You are on page 1of 35

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แผนบูรณาการหลักการปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียง

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา เพิ่ม


เติม รหัสวิชา ว 32203
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5
เรื่อง แรงกับการสั่นของมวลติดปลายสปริงและลูกตุ้มอย่างง่าย ปี การ
ศึกษา 2564
ความถี่ธรรมชาติและการสั่นพ้อง เวลาเรียน 3 คาบ
ผู้สอน นางสาวโสภาพรรณ ชื่นชอบ โรงเรียนสันทราย
วิทยาคม

1 สาระ/ผลการเรียนรู้/สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

1.1 สาระที่ 2
เข้าใจการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ธรรมชาติของคลื่น เสียง
และการได้ยิน
ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสงและการมองเห็น ปรากฎการณ์
ที่เกี่ยวข้องกับแสง รวมทัง้ การนำ
ความรู้ไปใช้ประโยชน์

1.2 ผลการเรียนรู้
1)ทดลองและอธิบายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของวัตถุติด
ปลายสปริงและลูกตุ้มอย่างง่าย รวมทัง้ คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้อง
2)อธิบายความถี่ธรรมชาติของวัตถุและการเกิดการสั่นพ้อง
1.3 สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
1) การสั่นของวัตถุติดปลายสปริง และการแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่าย
เป็ นการเคลื่อนที่
แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายที่มีขนาดของความเร่งแปรผันตรงกับขนาด
ของการกระจัดจากตำแหน่ง
สมดุล แต่มีทิศทางตรงกันข้าม โดยมีคาบการสั่นของวัตถุที่ติดอยู่
ปลายสปริง และคาบการแกว่งของ
m l
ลูกตุ้มตามสมการ T =2 π √ k และ T =2 π
√ g ตามลำดับ
2) เมื่อดึงวัตถุติดปลายสปริงออกจากตำแหน่งสมดุลแล้วปล่อยให้สั่น
วัตถุจะสั่นด้วยความถี่เฉพาะตัว การดึงลูกตุ้มออกจากแนวดิ่งแล้ว
ปล่อยให้แกว่ง ลูกตุ้มจะแกว่งด้วยความถี่เฉพาะตัวเช่นกัน ความถี่ที่
มีค่าเฉพาะตัวนี ้ เรียกว่า ความถี่ธรรมชาติ เมื่อกระตุ้นให้วัตถุสั่นด้วย
ความถี่ที่มีค่าเท่ากับความถี่ธรรมชาติของวัตถุ จะทำให้วัตถุสั่นด้วย
แอมพลิจูดเพิ่มขึน
้ เรียกว่า การสั่นพ้อง

2. สาระสำคัญ

1.การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย จะมีแรงดึงวัตถุกลับมายังตำแหน่ง
สมดุล เรียกแรงนีว้ ่า แรงดึงกลับ (restoring force)
2.ความถี่เชิงมุม คาบ และความถี่ของการสั่นของมวลติดปลายสปริง
สัมพันธ์กับค่าคงตัวสปริง (k) และมวลของวัตถุ (m) ดังนี ้
k
ω=
k
√1
m
f=
m
m
2π √
T =2 π
k √
3. ความถี่เชิงมุม คาบ และความถี่ของการแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่าย สัมพันธ์
กับความยาวเชือกดังนี ้
g
ω=

1
l
g
f=
2π √ l
l
T =2 π
√ g
4. เมื่อให้วัตถุสั่นหรือแกว่งอย่างอิสระ วัตถุจะสั่นหรือแกว่งด้วยความถี่ค่า
หนึ่ง เรียกว่า ความถี่ธรรมชาติ ซึ่งมีค่าคงตัว เมื่อมีแรงกระตุ้นต่อวัตถุ
โดยความถี่ของการให้แรงกระตุ้นเท่ากับความถี่ธรรมชาติของวัตถุ วัตถุจะ
สั่นหรือแกว่งโดยมีแอมพลิจูดเพิ่มขึน
้ เรียกว่า การสั่นพ้อง

3. สาระการเรียนรู้

1. แรงกับการสั่นของมวลติดปลายสปริงและลูกตุ้มอย่างง่าย
2. ความถี่ธรรมชาติและการสั่นพ้อง

4. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

ด้านความรู้ (K) นักเรียนสามารถ


1.อธิบายผลของแรงกับการสั่นของมวลติดปลายสปริงและการแกว่งของ
ลูกตุ้มอย่างง่าย (ความเข้าใจ)
2.อธิบายความถี่ธรรมชาติของวัตถุและการเกิดการสั่นพ้อง (ความ
เข้าใจ)
ด้านกระบวนการ (P) นักเรียนสามารถ
1. คำนวณปริมาณที่เกี่ยวข้องกับคาบการสั่นของมวลติดปลายสปริงและ
การแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่าย (การนำไปใช้)
ด้านคุณลักษณะ (A) นักเรียน
1. มีวินัย (เจตคติต่อวิทยาศาสตร์)
2. ใฝ่ เรียนรู้ (เจตคติต่อวิทยาศาสตร์)
3. มุ่งมั่นในการทำงาน (เจตคติต่อวิทยาศาสตร์)

5. สมรรถนะผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการแก้ปัญหา

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่ เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทำงาน

7. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ขัน
้ นำ

 ครูถามทบทวนดังนี ้
- พิจารณาการเคลื่อนที่ของมวลติดสปริงบนพื้นที่ไม่มีแรงเสียดทาน เมื่อ
ออกแรง F́ ดึงมวลติดสปริงให้เคลื่อนที่ไปทางขวา ∆ x́ แล้วปล่อย
นักเรียนคิดว่าตำแหน่งใดเป็ นตำแหน่งที่มีขนาดการกระจัดมากที่สุด (นั
กเรียนตอบ : แนวคำตอบ ตำแหน่ง a และตำแหน่ง c)

- ขนาดของการกระจัดที่มากที่สุดจะเรียกว่าอะไร
(นักเรียนตอบ : แนวคำตอบ แอมพลิจูด)
 ครูถามนักเรียนดังนี ้
- นักเรียนคิดว่า การเคลื่อนที่ของมวลติดปลายสปริง ทุกตำแหน่งมีขนาด
ความเร็วเท่ากันหรือไม่
(นักเรียนตอบ : แนวคำตอบ ไม่เท่ากัน)
- นักเรียนคิดว่า ตำแหน่งใดมีขนาดความเร็วมากที่สุด
(นักเรียนตอบ : แนวคำตอบ ตำแหน่งที่มีขนาดของการกระจัดมาก
ที่สุด)
- นักเรียนคิดว่า ตำแหน่งใดมีขนาดความเร็วน้อยที่สุด
(นักเรียนตอบ : แนวคำตอบ ตำแหน่งที่มีขนาดของการกระจัดเป็ น
ศูนย์)
- นักเรียนคิดว่า ตำแหน่งใดมีขนาดความเร่งมากที่สุด
(นักเรียนตอบ : แนวคำตอบ ตำแหน่งที่มีขนาดของการกระจัดมาก
ที่สุด)
- นักเรียนคิดว่า ตำแหน่งใดมีขนาดความเร่งน้อยที่สุด
(นักเรียนตอบ : แนวคำตอบ ตำแหน่งที่มีขนาดของการกระจัดเป็ น
ศูนย์)
 ครูนำเข้าสู่บทเรียนดังนี ้
- วันนีเ้ ราจะไปศึกษากัน

ขัน
้ สอน

 ครูอธิบายดังต่อไปนี ้
- พิจารณาการเคลื่อนที่ของมวลติดสปริงบนพื้นที่ไม่มีแรงเสียดทาน เมื่อ
ออกแรงดึงวัตถุให้เคลื่อนที่ไปทางขวาแล้วปล่อย จะพบว่า วัตถุจะ
เคลื่อนที่ไปทางซ้ายแล้วกลับมาทางขวา กลับไปกลับมาซ้ำรอยเดิม
- ถ้าออกแรงกดวัตถุไปทางซ้ายแล้วปล่อย จะพบว่า วัตถุจะเคลื่อนที่ไป
ทางขวา กลับไปกลับมาซ้ำรอยเดิมเช่นกัน
- จะเห็นได้ว่า เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ออกจากตำแหน่งสมดุล จะมีแรงดึงวัตถุ
กลับมายังตำแหน่งสมดุล ซึ่งเป็ นแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่กลับไปกลับ
มาซ้ำทางเดิม เรียกแรงนีว้ ่า แรงดึงกลับ (restoring force)
 ครูถามดังนี ้
- นักเรียนคิดว่า การกระจัดกับความเร่งจะมีทิศเดียวกันหรือทิศตรงข้าม
กัน (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ)
 ครูอธิบายดังนี ้
- พิจารณาตำแหน่ง ( x́ ) ของวัตถุ แรงที่ดึงกลับของสปริง ( F́ s) ความเร่ง (á
) และความเร็ว ( v́) ของวัตถุ
- รูปที่ 1 ดึงวัตถุติดสปริงให้เคลื่อนที่ไปทางขวามีการกระจัด x́ เมื่อปล่อย
วัตถุจากจุดหยุดนิ่ง v́=0 จะมีแรงดึงกลับไปทางซ้าย ความเร่งจะมีขนาด
มากที่สุดมีทิศไปทางซ้าย
- รูปที่ 2 ขนาดการกระจัดลดลงมีทิศไปทางขวา ขนาดความเร็วจะเพิ่ม
ขึน
้ มีทิศไปทางซ้าย แรงและความเร่งจะมีขนาดลดลงมีทิศไปทางซ้าย
เช่นกัน
- รูปที่ 3 ขนาดการกระจัดเป็ นศูนย์ ความเร็วจะมีขนาดมากที่สุดทิศไป
ทางซ้าย แรงและความเร่งจะเท่ากับศูนย์
- รูปที่ 4 ขนาดของการกระจัดจะเพิ่มขึน
้ มีทิศไปทางซ้าย ขนาดของ
ความเร็วจะลดลงมีทิศไปทางซ้ายเช่นกัน แต่แรงและความเร่งจะขนาด
เพิ่มขึน
้ มีทิศไปทางขวา
- รูปที่ 5 ขนาดของการกระจัดจะมากที่สุดมีทิศไปทางซ้าย ขนาดของ
ความเร็วจะเท่ากับศูนย์ แรงและความเร่งจะมีขนาดมากที่สุดมีทิศไป
ทางขวา
- รูปที่ 6 ขนาดของการกระจัดจะลดลงมีทิศไปทางซ้าย ขนาดของ
ความเร็วจะเพิ่มขึน
้ มีทิศไปทางขวา ความเร่งและความเร็วจะมีขนาดลด
ลงมีทิศไปทางขวา
- รูปที่ 7 การกระจัดเท่ากับศูนย์ ขนาดของความเร็วมีค่ามากที่สุดมีทิศไป
ทางขวา แรงและความเร่งมีค่าเท่ากับศูนย์
- รูปที่ 8 ขนาดของการกระจัดจะเพิ่มขึน
้ มีทิศไปทางขวา ขนาดของ
ความเร็วจะลดลงมีทิศไปทางขวา แต่แรงและความเร่งจะมีขนนาดเพิ่ม
ขึน
้ มีทิศไปทางซ้าย
- รูปที่ 9 วัตถุเคลื่อนที่กลับมาครบ 1 รอบ มีขนาดของการกระจัดมาก
ที่สุดมีทิศไปทางขวา ขนาดของความเร็วจะเป็ นศูนย์ แรงและความเร่งมี
ขนาดมากที่สุด มีทิศไปทางซ้ายเข้าหาตำแหน่งสมดุล
- จะได้ว่า ตำแหน่งปลายสุด จะมีขนาดของการกระจัดมากที่สุด ขนาด
ของแรงมากที่สุด ขนาดของความเร่งก็มากที่สุด แต่ขนาดของความเร็ว
เท่ากับศูนย์ เพราะวัตถุหยุดและกำลังเคลื่อนที่กลับ
- ในขณะที่ตำแหน่งสมดุล ขนาดของการกระจัด ขนาดของแรงและขนาด
ของความเร่งจะมีค่าเท่ากับศูนย์ แต่ขนาดของความเร็วจะมีค่ามากที่สุด
- และจะพบว่า ทุกตำแหน่ง á จะมีทิศตรงข้ามกับ x́ เสมอ
ดังนัน
้ á ∝−x́

á=−¿(ค่าคงที่) x́

 ครูถามดังนี ้
- นักเรียนคิดว่า แรงที่กระทำต่อวัตถุติดปลายสปริงมีกี่แรง มีอะไรบ้าง
(นักเรียนตอบ : แนวคำตอบ มี 1 แรง คือแรงดึงกลับ)
 ครูอธิบายดังนี ้
- จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน ∑ F́=m á การเคลื่อนที่ของวัตถุ
ติดปลายสปริงมีแรงที่กระทำต่อวัตถุเพียง 1 แรง คือ แรงดึงกลับ

 ครูพูดทบทวนดังนี ้
- ก่อนหน้านี ้ เราได้หาความสัมพันธ์ระหว่างความเร่งกับการกระจัดของ
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย จาก x= Asin( ∅+ ωt)----------(1)

a=−ω 2 Asin(ωt+ ∅)−¿--------(2)


a=−ω 2 x
จะได้ว่า á=−ω 2 x́

 ครูอธิบายดังนี ้
- เมื่อนำ 2 สมการมาเทียบกัน จะได้ดังนี ้

- เมื่อมวลติดสปริงถูกทำให้สั่น จะสั่นด้วยความถี่ธรรมชาติค่าหนึ่งเสมอ
ขึน
้ อยู่กับค่า k และ m

 ครูและนักเรียนร่วมกันทำโจทย์ดังนี ้

ตัวอย่างที่ 7 สปริงมีค่าคงที่ 20 นิวตัน/เมตร ผูกติดกับวัตถุมวล 5 กิโลกรัม


วางอยู่บนพื้นราบที่ไม่มีแรงเสียดทาน ถ้าดึงวัตถุให้ยืดออกจากจุดสมดุลเป็ น
ระยะ 10 เซนติเมตร แล้วปล่อย จงหา

ก. อัตราเร็วและขนาดของความเร่งของวัตถุที่จุดสมดุล
ข. อัตราเร็วและขนาดของความเร่งของวัตถุที่ห่างจากจุดสมดุลเป็ นระยะ
4 cm
ค. แรงที่กระทำต่อวัตถุขณะที่อยู่ห่างจากจุดสมดุลเป็ นระยะ 4 cm
ง. คาบและความถี่ของการสั่น
 ครูพูดดังนี ้
- จากข้อ ก. ที่จุดสมดุลจะมีขนาดของความเร็วเท่ากับ 0.2 เมตร/วินาที
และมีขนาดของความเร่งเท่ากับ 0 ในขณะที่ข้อ ข. ที่ระยะ 4
เซนติเมตร จะมีขนาดของความเร็วเท่ากับ 0.18 เมตร/วินาที และมี
ขนาดของความเร่งเท่ากับ 0.16 เมตร/วินาที
2

- จะเห็นได้ว่า เมื่อห่างจากจุดสมดุลออกไปขนาดของความเร็วจะมีค่าลด
ลง แต่ขนาดของความเร่งจะมีค่าเพิ่มมากขึน

ตัวอย่างที่ 8 นำมวล 1 กิโลกรัม มาผูกติดกับปลายสปริง แล้วทำให้สั่นรอบ


จุดสมดุลบนพื้นที่ไม่มีแรงเสียดทาน พบว่าสปริงสั่น นับรอบของการสั่นได้
20 รอบ ต่อ 5 วินาที จงหาค่าคงที่ของสปริง

ตัวอย่างที่ 9 รถทดลองมวล 500 กรัม ติดอยู่กับปลายสปริง ดังรูป เมื่อดึง


ด้วยแรง 5 นิวตัน ในทิศขนานกับพื้นจะทำให้สปริงยืดออก 10 เซนติเมตร
เมื่อปล่อยรถจะเคลื่อนที่กลับไปมาบนพื้นเกลีย
้ งแบบซิมเปิ ลฮาร์มอนิกด้วย
คาบเท่าไร
ตัวอย่างที่ 10 แขวนลวดสปริงให้ปลายบนติดแน่นกับจุดคงที่ ปลายล่างมี
มวล 4 กิโลกรัม แขวนอยู่ แล้วปล่อยให้สั่นขึน
้ ลงในแนวดิ่ง ปรากฏว่าวัด
คาบการสั่นได้ 2 วินาที ถ้านำมวล 2 กิโลกรัม มาแขวนแทนมวล 4 กิโลกรัม
แล้วปล่อยให้สั่นขึน
้ ลงจะสั่นด้วยความถี่เท่ากับเท่าไหร่

 ครูถามดังนี ้
- จะเห็นได้ว่าความถี่ของการสั่นของมวลติดสปริงจะขึน
้ อยู่กับ k และ m

นักเรียนคิดว่า ความถี่ของการสั่นของลูกตุ้มจะขึน
้ อยู่กับอะไรบ้าง
(นักเรียนตอบตามความเข้าใจ)
- พิจารณาการเคลื่อนที่ของลูกตุ้มดังรูป นักเรียนคิดว่ามีแรงที่กระทำต่อ
ลูกตุ้มมีอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ)

 ครูอธิบายดังนี ้
- พิจารณาการเคลื่อนที่ของลูกตุ้มดังรูป
g
- จาก á=−ω 2 x́ เมื่อนำมาเทียบกับ á=−( ) x́
l จะได้ว่า

-
- จะเห็นได้ว่า เมื่อลูกตุ้มถูกทำให้สั่น จะสั่นด้วยความถี่ค่าหนึ่งเสมอ ขึน

อยู่กับค่า gและ l (ไม่ขน
ึ ้ อยู่กับมวล)

 ครูและนักเรียนทำโจทย์1 ร่วมกันดังนี ้

ตัวอย่างที่ 11 ลูกเหล็กทรงกลมมวล 0.5 กิโลกรัม ถูกแขวนด้วยเชือกเบา


และทำให้แกว่งแบบ SHM มีแอมพลิจูด 2 เซนติเมตร ความเร่งที่จุดปลายข
องการแกว่งมีค่า เมตร/วินาที และถ้าเริ่มต้นจับเวลาตัง้ แต่ลูกเหล็กอยู่
2
8 ×10−2

ทีตำ
่ แหน่งไกลสุดจากจุดสมดุล จงหา

ก. ความถี่ของการแกว่ง
ข. ความเร็วที่จุดสมดุล
ค. ความเร็วเมื่อวัตถุอยู่ทตำ
ี่ แหน่ง 1 เซนติเมตร จากจุดสมดุล
ง. ความยาวของเส้นเชือก
จ. สมการแสดงแรงที่กระทำต่ออนุภาค ให้เป็ นฟั งก์ชันของตำแหน่งและ
ฟั งก์ชันของเวลา
 ครูพูดดังนี ้
- จากข้อ ก. ที่จุดสมดุลขนาดของความเร็วมีค่าเท่ากับ 4 ×10−2 เมตรต่อ
วินาที ในขณะที่ข้อ ข. ที่ x=1 ขนาดของความเร็วมีค่าเท่ากับ 3.46 ×10−2

- จะเห็นได้ว่า เมื่อห่างจากจุดสมดุลออกไปขนาดของความเร็วจะมีค่าลด
ลง
ตัวอย่างที่ 12 ใช้ลูกตุ้มเหล็กมวล 500 กรัม แขวนด้วยเชือกยาว 2.4 เมตร
ปรากฏว่า ลูกตุ้มในการแกว่งครบ 7 รอบ ใช้เวลาเท่ากับ 22 วินาที จง
หาความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงบริเวณที่ทดลอง
ตัวอย่างที่ 13 ผูกมวล 1 กิโลกรัม ด้วยเชือกยาว 90 เซนติเมตร แล้วนำมา
แกว่งแบบซิมเปิ ลฮาร์มอนิก จงหาเวลาที่มวลใช้ในการเคลื่อนที่จากเริ่ม
ปล่อยจนถึงจุดต่ำสุด

ตัวอย่างที่ 14 ลูกตุ้ม A และ B มีเชือกเบายาว 60 เซนติเมตร และ 30


เซนติเมตร มีมวล 0.2 และ 0.1 กิโลกรัมตามลำดับ เมื่อแกว่งลูกตุ้มทัง้ สอง
ให้เคลื่อนที่แบบซิมเปิ ลฮาร์มอนิกอย่างง่าย อัตราส่วนของคาบของลูกตุ้มทัง้
สอง T A /T B เป็ นเท่าใด
 ครูเปิ ดคลิปให้นักเรียนดู

https://www.youtube.com/watch?v=j-zczJXSxnw
 ครูพูดดังนี ้
- จากคลิปข้างต้น สะพานนีม ื ว่า สะพานทาโคมานาร์โรว์ (Tacoma
้ ีช่ อ
narrow bridge) อยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกา สะพานนีถ
้ ูกออกแบบให้
รับแรงลม 193 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
- แต่ความเร็วลมในวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2483 อยู่ที่ 64 กิโลเมตร
ต่อชั่วโมง
 ครูถามนักเรียนดังนี ้
- นักเรียนคิดว่า เพราะเหตุใดสะพานทาโคมานาร์โรว์จึงพัง (นักเรียนตอบ
ตามความเข้าใจ)
 ครูพูดดังนี ้
- การไขปริศนานีอ
้ ยู่กับปรากฎการณ์ที่เรียกว่า ความถี่ธรรมชาติ
- ความถี่ธรรมชาติเป็ นสิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัว เช่น เมื่อดีดสายกีตาร์ เราจะได้
ยินโน๊ตดนตรีที่มีความถี่เฉพาะตัว
 ครูอธิบายดังนี ้
- เมื่อให้วัตถุสั่นหรือแกว่งอย่างอิสระ วัตถุจะสั่นหรือแกว่งด้วยความถี่ค่า
หนึง่ เรียกว่า ความถี่ธรรมชาติ ซึง่ มีค่าคงตัว
 ครูพูดดังนี ้
- เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับความถี่ธรรมชาติมากขึน
้ เราจะไปศึกษา
จากคลิปวีดีโอดังนีต
้ ่อไปนี ้
 ครูเปิ ดคลิปให้นักเรียนดู

https://www.youtube.com/watch?v=Ti5dspmEQvw
 ครูพูดดังนี ้
- จะเห็นได้ว่า เมื่อออกแรงกระทำกับถาด ก้านพลาสติกแต่ละอันจะ
เคลื่อนที่ไม่พร้อมกัน เนื่องก้านพลาสติกแต่ละอันมีความยาวไม่เท่ากัน
ดังนัน
้ จึงมีความถี่ธรรมชาติไม่เท่ากัน
 ครูอธิบายดังนี ้
- เมื่อวัตถุถูกกระตุ้นต่อเนื่องให้สั่นอย่างอิสสระด้วยแรงหรือพลังงานที่มี
ความถี่เท่ากับหรือใกล้เคียงกับความถี่ธรรมชาติของวัตถุ วัตถุจะสั่นด้วย
ความถี่ธรรมชาติของวัตถุนน
ั ้ และสั่นด้วยแอมพลิจูดที่มีค่ามาก เรียก
ปรากฎการณ์นว
ี ้ ่า การสั่นพ้อง
- ตัวอย่างเช่น นักร้องเพลงโอเปร่าที่สามารถออกเสียงที่มีความถี่ใกล้
เคียงกับความถี่ธรรมชาติของแก้ว จนทำให้แก้วแตกได้
- หรือการแกว่งชิงช้า ถ้าออกแรงผลักด้วยความถี่ที่สอดคล้องกับความถี่
ในการแกว่งของชิงช้า จะทำให้ชิงช้าแกว่งด้วยแอมพลิจูดที่สูงมาก
- เมื่อเกิดการสั่นพ้อง ถ้าให้ความถี่ของแรงที่กระทำใกล้เคียงความถี่
ธรรมชาติของระบบ จะทำให้ระบบดูดซับพลังงานได้มากที่สุดเมื่อเทียบ
กับความถี่ค่าอื่น ๆ

ขัน
้ สรุป
 ครูสรุปบทเรียนโดยใช้คำถามดังนี ้
- การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย จะมีแรงดึงวัตถุกลับมายัง
ตำแหน่งสมดุล เรียกแรงนีว้ ่าแรงอะไร (นักเรียนตอบ : แนวคำตอบ
แรงดึงกลับ)
- คาบและความถี่ของการสั่นของมวลติดปลายสปริงขึน
้ อยู่กับค่าอะไร
และหาได้จากความสัมพันธ์อะไร (นักเรียนตอบ : แนวคำตอบ ขึน
้ อยู่
m
กับค่า k และ m หาคาบได้จาก T =2 π
√ k และหาความถี่ได้จาก
)
1 k
f=

2π m
- คาบและความถี่ของการสั่นของการแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่าย ขึน
้ อยู่กับ
ค่าอะไร และหาได้จากความ สัมพันธ์อะไร (นักเรียนตอบ : แนวคำ
l
ตอบ ขึน
้ อยู่กับค่า l และ g หาคาบได้จาก T =2 π
√ g และหาความถี่ได้
1 g
จาก f=
2π √ l
- เมื่อให้วัตถุสั่นหรือแกว่งอย่างอิสระ วัตถุจะสั่นหรือแกว่งด้วยความถี่ค่า
หนึง่ เรียกว่าอะไร (นักเรียนตอบ : แนวคำตอบ ความถี่ธรรมชาติ)
- เมื่อมีแรงกระตุ้นต่อวัตถุ โดยความถี่ของการให้แรงกระตุ้นเท่ากับ
ความถี่ธรรมชาติของวัตถุ วัตถุจะสั่นหรือแกว่งโดยมีแอมพลิจูดเพิ่มขึน

ี ้ ่าอะไร (นักเรียนตอบ : แนวคำตอบ การสั่นพ้อง)
เรียกปรากฎการณ์นว

8. ชิน
้ งาน/ภาระงาน

แบบฝึ กหัดในใบงานข้อที่ 7 และ 8

9. สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ฟิสิกส์ เล่มที่ 3 ชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5

10. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์
ประเมินผล
ด้านความรู้ (K) นักเรียน
สามารถ สังเกตจาก คำถามท้าย นักเรียนมี
1. อธิบายผลของแรงกับการ การตอบ คาบ 5 ข้อ ระดับคุณภาพ
สั่นของมวลติดปลาย คำถามในชัน
้ การเรียนรู้
สปริงและการแกว่งของ เรียน ระดับ 3 ขึน
้ ไป
ลูกตุ้มอย่างง่าย (ความ
เข้าใจ)
2. อธิบายความถี่ธรรมชาติ
ของวัตถุและการเกิดการ
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์
ประเมินผล
สั่นพ้อง (ความเข้าใจ)

ด้านกระบวนการ (P)
นักเรียนสามารถ การทำแบบ แบบฝึ กหัด นักเรียนมี
1. คำนวณปริมาณที่ ฝึ กในใบงาน ในใบงาน ระดับคุณภาพ
เกี่ยวข้องกับคาบการสั่น จำนวนข้อ 7 การเรียนรู้
ของมวลติดปลายสปริง และ 8 ระดับ 3 ขึน

และการแกว่งของลูกตุ้ม ไป
อย่างง่าย (การนำไปใช้)

ด้านคุณลักษณะ (A)
นักเรียน สังเกตจาก แบบประเมิน นักเรียนมี
1.มีวินัย (เจตคติต่อ ความมีวินัย คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ
วิทยาศาสตร์) ใฝ่ เรียนรู้และ อันพึง ด้าน
2.ใฝ่ เรียนรู้ (เจตคติต่อ มุ่งมั่นในการ ประสงค์ คุณลักษณะ
วิทยาศาสตร์) ทำงาน ระดับ 3 ขึน
้ ไป
3.มุ่งมั่นในการทำงาน
(เจตคติต่อวิทยาศาสตร์)

ด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ สังเกตจาก แบบประเมิน นักเรียนมี
1. มีวินัย รับผิดชอบ ความมีวินัย คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ
2. ใฝ่ เรียนรู้ ใฝ่ เรียนรู้และ อันพึง ด้าน
3. มุ่งมั่นในการทำงาน มุ่งมั่นในการ ประสงค์ คุณลักษณะ
ทำงาน ระดับ 3 ขึน

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์
ประเมินผล
ไป
ด้านสมรรถนะ (C)
1. ความสามารถในการ สังเกตจาก แบบประเมิน นักเรียนมี
สื่อสาร การตอบ สมรรถนะ ระดับคุณภาพ
2. ความสามารถในการแก้ คำถามในชัน
้ ของผู้เรียน ด้าน
ปั ญหา เรียนและ คุณลักษณะ
สังเกต ระดับ 3 ขึน

พฤติกรรม ไป

 เกณฑ์ระดับคุณภาพ ด้านความรู้ (K)


ประเด็น เกณฑ์ระดับคุณภาพ
การ ปรับปรุง
ดีเยี่ยม (4) ดี (3) พอใช้ (2)
ประเมิน (1)
1. การ ให้ความร่วม ให้ความร่วม ให้ความร่วม ไม่ให้ความ
ตอบ มือในการ มือในการ มือในการ ร่วมมือใน
คำถาม ตอบคำถาม ตอบคำถาม ตอบคำถาม การตอบ
และสามารถ และสามารถ และสามารถ คำถาม
ตอบคำถาม ตอบคำถาม ตอบคำถาม
ถูกต้องครบ ถูกต้องเป็ น ถูกต้องบางข้อ
ถ้วน ส่วนใหญ่
สมบูรณ์ทุก
ข้อ
2. การจด มีการจด มีการจด มีการจด ไม่มีการจด
บันทึกลง บันทึก บันทึก บันทึกเนื้อหา บันทึก
ในใบงาน เนื้อหาได้ เนื้อหาได้ ได้บ้างบาง เนื้อหา
ครบถ้วน ครบเป็ นส่วน ส่วน
สมบูรณ์ ใหญ่

เกณฑ์การประเมินผล
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
7-8 ดีเยี่ยม (4)
5–6 ดี (3)
3–4 พอใช้ (2)
1–2 ปรับปรุง (1)

 เกณฑ์ระดับคุณภาพ ด้านทักษะ (P)

ประเด็น เกณฑ์ระดับคุณภาพ
การ ปรับปรุง
ดีเยี่ยม (4) ดี (3) พอใช้ (2)
ประเมิน (1)
1. การทำ ทำแบบ ทำแบบ ทำแบบฝึ กหัด ทำแบบ
แบบ ฝึ กหัดได้ถูก ฝึ กหัดได้ถูก ได้ถก
ู ต้องเป็ น ฝึ กหัดไม่ได้
ฝึ กหัด ต้องสมบูรณ์ ต้องเป็ นส่วน บางส่วน เลย
ทุกข้อ ใหญ่
เกณฑ์การประเมินผล
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
4 ดีเยี่ยม (4)
3 ดี (3)
2 พอใช้ (2)
1 ปรับปรุง (1)
 เกณฑ์ระดับคุณภาพ ด้านคุณลักษณะ (A) พฤติกรรมใฝ่ เรียนรู้

ประเด็น เกณฑ์ระดับคุณภาพ
การ
ดีเยี่ยม (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
ประเมิน
1. มีวินัย - ตรงต่อ - ตรงต่อ - ตรงต่อ - ตรงต่อเวลา
รับผิดชอบ เวลาในการ เวลาในการ เวลาในการ ในการปฏิบัติ
ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ กิจกรรมต่าง
กิจกรรมต่าง กิจกรรมต่าง กิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิต
ๆ ในชีวิต ๆ ในชีวิต ๆ ในชีวิต ประจำวัน
ประจำวัน ประจำวัน ประจำวัน และรับผิด
และรับผิด และรับผิด และรับผิด ชอบในการ
ชอบในการ ชอบในการ ชอบในการ ทำงานเป็ น
ทำงาน ทำงานอย่าง ทำงานเป็ น บางครัง้ และ
ชัดเจนและ ชัดเจนและ บางครัง้ ต้องได้รับคำ
สม่ำเสมอ บ่อยครัง้ แนะนำ

2. ใฝ่ เรียน - ตัง้ ใจเรียน - ตัง้ ใจเรียน - ตัง้ ใจเรียน - ตัง้ ใจเรียน
รู้ อย่างชัดเจน อย่างชัดเจน เป็ นบางครัง้ เป็ นบางครัง้
และ และบ่อยครัง้ และต้องได้
สม่ำเสมอ รับคำแนะนำ

3. มุ่งมั่น - ตัง้ ใจและ - ตัง้ ใจและ - ตัง้ ใจและ - ตัง้ ใจและ


ในการ รับผิดชอบใน รับผิดชอบใน รับผิดชอบใน รับผิดชอบใน
ทำงาน การทำงาน การทำงาน การทำงาน การทำงานให้
ให้แล้วเสร็จ ให้แล้วเสร็จ ให้แล้วเสร็จ แล้วเสร็จเป็ น
อย่างชัดเจน อย่างชัดเจน เป็ นบางครัง้ บางครัง้ และ
และ และบ่อยครัง้ ต้องได้รับคำ
สม่ำเสมอ แนะนำ

เกณฑ์การประเมินผล
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
11 - 12 ดีเยี่ยม (4)
8 – 10 ดี (3)
6–7 พอใช้ (2)
1–5 ปรับปรุง (1)

 เกณฑ์ระดับคุณภาพสมรรถนะ

เกณฑ์ระดับคุณภาพ
สมรรถนะ
ดีเยี่ยม (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
1. ความ - มีความ - มีความ - มีความ - มีความ
สามารถ ใน สามารถใน สามารถใน สามารถใน สามารถใน
การสื่อสาร การรับ-ส่ง การรับ-ส่ง การรับ-ส่ง การรับ-ส่ง
สารปฏิบัติ สารปฏิบัติ สารปฏิบัติ สารปฏิบัติ
ชัดเจนและ ชัดเจนและ บางครัง้ บางครัง้ และ
สม่ำเสมอ บ่อยครัง้ - มีความ ต้องได้รับคำ
- มีความ - มีความ สามารถใน แนะนำ
สามารถใน สามารถใน การถ่ายทอด - มีความ
การ การ ความรู้ สามารถใน
ถ่ายทอด ถ่ายทอด ความคิด การถ่ายทอด
ความรู้ ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้ ความ
ความคิด ความคิด ของตนเอง คิด ความ
ความเข้าใจ ความเข้าใจ โดยใช้ภาษา เข้าใจของ
ของตนเอง ของตนเอง อย่างเหมาะ ตนเอง โดยใช้
โดยใช้ โดยใช้ สม ปฏิบัติ ภาษาอย่าง
ภาษาอย่าง ภาษาอย่าง บางครัง้ เหมาะสม
เหมาะสม เหมาะสม ปฏิบัติบาง
ปฏิบัติ ปฏิบัติ ครัง้ และต้อง
ชัดเจนและ ชัดเจนและ ได้รับคำ
สม่ำเสมอ บ่อยครัง้ แนะนำ
2. ความ - แสดง - แสดง - แสดงความ - แสดงความ
สามารถ ใน ความเชื่อม ความเชื่อม เชื่อมโยง เชื่อมโยง
การแก้ โยงความ โยงความ ความ ความสัมพันธ์
ปั ญหา สัมพันธ์ สัมพันธ์ สัมพันธ์ ระหว่าง
ระหว่าง ระหว่าง ระหว่าง ปั ญหาและวิธี
ปั ญหาและ ปั ญหาและ ปั ญหาและ การแก้ปัญหา
วิธีการแก้ วิธีการแก้ วิธีการแก้ ไม่ได้เลย
ปั ญหาได้ ปั ญหาได้ ปั ญหาได้บาง
อย่างครบ เกือบครบ ส่วน
ถ้วน ถ้วน
สมบูรณ์
เกณฑ์การประเมินผล
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
7-8 ดีเยี่ยม (4)
5–6 ดี (3)
3–4 พอใช้ (2)
1–2 ปรับปรุง (1)

การบูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาจัดการเรียนรู้

  ผู้สอนนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้

ประเด็น หลักพอเพียง
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่
ดี
เวลา - กำหนดเวลาให้ - จัดการเรียนรู้ได้ - วางแผนการจัด
เหมาะสมกับ ครบตาม จุดประสงค์ กิจกรรม การเรียน
เนื้อหาและ การเรียนรู้ รู้ให้ครบตาม เวลา
กิจกรรมการเรียน ที่มี
รู้
เนื้อหา - กำหนดเนื้อหา - ผู้เรียนบรรลุตาม - เรียงลำดับ
ให้เหมาะสมกับ จุดประสงค์ ตรงตาม เนื้อหาจาก ง่ายไป
มาตรฐาน ตัวชีว้ ัด มาตรฐาน ตัวชีว้ ัดใน หายาก สอดคล้อง
และผู้เรียน หลักสูตร กับการดำเนินชีวิต
ประจำวัน
การจัด - แบ่งกลุ่ม -ผู้เรียนได้ร่วม - กำหนดกิจกรรม
กิจกรรม นักเรียนโดยคละ กิจกรรม อย่างทั่วถึง ที่ ชัดเจน
การเรียน ความสามารถ ทุกคน สอดคล้องกับ
การสอน เพื่อให้นักเรียนทุก -ผู้เรียนเกิดการเรียน เนื้อหา 
คนได้พัฒนา รู้ ตามจุดประสงค์ - ครูศึกษารูปแบบ
ตนเอง สมรรถนะหลัก และ การเรียนรู้อย่าง
-แบ่งกลุ่มให้พอดี คุณลักษณะอันพึง ชัดเจน และมี
กับ จำนวน ประสงค์ ความรอบรู้ใน
นักเรียนในชัน
้ เนื้อหาที่สอนทำให้
เรียน  การเรียนรู้ของผู้
- กำหนดภาระ เรียนมี
งานตาม ประสิทธิภาพ
ศักยภาพของ
นักเรียนในกลุ่ม 
- กำหนดกิจกรรม
ให้พอดีกับ เวลา
แหล่ง - กำหนดแหล่ง - มุ่งให้ผู้เรียนใช้ - จัดเตรียมแหล่ง
เรียนรู้ เรียนรู้เหมาะสม แหล่ง เรียนรู้คุ้มค่า เรียนที่น่าเชื่อถือรู้
กับเนื้อหา เวลา เกิด ประโยชน์สูงสุด ให้ผู้เรียน
งบประมาณ และ
วัยของผู้เรียน
สื่อ - เตรียมสื่อ - ใช้ส่ อ
ื อุปกรณ์ - ทดลองใช้ส่ อ

อุปกรณ์ อุปกรณ์ ให้ ประหยัด คุ้มค่า อุปกรณ์ ก่อนนำ
เหมาะสม กับ ทำให้ผู้เรียนเกิด การ ไปใช้จริง 
เนื้อหาและเวลาที่ เรียนรู้ที่มี - ฝึ กความชำนาญ
ใช้ในการสอน ประสิทธิภาพ การ ใช้ส่ อ

 - วางแผนแก้
ปั ญหาหาก สื่อ
ขัดข้อง
การวัด - ออกแบบการวัด - การวัด ประเมินผล - วางแผนการวัด
และ ประเมินผล ให้ ตาม สภาพจริงจะ ประเมินผลอย่าง
ประเมิน หลากหลายตาม ทำให้ สามารถ เป็ น ลำดับ 
ผล สภาพจริง เหมาะ ประเมินผู้เรียนได้ - เตรียมแบบ
สมกับเวลา ครอบคลุมทุกด้าน ประเมิน ให้ครบ
เนื้อหา และ และ ทราบจุดด้อย ถ้วน
ศักยภาพของผู้ ของแต่ละคน - ตรวจสอบความ
เรียน สามารถซ่อมเสริมได้ เที่ยงตรงของแบบ
ถูกต้อง  ทดสอบให้ตรงตาม
จุดประสงค์และตัว
ชีว้ ัด 

ประเด็น หลักพอเพียง
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่
ดี
เงื่อนไข 1. ความรู้เรื่องหลักสูตรการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช
ความรู้ 2551 
2. ความรู้เรื่องการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย 
3. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 
4. รูปแบบการสอน 
5. ความรู้เกี่ยวกับการวัดผลประเมินผล
เงื่อนไข มีความรัก ความเมตตาต่อศิษย์ มีความรับผิดชอบ ยุติธรรม
คุณธรรม ตรงเวลา เอาใจใส่ต่องานที่รับผิดชอบ 
มีความพยายาม อดทน มีจรรยาบรรณวิชาชีพครู
สมดุล 4 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมจะส่งผลให้นักเรียน
มิติ  เกิดความสามัคคี มีความเอื้อ อาทรต่อสมาชิกในกลุ่ม (สังคม
(วัตถุ ) คำนึงถึงการใช้ส่ อ
ื ในการนำเสนอ (วัตถุ) รักษาความสะอาด
วัฒนธรรม ห้องเรียน (สิ่งแวดล้อม) มีการสอดแทรกความรู้ ของ
สังคม สิ่ง ภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น การใช้แฉลง การใช่ลิ่ม(วัฒนธรรม)
แวดล้อม )

  ผู้เรียนนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการเรียน

ประเด็ หลักพอเพียง
น พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
การ 1. ประเมิน 1. นักเรียนสามารถ 1. นักเรียนรู้จักวางแผน
เรียน ความรู้พ้น
ื ฐาน นำความรู้ที่มีอยู่มาใช้ แผนการทำงานโดย
ของตนเอง  ในการเรียนเพื่อให้ มอบหมายงานให้
2. กำหนด งานมีประสิทธิภาพ  สมาชิกในกลุ่มได้ เหมาะ
หน้าที่ของ 2.นักสามารถใช้ความ สมกับ ความสามารถ
สมาชิกในกลุ่ม รู้เรื่องงานและ ของแต่ละ บุคคล 
ตามศักยภาพ พลังงานมาอธิบาย 2.ศึกษาความรู้เรื่อง
ของแต่ละคน  การได้เปรียบเชิงกล เครื่องกลจากแหล่งเรียน
ของเครื่องกลแต่ละ รู้ที่หลากหลาย เพื่อให้
ประเภทได้ ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง
เงื่อนไ 1.ความรู้เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
ข 2. ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ความรู้
เงื่อนไ ความเพียร พยายาม อดทน ใฝ่ เรียนรู้ มีวินัย รับผิดชอบ ความ
ข สามัคคี ซื่อสัตย์ ประหยัด 
คุณธร อยู่อย่างพอเพียง
รม

ความสมดุล 4 มิติ
องค์ วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
ประกอบ
ด้าน - มีความ - มีความรู้ใน - ใช้ส่ อ
ื ในการนำ - นำความรู้
ความรู้ รู้เรื่อง การวางแผน เสนอโดย คำนึง เรื่อง
การ การทำงานกลุ่ม ถึงผลต่อ สิ่ง ประโยชน์ของ
เคลื่อนที่ ได้ เหมาะสม แวดล้อม จัดเก็บ เครื่องกลไป
แบบฮาร์ ตรงตาม ความ อุปกรณ์ให้ ประยุกต์ใช้ใน
มอนิกอ สามารถของ เรียบร้อยหลังใช้ ชีวิตประจำ
ย่างง่าย แต่ละคน งาน วัน
ทักษะ - เลือกใช้ - ทำงานร่วมกับ - หลีกเลี่ยงการก - สร้างข้อ
กระบวน วัตถุหรือ ผู้อ่ น
ื ได้อย่างมี ระทำที่ก่อให้เกิด ตกลงใน การ
การ ตัวแปร ประสิทธิภาพ  อันตรายต่อ ทำงานร่วม
ให้เหมาะ - แลกเปลี่ยน ตนเอง และสิง่ กัน
สมกับ ข้อมูลกับเพื่อน แวดล้อม
การใช้
งาน
ค่านิยม - เห็น - ยอมรับฟั ง - ทำกิจกรรม - เห็นคุณค่า
คุณค่า ความ คิดเห็น โดย ตระหนักถึง ของการ
ของการ ของเพื่อน ร่วม ความสำคัญของ แสดงน้ำใจ
เคลื่อนที่ งาน ตระหนัก สภาพแวดล้อม การ ชมเชย
แบบฮาร์ ถึงความ รับผิด ในชัน
้ เรียน สร้าง เพื่อน ร่วม
มอนิกอ ชอบต่องานที่ได้ บรรยากาศใน งาน
ย่างง่าย รับมอบหมาย การ เรียนรู้ การให้กำลัง
ใจ การช่วย
เหลือซึ่งกัน
และกัน

11. บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ผลการจัดการเรียนรู้
จำนวนนักเรียนที่เรียน ………….. คน

ด้านความรู้ (K) ด้านคุณลักษณะ (A)

ดี ดี
การประเมิน พอใ ปรับ พอใ ปรับ
เยีย
่ ดี เยีย
่ ดี
ช้ ปรุง ช้ ปรุง
ม ม

จำนวน
นักเรียน (คน)

ร้อยละ

การประเมิน ด้านสมรรถนะ
ดี ปรับ
ดี พอใช้
เยีย
่ ม ปรุง

จำนวน
นักเรียน (คน)

ร้อยละ

ปั ญหา/อุปสรรค

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปั ญหา

ลงชื่อ……………………………………………….…..
(นางสาวโสภาพรรณ ชื่น
ชอบ)
ผู้สอน
วัน
ที่.......เดือน.............พ.ศ. ............
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปั ญหา

ลงชื่อ……………………………………………….…..

(นายนิพรรณ์ ปิ ยนันทคุณ)
ครูพี่เลีย
้ ง
วัน
ที่.......เดือน.............พ.ศ. ............

You might also like