You are on page 1of 10

จัดทําโดยครูปุมไบโอ 1

 
 
 
สรุประบบการยอยอาหาร

อวัยวะ การยอย เอนไซม


ปาก A_y_a_e
G_y_o_ _n -> m_lto_ _,
po_ysa_ _aride, de_tr_n

หลอดอาหาร p_ris_alsis
กระเพาะอาหาร p_p_i_ สรางจาก
po_yp_pti_ _ ---> peptide r_n_in สรางจาก
สายสั้นๆ _C_ ทําหนาที่

Casein -> นม

ลําไสเล็ก d_sc_ha_ _ _ _
Disaccharide -> สรางจาก
monosaccharide m_lt_ _ _ สรางจาก
S_cr_ _ สรางจาก
L_ _ _ _ se สรางจาก

ch_m_tr_ _ _ _ _
Peptide -> a_i_o acid
สรางจาก
ami_ _ pep_iase
สรางจาก
tri_ep_ _ _ _ _ _
สรางจาก
di_e_ _ _ _ _ _e
สรางจาก

b_l_ สรางจาก
กอนไขมัน-น้ําดี -> fa_ _y ประกอบดวยเกลือน้ําดีและ
acid+ g_y_ _ r_l รงควัตถุน้ําดี
l_p_ _ _ สรางจาก
Na_ _ O3 สรางจาก
จัดทําโดยครูปุมไบโอ 2

การหายใจระดับเซลล

Metabolism
คือปฎิกิริยาเคมีในสิ่งมีชีวิต โดยมีเอนไซมเปนตัวเรงปฏิกิริยา แบงออกเปน 2 ประเภท
1. anabolism การสังเคราะหสาร 2. catabolism คือการสลายสาร
ภายในเซลล โดยใชพลังงานภายใน จัดเปนปฏิกิริยาคายพลังงาน เชน
เซลลตองเปนปฏิริยาดูดความรอน การหายใจระดับเซลล จะไดพลังงาน
เชน การสังเคราะหโปรตีน ออกมาในรูป ATP
การสังเคราะหดวยแสง

ATP

1 2 3

ประกอบดวย _______________ ________________ และ________________


พันธะที่มีพลังานสูงมี ____ พันธะ การสลายพันธะ (hydrolysis)
ของแตละพันธะจะใหหมูฟอตเฟต และปลอยพลังงานออกมา ____kcal/mol
ATP-> ADP->AMP
สมการที่ 1 ATP +_____ -> ADP + Pi + ____ kcal/mol
2 ____ +____-> AMP + Pi + ____ kcal/mol
3 ____ +____ -> adenosine + Pi + 4.6 kcal/mol

การสรางสารพลังงานสูง ATP จะเปนการเติม


ฟอตเฟตใหกับ ADP เราเรียกวา phosphorylation มี 3
ประเภทคือ
1. substrate-level phosphorylation พบใน
_________และ _____________
ของการหายใจระดับเซลล
2. oxidative phosphorylation _________________
ในการหายใจระดับเซลล ใช ATP synthase
3. photophosporylation พบควบคูกับการถายทอด e-
ในการสังเคราะหดวยแสงใช ATP synthase
จัดทําโดยครูปุมไบโอ 3  
 
 
ปฏิกิริยารีดอกซ (Oxidation-reduction reaction) คือ ปฏิกิริยาที่มีการถายโอน e-
จากสารหนึ่งไปยังสารหนึ่ง ทําใหเลขออกซิเดชันของสารเปลี่ยนแปลงเสมอ
1. Oxidation คือปฏิกิริยาที่มีการจาย e- สารตั้งตนมีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น เชน
Na (เลขออกซิเดชันเปน o เพราะเปนธาตุอิสะ) à Na+ + e-

2. Reduction คือปฏิกิริยาที่มีการรับ e- สารตั้งตนมีเลขออกซิเดชันลดลง เชน


Cl2 + 2e- -> 2Cl-

Redox คือมีการถายโอน e- จาก Na ไปสู Cl2


2Na + Cl2 -> 2NaCl

* ทบทวน = เลขออกซิเดชันคือเลขที่บอกคาประจุของแตละอะตอม)

นอกจาก ATP เซลลยังมีสารพลังานสูงอีกประเภทคือ ตัวรับอิเล็กตรอนที่เขารวมในปฏิกิริยา


รีดอกซตางๆ เชน NAD+, FAD ซึ่งลวนอยูรูปของ coenzyme และเมื่อรับอิเล็กตรอนแลวจะเปน
__________ ไดแก

1.NAD+ (nicotinamide ________ dinucleotide) มีวิตามิน niacin เปนองคประกอบสําคัญ


ทําหนาที่ e- ดังสมการ NAD+ +2e- + H+ -> NADH

2. FAD (flavin ________ ____________) มีวิตามินบี 2 (riboflavin) เปนองคประกอบสําคัญ


ทําหนาที่ e- ดังสมการ FAD+2e- + 2H+ -> FADH2

การหายใจระดับเซลลจัดเปน anabolism / catabolism


1. แบบใชออกซิเจน (aerobic respiration) คือมี O2 เปนตัวรับ e- ตัวสุดทาย

2. แบบไมใชออกซิเจน (anaerobic respiration) มีสารอื่นที่ไมใช O2 มารับ e- ตัวสุดทาย เชน


การหมัก
จัดทําโดยครูปุมไบโอ 4

ผลิตภัณฑ Glycolysis Acetyl CoA Krebs cycle E


NADH 2 2 6 10
FADH2 - - 2 2
ATP 2 - 2 30+4 38
CO2 - 2 4 -

1. ไกลโคไลซิส

1. กระตุนโดยเอนไซมเติม 2ATP
ทําให Pi ไปจับกับ C

2. เติมหมู Pi เขาไป e- (H)


หลุดออกมา NAD+ มารับ H
กลายเปน NADH

3. สราง ATP โดยเติม ADP จะได 4


ATP
จัดทําโดยครูปุมไบโอ 5  
 
 

2. Acetyl CoA เกิดใน_________________________ เซลลอยูในสภาวะที่มี


ออกซิเจนเพียงพอ
กรดไพรูวิกจะถูกเปลี่ยนเปน
Acetyl CoA
1. เเอ็นไซมกระตุนให CO2
C 2 ตัวเราเรียก
Acetate
หลุดออกไป
2. NAD+ มารับ H+ กลายเปน
NADH
3. Coenzyme A จับ CC
4. Acetyl CoA

3. Krebs cycle
 

1. จาก C6 คือซิตริกซ จะกลายเปน C5


แอลฟา คีโตนกลูทาเรท
(ketoglutarate) จะกลายเปน C4
ซักซิเนต (succinate)

เมื่อเสีย CO2 ไป NAD+ จะมารับ H+


กลายเปน NADH

2. ขั้นตอนที่ 4 CoA ถูกแทนที่ดวยหมู


Pi ทําให ADP+Pi ได ATP
จัดทําโดยครูปุมไบโอ 6

4. กระบวนการถายทอดอิเล็กตรอน (Electron transport chain)

1. Electron transport chain 2. Chemiosmosis

3. Oxidative phosphorylation

กระบวนการทีเ่ ปลี่ยน NADH, FADH มาอยูในรูปพลังงาน ATP

1. Electron transport chain นํา e- ที่อยูใน NADH และ FADH มาสงตอเปนทอดๆ


ตัวถายทอด e- เกือบทั้งหมดเปนโปรตีน ฝงตัวอยูในเยื่อหุม mitochondria ชั้นใน ไดแก
cytochrome ซึ่งมี Fe เปนองคประกอบ จน O2 มารับเปนตัวสุดทาย

2. Chemiosmosis ระหวางการถายทอด e- นําไปใชในการปม H+ จะเขาไปสะสมที่


บริเวณชองวางระหวางเยื่อหุมไมโตคอนเดรีย ทําใหเกิดพลังงานศักยเปนจํานวนมาก เรียกวา
proton motive force เมื่อ H+ ไหลเขามาใน matrix ทางชอง ATP synthase
พรอมกับปลอยพลังงานออกมาจจะทําให ADP + Pi = ATP

3. Oxidative phosphorylation พลังงานที่เกิดขึ้นผานปฏิกิริยารีดอกซ


จัดทําโดยครูปุมไบโอ 7  
 
 
สรุป

กรณี 36 หรือ 38 ATP

38 ATP เนื่องจาก ในการลําเลียงของ NADH จากไกลโคไลซิสเขาสูภายในแมทริกซของ


ไมโทคอนเดรีย ถาเปน ตับ ไต หัวใจ NAD+ จะมารับ e-

36 ATP เนื่องจาก FAD+ มารับ e-


จัดทําโดยครูปุมไบโอ 8

การหายใจแบบไมใชออกซิเจน
จัดทําโดยครูปุมไบโอ 9  
 
 
จัดทําโดยครูปุมไบโอ 10

เอกสารอางอิง

จิรัส เจนพาณิชย. ชีววิทยาสําหรับนักเรียนมัธยมปลาย. พิมพครั้งที่ 14.


บูมคัลเลอรไลน : กรุงเทพฯ. 2554.
ศุภณัฐ ไพโรหสกุล. Essential Biology. พิมพครั้งที่ 5. ธนาเพรส : กรุงเทพฯ.
2555.
อิศนันท วิวัฒนรัตนบุตรและคณะ. หลักชีววิทยา volum 1. แมคกรอ-ฮิล :
กรุงเทพ. 2555.
Campbell and Reece. Biology. 8ed. Pearson Education : America.
2008.

You might also like