื่อนไหว ในทะเลสาปหรื อในแหล่งที่มีก๊าซซัลเฟอร์อยูเ่ ยอะ
เช่น ในบ่อน้ำพุร้อน นอกจากนี้ยงั พบตามแหล่งน้ำเสี ย บ่อบำบัดน้ำเสี ย อีกด้วย

ขอบเขตของการศึกษาค้ นคว้ า
ขอบเขตด้ านเนือ้ หา
1. อาหารเลี้ยงจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง ได้แก่ ไข่ไก่ เครื่ องดื่มชูกำลัง น้ำปลา
2. พืชที่ใช้ทดสอบประสิ ทธิ ภาพ ได้แก่ ผักบุง้
ขอบเขตด้ านระยะเวลา
เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2562 – เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2563

ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ


1. ได้ทราบถึงคุณประโยชน์ของส่ วนประกอบที่นำทำจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง
2. ได้ทราบถึงประโยชน์ และได้รับความรู ้เกี่ยวกับจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง
3. สามารถต่อความคิดโดยนำจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง ไปจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้
บทที่ 2
เอกสารที่เกีย่ วข้ อง
1. จุลนิ ทรีย์สังเคราะห์ แสง
คือ แบคทีเรี ยที่พบกระจายทัว่ ไปในธรรมชาติ ตามแหล่งน้ำจืด น้ำเค็ม ทะเลสาบน้ำเค็ม น้ำ
ทะเลสาบที่มีความเป็ นด่าง น้ำที่มีความเป็ นกรดน้ำพุร้อน น้ำทะเลบริ เวณขั้วโลกเหนือ นอกจากนี้
ยังพบตามแหล่งน้ำเสี ย บ่อบำบัดน้ำเสี ย บทบาทของจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง มีความสำคัญใน
กระบวนการนำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไปใช้ และการตรึ งไนไตรเจน นอกจากนี้ ยังมีบทบาท
สำคัญในห่วงโซ่อาหารซึ่ งสัตว์ขนาดเล็ก ปลา กุง้ หอย และปูสามารถนำจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงมา
ใช้เป็ นอาหารได้ นอกจากนี้ ในน้ำเสี ยจากบ้านเรื อนและน้ำเสี ยจากการทำปศุสตั ว์สามารถบำบัดด้วย
รศ.ดร. นภาวรรณ นพรัตนราภรณ์ อาจารย์ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผูเ้ ชี่ยวชาญงานวิจยั ด้านจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงมากว่า 30 ปี อธิ บายว่า
3

คนเรารู้จกั ใช้ประโยชน์จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง ในด้านการเกษตรและสิ ่ งแวดล้อมโดยอาศัย


กระบวน การต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ เช่นในการบำบัดน้ำเสี ยซึ่ งมีสารอินทรี ยต์ ่างๆ อยูม่ าก
แบคทีเรี ย เหล่านี้ ก็จะใช้สารเหล่านั้นในการดำรงชีวิตและทำให้น ้ำเสี ยดีข้ ึน
ความมหัศจรรย์ของแบคทีเรี ยชนิดนี้ อยูต่ รงกระบวนการที่อยูใ่ นเซลล์ เมื่ออยูใ่ นสภาวะที่มี
แสงก็เกิดกระบวนการที่ใช้แสง ถ้าสิ่ งแวดล้อมไม่มีแสงก็เปลี่ยนมาใช้อีกกระบวนการที่ไม่ใช้แสง
ทำให้มี ชีวิตอยูไ่ ด้ เพราะฉะนั้นเราก็ใช้ประโยชน์จากการกระบวนการดำรงชีวิตตรงนี้ ในแง่ของ
การเลี้ยง แง่ของการบำบัดน้ำเสี ย เอามาใช้ในการบำบัดดินโดยไม่ตอ้ งเอามาพักในบ่อซึ่ งเป็ นระบบ
บำบัด
1.1 ประโยชน์ ของจุลนิ ทรีย์สังเคราะห์ แสง
ปัจจุบนั ที่ประเทศญี่ปนได้ ุ่ นำจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงใช้กบั การ เกษตร ซึ่ งพิสูจน์แน่ชดั
ว่าใช้ได้ผลจริ ง โดยใช้เพิ่มผลผลิตข้าวที่เพิ่มถึง 3 เท่า และทำให้เมล็ดข้าวใหญ่ ขึ้น 2 เท่า ทั้งนี้
เพราะแบคทีเรี ยช่วยปรับสภาพดินให้เหมาะกับการดูดซึ มสารอาหารของรากข้าวโดย ย่อยสลายสาร
เคมีบางตัวที่ต่อต้านการเจริ ญเติบโตของรากข้าว ซึ่ งใช้แบคทีเรี ยในรู ปส่ วนผสมของปุ๋ ย อินทรี ย ์
จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงยังใช้เป็ นอาหารเสริ มให้กบั สัตว์เนื่องจากแบคทีเรี ยมีโปรตีนที่จำเป็ น ต่อ
สัตว์ อีกทั้งแบคทีเรี ยบางสายพันธุ์ยงั ผลิตสารแคโรทีนอยด์ (carotenoid) ซึ่ งมีสีแดงออกส้มเมื่อ
ผสมอาหารให้ไก่กินจะช่วยเพิ่มสี ให้ไข่แดงของไก่ สารดังกล่าวได้จากธรรมชาติจึงมีความปลอดภัย
กว่า สารสังเคราะห์
สรุ ปประโยชน์ของการใช้จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง โดยรวมมีดงั นี้
1.1.1 ช่วยย่อยสลายของเสี ยในแปลงนา โดยเฉพาะกลุ่มก๊าซไข่เน่า หรื อ
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง จะเข้าไปทำลายกำจัดก๊าซไฮโดรเจน ซึ่ งเป็ นก๊าซหลัก
ของก๊าซไข่เน่าโดยนำของเสี ยนั้นมาเป็ นพลังงานใช้ในการเจริ ญเติบโตและแบ่งเซลล์ ในระหว่าง
กระบวนการเหล่านี้ จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง จะเข้าไปขับของเสี ยออกมาให้อยูใ่ นรู ปกลุ่มโกส
ฮอร์โมน ที่มีประโยชน์ต่อพืช
1.1.2 ช่วยลดสภาวะโลกร้อน จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง จะเข้าไปทำลายและย่อย
สลายกลุ่มก๊าซมีเทนที่มีอยูใ่ นแปลงไร่ นาทำให้โครงสร้างของก๊าซมีเทนเสี ยไป ให้เหลือแต่ธาตุ
คาร์บอนซึ่ งสามารถย่อยสลายได้โดยธรรมชาติ
1.1.3 ช่วยกระตุน้ ภูมิคุม้ กันโรคพืชได้ดีและมีระบบรากฝอยที่ดี การใช้จุลินทรี ย ์
สังเคราะห์แสง ทำให้เปลือกหรื อลำต้นแข็งแรง ทนต่อการกัดกินของแมลงและช่วยกระตุน้ เซลล์
เจริ ญบริ เวณปลายรากพืชให้ขยายตัวและแตกแขนงได้ดีทำให้เกิดรากฝอยที่หากินเก่งจำนวนมากจึง
ทำให้พืชมีการสะสมอาหารได้ดี ส่ งผลให้เพิ่มผลผลิตมากขึ้น
1.1.4 สามารถใช้แทนปุ๋ ยยูเรี ยโดยใช้หลักการย่อยสลายกลุ่มก๊าซของเสี ยให้เป็ น
ธาตุอาหารหลักของพืชได้และเมื่อใช้เป็ นประจำและต่อเนื่อง สามารถลดการใช้อาหารเสริ ม หรื อปุ๋ ย
สู ตรต่างๆ ลงได้ ทำให้ตน้ ทุนในการผลิตลดลง และมีกำไรเพิ่มมากขึ้นทั้งยังสามารถใช้ร่วมกับน้ำ
หมักชีวภาพ หรื อปุ๋ ยสูตรต่างๆ จะทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น และคุณภาพผลผลิตดีข้ ึนด้วย
4

2. อาหารเลีย้ งจุลนิ ทรีย์สังเคราะห์ แสง


2.1 ไข่ไก่
2.1.1 ส่ วนประกอบของไข่
ส่ วนประกอบของไข่ท้ งั ใบมี เปลือกไข่และเยือ่ เปลือกไข่ร้อยละ 11 ไข่ขาว
ร้อยละ 58 และไข่แดงร้อยละ 31
1) เปลือกไข่ (shell)
มีสีน ้ำตาลหรื อสี ขาวขึ้นอยูก่ บั ชนิดของพันธุ์แม่ไก่ สี ไข่ไม่มีผลต่อ
คุณค่าทางโภชนาการของไข่ เช่น ไข่ไก่พนั ธุ์เล็กฮอร์นมีเปลือกสี ขาว ส่ วนไข่ไก่พนั ธุ์โรดไอร์แลนด์
มีเปลือกสี น ้ำตาล ส่ วนประกอบสำคัญของเปลือกไข่ คือ คอลลาเจน (collagen) สานเป็ นตัวตาข่าย
และมีหินปูน (แคลเซียมคาร์บอเนต) ทำให้เปลือกแข็ง เปลือกไข่จะมีรูขนาดเล็กมาก มองด้วยตา
เปล่าไม่เห็น เมื่อไข่ออกจากแม่ไก่มาใหม่ จะมีเมือกเคลือบที่ผวิ ของเปลือกไข่ เพื่อป้ องกันไม่ให้
อากาศและน้ำผ่านเข้าไปได้ เปลือกไข่ในช่วงแรก จึงมีลกั ษณะเป็ นนวล เมื่อเก็บไว้นานๆ เมือกเหล่า
นี้จะแห้งไป อากาศและความชื้นสามารถแทรกผ่านรู เล็กที่เปลือกไข่ได้ ทำให้ไข่จะเสื่ อมคุณภาพ
การเปลี่ยนแปลงของไข่ขาว และการเปลี่ยนของกลิ่นรสตลอดเวลา เนื่ องจาก การสู ญเสี ยน้ำ การสู ญ
เสี ยก๊าซ เปลือกไข่มีการป้ องกันการเน่าเสี ยจากจุลินทรี ย ์ เมื่อไม่มีเปลือกไข่ จะเกิดการเสื่ อมเสี ย
อย่างรวดเร็ ว จึงมักเก็บไข่ท้ งั เปลือก การเก็บไข่ไว้ในที่มีอากาศเหม็น ไข่อาจดูดเอากลิ่นสิ่ งที่เหม็นที่
อยูร่ อบๆเข้าไปที่รูของเปลือก
2) เยือ่ หุม้ ไข่
มีอยูด่ ว้ ยกัน 2 ชั้น ชั้นนอกที่ติดเปลือกมีชื่อเรี ยกว่า shell membrane ชั้น
ในที่ติดกับไข่ขาวเรี ยกว่า egg membrane เยือ่ ชั้นนอกและชั้นในจะชิดกันตลอด แต่แยกกันที่ดา้ น
ป้ านของไข่ซ่ ึ งมีโพรงอากาศ
โพรงอากาศ (air cell) เป็ นช่องว่างที่อยูบ่ ริ เวณด้านป้ านของไข่ อยูร่ ะหว่างเยือ่ หุม้ ชั้นนอกและเยือ่
หุม้ ชั้นใน เมื่อไข่ออกมาใหม่ๆ อุณหภูมิของไข่ยงั สู ง จึงไม่มีช่องว่าง ต่อเมื่อเมื่อไข่เย็นลง ของเหลว
ภายในไช่หดตัว ทำให้เกิดเป็ นโพรงอากาศขึ้น และถ้าหากมีน ้ำระเหยออกไปมาก ก็จะทำให้โพรง
อากาศใหญ่ข้ ึนด้วย
3) ไข่ขาว (egg white)
เป็ นส่ วนประกอบภายในไข่ ที่เป็ นส่ วนของเหลวข้นหนืด (firm) ล้อม
รอบไข่แดง ไข่ขาวชั้นนอกส่ วนใส (thin egg white) เป็ นไข่ขาวที่เป็ นของเหลวใส (clear) โปร่ งแสง
(transparent) ล้อมรอบไข่ขาวชั้นนอกส่ วนข้น (thick egg white) ส่ วนของเหลวที่ขน้ หนืดอีกชั้น
หนึ่ง ไข่ขาวมีส่วนประกอบหลักคือ ด้วยน้ำและโปรตีน
แอลบูมิน (albumin) มีไขมันน้อยมาก ลักษณะที่เป็ นเมือกของไข่ขาวข้น เกิดจากคาร์โบไฮเดรต
โมเลกุลใหญ่
4) เยือ่ หุม้ ไข่แดง (vitelline membrane)
5) ไข่แดง (yolk)
5

เป็ นส่ วนสำรองอาหารไว้ให้ลูกไก่ ซึ่ งจะเจริ ญจากเชื้อที่ผสมแล้ว ไข่


แดงเกิดก่อนจากรังไข่ เมื่อเติบโตและสุ กแล้วจึงหลุดออกจากรังไข่ ผ่านตามท่อไข่ซ่ ึ งจะสร้างไข่ขาว
ออกหุม้ ไข่แดงจะอยูก่ ลางฟองโดยการยืดของเยือ่ ที่เป็ นเกลียวแข็ง อยูด่ า้ นหัวและท้ายของไข่แดง
และยืน่ เข้าไปในไข่ขาว
2.1.2 คุณค่าทางโภชนาการ
ไข่ไก่มีโปรตีน เลซิ ธิน (lecithin) วิตามิน A วิตามิน B1 วิตามิน B2 วิตามิน
D แคลเซียม และธาตุเหล็ก ล้วนเป็ นสารโภชนาการที่ร่างกายต้องการ อย่างเช่น เลซิ ธิน มีคุณ
ประโยชน์ในการบำรุ งสมอง เพราะส่ วนประกอบสำคัญของสมองคือเลซิ ธิน ถ้ารู ้สึกสมองไม่สดใส
เมื่อย จะต้องเสริ มเลซิธิน ไข่แดงอุดมด้วยเลซิ ธิน สามารถช่วยบำรุ งสมอง ทำให้สมองฟื้ นฟูความ
สดใสได้ วิตามิน B มีประโยชน์คลายความเครี ยด ช่วยทำให้น้ำตาลกลายเป็ นพลังงาน ในไข่แดงทุก
100 กรัม มีธาตุเหล็กถึง 150 มิลลิกรัม สามารถช่วยให้ร่างกายสร้างเซลล์เม็ดเลือดได้มากขึ้น
2.2 น้ำปลา
น้ำปลา เป็ นเครื่ องปรุ งรสที่ได้จากการหมักปลา กับเกลือให้มีรสเค็มและกลิ่นชวนรับ
ประทาน เป็ นส่ วนผสมสำคัญของแกงและน้ำจิ้มหลายชนิด น้ำปลาเป็ นส่ วนผสมสำคัญของอาหาร
ในประเทศเวียดนาม, ไทย, ลาว, กัมพูชา และฟิ ลิปปิ นส์ และใช้ในอีกหลายประเทศในเอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต้ นอกจากนี้น ้ำปลายังใช้เป็ นน้ำจิ้มในรู ปแบบต่าง ๆ เช่น ปลา, กุง้ , หมู และไก่ ส่ วนทาง
ตอนใต้ของจีน จะใช้น ้ำปลาเป็ นส่ วนผสมของน้ำซุปและอาหารตุ๋น ส่ วนชาวแต้จิ๋วเรี ยกว่า หื่ อโหล่ว
เป็ นเคล็ดลับทำให้อาหารอร่ อย เป็ นหนึ่งใน"สามรัตนะของอาหารแต้จิ๋ว" อันประกอบด้วย น้ำปลา,
หัวไชโป๊ และเกี้ยมไฉ่ ขณะที่ภาษาฝรั่งเศสเรี ยกว่า น็อกนัม โดยเรี ยกตามภาษาเวียดนาม
ในประเทศไทย น้ำปลาเชื่อว่าเป็ นนวัตกรรมที่ได้มาจากชาวแต้จิ๋วอพยพ หรื อมาจาก
จีนตอนใต้ เข้ามาสู่ ไทยในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 เมื่อปี พ.ศ. 2456 โดยโรงงานน้ำปลาแห่งแรกชื่อ ทัง่ ซัง
ฮะ ตั้งในจังหวัดชลบุรี เปิ ดขึ้นในปี พ.ศ. 2462
2.2.1 ประเภทของน้ำปลา
น้ำปลาได้มาจากการหมักปลาสดกับเกลือ โดยแบคทีเรี ยในลำไส้ปลาจะย่อย
โปรตีนในตัวปลาให้เป็ นกรดอะมิโนในน้ำปลา ในทางกฎหมายแบ่งน้ำปลาเป็ น 3 ประเภท
1) น้ำปลาแท้ ได้จากการหมักปลาหรื อกากปลา
2) น้ำปลาจากสัตว์อื่น ได้จากการหมักสัตว์น ้ำอื่น ๆ เช่น กุง้ , หอย, หมึก
3) น้ำปลาผสม ได้จากการนำน้ำปลาแท้หรื อน้ำปลาจากสัตว์อื่นมาเจือปน
หรื อเจือจางด้วยสารที่ไม่เป็ นอันตรายต่อผูบ้ ริ โภค น้ำปลาชนิดนี้ตอ้ งมีไนโตรเจนทั้งหมดในน้ำปลา
ตั้งแต่ 4 มิลลิกรัมต่อลิตรขึ้นไป ถ้าน้อยกว่านี้จดั เป็ นน้ำเกลือปรุ งรส
2.2.2 คุณค่าทางโภชนาการของน้ำปลา
น้ำปลาประกอบด้วยเกลือ 27-28 กรัม สารอินทรี ยไ์ นโตรเจน 0.6-2 กรัม
แอมโมเนียม ไนโตรเจน 0.2-0.7 กรัม ใน 100 มิลลิลิตรของน้ำปลา ซึ่ งจะให้ไนโตรเจน ก่ร่างกาย
7.5% จากปริ มาณไนโตร เจนทั้งหมดที่ร่างกายได้รับเข้าไป 40 กรัมต่อคนต่อวัน
น้ำปลาเป็ นแหล่งใหญ่ของแร่ ธาตุ และกรดแอมิโนที่จำเป็ น โดยเฉพาะ
6

ไลซีน ซึ่ งมีปริ มาณสู งพอที่จะทดแทนการขาดไลซี นในคนที่รับประทานข้าวเป็ นอาหารหลักได้


อย่างเพียงพอ และน้ำปลายังมีวิตามินบี 12 ซึ่ งพบน้อยมากในอาหารชนิดอื่น
2.3 เครื่องดืม่ ชู กำลัง
เครื่ องดื่มชูกำลัง (Energy Drink) เป็ นเครื่ องดื่มชนิดหนึ่งที่มีส่วนผสมของสารคาเฟอีน
ในปริ มาณไม่เกิน 50 มิลลิกรัม ต่อ 1 ขวด (100 - 150 มิลลิลิตร) เครื่ องดื่มชนิดนี้ส่วนใหญ่เน้นไป
ทางด้านพลังงาน นักวิทยาศาสตร์ได้ให้พื้นฐานกับเครื่ องดื่มชนิดนี้วา่ เครื่ องดื่มชนิดนี้ มีความใกล้
เคียงกันกับเครื่ องดื่มที่ไม่มีส่วนผสมของคาเฟอีน โดยส่ วนใหญ่แล้วเครื่ องดื่มชนิดนี้ จะนิยมดื่มใน
หมู่ผใู้ ช้แรงงาน และคนที่ทำงานหนักเนื่องจากเมื่อทำงานเสร็ จร่ างกายจะอ่อนเพลีย จึงต้องการ
พลังงานชดเชยกลับมา
2.3.1 ส่ วนประกอบของเครื่ องดื่มชูกำลัง
ส่ วนใหญ่ในเครื่ องดื่มชูกำลังจะมีส่วนผสมที่สำคัญคือ Xanthine , วิตามินบี
และสมุนไพร บางยีห่ ้อก็ใส่ ส่วนผสมเพิ่มเติมเช่น Guarana แปะก๊วย โสม บางยีห่ ้อก็จะใส่ น ้ำตาลใน
ปริ มาณที่สูง บางยีห่ ้อก็ถูกออกแบบให้มีพลังงานต่ำ แต่ส่วนผสมหลักของเครื่ องดื่มชูกำลังก็คือ
คาเฟอีน ซึ่ งเป็ นส่ วนผสมชนิดเดียวกันกับกาแฟหรื อชา
เครื่ องดื่มชูกำลังส่ วนใหญ่จะมีปริ มาตร 237 มิลลิลิตรต่อขวด (ประมาณ 8
ออนซ์) มีสารคาเฟอีนประมาณ 80 มิลลิกรัมต่อ 480 มิลลิลิตร โดยในการทดสอบสู ตรของเครื่ องดื่ม
ชูกำลังนั้น กลูโคสมักเป็ นส่ วนผสมพื้นฐานของเครื่ องดื่มชูกำลังเสมอ
2.3.2 ประโยชน์ของเครื่ องดื่มชูกำลัง
นักวิจยั กล่าวว่า เนื่องจากเครื่ องดื่มชูกำลังมีส่วนผสมของทอรี น ซึ่ งสามารถ
ลดอาการเมาค้าง ลดคอเลสเตอรอล แต่กม็ ีบางรายอ้างสรรพคุณว่า ช่วยส่ งกระแสความรู ้สึกให้ไว
ขึ้น ซึ่ งคล้ายกับสารในนมแม่ ทำให้เครื่ องดื่มของเด็กบางยีห่ อ้ ได้ใส่ สารนี้เข้าไป และยังมีสารอาหาร
ประเภทวิตามินอีกหลายแบบ เช่น วิตามินบี6 ซึ่ งช่วยช่วยบรรเทาการคลื่นไส้อาเจียน และ ช่วย
ร่ างกายสร้างน้ำย่อยในกระเพาะอาหารและแร่ ธาตุแมกนีเซี ยม และวิตามินบี12 ที่มีคุณสมบัติช่วย
สร้างเม็ดเลือดแดง สำหรับเครื่ องดื่มชูกำลังบางยีห่ อ้ ที่มีราคาสู งจะมีส่วนผสมของสารกลูคูโรโน
แลกโตน ซึ่ งเป็ นสารประกอบอีกชนิดหนึ่งของเครื่ องดื่มชูกำลังช่วยทำให้ทุเลาอาการเหนื่อย ช่วย
บำรุ งข้อต่อส่ วนต่างๆ ของร่ างกาย
2.3.3 ผลกระทบของเครื่ องดื่มชูกำลัง
1) ด้านสุ ขภาพ
นักวิชาการหลายท่านออกมากล่าวว่า โทษของเครื่ องดื่มชูกำลังส่ งผลก
ระทบร้ายแรงในด้านจิตใจ เช่น กระสับกระส่ าย มือเท้าสัน่ โดยเฉพาะในเด็ก ในกรณี ดื่มเครื่ องดื่มชู
กำลังร่ วมกับสุ รา จย์จูเลีย เชสเตอร์ อาจารย์ท่านหนึ่งกล่าวว่า คนส่ วนใหญ่ตกเป็ นเหยือ่ ของสุ รา แต่
คนเหล่านั้นก็ยงั พยายามก็จะต่อสู้จากการโฆษณาสุ รา ทำให้เป็ นที่มาของการโฆษณาเครื่ องดื่มชู
กำลังในท้องตลาด สำหรับในสถานศึกษาก็เริ่ มมีเหล้าชูกำลัง เนื่องจากนักศึกษาบางคนต้องการดื่ม
สุ รา แม้วา่ จะผิดกฎหมายก็ตาม โดยเครื่ องดื่มชูกำลังที่ผสมกับสุ รานั้น มีอนั ตรายมากกว่าอาการเมา
ค้าง ถึงแม้จะเป็ นเครื่ องดื่มที่ได้รับความนิยมก็ตาม ด้านแทมมี่ ลูว ์ ผูช้ ่วยผูส้ นับสนุนสุ ขภาพ ของ
7

สำนักงานสุ ขภาพนักเรี ยน กล่าวว่า เครื่ องดื่มชนิดนี้ เมื่อดื่มเข้าไปแล้วจะไม่รู้สึกอ่อนล้าหรื อเพลีย


แต่จะเป็ นอันตรายต่อเยาวชน เนื่ องจากเยาวชนจะเข้าใจผิดว่าเครื่ องดื่มชนิดนี้ ดื่มแล้วจะไม่เป็ น
อันตราย อาการที่เกิดขึ้นได้แก่ เกิดอาการขาดน้ำ เนื่องจากฤทธิ์ของคาเฟอีนและแอลกอฮอล์ผสมกัน
(ส่ วนใหญ่คนจะเข้าใจผิดว่าการผสมเครื่ องดื่ม 2 ชนิดเข้าด้วยกันจะช่วยแก้อาการเมาค้างได้) แต่ใน
การทดลองนำยากระตุน้ ประสาทผสมกับยากดประสาท ปรากฏว่าไม่เกิดอาการเมาค้างแต่อย่างใด
สำหรับผลการวิจยั จากประเทศออสเตรเลียก็ระบุวา่ การดื่มเครื่ องดื่มชูกำลังอาจเป็ นอันตรายถึงชีวิต
สำหรับคนที่มีอาการเครี ยด มีความดันโลหิ ตสู ง หรื อมีระบบการทำงานของระบบหลอดเลือด
บกพร่ อง สามารถทำให้เป็ นโรคหลอดเลือดไปเลี้ยงสมองอุดตัน ได้ ทำให้มีนกั วิชาการหลายท่าน
แนะนำว่าไม่ควรดื่มเครื่ องดื่มชูกำลังวันละ 2 ขวด
2) ด้านจิตใจ และพฤติกรรม
ในปัจจุบนั เครื่ องดื่มชูกำลังเริ่ มมีการอวดอ้างสรรพคุณมากขึ้น และ
ส่ วนผสมเครื่ องดื่มชูกำลังก็ใส่ ส่วนผสมที่มากขึ้น โดยเฉพาะคาเฟอีน กัวรานาที่มีปริ มาณมากขึ้น
ทำให้มีนกั วิชาการออกมากล่าวว่า การดื่มเครื่ องดื่มชูกำลังมากๆ ในระยะเวลาติดต่อกันอาจมีความ
เสี่ ยงที่จะเกิดอุบตั ิเหตุระหว่างการทำงาน หรื อการขับขี่รถยนต์ ถ้าหากดื่มในปริ มาณมากเกินไปอาจ
ส่ งผลกระทบต่อจิตประสาท และยังได้กล่าวอีกว่า เครื่ องดื่มชูกำลัง 1 ขวด มีสารคาเฟอีนน้อยกว่า
กาแฟ 1 ถ้วย แต่สามารถดื่มได้ง่ายกว่า ทำให้กงั วลว่า วัยรุ่ นจะไปติดยาเสพติด หรื อไม่กไ็ ปมีเพศ
สัมพันธ์ตามมาต่อ จนมีการสัง่ ห้ามจำหน่ายเครื่ องดื่มชูกำลังบางยีห่ อ้ เช่น สไปรก์ ชูตเตอร์ ที่ทำให้
เด็กนักเรี ยน 4 คนในรัฐฟลอริ ดามีอาการใจสัน่ ผิดปกติจนต้องถูกนำตัวส่ งโรงพยาบาล เพื่อป้ องกัน
ปั ญหาทางด้านสุ ขภาพและจิตใจที่จะตามมา และทำให้รัฐบาลอังกฤษออกมาประกาศห้ามขาย
เครื่ องดื่มชูกำลังในโรงเรี ยน โดยเฉพาะโรงเรี ยนในเมื องเวสต์ซสั เซ็กส์ เนื่ องจากเครื่ องดื่มชนิดนี้
ทำให้เด็กนักเรี ยนหลายคนมีพฤติกรรมก้าวร้าวมากขึ้น

บทที่ 3
วิธีการดำเนินโครงงาน
ในการจัดทำโครงงานการศึกษาหาอัตราส่ วนที่เหมาะสมของอาหาร และทดสอบ
ประสิ ทธิภาพของจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงต่อการเจริ ญเติบโตของพืช คณะผูจ้ ดั ทำโครงงานมีวิธีการ
ดำเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้

3.1 วัสดุและอุปกรณ์ การดำเนินงาน


8

3.1.1 อาหารเลี้งจุลินทรี ย ์ ได้แก่ ไข่ไก่ น้ำปลา เครื่ องดื่มชูกำลัง


3.1.2 น้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติ
3.1.3 ขวดพลาสติกขนาด 1.5 ลิตร
3.1.4 อุปกรณ์เกษตร ได้แก่ อิฐบล็อก จอม เสี ยม บัวรดน้ำ
3.1.5 เมล็ดพันธุ์ผกั บุง้
3.1.6 ไม้บรรทัด
3.1.7 ถ้วย และช้อนโต๊ะ

3.2 ขั้นตอนการดำเนินงาน
ตอนที่ 1 ศึกษาปริมาณอาหารเลีย้ งจุลนิ ทรีย์สังเคราะห์ แสงต่ อสี ที่เปลีย่ นแปลง
3.2.1 นำน้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติใส่ ลงในขวดพลาสติกขนาด 1.5 ลิตร จำนวน 3 ขวด แล้ว
ตั้งตากแดดทิ้งไว้ 4 วัน
3.2.2 ทำอาหารเลี้ยงจุลินทรี ย ์ โดยตอกไข่ใส่ ถว้ ยเป็ นจำนวน 1 ฟอง เติมน้ำปลาจำนวน
1 ช้อนโต๊ะ และเติมเครื่ องดื่มชูกำลังจำนวน 1 ฝา จากนั้นคนให้เข้ากัน
3.2.3 ใส่ อาหารเลี้ยงจุลินทรี ย ์ จากข้อ 3.2.2 จำนวน 1 ช้อนโต๊ะลงไปในขวดพลาสติกที่ 1
ที่เตรี ยมไว้
3.2.4 นำไปตั้งไว้บริ เวณกลางแจ้งที่มีแดดส่ องถึงเป็ นระยะเวลา 3 สัปดาห์ สังเกตสี ที่
เปลี่ยนแปลงและบันทึกผล เพื่อหาว่าปริ มาณอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยข์ องจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงสู ตร
ใดเหมาะสมที่สุด
3.2.5 ทำซ้ำขั้นตอนที่ 3.2.3 – 3.2.4 โดยเพิ่มปริ มาณอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยเ์ ป็ น 2 และ 3 ช้อน
โต๊ะ ใส่ ลงในขวดพลาสติกที่2 และ 3 ตามลำดับ

ตอนที่ 2 ศึกษาประสิทธิภาพของจุลนิ ทรีย์สังเคราะห์ แสงต่ อการเปลีย่ นแปลงของพืช


3.2.6 ทำแปลงผักบุง้ จำนวน 2 แปลง แปลงที่ 1 นำจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงที่เลี้ยงด้วย
ปริ มาณอาหารที่เหมาะสมไปรดกับผักบุง้ (จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง 10 cc : น้ำ 1 ลิตร) ส่ วนแปลงที่
2 ใช้เพียงน้ำรด โดยปลูกบริ เวณเดียวกัน ดินชนิดเดียวกัน ระยะเวลาเท่ากัน
3.2.7 สังเกตการเจริ ญเติบโตของผักบุง้ จากความสู งของลำต้น ทุกๆวันเป็ นเวลา 1 สัปดาห์
และหาค่าเฉลี่ย เปรี ยบเทียบและบันทึกผล
9

บทที่ 4
ผลการดำเนินงาน

จากการจัดทำโครงงานเรื่ อง การศึกษาปริ มาณอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยท์ ี่เหมาะสมและ


ประสิ ทธิภาพของจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์ต่อการเจริ ญเติบโตของพืช คณะผุจ้ ดั ทำมีวตั ถุประสงค์เพื่อ
ศึกษาปริ มาณที่เหมาะสมของอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง เพื่อศึกษาประสิ ทธิ ภาพของ
จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงต่อการเจริ ญเติบโตของพืช โดยมีผลการดำเนินงานโครงงาน ดังนี้
ตอนที่ 1 ศึกษาปริมาณอาหารเลีย้ งจุลนิ ทรีย์สังเคราะห์ แสงต่ อสี ที่เปลีย่ นแปลง
ตารางที่ 1 แสดงผลการศึกษาปริ มาณอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงต่อสี ของจุลินทรี ย ์
สังเคราะห์แสงที่เปลี่ยนแปลง
สี ที่เปลีย่ นแปลงของจุลนิ ทรีย์สังเคราะห์ แสง
สู ตร อาหารจุลนิ ทรีย์
เริ่ มต้น 1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์ 3 สัปดาห์
1 1 ช้อนโต๊ะ สี เหลือง สี เหลืองอม สี ส้ม สี แดงอมส้ม
อ่อน ส้ม
2 2 ช้อนโต๊ะ สี เหลือง สี เหลือง สี เหลือง สี ส้ม
อ่อน
3 สี เหลือง สี ขาวอม สี ขาว สี ขาวอม
10

3 ช้อนโต๊ะ อ่อน เหลือง เหลือง

จากตารางที่ 1 พบว่าจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงสู ตรที่ 1 มีการเปลี่ยนแปลงสี ของจุลินทรี ย ์


สังเคราะห์แสงมากที่สุด รองลงมาคือจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงสู ตรที่ 2 และจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง
สู ตรที่ 3 ที่พบว่ามีสีที่อ่อนลงจากเริ่ มต้น ตามลำดับ ซึ่ งการที่จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงสู ตรที่ 1
มีการเปลี่ยนแปลงสี มากที่สุด แสดงถึงความเหมาะสมของปริ มาณอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยท์ ี่ดี ส่ งผลต่อ
การเจริ ญเติบโตของจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงที่ดี

ตอนที่ 2 ศึกษาประสิทธิภาพของจุลนิ ทรีย์สังเคราะห์ แสงต่ อการเปลีย่ นแปลงของพืช


ตารางที่ 2 แสดงผลศึกษาประสิ ทธิ ภาพของจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงต่อการเปลี่ยนแปลง
ของพืช
(*) คือ วันที่มีการรดจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์ในชุดการทดลองที่ 1
ความสู งของลำต้ นผักบุ้ง (เซนติเมตร)
ลำดับที่ ชุ ดการทดลอง วัน วัน วัน วัน วัน วัน วัน ค่ าเฉลีย่
ที่1 ที่2 ที่3 ที่4 ที่5 ที่6 ที่7 (เซนติเมตร)
(*) (*) (*) (*)
1 ใส่ จุลินทรี ย ์ 7.1 7.6 8.3 8.8 9.6 10.5 11.4 9.0
สังเคราะห์แสง
สูตรที่1
2 ไม่ใส่ จุลินทรี ย ์ 7.0 7.3 7.7 8.3 8.9 9.5 10 8.3
สังเคราะห์แสง

จากตารางที่ 2 พบว่าค่าเฉลี่ยความสู งของลำต้นผักบุง้ ในชุดการทดลองที่ 1 ที่ใส่ จุลินทรี ย ์


สังเคราะห์แสงมีค่าเท่ากับ 9.0 เซนติเมตร ซึ่ งมีค่ามากกว่าค่าเฉลี่ยความสู งของลำต้นผักบุง้ ในชุดการ
ทดลองที่ 2 ที่ไม่ได้ใส่ จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงและมีค่าเท่ากับ 8.3 เซนติเมตร โดยมีค่าเฉลี่ยต่างกัน
อยู่ 0.7 เซนติเมตร
11

บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
สรุปผล
ตอนที่ 1 ศึกษาปริมาณอาหารเลีย้ งจุลนิ ทรีย์สังเคราะห์ แสงต่ อสี ที่เปลีย่ นแปลง
จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงสู ตรที่ 1 ที่มีปริ มาณอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยจำ์ นวน 1 ช้อนโต๊ะส่ งผล
ต่อการเปลี่ยนแปลงของสี ของจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงมากที่สุด รองลงมาคือ สู ตรที่ 2 ที่มีปริ มาณ
อาหารเลี้ยงจุลินทรี ยจำ ์ นวน 2 ช้อนโต๊ะ และสู ตรที่ 3 ที่มีปริ มาณอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยจำ ์ นวน 3
ช้อนโต๊ะ ตามลำดับ
ตอนที่ 2 ศึกษาประสิทธิภาพของจุลนิ ทรีย์สังเคราะห์ แสงต่ อการเปลีย่ นแปลงของพืช
ค่าเฉลี่ยความสูงของลำต้นผักบุง้ ในชุดการทดลองที่ 1 ที่ใส่ จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงมีคา่
มากกว่าค่าเฉลี่ยความสูงของลำต้นผักบุง้ ในชุดการทดลองที่ 2 ที่ไม่ได้ใส่ จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง
กล่าวคือ ผักบุง้ ที่ใส่ จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงมีการเจริ ญเติบโตที่ดีกว่าผักบุง้ ที่ไม่ได้ใส่

อภิปรายผล
ตอนที่ 1 ศึกษาปริมาณอาหารเลีย้ งจุลนิ ทรีย์สังเคราะห์ แสงต่ อสี ที่เปลีย่ นแปลง
จากการศึกษาหาปริ มาณอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยท์ ี่เหมาะสม โดยสังเกตจากสี ที่เปลี่ยนแปลง
ของจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงทุกสัปดาห์ เป็ นระยะเวลา 3 สัปดาห์ พบว่าจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงสู ตร
ที่ 1 ที่มีปริ มาณอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยจำ ์ นวน 1 ช้อนโต๊ะ การเปลี่ยนแปลงสี ของจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์
แสงมากที่สุด ซึ่ งแสดงถึงการเจริ ญเติบโตของจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงที่ดีและปริ มาณอาหารเลี้ยง
จุลินทรี ยท์ ี่ความเหมาะ
ตอนที่ 2 ศึกษาประสิทธิภาพของจุลนิ ทรีย์สังเคราะห์ แสงต่ อการเปลีย่ นแปลงของพืช
จากการศึกษาประสิ ทธิภาพของจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง จากการเปลี่ยนแปลงของพืช โดย
ตรวจวัดจากความสูง พบว่าค่าเฉลี่ยความสู งของลำต้นผักบุง้ ในชุดการทดลองที่ 1 ที่ใส่ จุลินทรี ย ์
สังเคราะห์แสงมีค่าเท่ากับ 9.0 เซนติเมตร ซึ่ งมีค่ามากกว่าค่าเฉลี่ยความสู งของลำต้นผักบุง้ ในชุดการ
ทดลองที่ 2 ที่ไม่ได้ใส่ จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงที่มีค่าเท่ากับ 8.3 เซนติเมตร โดยมีค่าเฉลี่ยต่างกันอยู่
0.7 เซนติเมตร แสดงถึงว่าจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงมีประสิ ทธิ ภาพที่ดี เพราะจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์
12

แสงมีประโยชน์ที่ช่วยให้พืชสามารถดูดซึ มสารอาหารได้มากขึ้น ช่วยเพิ่มแร่ ธาตุอาหารต่างๆในดิน


ที่จำเป็ น และยังป้ องกันโรค ทำให้พืชแข็งแรงและเติบโตเร็ ว
มีปัจจัยหลายอย่างที่ส่งผลประสิ ทธิ ภาพของจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงส่ วนหนึ่งต้องขึ้นอยู่
กับอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยท์ ี่ดีในปริ มาณเหมาะสม

ข้ อเสนอแนะ
1. ควรทำการศึกษาและเปรี ยบเทียบประสิ ทธิ ภาพของจุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงจากหัวเชื้ อ
จากธรรมชาติกบั จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสงจากหัวเชื้ อ EM

บรรณานุกรม
เอกพงศ์ มุสิกะเจริ ญ. (2559). จุลินทรี ยส์ ี แดง...จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง. [ออนไลน์].
13

เข้าถึงได้จาก : http://www.clinictech.most.go.th/online/blog/blog_show 1.asp?blog_id=929


สื บค้นเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2563
รัตวิ. (2562). รักษ์เกษตร : คุณประโยชน์จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง . [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : https://www.naewna.com/local/418998 สื บค้นเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2563
พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์, นิธิยา รัตนาปนนท์. (2562). Egg / ไข่. [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/1146/egg
สื บค้นเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2563
ประโยชน์จากไข่ไก่ที่คุณอาจไม่เชื่อ. (2559). [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : https://www.thairath.co.th/lifestyle/woman/668951
สื บค้นเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2563
น้ำปลา. (2559). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/น้ำปลา
สื บค้นเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2563
Fish sauce / น้ำปลา. (2559). [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/1366/fish-sauce
สื บค้นเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2563
เครื่ องดื่มชูกำลัง. (2559). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://th.wikipedia.org/wiki/ เครื่ องดื่มชูกำลัง สื บค้นเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2563
14

ภาคผนวก
15

ภาพที่ 1 นำน้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติใส่ ลงในขวดพลาสติก ตั้งตากแดดทิ้งไว้ 4 วัน

ภาพที่ 2 จัดทำอาหารเลี้ยงจุลินทรี ย ์
16

ภาพที่ 3 ใส่ อาหารเลี้ยงจุลินทรี ย ์ ลงไปในขวดพลาสติกที่เตรี ยมไว้

ภาพที่ 4 ทำซ้ำขั้นตอนที่ 3.2.3 โดยเพิ่มปริ มาณอาหารเลี้ยงจุลินทรี ยเ์ ป็ น 2 และ


3 ช้อนโต๊ะ ใส่ ลงในขวดพลาติกที่2 และ 3 ตามลำดับ
17

ภาพที่ 5 นำไปตั้งไว้บริ เวณกลางแจ้งที่มีแดดส่ องถึงเป็ นระยะเวลา 3 สัปดาห์

ภาพที่ 6 นำจุลินทรี ยส์ งั เคราห์แสงที่ได้ท้ งั สามขวดไปรดกับผักบุง้


18

ภาพที่ 7 สังเกตการเจริ ญเติบโตของผักบุง้ จากความสู งของลำต้น ทุกๆวันเป็ นเวลา 1 สัปดาห์

You might also like