You are on page 1of 7

หน่ วยที่ 3 การหายใจระดับเซลล์

Cellular Respiration
ชื่อ……………………………………………………………………รหัส…………………………………ห้ อง……………………..

การหายใจระดับเซลล์ (Cellular Respiration)

การหายใจระดับเซลล์ คือ การสลายสารอินทรีย์ให้เป็น พลังงานที่เซลล์สามารถนาไปใช้ได้

สมการการหายใจระดับเซลล์

พลังงานสาคัญที่เกิดจากการหายใจอยู่ในรูปของสารประกอบ ที่ให้พลังงานสูง คือ ………………………………………

Glucose Lipid Amino acid

การสร้าง ATP

1. Substrate level phosphorylation : การสร้าง ATP โดยตรง

2. Oxidative phosphorylation คือ มีการเข้าไปสลายพันธะทาให้ได้ e- หลุด มีตัวมารับ e- คือ


NAD+ ได้เป็น NADH และ FAD+ ได้เป็น FADH2 ซึ่ง 2 ตัวที่ได้ จะเข้าสู่การถ่ายทอด e-

3. Photophosphorylation
การหายใจแบบใช้ออกซิเจน (Aerobic Respiration)

ตัวรับ e- ตัวสุ ดท้าย คือ……………….


การหายใจเป็ นการสลายโมเลกุลของกลูโคสเพื่อให้เกิดพลังงานซึ่ งมีการเกิดปฏิกิริยา
หลายขั้นตอน ดังนี้
1. ไกลโคไลซิส (Glycolysis) : เกิดใน ………………………………
2. การสร้างแอซิ ติลโคเอ (Acetyl Coenzyme A)
3. วัฏจักรเครปส์ (Kerbs cycle) : เกิดใน …………………………………………………..
4. การถ่ายทอดอิเล็กตรอน (Electron transport chain : ETC) : เกิดใน
……………………………………………………………………………

ไกลโคไลซิส (Glycolysis)

เป็นกระบวนการ……………………………………………………………………………………………………………………
2 โมเลกุล โดยจะได้พลังงานในรูปของATP และ NADH เป็นปฏิกิริยาที่สามารถเกิดได้ทั้งแบบมีหรือไม่มี
ออกซิเจนก็ได้ เกิดที่…………………………………………….
การสร้างแอซิติลโคเอ (Acetyl Coenzyme A)

เป็นขั้นตอนที่เป็นจุดเชื่อมระหว่างไกลโคไลซิสกับวัฏจักรเครปส์ โดยมีไพรูเวตเป็นสารเริ่มต้น ไพรูเว


ตจะทาปฏิกิริยากับโคเอนไซม์ เอ (Coenzyme A) ได้เป็น ………………………………………มี C 2 อะตอม โดยใช้
เอนไซม์……………………………………………………มีการปลดปล่อย CO2 และเปลี่ยน NAD+ เป็น NADH
วัฏจักรเครปส์ (Krebs cycle)

เกิดที่ ………………………………………………………………………..

การสลายสารอินทรีย์ให้เป็นCO2 และเป็นการนา e- ออกมาจาก Acetyl Co A ใช้อิเล็กตรอนนี้ในการ


สร้าง NADH และ FADH2 ซึ่งเป็นสารที่สะสม พลังงานเคมีไว้ในตัว และจะนาไปสร้าง ATP ต่อไป ใน
กระบวนการออกซิเดทีฟ ฟอสโฟริเลชัน (Oxidative phosphorylation)

เนื่องจากแอซิทิลโคเอนไซม์ เอ 1 โมเลกุล จะให้ NADH …………… โมเลกุล


FADH2 ………. โมเลกุล และ ATP อีก ………… โมเลกุล แต่กลูโคส 1 โมเลกุลจะให้ แอซิทิลโคเอนไซม์เอ เข้า
สู่วัฏจักรเครปส์ …………. โมเลกุล

ใน 2 Krebs cycle / 1 glucose ตั้งต้นคือ 2 Acetyl CO A


ผลิตภัณฑ์ที่ได้ คือ CO2 ……………. โมเลกุล
NADH …………….โมเลกุล
FADH2 ……………โมเลกุล
ATP ………….. โมเลกุล
กระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน (Electron transport chain)

เกิดที่ …………………………………………………………………………………………..
- คือกระบวนการที่ทาหน้าที่เคลื่อนย้ายอิเล็กตรอนจาก NADH และ FADH2 ไปยัง O2 ซึ่งเป็นตัวรับอิเล็กตรอน
ตัวสุดท้ายเกิดเป็นน้า (H2O)
- ระหว่างการถ่ายทอด e- จะเกิดพลังงานอิสระซึง่ จะนาไปสร้างเป็น ATP ด้วยกระบวนการ
…………………………………………………………………...ทาให้เกิดการปั๊มโปรตอนผ่านเยื่อหุ้มชั้นในของไมโตคอนเดรีย

องค์ประกอบของการถ่ายทอดอิเล็กตรอน คือ complex I , II , III และ IVซึ่งเป็นกลุ่มของโปรตีน มี


โคนเอนไซม์ Q (Ubiquinone) และ ไซโตโครม C ซึ่งทั้งหมดนี้จะฝังตัวอยู่บนเยื่อหุ้มชั้นในของไมโตคอนเดรีย

สรุป
แหล่งพลังงานที่ใช้สร้าง ATP มาจากความแตกต่างของโปรตอน ระหว่าง 2 ด้านของเยื่อหุ้มไมโตคอน
เดรีย คือ เมทริกซ์ และ ช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้มเซลล์
ขณะถ่ายทอดอิเล็กตรอนจะมีการปลดปล่อยพลังงานออกมาด้วย ถ้าพลังงานเกิน ………….กิโลแคลอรี
ต่อโมลจะสามารถสร้าง ATP ได้

สรุปพลังงานที่ได้ในช่วงต่าง ๆ

1. ไกลโคไลซิส (Glycolysis) ได้ ………………………………………………………………………….


2. การสร้างแอซิติลโคเอ (Acetyl Co A) ได้ ……………………………………………………………………………
3. วัฏจักรเครปส์ (Krebs cycle) ได้ ………………………………………………………………………………….
4. การถ่ายทอดอิเล็กตรอน (Electron transport chain) ได้ …………………………………………………………

พลังงานที่ได้จากการถ่ายทอดอิเล็กตรอนทั้งหมด = ………………………………
สรุป พลังงานที่ได้ทั้งหมดในการหายใจระดับเซลล์ =……………………………….
การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic Respiration)

การหมัก (Fermentation) เกิดในกระบวนการ ……………………………… ซึ่ง ATP ที่ได้จะได้มาจากกระบวนการ


……………………………………………………………………………………..

1. การหมักแอลกอฮอล์ของยีสต์ (Alcoholic Fermentation)

2. การหมักกรดแลคติกของกล้ามเนื้อลาย (Lactic acid Fermentation)

ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการหายใจระดับเซลล์
ปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการหายใจของพืชคือ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ปัจจัยภายในที่มีผลต่อการหายใจของพืชคือ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

อุณหภูมิ
อัตราการหายใจของพืชขึ้นอยู่กับ อุณหภูมิ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของอัตราการหายใจของพืชเมื่อ
อุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10 องศาเซลเซียส เรียกว่า……………. ในพืชจะมี ค่า Q10 ประมาณ 2 (อุณหภูมิระหว่าง 5 –
25 องศาเซลเซียส การเพิ่มอัตราการหายใจจะลดลงหลังจากที่อุณหภูมิสูงถึง 30 องศาเซลเซียส

ก๊าซออกซิเจน
ต่างกันไปตามชนิดและอวัยวะของพืช ออกซิเจนในอากาศปกติ (21%) จะมีอิทธิพลต่อการหายใจน้อย
มากการหายใจจะตอบสนองต่อออกซิเจนเมื่อความเข้มข้นในอากาศต่าลงน้อยกว่า 2% สาหรับเนื้อเยื่อขนาด
เล็ก ถึง 5% สาหรับเนื้อเยื่อขนาดใหญ่

You might also like