You are on page 1of 29

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.

4 1
ข้อสอบเรื่อง ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
1. ถ้ากล่าวว่า “แมลงช้างปีกใสดูดกินเพลี้ยชนิดต่าง ๆ 4. ตาราง สายพันธุ์ของหอยที่พบในป่าชายเลนที่มี
ได้” แมลงช้างปีกใสและเพลี้ยมีความสัมพันธ์กัน ความหนาแน่นของต้นไม้แตกต่างกัน
อย่างไร (O-NET M.3 ก.พ.52) ความหนาแน่นของต้นไม้
สายพันธุ์ของหอยที่พบ
1. ทั้งสองชนิดได้ประโยชน์รว่ มกัน (จำนวนต้นต่อไร่)
2. ทั้งสองชนิดต้องพึ่งพากันและกัน 979 A B C D
3. ชนิดหนึ่งได้ประโยชน์ อีกชนิดหนึ่งเสียประโยชน์ 395 A C
4. ชนิดหนึ่งได้ประโยชน์ อีกชนิดหนึ่งไม่ได้ไม่เสีย 125 A D
ประโยชน์ จากตาราง ถ้าป่ามีความหนาแน่นของต้นไม้ลดลงจะ
ส่งผลกระทบต่อหอยสายพันธุ์ใดเป็นอันดับแรก
(O-NET M.3 ก.พ.53)
2. ให้ศึกษาภาพสายใยอาหารของสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ 1. A 2. B
แล้วตอบคำถาม 3. C 4. D

5. แผนภาพ สายใยอาหารของสิ่งมีชีวิต 4 ชนิด

สิ่งมีชีวิตใดเป็นทั้งเหยื่อและผู้ล่า (O-NET M.3 ก.พ.52)


ถ้าปลามีจำนวนลดลงมาก เหตุการณ์ในข้อใดมีโอกาส
เกิดขึ้นน้อยที่สุด (O-NET M.3 ก.พ.53)
1. จำนวนเหยี่ยวลดลง
2. เหยี่ยวกินกุ้งมากขึ้น
3. กุ้งมีจำนวนเพิ่มขึ้น
4. สาหร่ายมีจำนวนลดลง
3. การศึกษาเต่าญี่ปุ่นในแหล่งน้ำของไทย พบว่า มีการ
กระจายพันธุ์ได้ดี เติบโตเร็ว อดทนสูง และกินไข่ปลา 6. เมื่อพลังงานในสารอาหารถูกถ่ายทอดจากผู้ผลิตไป
และไข่เต่านาซึ่งเป็นสัตว์ประจำถิ่นของไทยเป็นอาหาร ยังผู้บริโภคลำดับต่อไปได้เพียง 10% ถ้าไก่ตัวหนึ่งกิน
จากสิ่งที่ค้นพบ ให้ระบุผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ใน เมล็ดข้าวเปลือกจำนวน 2,500 เมล็ดต่อวัน ปริมาณ
ระบบนิเวศ (O-NET M.3 ก.พ.52) พลังงานที่ไก่ตัวนี้สามารถใช้สร้างเป็นเนื้อเยื่อ เทียบได้
1. ผู้ผลิตมีจำนวนลดลง กับเมล็ดข้าวเปลือกจำนวนเท่าใด
2. ปลาและเต่านามีจำนวนคงเดิม (O-NET M.3 ก.พ.53)
3. ผู้ล่ามีจำนวนเพิ่มขึ้น 1. 25 เมล็ด 2. 250 เมล็ด
4. สัตว์ชนิดอื่นที่กินปลามีจำนวนเพิ่มขึ้น 3. 2,500 เมล็ด 4. 25,000 เมล็ด
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 2
7. กราฟ จำนวนสิ่งมีชีวิต 4 ชนิดในโซ่อาหาร จาก 10. การกระทำใดได้ชื่อว่าเพิ่มรายได้ให้ตนเองโดยยึด
ช่วงเวลา A ถึง F หลักอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (O-NET M.3 ก.พ.54)
1. เก็บกล้วยไม้และเฟินจากป่ามาขายให้คนในเมือง
2. จับม้าน้ำมาตากแห้งขายให้กับร้านขายยาแผนโบราณ
3. เก็บเปลือกหอยและเศษปะการังตามชายหาดมา
ประดิษฐ์เป็นของที่ระลึกขายให้นักท่องเที่ยว
4. เก็บของพลาสติกที่มีคนทิ้งไว้ข้างทางมาสะสมไว้ขาย

11. พิจารณาสายใยอาหารที่กำหนดให้

ถ้าเขียนความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตทั้งสี่ชนิดในรูป
ของโซ่อาหารเป็น ดังนี้
พืช หนอน ไก่ งู
จากกราฟ ช่วงเวลาใดที่มีอาหารของไก่อยู่น้อยที่สุด
(O-NET M.3 ก.พ.53)
1. A ถึง B 2. B ถึง C
3. C ถึง D 4. E ถึง F
แผนภาพทั้ง ก และ ข ประกอบด้วย โซ่อาหารหลาย
8. จากสายใยอาหารต่อไปนี้สิ่งมีชีวิตใดน่าจะเป็น ห่วงโซ่ ข้อใดสรุปถูกต้อง (O-NET M.3 ก.พ. 56)
มนุษย์ (O-NET M.3 ก.พ.54) 1. แผนภาพ ก มีโซ่อาหารเท่ากับ แผนภาพ ข
2. แผนภาพ ก มี โ ซ่ อ าหารน้ อ ยกว่ า แผนภาพ ข
จำนวน 1 โซ่อาหาร
3. แผนภาพ ก มี โ ซ่ อ าหารมากกว่ า แผนภาพ ข
จำนวน 1 โซ่อาหาร
4. แผนภาพ ก มี โ ซ่ อ าหารมากกว่ า แผนภาพ ข
จำนวน 2 โซ่อาหาร
1. C 2. D
3. E 4. F 12. พิจารณาสายใยอาหาร แล้วตอบคำถาม

9. ข้อใดจัดว่ามีรูปแบบของความสัมพันธ์ระหว่าง
สิ่งมีชีวิตแบบเดียวกัน (O-NET M.3 ก.พ.54)
1. ดอกไม้กับแมลง ไลเคน ข้อใดเป็นผู้บริโภคอันดับสองทั้งหมด (O-NET M.3 ก.พ. 59)
2. นกเอี้ยงกับควาย พลูด่างกับต้นไม้ใหญ่ 1. เหยี่ยว กบ นก 2. กระต่าย ตั๊กแตน หนอน
3. เสือกับกวาง เสือกับสิงโตที่ล่าเหยื่อตัวเดียวกัน 3. กระต่าย กบ นก 4. หนอน กบ เหยี่ยว
4. กล้วยไม้กับต้นมะม่วง ปลาฉลามกับเหาฉลาม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 3
13. เฟิร์นเกาะติดต้นไม้ใหญ่ เป็นลักษณะการอยู่ การจัดกลุ่มทรัพยากรธรรมชาติแบบนี้ใช้อะไรเป็น
ร่วมกันที่คล้ายคลึงกับข้อใด (O-NET M.3 ก.พ. 59) เกณฑ์ (O-NET M.3 ก.พ. 59)
1. รากับสาหร่าย 1. ทรัพยากรหมุนเวียน
2. กาฝากเกาะติดต้นไม้ใหญ่ 2. ทรัพยากรสิ้นเปลือง
3. พลูด่างเกาะติดต้นไม้ใหญ่ 3. การใช้แล้วหมดไปหรือทดแทนได้
4. ดอกไม้ทะเลเกาะติดเปลือกหอยที่มีปูเสฉวน 4. การใช้ประโยชน์ของทรัพยากรทั้งสองชนิด

14.พิจารณารูปพีระมิดจำนวนของสิ่งมีชีวิตแล้วตอบคำถาม 17. สนามหญ้ากว้าง 10 เมตร ยาว 20 เมตร มีหญ้า


หลายชนิดรวมทั้งหญ้าแห้วหมู นักเรียน 2 คน ต้องการ
สำรวจประชากรหญ้าแห้วหมูในสนามนี้ จึงใช้กรอบไม้
กว้าง 20 เซนติเมตร ยาว 20 เซนติเมตรเหวี่ยงไปบน
สนามหญ้าแล้วนับจำนวนหญ้าแห้วหมูแต่ละครั้ง
โซ่อาหารในข้อใดเป็นไปตามรูปพีระมิดจำนวนของ
นักเรียนแต่ละคนทำการทดลอง 5 ครั้ง โดยนักเรียนคนที่
สิ่งมีชีวิต (O-NET M.3 ก.พ. 59)
1 ทำการทดลองก่อน นักเรียนคนที่ 2 ได้ผลดังตาราง
1. ผัก หนอน ไก่ คน
จำนวนหญ้าแห้วหมูที่นับได้ (ต้น)
2. หญ้า แมลง นก งู ครั้งที่
นักเรียนคนที่ 1 นักเรียนคนที่ 2
3. ต้นเงาะ แมลง นก เหยี่ยว
1 10 8
4. แพลงก์ตอนพืช แพลงก์ตอนสัตว์ ปลา
2 5 5
คน
3 2 8
15. ตาราง ผลการสำรวจจำนวนไม้ยืนต้นในป่าดิบชื้น 4 4 5
4 บริเวณ 5 4 4
บริเวณป่าดิบชื้น พื้นที่ป่าดิบชื้น (ไร่) จำนวนไม้ยืนต้น ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง (O-NET M.3 ก.พ. 59)
1 120 75 1. นักเรียนคนที่ 1 สำรวจประชากรหญ้าแห้วหมูได้
2 200 90 25,000 ต้น
3 250 150 2. นักเรียนคนที่ 2 สำรวจประชากรหญ้าแห้วหมูได้
4 500 180 50,000 ต้น
บริเวณที่ควรปลูกไม้ยืนต้นเพิ่มเป็นอันดับแรก คือ 3. ค่าเฉลี่ยจำนวนหญ้าแห้วหมูจากการทดลอง 5 ครั้ง
บริเวณใด (O-NET M.3 ก.พ. 59) ของนักเรียนคนที่ 1 ได้เท่ากับ 6 ต้น
1. บริเวณที่ 1 2. บริเวณที่ 2 4. ค่าเฉลี่ยจำนวนหญ้าแห้วหมูจากการทดลอง 5 ครั้ง
3. บริเวณที่ 3 4. บริเวณที่ 4 ของนักเรียนคนที่ 2 ได้เท่ากับ 5 ต้น
16. 5. จำนวนประชากรหญ้าแห้วหมูของนักเรียนคนที่ 1
ได้มากกว่าของคนที่ 2 อยู่ 10,000 ต้น
6. จำนวนประชากรหญ้าแห้วหมูของนักเรียนคนที่ 2
ได้มากกว่าของคนที่ 1 อยู่ 5,000 ต้น
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 4
18. พิจารณาภาพสายใยอาหารต่อไปนี้ แล้วตอบคำถาม 20. พิจารณาแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การ
ถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ
แล้วตอบคำถาม

ความสัมพันธ์ในข้อใดไม่พบในสายใยอาหารข้างต้น
(O-NET M.3 ก.พ. 60)
1. การล่าเหยื่อ
จากแผนภาพ a คืออะไร และ b เป็นสารชนิดใดได้
2. การพึ่งพาอาศัย บ้าง (ตอบเรียงตามลำดับ) (O-NET M.3 ก.พ. 60)
3. การถ่ายทอดพลังงาน
1. O2 และ CO2
4. การกินต่อกันเป็นทอด ๆ
2. O2 และ แร่ธาตุ
3. CO2 และ ความร้อน
19. แผนผังการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศน้ำจืดแห่ง
4. CO2 และ แร่ธาตุ
หนึ่ง ดังนี้
5. ความร้อน และ CO2
6. ความร้อน และ แร่ธาตุ

21. สิ่งมีชีวิตที่อาศัยในบริเวณหนึ่งมีความสัมพันธ์กัน
ดังแผนภาพ

การปล่อยน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมลงสู่แม่น้ำ ทำ
ให้สิ่งมีชีวิตในน้ำตายลงจำนวนมาก จะส่งผลอย่างไร
(O-NET M.3 ก.พ. 60) ปัจจัยใดที่อาจทำให้ประชากรกบในสายใยอาหารนี้
1. เกิดกระบวนการที่ 1 ลดลง มีผลให้ปริมาณ เพิ่มขึ้น (O-NET M.3 ก.พ. 61)
ออกซิเจนในน้ำลดลง 1. อัตราการเกิดของผักบุ้งและหนอนลดลง
2. เกิดกระบวนการที่ 2 ลดลง มีผลให้ปริมาณ 2. อัตราการอพยพออกของนกเหยี่ยวและอัตราการ
ออกซิเจนในน้ำลดลง เกิดของแมวสูงขึ้น
3. เกิดกระบวนการที่ 3 เพิ่มขึ้น มีผลให้ปริมาณ 3. อัตราการเกิดของข้าวลดลงและอัตราการอพยพ
คาร์บอนไดออกไซด์ในน้ำลดลง ออกของตั๊กแตนสูงขึ้น
4. เกิดกระบวนการที่ 4 เพิ่มขึ้น มีผลให้ปริมาณ 4. อัตราการตายของผักบุ้งลดลงและอัตราการอพยพ
คาร์บอนไดออกไซด์ในน้ำลดลง ข้าวของนกอินทรีสูงขึ้น
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 5
22. A B C และ D คือกระบวนการที่เกิดขึ้นในวัฏจักร 24. ชาวบ้านในหมู่บ้านแห่งหนึ่งนิยมใช้ปุ๋ยเคมีและสาร
คาร์บอนของบริเวณหนึ่ง ดังแผนภาพ กำจัดแมลงปริมาณมากในการเพาะปลูกเป็นเวลานาน
ส่งผลให้เกิดการสะสมของสารเคมีและทำให้ดิน
เสื่อมสภาพ แม้ปัจจุบันชาวบ้านจะเลิกใช้สารเคมีและ
ปรับปรุงคุณภาพของดินให้ดีขึ้นแล้ว แต่ยังคงมีสารเคมี
ตกค้างในดินและในระบบนิเวศต่อไป
หากต้องการหลีกเลี่ยงการถ่ายทอดสารเคมีที่ตกค้างใน
ดินสู่สิ่งมีชีวิตอื่น
ชาวบ้านควรเลือกปลูกพืชเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ใน
จากแผนภาพ กระบวนการใดของวัฏจักรคาร์บอนนี้ที่
ด้านใด (O-NET M.3 ก.พ. 62)
ช่วยบรรเทาภาวะเรือนกระจกได้ (O-NET M.3 ก.พ. 61)
1. การปลูกข้าวเพื่อส่งออก
1. กระบวนการ A
2. การปลูกมันเทศเพื่อแปรรูปเป็นอาหารสัตว์
2. กระบวนการ B
3. การปลูกมันสำปะหลังเพื่อผลิตน้ำมันเชื้อเพลิง
3. กระบวนการ C
4. การปลูกข้าวโพดเพื่อผลิตแป้งข้าวโพดสำเร็จรูป
4. กระบวนการ D

25. สิ่งมีชีวิตในไร่ข้าวโพดแห่งหนึ่งมีความสัมพันธ์กัน
23. แผนผังแสดงวัฏจักรของสารเป็นดังนี้
ดังสายใยอาหารต่อไปนี้

จากข้อมูล ข้อความต่อไปนี้ถูกต้องใช่หรือไม่
(O-NET M.3 ก.พ. 62)
ใช่ หรือ
ข้อความ
ไม่ใช่
จากแผนภาพ ข้อใดกล่าวถูกต้อง (O-NET M.3 ก.พ. 62) 25.1 เหยี่ยวจะได้รับการถ่ายทอดพลังงาน
1. ถ้ากระบวนการ B เพิ่มขึ้น สาร A ในบรรยากาศจะ จากข้าวโพดในปริมาณมากกว่านกกินพืช ใช่ / ไม่ใช่
เพิ่มขึ้น และหนู
2. ถ้ากระบวนการ B ลดลง แก๊สออกซิเจนใน 25.2 หากเพลี้ยอ่อนเป็นศัตรูทำลายเกสร
บรรยากาศจะเพิ่มขึ้น เพศผู้และทำให้ต้นข้าวโพดตายในช่วงที่
3. ถ้ากระบวนการ C เพิ่มขึ้น สาร A ในบรรยากาศจะ ใช่ / ไม่ใช่
เพลี้ยอ่อนระบาดเป็นเวลานาน ประชากร
เพิ่มขึ้น ของหนูและนกกินพืชจะลดลงด้วย
4. ถ้ากระบวนการ C ลดลง แก๊สออกซิเจนใน 25.3 เกษตรกรสามารถใช้เหยี่ยวและด้วง
บรรยากาศจะลดลง เต่ากำจัดศัตรูพืชของข้าวโพดตามวิธีการ ใช่ / ไม่ใช่
ทางธรรมชาติ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 6
26. แผนภาพแสดงวัฏจักรของคาร์บอน เป็นดังนี้ 28. วิธีการกำจัดขยะของครัวเรือนในชุมชนหนึ่งมีทั้ง
การทิ้งตามที่สาธารณะ การทิ้งลงแหล่งน้ำ และการฝัง
กลบ ซึ่งต่อมาพบว่า วิธีการเหล่านี้ก่อให้เกิดปัญหา
มลพิษในชุมชนตามมา
ข้อใดไม่ใช่ปัญหามลพิษที่อาจเกิดขึ้นจากวิธีการกำจัด
ขยะของครัวเรือนในชุมชนนี้ (O-NET M.3 ก.พ. 63)
1. ปัญหาโรคทางเดินหายใจจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก
PM 2.5
จากแผนภาพ ข้อใดกล่าวถึงปริมาณแก๊สในบรรยากาศ 2. ปัญหาดินเสื่อมคุณภาพและเกิดการสะสมสารเคมี
ได้ถูกต้อง (O-NET M.3 ก.พ. 63) ในโซ่อาหาร
1. กระบวนการ A ทำให้ปริมาณแก๊ส O2 และ CO2 3. ปัญหาการเน่าเสียของแหล่งน้ำส่งผลให้ปริมาณของ
เพิ่มขึ้น สัตว์น้ำลดลง
2. กระบวนการ A ทำให้ปริมาณแก๊ส O2 เพิ่มขึ้น แต่ 4. ปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนเนื่องจากน้ำไหล
CO2 ลดลง ซึมผ่านกองขยะในที่สาธารณะ
3. กระบวนการ B ทำให้ปริมาณแก๊ส O2 และ CO2 ลดลง
4. กระบวนการ B ทำให้ปริมาณแก๊ส O2 เพิ่มขึ้น แต่ 29. สิ่งมีชีวิตที่อาศัยในระบบนิเวศแห่งหนึ่งมี
CO2 ลดลง ความสัมพันธ์กัน ดังแผนภาพ

27. ข้อมูลอาหารของสัตว์แต่ละชนิดในระบบนิเวศ
แหล่งน้ำแห่งหนึ่ง แสดงดังตาราง
ชนิดของสัตว์ อาหารของสัตว์
A สาหร่าย
B สัตว์ A
C สาหร่าย และ ผักตบชวา
D สัตว์ B และ E
จากแผนภาพ ข้อใดกล่าวถูกต้อง
E สัตว์ C
(O-NET M.3 มี.ค. 64)
จากข้อมูล ข้อใดกล่าวถึงระบบนิเวศนี้ไม่ถูกต้อง
1. ถ้าจำนวนนกอินทรีเพิ่มขึ้น จะทำให้จำนวนของ
(O-NET M.3 ก.พ. 63)
ตั๊กแตนและแมลงปีกแข็งลดลง
1. สายใยอาหารนี้ ประกอบด้วย 3 โซ่อาหาร
2. ถ้ามีการฉีดยาฆ่าแมลงในระบบนิเวศนี้ นกอินทรีจะ
2. ผู้บริโภคลำดับสุดท้ายของสายใยอาหารนี้ คือ สัตว์ D
ได้รับสารพิษสะสมน้อยที่สุด
3. สัตว์ B และ E มีบทบาทเป็นทั้งเหยื่อและผู้ล่าใน
3. ถ้ามีคนจับหนูนาออกจากพื้นที่นี้มากขึ้น งูเป็น
สายใยอาหารนี้
สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวที่จะได้รับผลกระทบ
4. ถ้าอัตราการตายของสาหร่ายเพิ่มขึ้น สัตว์ C จะ
4. ถ้าจำนวนนกกินแมลงและเพิ่มขึ้น เกษตรกรจะมี
ได้รับผลกระทบมากกว่าสัตว์ A
โอกาสได้รับผลผลิตจากต้นข้าวมากขึ้น
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 7
30. นักสำรวจศึกษาพื้นที่ในบริเวณ A และ B พบว่า
ในแต่ละบริเวณมีลักษณะ ดังนี้ ความหลากหลายของ ความหลากหลายของ
บริเวณ A ประกอบด้วยแหล่งน้ำจืด และทุ่ง ระบบนิเวศ ชนิดสิ่งมีชีวิต
หญ้า พบสิ่งมีชีวิต 50 ชนิด รวมจำนวน 400 ตัว 1. บริเวณ A < บริเวณ B บริเวณ A > บริเวณ B
บริเวณ B เป็นพื้นที่ป่าดิบแล้ง พบสิ่งมีชีวิต 2. บริเวณ A > บริเวณ B บริเวณ A < บริเวณ B
100 ชนิด รวมจำนวน 300 ตัว 3. บริเวณ A > บริเวณ B บริเวณ A > บริเวณ B
จากข้อมูล ข้อใดเปรียบเทียบความหลากหลายของ 4. บริเวณ A < บริเวณ B บริเวณ A < บริเวณ B
ระบบนิเวศและชนิดสิ่งมีชีวิต ในบริเวณ A กับ B ได้
ถูกต้อง (O-NET M.3 มี.ค. 64)
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 8
ข้อสอบเรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
1. ส่วนประกอบใดของเซลล์ที่พบทั้งในเซลล์พืชและ 5. ศึกษาเซลล์ของสิ่งมีชีวิต 4 ชนิด ภายใต้กล้อง
เซลล์สัตว์ (O-NET M.3 ก.พ.52) จุลทรรศน์ พบส่วนประกอบของเซลล์ ดังตาราง
1. นิวเคลียส ชนิด ส่วนประกอบของเซลล์
2. ผนังเซลล์ ของ ผนัง เยื่อหุ้ม คลอโร
นิวเคลียส
3. คลอโรฟิลล์ เซลล์ เซลล์ เซลล์ พลาสต์
4. คลอโรพลาสต์ A    
B    
2. ให้พิจารณาลักษณะเซลล์สิ่งมีชีวิต 4 ชนิด แล้วตอบ C    
คำถาม D    
 หมายถึง มีส่วนประกอบ และ
 หมายถึง ไม่มีส่วนประกอบ
หากนำเซลล์ทั้ง 4 ชนิด ไปแช่ในน้ำกลั่น เป็นเวลา 5
เซลล์ใดเป็นเซลล์สัตว์ (O-NET M.3 ก.พ.52) นาที เซลล์คู่ใดมีโอกาสแตกได้ (O-NET M.3 ก.พ. 62)
1. A และ B 1. เซลล์ A และ B 2. เซลล์ B และ C
2. B และ C 3. เซลล์ C และ D 4. เซลล์ D และ A
3. C และ D
4. B และ D 6. นักเรียนนำสไลด์ตัวอย่างที่เก็บในกล่องสไลด์
ตัวอย่างพืช มาศึกษาส่วนประกอบของเซลล์ภายใต้
3. ออร์แกเนลในข้อใดทำหน้าที่ควบคุมปริมาณและชนิด กล้องจุลทรรศน์ แล้วบันทึกผล ดังตาราง
ของสารที่ผ่านเข้าจากเซลล์ (O-NET M.3 ก.พ. 56) สไลด์ ส่วนประกอบของเซลล์
1. ผนังเซลล์ ตัวอย่าง เยื้อ คลอ
2. นิวเคลียส ผนัง แวคิว นิว
หุ้ม โรพ
3. เยื่อหุ้มเซลล์ เซลล์ โอล เคลียส
เซลล์ ลาสต์
4. เยื่อหุ้มนิวเคลียส A ไม่มี มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
B มี มี มี ไม่มี มี
4. เมื่อนำชิ้นส่วนของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งมาศึกษาภายใต้ C ไม่มี มี ไม่มี มี มี
กล้องจุลทรรศน์ พบว่าเซลล์มีส่วนประกอบ ดังนี้ ผนัง D มี มี มี ไม่มี มี
เซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาสซึม คลอโรพลาสต์ และ
สไลด์ตัวอย่างใดเป็นสไลด์ตัวอย่างของเซลล์สัตว์ที่ปน
นิวเคลียส (O-NET M.3 ก.พ. 61)
อยู่ในกล่องนี้ (O-NET M.3 ก.พ. 63)
ชิ้นส่วนที่นำมาศึกษานี้ควรเป็นเซลล์ใด
1. สไลด์ตัวอย่าง A และ B
1. เซลล์ของไฮดรา
2. สไลด์ตัวอย่าง A และ C
2. เซลล์ของอะมีบา
3. สไลด์ตัวอย่าง B และ D
3. เซลล์ของเยื่อบุข้างแก้ม
4. สไลด์ตัวอย่าง C เท่านั้น
4. เซลล์ของสาหร่ายหางกระรอก
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 9
7. นำเซลล์ชนิดเดียวกัน ขนาดเท่ากัน ไปใส่ใน 9. นำน้ำแป้งที่มีความเข้มข้น 20% ใส่ในถุงเซลโลเฟน
สารละลาย A B และ C ที่มีความเข้มข้นแตกต่างกัน โดยทำให้มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 เซนติเมตร
เป็นเวลานานเท่า ๆ กัน ได้ผลดังภาพ จากนั้น นำถุงเซลโลเฟนแช่ในบีกเกอร์ที่บรรจุน้ำกลั่น
ดังภาพ (O-NET M.3 ก.พ. 63)

จงเรียงลำดับความเข้มข้นของสารละลาย A B และ C
เมื่อเวลาผ่านไป 30 นาที พบว่า ถุงเซลโลเฟนมีขนาด
จากความเข้มข้นน้อยที่สุดไปมากที่สุด
เส้นผ่านศูนย์กลางเพิ่มขึ้นเป็น 4 เซนติเมตร
(O-NET M.3 ก.พ. 60)
จากข้อมูล ข้อความต่อไปนี้ถูกต้องใช่หรือไม่
1. A B C
2. A C B ข้อความ ใช่ หรือ ไม่ใช่
3. B A C 9.1 หลังการทดลอง ความเข้มข้นของน้ำ
4. C A B แป้งในถุงเซลโลเฟนจะลดลง เนื่องจาก ใช่ / ไม่ใช่
โมเลกุลของแป้งจะเกิดการแพร่ออกจากถุง
9.2 หากนำตัวอย่างน้ำในบีกเกอร์หลังการท
8. ตัดชิ้นมันฝรั่งเป็นทรงลูกบาศก์ที่มีมวล 5.0 กรัม ดลองมาทดสอบด้วยการหยดสารละลาย
ใช่ / ไม่ใช่
จำนวน 4 ชิ้น แล้วนำแต่ละชิน้ แช่ลงในบีกเกอร์ A B C ไอโอดีน สีของสารละลายจะเปลี่ยนเป็นสี
และ D ที่มีสารละลายน้ำตาลความเข้มข้นแตกต่างกัน น้ำเงินเข้ม
ปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร เป็นเวลา 10 นาที 9.3 หากทำการทดลองอีกครั้งโดยเปลี่ยน
หลังจากนั้นนำชิ้นมันฝรั่งในแต่ละบีกเกอร์ออกมาชั่ง น้ำกลั่นในบีกเกอร์เป็นน้ำแป้งที่มีความ
น้ำหนักแล้วบันทึกผลได้ดังตาราง เข้มข้น 10% เมื่อเวลาผ่านไป 30 นาที ถุง ใช่ / ไม่ใช่
บีกเกอร์ มวลของชิ้นมันฝรั่งหลังการแช่ (กรัม) เซลโลเฟนจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่
A 5.3 ระหว่าง 2 – 4 เซนติเมตร
B 4.5
C 5.1 10. ข้อใดต่อไปนี้เป็นผลจากกระบวนการออสโมซิส
D 4.8 (O-NET M.3 ก.พ. 61)
ข้อใดเปรียบเทียบความเข้มข้นของสารละลายน้ำตาล 1. การเติมน้ำตาลลงไปในนม ทำให้นมมีรสหวาน
ในแต่ละบีกเกอร์ได้ถูกต้อง (O-NET M.3 ก.พ. 62) 2. การแช่ถุงชาในน้ำร้อน ทำให้น้ำเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล
1. สารละลายในบีกเกอร์ A เข้มข้นมากกว่า บีกเกอร์ D 3. การแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนระหว่างหลอดเลือด
2. สารละลายในบีกเกอร์ B เข้มข้นมากกว่า บีกเกอร์ D ฝอยกับอวัยวะ
3. สารละลายในบีกเกอร์ C เข้มข้นน้อยกว่า บีกเกอร์ A 4. การแช่เนื้อเยื่อของเซลล์ผักกาดในสารละลาย
4. สารละลายในบีกเกอร์ D เข้มข้นน้อยกว่า บีกเกอร์ C กลูโคส ทำให้เซลล์เหี่ยว
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 10
11. นักเรียนคนหนึ่งศึกษาโครงสร้างของเซลล์สัตว์ ข้อสรุปใดถูกต้อง (O-NET M.3 มี.ค. 64)
จำนวน 3 เซลล์ ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ เมื่อวัดขนาด 1. เซลล์ที่ 1 หยดด้วยสารละลายเกลือแกงที่มีความ
ของเซลล์ก่อนเริ่มการทดลอง พบว่า ทั้ง 3 เซลล์ มี เข้มข้นมากกว่าภายในเซลล์
ขนาด 50 ตารางไมโครเมตร (µm2) จากนั้นหยด 2. เซลล์ที่ 2 หยดด้วยสารละลายเกลือแกงที่มีความ
สารละลายเกลือแกงที่มีความเข้มข้นแตกต่างกันลงบน เข้มข้นมากที่สุด
เซลล์สัตว์แต่ละเซลล์ บันทึกขนาดของทั้ง 3 เซลล์ เมื่อ 3. เซลล์ที่ 3 หยดด้วยสารละลายเกลือแกงที่มีความ
เวลาผ่านไป 5 นาที ได้ผลดังตาราง เข้มข้นมากกว่าสารละลายที่หยดลงบนเซลล์ที่ 1
เซลล์ที่ ขนาดของเซลล์ (µm2) 4. เซลล์ที่ 3 หยดด้วยสารละลายเกลือแกงที่มีความ
1 5 เข้มข้นน้อยกว่าสารละลายที่หยดลงบนเซลล์ที่ 2
2 32
3 15

@@@@@@@@@@@@@@@@@@
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 11
ข้อสอบเรื่อง พืช
1. ให้ศึกษาข้อมูลจากตารางแล้วตอบคำถาม 3. เมื่อมีการปฏิสนธิในดอกไม้ที่มีโครงสร้างดังภาพ
ตาราง อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงที่อุณหภูมิต่าง ๆ
ของพืช 4 ชนิด (O-NET M.3 ก.พ.52)
อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
ชนิดของพืช (μmol m-2 s-1) ที่อุณหภูมิต่าง ๆ
20°C 35°C ชนิดของผลที่เกิดขึ้นควรเป็นอย่างไร (O-NET M.3 ก.พ.52)
1 10 30 1. 1 ผลมี 1 เมล็ด
2 15 40 2. 1 ผลมีหลายเมล็ด
3 20 50 3. หลายผลอยู่ติดกันแต่ละผลมี 1 เมล็ด
4 50 20 4. หลายผลอยู่ติดกันแต่ละผลมีหลายเมล็ด
ถ้าต้องการปลูกพืชเหล่านี้ในประเทศไทย ควรเลือก
ปลูกพืชชนิดใด เรียงตามลำดับจากมากไปน้อย 4. ข้อใดเรียงลำดับเหตุการณ์ในการสืบพันธุ์แบบอาศัย
1. ชนิดที่ 1 2 3 และ 4 เพศของพืชมีดอกได้ถูกต้อง (O-NET M.3 ก.พ.54)
2. ชนิดที่ 3 1 2 และ 4 1. การงอกหลอดละอองเรณู การปฏิสนธิ
3. ชนิดที่ 3 2 1 และ 4 การถ่ายละอองเรณู การเจริญไปเป็นผล
4. ชนิดที่ 4 3 2 และ 1 2. การปฏิสนธิ การถ่ายละอองเรณู การเจริญไปเป็นผล
การงอกหลอดละอองเรณู
3. การงอกหลอดละอองเรณู การถ่ายละอองเรณู
2. พิจารณาส่วนประกอบต่าง ๆ ของดอกไม้ 4 ชนิด การปฏิสนธิ การเจริญไปเป็นผล
ต่อไปนี้ (O-NET M.3 ก.พ.54) 4. การถ่ายละอองเรณู การงอกหลอดละอองเรณู
ชนิด กลีบ กลีบ เกสร เกสร ริ้ว การปฏิสนธิ การเจริญไปเป็นผล
ของ เลี้ยง ดอก ตัวผู้ ตัว ประดับ
ดอกไม้ เมีย
A   -   5. พิจารณาภาพที่กำหนดให้ แล้วตอบคำถาม
B -    
C     -
D  -   -
ดอกไม้ชนิดใดบ้างเป็นดอกครบส่วน ข้อใดเป็นเนื้อเยื่อลำเลียงและเซลล์ของต้นมะม่วง เรียง
1. A, B, C ตามลำดับ (O-NET M.3 ก.พ. 56)
2. B, C, D 1. ภาพ ก ภาพ ค
3. B, C 2. ภาพ ก ภาพ ง
4. C 3. ภาพ ข ภาพ ค
4. ภาพ ข ภาพ ง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 12
6. พิจารณาข้อมูลที่กำหนดให้ต่อไปนี้ แล้วตอบคำถาม 9. พิจารณาสิ่งมีชีวิตต่อไปนี้ แล้วตอบคำถาม
ก. ดำ นำหน่อกล้วยมาปลูก เฟิร์น หม้อข้าวหม้อแกงลิง
ข. แดง นำไหลบัวมาปลูก บัว ผักกาดขาว
ค. โด่ง นำต้นมะม่วงที่ไม่มีรากแก้วมาปลูก สิ่งมีชีวิตในข้อใดสังเคราะห์ด้วยแสงได้ทั้งหมด
ง. ด่อง นำพริกเม็ดขี้หนูที่เหลือรับประทานแล้วมาปลูก (O-NET M.3 ก.พ. 59)
ข้อใดเป็นการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ 1. เฟิร์น กับ บัว เท่านั้น
(O-NET M.3 ก.พ. 56) 2. บัว กับ ผักกาดขาว เท่านั้น
1. ข้อ ก 3. เฟิร์น บัว และผักกาดขาว เท่านั้น
2. ข้อ ข 4. เฟิร์น บัว ผักกาดขาว และหม้อข้าวหม้อแกงลิง
3. ข้อ ค
4. ข้อ ง
10. พิจารณาวัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน แล้ว
7. ในการลำเลียงน้ำของพืช ข้อใดเรียงลำดับได้ถูกต้อง ตอบคำถาม (O-NET M.3 ก.พ. 59)
(O-NET M.3 ก.พ. 56)
1. น้ำ → ขนราก → โฟลเอ็ม → ใบ → ปากใบ
2. น้ำ → ขนราก → ไซเล็ม → เส้นใบ → ปากใบ
3. น้ำ → เส้นใบ → ไซเล็ม → ปากใบ → ใบ
4. น้ำ → เส้นใบ → โฟลเอ็ม → เส้นใบ → ใบ

8. นายดำนำต้นมะม่วงที่มีรสชาติมันมาขยายพันธุ์ปลูก
ต่อไว้หลายต้น เมื่อได้ผลผลิตจึงนำผลมาต้นละ 1 ผล ก ข ค ง คือกระบวนการใด
แล้วรับประทานพบว่า ข้อ ก ข ค ง
ผลจากต้นที่ 1 มีรสชาติจืด สังเคราะห์
1. หายใจ หายใจ หายใจ
ผลจากต้นที่ 2 มีรสชาติมัน ด้วยแสง
ผลจากต้นที่ 3 มีรสชาติเปรี้ยว สังเคราะห์
2. หายใจ หายใจ หายใจ
นายดำได้สรุปวิธีการปลูกต้นมะม่วงไว้ดังนี้ ด้วยแสง
ก. ต้นที่ 1 ปลูกโดยใช้ต้นที่ได้จากการติดตา สังเคราะห์
3. หายใจ หายใจ หายใจ
ข. ต้นที่ 2 ปลูกโดยใช้ต้นที่ได้จากการทาบกิ่ง ด้วยแสง
ค. ต้นที่ 3 ปลูกโดยใช้ต้นที่ได้จากการเพาะเมล็ด สังเคราะห์
4. หายใจ หายใจ หายใจ
ง. ทั้ง 3 ต้น ปลูกโดยใช้ต้นที่ได้จากการตอน ด้วยแสง
ข้อใดเป็นข้อสรุปที่น่าเชื่อถือ (O-NET M.3 ก.พ. 59)
1. ก และ ข
2. ข และ ค
3. ค และ ง
4. ง และ ก
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 13
11. พิจารณาตารางแสดงปัจจัยการสังเคราะห์ด้วยแสง 13. จัดชุดการทดลองเพื่อศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
ของพืชชนิดเดียวกันมีจำนวนใบเท่ากัน จำนวน 4 ต้น ของพืช ดังภาพ
แล้วตอบคำถาม (O-NET M.3 ก.พ. 60)
ปริมาณน้ำ ปริมาณแก๊ส
พืช ระยะเวลา
ที่ได้รับ คาร์บอนไดออกไซด์ที่
ต้น ที่ได้รับแสง
(ลูกบาศก์ ได้รับ
ที่ (ชั่วโมง)
เซนติเมตร) (ลูกบาศก์เซนติเมตร)
1 0 10 2
2 6 0 3
3 8 0.5 0 ทำการทดลองโดยปรับระยะห่างระหว่างโคมไฟกับ
4 12 0.5 3 หลอดทดลองและความเข้มข้นของสารละลาย
พืชต้นใดสังเคราะห์ด้วยแสงได้ดีที่สุด NaHCO3 ซึ่งเป็นสารที่ปลดปล่อยแก๊ส
1. ต้นที่ 1 คาร์บอนไดออกไซด์ แล้วบันทึกจำนวนฟองแก๊สที่
2. ต้นที่ 2 เกิดขึ้น ได้ผลดังตาราง (O-NET M.3 ก.พ. 61)
3. ต้นที่ 3 ระยะห่าง ความเข้มข้น
4. ต้นที่ 4 ชุด ระหว่างโคม ของสารละลาย จำนวน
การ ไฟกับ NaHCO3 ฟอง
ทดลอง หลอดทดลอง (ร้อยละโดยมวล แก๊ส
12. พิจารณาสมการการสังเคราะห์ด้วยแสง แล้วตอบ (cm) ต่อปริมาตร)
คำถาม 1 20 0.0 5
2 20 0.5 25
น้ำ + แก๊สชนิด A แสง แก๊สชนิด B + 3 40 0.0 3
คลอโรฟีลล์
น้ำตาล + น้ำ 4 40 0.5 17
5 60 0.0 0
ข้อใดกล่าวถึงแก๊สชนิด A และ B ได้ถูกต้อง 6 60 0.5 8
(O-NET M.3 ก.พ. 60) จากผลการทดลอง ข้อสรุปใดถูกต้อง
ข้อ แก๊สชนิด A แก๊สชนิด B 1. จำนวนฟองแก๊สเพิ่มขึ้น เมื่อความเข้มแสงและ
1. ทำให้ไฟติด ทำให้น้ำปูนใสขุ่น ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ลดลง
ได้จากการหายใจของ 2. จำนวนฟองแก๊สเพิ่มขึ้น เมื่อความเข้มแสงและ
2. ทำให้น้ำปูนใสขุ่น
สัตว์ ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น
3. ทำให้น้ำปูนใสขุ่น ใช้ในการหายใจของพืช 3. จำนวนฟองแก๊สเพิ่มขึ้น เมื่อความเข้มแสงเพิ่มขึ้น
ใช้ในการหายใจของ แต่ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ลดลง
4. ทำให้ไฟติด
สัตว์ 4. จำนวนฟองแก๊สเพิ่มขึ้น เมื่อความเข้มแสงลดลงแต่
ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 14
14. ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคายน้ำของพืช โดย ครั้งที่ 1 แล้วพบว่าน้ำสีแดงเคลื่อนที่ขึ้นไปตามลำดับจนมี
จัดชุดการทดลองจำนวน 4 ชุดที่เหมือนกัน ดังภาพ ความสูง 5 เซนติเมตร ใช้เวลาเพียง 4 นาที
ในการทดลองครั้งที่ 2 มีการปรับสภาพแวดล้อม
อย่างไร ที่ทำให้อัตราการคายน้ำเปลี่ยนไปจากการ
ทดลองครั้งที่ 1 (O-NET M.3 ก.พ. 62)
1. ปรับให้ความเข้มแสงและอุณหภูมิลดลง
โดยปัจจัยอื่นคงที่
2. ปรับให้ความชื้นลดลงและอุณหภูมิเพิ่มขึ้น
นำแต่ละชุดการทดลองไปวางไว้ในบริเวณที่มีความชื้น
โดยปัจจัยอื่นคงที่
สัมพัทธ์ และอุณหภูมิต่างกันดังตาราง สังเกตระดับน้ำ
3. ปรับให้ความชื้นเพิ่มขึ้นและอุณหภูมิลดลง
ในหลอดทดลองเมื่อเวลาผ่านไป 24 ชั่วโมง
โดยปัจจัยอื่นคงที่
บริเวณ ความชื้นสัมพัทธ์ (%) อุณหภูมิ (oC)
4. ปรับให้ความเข้มแสงและความเร็วลมลดลง
A 60 34
โดยปัจจัยอื่นคงที่
B 20 36
C 80 34
17. นักเรียน 3 คน ได้รับมอบหมายให้ขยายพันธุ์พืชคนละ
D 80 33 1 วิธี จากต้นแม่พันธุ์ที่ให้ผลผลิตมาก ผลมีเนื้อหนา เมล็ด
เมื่อทำการทดลองครบ 24 ชั่วโมง ข้อใดเรียงลำดับการ เล็ก ซึ่งเมื่อขยายพันธุ์พืชแล้ว นักเรียนแต่ละคนได้พืชที่มี
คายน้ำในชุดการทดลองทั้ง 4 บริเวณ จากมากไปน้อย จำนวนและลักษณะพืช ดังนี้ (O-NET M.3 ก.พ. 62)
ได้ถูกต้อง (O-NET M.3 ก.พ. 61) นักเรียน จำนวนพืชที่ได้หลัง
1. B A C D 2. B A D C ลักษณะพืชที่ได้
คนที่ การขยายพันธุ์ (ต้น)
3. D C A B 4. C D A B
ทุกต้นให้ผลผลิตมาก ผล
1 5
มีเนื้อหนา เมล็ดเล็ก
15. ข้อความใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการตอบสนองต่อ
ทุกต้นให้ผลผลิตมาก ผล
สิ่งเร้าของพืช (O-NET M.3 ก.พ. 61) 2 150
มีเนื้อหนา เมล็ดเล็ก
1. การตอบสนองจะเกิดขึ้นอย่างช้า ๆ เสมอ
บางต้นให้ผลผลิตมาก
2. การบานของดอกบัวไม่เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ผลมีเนื้อหนา เมล็ดเล็ก
3. การตอบสนองของพืชบางครั้งอาจไม่เกี่ยวข้องกับ 3 10
บางต้นให้ผลผลิตน้อย
การเจริญเติบโต
ผลมีเนื้อบาง เมล็ดใหญ่
4. กลไกการตอบสนองจะต้องเกิดจากการเพิ่มจำนวน
จากสถานการณ์ ข้อใดอาจเป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่
ของเซลล์เสมอ
นักเรียนคนที่ 1 คนที่ 2 และคนที่ 3 เลือกใช้ตามลำดับ
1. การตอนกิ่ง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การเพาะเมล็ด
16. ศึกษาการลำเลียงน้ำของพืช โดยการทดลองครั้งที่ 1
2. การตอนกิ่ง การเพาะเมล็ด การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
นำต้นกระสังที่มีรากติดอยู่แช่ในน้ำสีแดงแล้วจับเวลาที่น้ำ
3. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การเพาะเมล็ด การตอนกิ่ง
สีแดงเคลื่อนที่ขึ้นไปตามลำต้นจนมีความสูง 5 เซนติเมตร
4. การเพาะเมล็ด การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การตอนกิ่ง
พบว่าใช้เวลา 7 นาที จากนั้น ทำการทดลองซ้ำครั้งที่ 2
โดยมีการปรับสภาพแวดล้อมให้ต่างไปจากการทดลอง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 15
18. ทดลองเพาะเมล็ดพืชชนิดหนึ่งที่มีอายุ น้ำหนัก 1. เพิ่มปริมาณน้ำในบีกเกอร์ แล้วเปรียบเทียบจำนวน
และขนาดเท่ากัน ไว้ในสภาพแวดล้อมเหมือนกัน แต่ใช้ ฟองแก๊สออกซิเจนที่เกิดขึ้น
สำลีห่อหุ้มเมล็ดแตกต่างกัน โดยชุดการทดลองที่ 1 ใช้ 2. เพิ่มความสว่างของหลอดไฟ แล้วเปรียบเทียบ
สำลีแห้ง ส่วนชุดการทดลองที่ 2 ใช้สำลีชุ่มน้ำ ดังภาพ จำนวนฟองแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้น
3. เพิ่มจำนวนของพืชน้ำที่ใช้ แล้วเปรียบเทียบจำนวน
ฟองแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้น
4. เพิ่มระยะห่างระหว่างบีกเกอร์กับหลอดไฟ แล้ว
ภาพใดแสดงการเปลี่ยนแปลงของเมล็ด หลังจากผ่าน เปรียบเทียบจำนวนฟองแก๊สออกซิเจนที่เกิดขึ้น
ไป 7 วัน ได้ถูกต้องที่สุด (O-NET M.3 ก.พ. 62)

20. นำพืชต้นหนึ่งที่มีใบสีเขียวมาศึกษาตามขั้นตอน
ต่อไปนี้ (O-NET M.3 ก.พ. 62)
ขั้นตอนที่ 1 วางต้นพืชไว้ในห้องมืดเป็นเวลา 2 วัน
ขั้นตอนที่ 2 เมื่อครบ 2 วัน คลุมใบพืชที่มีขนาดเท่ากัน
จำนวน 2 ใบ ด้วยกระดาษต่างชนิดกัน ดังนี้
ใบที่ 1 คลุมด้วยกระดาษทึบแสงสีดำ
ใบที่ 2 คลุมด้วยกระดาษโปร่งแสง
จากนั้น นำต้นพืชนี้ไปวางไว้กลางแดดเป็นเวลา 3 ชั่วโมง
ขั้นตอนที่ 3 นำใบพืชทั้งสองใบมาดำเนินการตาม
ขั้นตอนทดสอบแป้ง ด้วยสารละลายไอโอดีน
19. จัดชุดการทดลองเพื่อศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง จากข้อมูล ข้อความต่อไปนี้ถูกต้องใช่หรือไม่
ของพืช โดยนำพืชใส่ไว้ในกรวยแก้วแล้วคว่ำลงในบีก ใช่ หรือ
เกอร์ แล้วนำหลอดทดลองที่มีน้ำเต็มหลอดครอบกรวย ข้อความ
ไม่ใช่
แก้วไว้ จากนั้นใช้โคมไฟส่องไปยังชุดการทดลองเป็น 20.1 พบการเปลี่ยนสีของสารละลาย ใช่ /
เวลา 20 นาที พบว่ามีฟองแก๊สเกิดขึ้นภายในหลอด ไอโอดีน ในพืชใบที่ 2 เท่านั้น ไม่ใช่
ทดลองที่มีน้ำเต็ม ดังภาพ 20.2 จากการศึกษาสามารถทดสอบได้ว่า
ใช่ /
แสงเป็นปัจจัยที่ทำให้พืชสามารถสร้าง
ไม่ใช่
อาหารเองได้
20.3 ถ้าไม่ได้ทำการทดลองในขั้นตอนที่
ใช่ /
1 ผลการทดสอบแป้งของใบพืชทั้งสองใบ
ไม่ใช่
จะยังคงเหมือนเดิม
หากต้องการศึกษาเพิ่มเติมว่า “ความเข้มแสงส่งผลต่อ
อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชหรือไม่” ควร
ปรับปรุงชุดการทดลองและเปรียบเทียบผลการทดลอง
นี้อย่างไร (O-NET M.3 ก.พ. 63)
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 16
21. จัดชุดการทดลอง 2 ชุดเพื่อศึกษาการลำเลียงน้ำ 22. ภาพแสดงผลของพืชชนิดหนึ่ง เป็นดังนี้
ของพืช โดยนำพืชชนิดหนึ่งที่มีขนาด อายุ และจำนวน
ใบเท่ากัน แช่ในกระบอกตวงที่มีน้ำปริมาตร 30
ลูกบาศก์เซนติเมตร และเติมน้ำมันพืชปริมาตร 3
ลูกบาศก์เซนติเมตร ลงในแต่ละชุดการทดลองเพื่อ
ป้องกันไม่ให้มีการระเหยที่ผิวน้ำ ดังภาพ จากภาพ ข้อใดถูกต้อง (O-NET M.3 ก.พ. 63)
1. ส่วน A เจริญมาจากรังไข่
2. ส่วน A มีเอ็มบริโออยู่ภายใน
3. ผลของพืชชนิดนี้เจริญมาจากออวุล
4. พืชต้นใหม่ที่เจริญจากส่วน A จะมีพันธุกรรม
เหมือนเดิมเสมอ

แล้วนำชุดการทดลองที่ 1 และ 2 ไปวางไว้ในบริเวณ A 23. ต้นกาบหอยแครงเป็นพืชที่สามารถดักจับกินแมลง


และ B ที่มีความชื้นสัมพัทธ์และอุณหภูมิต่างกัน โดยมี โดยใบมีลักษณะเป็นแผ่นสองแผ่นคู่กัน เมื่อแมลงบิน
ปัจจัยภายนอกอื่น ๆ เหมือนกัน เมื่อเวลาผ่านไป 24 เข้ามาชน แผ่นใบจะประกบเข้าหากันเพื่อไม่ให้แมลง
ชั่วโมง สังเกตระดับน้ำในกระบอกตวง แล้วบันทึก หลุดออกไปได้ การตอบสนองของพืชในข้อใด มีสิ่งเร้า
ปริมาตรน้ำหลังการทดลอง ได้ผลดังตาราง แบบเดียวกับต้นกาบหอยแครง (O-NET M.3 ก.พ. 63)
1. การเลื้อยพันหลักของตำลึง
ปริมาตรน้ำหลังการ
ชุดการทดลอง บริเวณ 2. การผลิใบของต้นไม้เมื่อเข้าสู่ฤดูฝน
ทดลอง (cm3)
3. การหุบของใบมะขามในตอนกลางคืน
1 A 20
4. การบานของดอกคุณนายตื่นสายในตอนเช้า
2 B 25

บริเวณใดที่ทำให้พืชมีการลำเลียงน้ำมายังปากใบได้ 24. ต้นพืชชนิดหนึ่งพบดอก 2 ลักษณะ อยู่บนต้น


ดีกว่า เพราะเหตุใด (O-NET M.3 ก.พ. 63) เดียวกัน ดังภาพ
1. บริเวณ A เพราะมีความชื้นสัมพัทธ์สูงและมี
อุณหภูมิต่ำ
2. บริเวณ A เพราะมีความชื้นสัมพัทธ์ต่ำและมี
อุณหภูมิสูง
3. บริเวณ B เพราะมีความชื้นสัมพัทธ์ต่ำและมี
อุณหภูมิสูง
4. บริเวณ B เพราะมีความชื้นสัมพัทธ์สูงและมี ข้อใดกล่าวถูกต้อง (O-NET M.3 มี.ค. 64)
อุณหภูมิต่ำ 1. ดอกที่ 1 เป็นดอกที่สามารถให้เมล็ดได้
2. ดอกที่ 1 เป็นโครงสร้างที่สามารถพบการปฏิสนธิได้
3. ดอกที่ 2 เป็นดอกที่สามารถพัฒนาไปเป็นผลได้
4. ดอกที่ 2 เป็นดอกที่สามารถสร้างและถ่ายเรญได้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 17
25. นักเรียนทำการทดลองเพื่อศึกษาปัจจัยใน จากนั้นนําต้นพืชนี้ไปวางไว้กลางแดด เป็นเวลา 5
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชชนิดหนึ่ง ซึง่ ชั่วโมง แล้วนำใบพืชจากทั้ง 4 ชุดการทดลองมา
เป็นพืชกลางแจ้งและทนร้อน โดยก่อนการทดลอง นำ ทดสอบด้วยสารละลายไอโอดีน
ต้นพืชไว้ในที่มืดเป็นเวลา 2 วัน จากนั้นจัดชุดการ หากต้องการศึกษาผลของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่มี
ทดลองที่แตกต่างกัน ดังนี้ ต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง ควรเลือกเปรียบเทียบใบพืช
ใบที่ 1 คลุมด้วยถุงพลาสติกโปร่งแสง คู่ใด (O-NET M.3 มี.ค. 64)
ใบที่ 2 คลุมด้วยถุงพลาสติกทึบแสง 1. ใบที่ 1 และ 2
ใบที่ 3 คลุมด้วยถุงพลาสติกโปร่งแสง ที่มีถ้วยใส่ 2. ใบที่ 1 และ 3
โซดาไฟ 3. ใบที่ 2 และ 3
ใบที่ 4 คลุมด้วยถุงพลาสติกทึบแสง ที่มีถ้วยใส่โซดาไฟ 4. ใบที่ 3 และ 4

@@@@@@@@@@@@@@@@@@
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 18
ข้อสอบเรื่อง สัตว์
1. ข้อใดอธิบายกรรมวิธีของแต่ละเทคโนโลยีชีวภาพไม่ 3. ทำการทดลองเพื่อสังเกตพฤติกรรมของหนู โดยวาง
ถูกต้อง (O-NET M.3 ก.พ. 60) อาหารไว้ที่ปลายของช่องทางเดินที่ซับซ้อน จากนั้นนำ
1. พันธุวิศวกรรม - การนำเอายีนเรืองแสงของ หนูทดลองที่งดอาหารและน้ำเป็นเวลา 12 ชั่วโมง มา
แบคทีเรียใส่ให้กับเซลล์ของหนู วางที่จุดเริ่มต้นของช่องทางเดินหนูจะเดินตามกลิ่นของ
2. การผสมเทียม - การผสมพันธุ์ปลาทับทิมโดยไม่ต้อง อาหาร แล้วจับเวลาที่หนูเดินจากจุดเริ่มต้นไปจนถึง
อาศัยการปฏิสนธิตามธรรมชาติ อาหาร
3. การโคลน – การนำนิวเคลียสของเซลล์ไข่ของสุนัข เมื่อทดลองซ้ำภายใต้เงื่อนไขเดิมทั้งหมด 3 ครั้ง พบว่า
พันธุ์หนึ่งมาเลี้ยงให้แบ่งเซลล์เพิ่มมากขึ้น การทดลองแต่ละครั้ง หนูจะใช้เวลาในการเดินจาก
4. การถ่ายฝากตัวอ่อน - การนำตัวอ่อนของวัวที่เกิด จุดเริ่มต้นไปถึงจุดสิ้นสุดน้อยลง
จากแม่พันธุ์ตัวหนึ่ง ไปใส่ในมดลูกของแม่พันธุ์อีกตัว การที่หนูใช้เวลาเดินน้อยลงเป็นผลมาจากพฤติกรรม
หนึ่งเพื่อให้อุ้มท้อง แบบใด และถูกกระตุ้นโดยสิ่งเร้าชนิดใด
(O-NET M.3 ก.พ. 63)
1. พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด ซึ่งถูกกระตุ้นโดยสิ่งเร้า
2. ทดลองเลี้ยงกระรอกในกรงที่มีสภาพแวดล้อม ภายนอกเท่านั้น
คล้ายคลึงกับธรรมชาติ แล้วติดตามพฤติกรรมการ 2. พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด ซึ่งถูกกระตุ้นโดยสิ่งเร้า
ตอบสนองของกระรอกจาก 2 สถานการณ์ ต่อไปนี้ ภายนอกและภายใน
สถานการณ์ที่ 1 ผู้เลี้ยงดีดนิ้วทุกครั้งเมื่อถึงเวลาให้ 3. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ ซึ่งถูกกระตุ้นโดยสิ่ง
อาหาร เมื่อทำซ้ำ ๆ พบว่า กระรอกจะเข้ามาหาทุกครั้ง เราภายนอกเท่านั้น
ที่มีการดีดนิ้ว แม้จะไม่ได้ให้อาหาร 4. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ ซึ่งถูกกระตุ้นโดยสิ่ง
สถานการณ์ที่ 2 กระรอกนำวัสดุจำพวกกิ่งไม้ ใบไม้ที่ เราภายนอกและภายใน
มีอยู่ในกรง เพื่อนำมาใช้สร้างเป็นรังเองได้
พฤติกรรมการตอบสนองของกระรอกในสถานการณ์ที่
1 และ 2 เป็นแบบใด ตามลำดับ
(O-NET M.3 ก.พ. 62)
1. พฤติกรรมที่มาแต่กำเนิดทั้งคู่
2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ทั้งคู่
3. พฤติกรรมที่มาแต่กำเนิด และ พฤติกรรมที่เกิดจาก
การเรียนรู้
4. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ และ พฤติกรรมที่มา
แต่กำเนิด

@@@@@@@@@@@@@@@@@@
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 19
ข้อสอบเรื่อง ร่างกายมนุษย์
1. ถ้าในเลือดมีปริมาณ CO2 มาก และมีปริมาณ O2 4. เด็กหญิงเดือน เจ็บป่วยง่าย มีภูมิคุ้มกันโรคต่ำ ข้อ
น้อย จะทำให้เกิดอาการใด (O-NET M.3 ก.พ.53) ใดอธิบายเกี่ยวกับเลือดของเด็กหญิงเดือนได้ถูกต้อง
1. ไอ (O-NET M.3 ก.พ. 60)
2. หาว 1. เม็ดเลือดขาวต่ำกว่าปกติ
3. จาม 2. เม็ดเลือดขาวสูงกว่าปกติ
4. สะอึก 3. เกล็ดเลือดต่ำกว่าปกติ
4. เกล็ดเลือดสูงกว่าปกติ
2. เด็กชายดำวิ่งออกกำลังกายจนเหงื่อไหล และชีพจร
เต้นเร็ว จึงหยุดออกกำลังกายเพื่อนั่งพักดื่มน้ำ แต่
เผลอไปถูกกาน้ำร้อน จึงชักมือกลับทันที หลังจากหาย 5. ผู้ป่วยโรคไตจะมีการทำงานของไตผิดปกติ ทำให้
เหนื่อยจึงรับประทานอาหารและนั่งเคี้ยวนานจนรู้สึก ร่างกายไม่สามารถขับของเสีย และปรับสมดุลของน้ำ
ว่าข้าวมีรสหวาน พฤติกรรมที่ขีดเส้นใต้ เกี่ยวข้องกับ กับแร่ธาตุได้ วิธีหนึ่งในการรักษาผู้ป่วยโรคไต คือ การ
การทำงานของระบบอวัยวะใด เรียงตามลำดับ ฟอกเลือดโดยใช้เครื่องไตเทียม ซึ่งใช้หลักการแพร่ของ
(O-NET M.3 ก.พ. 56) สารผ่านเยื่อเลือกผ่านในการกำจัดของเสียเหมือนกับ
1. ขับถ่าย ประสาท เคลื่อนไหว ย่อยอาหาร ท่อของหน่วยไตเป็นดังภาพ
2. ขับถ่าย หมุนเวียนเลือด ประสาท ย่อยอาหาร
3. ผิวหนัง ขับถ่าย กล้ามเนื้อ เคลื่อนไหว
4. ผิวหนัง หมุนเวียนเลือด กล้ามเนื้อ เคลื่อนไหว

3. นักเรียนคนหนึ่งกำลังเคี้ยวอาหาร (1) เอื้อมมือไป


ตักแกงจืดพลาดไปสัมผัสกับแกงจืดที่ร้อนจึงชักมือกลับ
จากข้อมูลข้อความต่อไปนี้ถูกต้องใช่หรือไม่
ทันที (2) ด้วยความตกใจทำให้หัวใจเต้นแรง (3)
(O-NET M.3 ก.พ. 61)
พฤติกรรมของนักเรียนคนนี้ เฉพาะคำที่ขีดเส้นใต้
ใช่ หรือ
สัมพันธ์กับระบบใด เรียงตามลำดับ ข้อความ
ไม่ใช่
(O-NET M.3 ก.พ. 59)
5.1 ความเข้มข้นของของเสียในเลือดที่จะ
ข้อ พฤติกรรม (1) พฤติกรรม (2) พฤติกรรม (3) ใช่ /
นำมาฟอกจะต้องน้อยกว่าในเครื่องไตเทียม
หมุนเวียน ไม่ใช่
1. ย่อยอาหาร ประสาท จึงจะสามารถกำจัดสารนั้นออกจากเลือดได้
เลือด
5.2 เลือดบริเวณ A มีปริมาณยูเรียสูงกว่า ใช่ /
2. ย่อยอาหาร กล้ามเนื้อ หายใจ
เลือดบริเวณ B ไม่ใช่
3. โครงกระดูก ประสาท หายใจ
5.3 ผู้ป่วยโรคไตควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีแร่ ใช่ /
หมุนเวียน
4. ประสาท กล้ามเนื้อ ธาตุสูง ไม่ใช่
เลือด
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 20
6. พิจารณาภาพทางเดินอาหารของมนุษย์ แล้วตอบคำถาม 8. ภาพแสดงแบบจำลองหัวใจของดังนี้

การย่อยแป้งด้วยเอนไซม์อะไมเลสแล้วได้น้ำตาล แทน ทิศทางการไหลของเลือดที่มีปริมาณ


กลูโคส เกิดขึ้นที่ส่วนใดของทางเดินอาหาร ออกซิเจนต่ำ
(O-NET M.3 ก.พ. 60) แทน ทิศทางการไหลของเลือดที่มีปริมาณ
1. ก และ ข 2. ก และ ง ออกซิเจนสูง
3. ข และ ค 4. ค และ ง ข้อความใดอธิบายการหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ได้
ถูกต้อง (O-NET M.3 มี.ค. 64)
7. นักเรียนกลุ่มหนึ่งได้ค้นคว้าบทความเกี่ยวกับการศึกษา 1. เลือดที่เข้าสู่หัวใจห้อง D มีปริมาณแก๊ส
ผลกระทบของฝุ่นละออง PM 2.5 ในหนูทดลอง พบว่าฝุ่น คาร์บอนไดออกไซด์น้อยกว่าเลือดที่เข้าสู่หัวใจห้อง A
ละออง PM 2.5 ส่งผลให้ถุงลมปอดบางส่วนของหนูทดลอง 2. หัวใจห้อง B รับเลือดที่มีปริมาณแก๊ส
ถูกทำลายและหนูทดลองจะมีจำนวนเม็ดเลือดขาวที่ปอด คาร์บอนไดออกไซด์สูงที่มาจากอวัยวะต่าง ๆ ของ
ลดลง จำนวนแบคทีเรียที่ปอดจึงเพิ่มขึ้น ร่างกาย
นักเรียนแต่ละคนจึงวิเคราะห์และอภิปรายผลกระทบ 3. หัวใจห้อง C บีบตัวเพื่อสูบฉีดเลือดที่มีแก๊ส
ของฝุ่นละออง PM 2.5 ในหนูทดลอง เพื่อเปรียบเทียบ คาร์บอนไดออกไซด์สูงไปที่ปอดเพื่อแลกเปลี่ยนแก๊ส
กับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อร่างกายมนุษย์ ดังนี้ 4. เลือดที่ไหลผ่านหลอดเลือด E มีปริมาณแก๊ส
นักเรียน ก “ฝุ่นละออง PM 2.5 ทำให้เป็นภูมิแพ้ คาร์บอนไดออกไซด์น้อยกว่าเลือดที่ไหลผ่านหลอด
เพราะจำนวนเม็ดเลือดขาวในหลอดเลือดที่ปอดลดลง” เลือด F
นักเรียน ข “ฝุ่นละออง PM 2.5 ทำให้การแลกเปลี่ยน
แก๊สที่ปอดน้อยลง เพราะถุงลมปอดถูกทำลาย” 9. คำอธิบายเกี่ยวกับระบบต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์
นักเรียน ค “ฝุ่นละออง PM 2.5 ทำให้หัวใจต้อง ในข้อใดถูกต้อง (O-NET M.3 ก.พ. 62)
ทำงานหนักขึ้นเพื่อสูบฉีดเลือดไปยังอวัยวะต่าง ๆ มาก 1. ถ้าไตทำงานบกพร่อง จะไม่พบโปรตีน และกลูโคส
ขึ้น เพราะถุงลมปอดถูกทำลาย” ในปัสสาวะ
จากข้อมูล นักเรียนคนใดเสนอผลกระทบของฝุ่น 2. คาร์โบไฮเดรตจะถูกย่อยที่บริเวณปาก กระเพาะ
ละออง PM 2.5 ที่อาจเกิดขึ้นต่อร่างกายมนุษย์ได้ อาหาร และลำไส้เล็ก
ถูกต้อง (O-NET M.3 ก.พ. 63) 3. เลือดที่มีออกซิเจนต่ำออกจากหัวใจเข้าสู่ปอดทาง
1. นักเรียน ก เท่านั้น 2. นักเรียน ข เท่านั้น หลอดเลือดอาร์เทอรี
3. นักเรียน ก และ ค 4. นักเรียน ข และ ค 4. โรคถุงลมโป่งพองทำให้ปอดมีพื้นที่ผิวเพิ่มขึ้น สาร
จากควันบุหรี่จึงแพร่สู่เลือดมากขึ้น
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 21
10. เด็กคนหนึ่งถูกเข็มทิมที่ปลายนิ้วโป้ง เขาจึงกระตุก 12. ผู้หญิงคนหนึ่งมีประจำเดือนสม่ำเสมอทุก 28 วัน
มือหนีเข็มทันที ซึ่งเป็นการทำงานของวงจรประสาทใน โดยการเปลี่ยนแปลงของระดับปริมาณฮอร์โมน
ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ ดังภาพ เพศหญิงในกระแสเลือดในแต่ละรอบเดือนของผู้หญิง
คนนี้ เป็นดังกราฟ

ข้อใดกล่าวถึงการทำงานของวงจรประสาทในปฏิกิริยา
รีเฟล็กซ์ได้ถูกต้อง (O-NET M.3 มี.ค. 64) กำหนดให้ ช่วงวันที่ 0 - 5 เป็นช่วงที่ผู้หญิงคนนี้มี
1. A คือ เซลล์ประสาทสั่งการ ทำหน้าที่ส่งสัญญาณที่ ประจำเดือน (O-NET M.3 มี.ค. 64)
ได้รับไปยังนิ้วโป้ง จากข้อมูล ข้อใดกล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงภายใน
2. B คือ เส้นประสาทรอบนอก ทำหน้าที่กระตุ้นให้ ร่างกายของผู้หญิงคนนี้ได้ถูกต้อง
รู้สึกเจ็บบริเวณนิ้วโป้ง 1. ช่วงวันที่ 0 - 5 ผนังมดลูกจะหนาตัวขึ้นเพื่อรองรับ
3. C คือ เส้นประสาทสั่งการ ทำหน้าที่รับสัญญาณจาก การฝังตัวของเอ็มบริโอ
B เพื่อส่งไปยังกล้ามเนื้อแขน 2. ช่วงวันที่ 14 - 15 ไข่จะเคลื่อนที่ออกจากรังไข่เข้าสู่
4. D คือ เส้นประสาทประสานงาน ทำหน้าที่ส่งกระแส ท่อนำไข่
ประสาทไปยังกล้ามเนื้อแขน 3. ช่วงวันที่ 15 - 20 ผนังมดลูกที่หนาจะมีการหลุด
ลอกออกมาเมื่อมีการปฏิสนธิ
11. การสับหรือบดอาหารให้มีขนาดเล็กจะมีผลต่อการ 4. ช่วงวันที่ 25 - 28 ระดับฮอร์โมนเพศหญิงจะลดลง
ย่อยอย่างไร (O-NET M.3 ก.พ.53) เนื่องจากได้รับการปฏิสนธิ
1. กลืนง่ายและดูดซึมง่าย
2. ชิ้นอาหารมีขนาดเล็ก ดูดซึมง่าย
3. อาหารซึมผ่านผนังลำไส้เล็กได้ง่าย
4. อาหารมีพื้นที่ผิวสัมผัสกับน้ำย่อยได้มาก

@@@@@@@@@@@@@@@@@
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 22
ข้อสอบเรื่อง อาหารและสารอาหาร
1. จากตารางแสดงปริมาณพลังงานที่ควรได้รับในแต่ 2. พิจารณาตารางแสดงปริมาณพลังงานที่ควรได้รับใน
ละวันสำหรับคนไทยในวัยต่าง ๆ ต่อไปนี้ แต่ละวันสำหรับคนไทยในวัยต่าง ๆ ต่อไปนี้

พลังงาน (กิโลแคลอรี) พลังงาน (กิโลแคลอรี)


สถานภาพ อายุ (ปี) สถานภาพ อายุ (ปี)
ชาย หญิง ชาย หญิง
ทารก 0 - 5 เดือน ควรได้รับพลังงานจากน้ำนมแม่ ทารก 0 - 5 เดือน ควรได้รับพลังงานจากน้ำนมแม่
6-11 เดือน 800 6-11 เดือน 800
เด็ก 1- 3 ปี 1,000 เด็ก 1- 3 ปี 1,000
4-5 ปี 1,300 4-5 ปี 1,300
6 - 8 ปี 1,400 6 - 8 ปี 1,400
วัยรุ่น 9-12 ปี 1,700 1,600 วัยรุ่น 9-12 ปี 1,700 1,600
13 - 15 ปี 2,100 1,800 13 - 15 ปี 2,100 1,800
16-18 ปี 2,300 1,850 16-18 ปี 2,300 1,850
วัยผู้ใหญ่ 19 - 30 ปี 2,150 1,750 วัยผู้ใหญ่ 19 - 30 ปี 2,150 1,750
31 -50 ปี 2,100 1,750 31 -50 ปี 2,100 1,750
51 - 70 ปี 2,100 1,750 51 - 70 ปี 2,100 1,750
71 ปีขึ้นไป 1,750 1,550 71 ปีขึ้นไป 1,750 1,550
ตั้งครรภ์ 3 เดือนแรก +0 ตั้งครรภ์ 3 เดือนแรก +0
เดือนที่ 4 - 9 +300 เดือนที่ 4 - 9 +300
ให้นมบุตร +500 ให้นมบุตร +500

ที่มา : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2546 ที่มา : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2546
พิจารณาบุคคล 4 คนต่อไปนี้ จากตาราง บุคคลใดต่อไปนี้ได้รับพลังงานเพียงพอและ
เหมาะสม (O-NET M.3 ก.พ.54)
บุคคลที่ 1 : หญิงอายุ 18 ปีที่กำลังเลี้ยงลูกโดยให้กินนมแม่
บุคคลที่ 2 : หญิงอายุ 28 ปีที่กำลังตั้งครรภ์ได้ 5 เดือน 1. เด็กชายอายุ 7 ขวบได้รับพลังงานวันละ 1,300
บุคคลที่ 3 : ชายหนุ่มอายุ 30 ปี กิโลแคลอรี
บุคคลที่ 4 : วัยรุ่นชายอายุ 17 ปี 2. วัยรุ่นชายอายุ 18 ปีได้รับพลังงานวันละ 2,300
กิโลแคลอรี
จากตารางข้างต้น จงเรียงลำดับบุคคลจากผู้ที่ต้องการ
3. คุณยายอายุ 70 ปีได้รับพลังงานวันละ 2,100
พลังงานในแต่ละวันมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด
กิโลแคลอรี
(O-NET M.3 ก.พ.54)
4. หญิงอายุ 25 ปีตั้งครรภ์ได้ 4 เดือนได้รับพลังงานวัน
1. บุคคลที่ 1, 4, 3, 2
ละ 1,950 กิโลแคลอรี
2. บุคคลที่ 2, 1, 4, 3
3. บุคคลที่ 1, 2, 3, 4
4. บุคคลที่ 4, 1, 2, 3
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 23
3. การรับประทานผักดิบกับน้ำพริก เมื่อเทียบกับการ 5. นำอาหารเหลวชนิดหนึ่งมาทดสอบหาสารอาหาร
รับประทานผักชนิดเดียวกันที่ผ่านการต้มเป็นระยะ ได้ผลดังตาราง
เวลานาน ผักทั้งสองแบบมีปริมาณวิตามินชนิดใด ตาราง ผลการทดสอบสารอาหารโดยใช้สารละลาย
แตกต่างกันมากที่สุด (O-NET M.3 ก.พ.53) ชนิดต่าง ๆ
1. วิตามิน เอ ผลการทดสอบกับสารละลายชนิดต่าง ๆ
2. วิตามิน ซี ชนิด คอป โซเดียม
เบเน
3. วิตามิน ดี อาหาร เปอร์ ไฮดรอก ไอโอดีน
ดิกต์
4. วิตามิน อี ซัลเฟต ไซด์
อาหาร ตะกอน ตะกอนสี ตะกอน ไม่
เหลว สีม่วง ม่วง สีส้ม เปลี่ยนแปลง
4. พิจารณาปริมาณของสารอาหารที่เป็นองค์ประกอบ ข้อใดสรุปได้ครอบคลุมที่สุด (O-NET M.3 ก.พ.53)
ของอาหารชนิดต่าง ๆ แล้วตอบคำถาม 1. มีโปรตีน และ คาร์โบไฮเดรต เป็นองค์ประกอบ
ชนิด ปริมาณสารอาหาร 2. มีโปรตีน และ แป้ง เป็นองค์ประกอบ
ของ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน น้ำ 3. มีโปรตีน และ น้ำตาลทราย เป็นองค์ประกอบ
อาหาร (g) (g) (g) (g) 4. มีโปรตีน และ น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว เป็นองค์ประกอบ
ชนิดที่
200 100 50 400
1 6. โภชนากรทดสอบอาหารเสริมที่เป็นของเหลวใส 2
ชนิดที่ ชนิด ตามขั้นตอน ดังแสดงในแผนภาพ
150 120 100 300
2
ชนิดที่
100 150 120 200
3
ชนิดที่
80 200 110 180
4
กำหนดให้ โปรตีนให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรีต่อกรัม
คาร์โบไฮเดรตให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรีต่อกรัม
ไขมันให้พลีงงาน 9 กิโลแคลอรีต่อกรัม
อาหารชนิดใดให้พลังงานสูงที่สุด และต่ำที่สุด ถ้าโภชนากรต้องการจัดอาหารเสริมให้ผู้ป่วยเบาหวาน
ตามลำดับ (O-NET M.3 ก.พ. 60) ควรเลือกอาหารเสริมชนิดใด เพราะเหตุใด
1. ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 (O-NET M.3 ก.พ. 60)
2. ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 1. อาหารเสริม ก. เพราะทำปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์
3. ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 2. อาหารเสริม ข. เพราะทำปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์
4. ชนิดที่ 4 ชนิดที่ 1 3. อาหารเสริม ก. เพราะไม่ทำปฏิกิริยากับสารละลาย
เบเนดิกต์
4. อาหารเสริม ข. เพราะไม่ทำปฏิกิริยากับสารละลาย
เบเนดิกต์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 24
7. ผลการทดสอบสารอาหารในอาหาร 4 ชนิด เป็นดัง 8. นำอาหาร 4 ชนิด มาทดสอบสารอาหาร ได้ผลการ
ตาราง ทดสอบดังตาราง
ผลการทดสอบสารอาหารโดยวิธีการต่าง ๆ ผลการทดสอบกับสารละลายชนิดต่าง
เติม ๆ
เติม สารละลาย ชนิด สารละลาย ถู/หยด
ถูหรือ สารละลาย
อา เติม สารละลาย คอปเปอร์ อาหา CuSO4 บน
หยด สารละลาย เบเนดิกต์
หาร สารละลาย เบเนดิกต์ ซัลเฟตและ ร และ กระดาษ
บน ไอโอดีน และให้
ไอโอดีน และให้ความ สารละลาย สารละลาย
กระดาษ ความร้อน
ร้อน โซเดียมไฮ NaOH
ดรอกไซด์ ไม่
ตะกอนสี
ไม่ ไม่เปลี่ยน ไม่โปร่ง A สีน้ำเงิน เปลี่ยนแป โปร่งแสง
A สีน้ำเงิน แดงอิฐ
เปลี่ยนแปลง แปลง แสง ลง
ไม่ ไม่ ไม่เปลี่ยน โปร่ง ไม่
B ตะกอนสี
เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง แปลง แสง B เปลี่ยนแป สีม่วง โปร่งแสง
แดงอิฐ
ไม่ ตะกอนสี ไม่เปลี่ยน ไม่โปร่ง ลง
C
เปลี่ยนแปลง แดงอิฐ แปลง แสง ไม่
ไม่ ไม่ โปร่ง C สีน้ำเงิน เปลี่ยนแป สีม่วง โปร่งแสง
D สีม่วง
เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง แสง ลง
ไม่
ข้อใดระบุชนิดของอาหารทั้ง 4 ชนิดที่นำมาทดสอบได้ ตะกอนสี
D สีน้ำเงิน สีม่วง เปลี่ยนแป
ถูกต้อง (O-NET M.3 ก.พ. 61) แดงอิฐ
ลง
A B C D หากทดสอบอาหาร E ที่มีข้อมูลทางโภชนาการต่อ
น้ำเชื่อม อาหาร 100 กรัม ดังนี้
เนย
1. ข้าวกล้อง น่องไก่ จาก
เทียม
ข้าวโพด
น้ำเชื่อม
เนย
2. ข้าวกล้อง จาก น่องไก่ อาหาร E จะให้ผลการทดสอบใกล้เคียงกับอาหารชนิด
เทียม
ข้าวโพด ใดมากที่สุด (O-NET M.3 ก.พ. 62)
น้ำเชื่อม 1. อาหาร A
เนย
3. จาก น่องไก่ ข้าวกล้อง 2. อาหาร B
เทียม
ข้าวโพด 3. อาหาร C
น้ำเชื่อม 4. อาหาร D
เนย
4. จาก ข้าวกล้อง น่องไก่
เทียม
ข้าวโพด
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 25
9. ผลการทดสอบสารอาหารในอาหาร 4 ชนิด เป็นดัง ข้อใดกล่าวถึงการรับประทานอาหารแต่ละชนิดได้
ตาราง ถูกต้อง (O-NET M.3 ก.พ. 63)
ชนิด ผลการทดสอบกับสารละลายชนิด 1. การรับประทานอาหารชนิด A จะได้รับสารอาหาร
อาห ต่าง ๆ ประเภทโปรตีน
าร สาร ผลการถู/ 2. การรับประทานอาหารชนิด B จะไม่ได้รับน้ำตาล
สารละลา
ละลาย หยด โมเลกุลเดี่ยว
สารละลา ย CuSO4
เบเนดิกต์ บน 3. การรับประทานอาหารชนิด C จะได้รับสารอาหาร
ย และ
และให้ กระดาษ ประเภทที่ให้พลังงานต่อหน่วยสูงสุด
ไอโอดีน สารละลา
ความ 4. การรับประทานอาหารชนิด D จะไม่ได้รับแป้งและ
ย NaOH
ร้อน ไขมัน
ไม่ ไม่ ไม่
ตะกอนสี
A เปลี่ยนแ เปลี่ยนแ เปลี่ยนแ
แดงอิฐ
ปลง ปลง ปลง
ไม่
ตะกอนสี สีน้ำเงิน
B สีม่วง เปลี่ยนแ
แดงอิฐ เข้ม
ปลง
ไม่
ตะกอนสี
C เปลี่ยนแ สีม่วง โปร่งแสง
แดงอิฐ
ปลง
ไม่ ไม่
สีน้ำเงิน
D เปลี่ยนแ สีม่วง เปลี่ยนแ
เข้ม
ปลง ปลง

@@@@@@@@@@@@@
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 26
ข้อสอบเรื่อง พันธุกรรม
1. แผนภาพ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 4. ถ้าลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะหนึ่งถูกควบคุม
ด้วยยีนด้อยที่อยู่บนโครโมโซมเพศชนิด x การ
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะนี้จะเป็น
อย่างไร (O-NET M.3 ก.พ.54)
1. พบลักษณะนี้ในผู้หญิงเท่านั้น
2. พบลักษณะนี้ในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
3. พบลักษณะนี้ในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง
จากภาพ ถ้าหมายเลข 1 และ 4 เป็นโรคธาลัสซีเมีย 4. ไม่สามารถพบลักษณะนี้ในผู้ชายได้
หมายเลข 2 จะเป็นโรคธาลัสซีเมียหรือไม่ และควรมี
ยีนเป็นอย่างไร (O-NET M.3 ก.พ.53) 5. ชายหนุ่มมีหมู่เลือด AB หญิงสาวมีหมู่เลือด O ชาย
หนุ่ม หญิงสาวคู่นี้แต่งงานกัน ลูกจะมีโอกาสมีหมู่เลือด
ใดบ้าง อัตราส่วนเท่าใด (O-NET M.3 ก.พ. 56)
1. A : O = 1 : 1
2. A : B = 1 : 1
3. AB : O = 1 : 1
2. ม้าและม้าลายมีจำนวนโครโมโซมเป็น 64 แท่ง และ 4. A : B : O = 1 : 1 : 1
44 แท่งตามลำดับ
ลูกผสมข้ามสายพันธุ์ระหว่างม้ากับม้าลาย จะมีจำนวน
6. โรคในข้อใดเกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมเพศ
โครโมโซมของเซลล์ร่างกาย เป็นกี่แท่ง
เหมือนกัน (O-NET M.3 ก.พ. 56)
(O-NET M.3 ก.พ.53)
1. ฮีโมฟีเลีย ตาบอดสี
1. 44 แท่ง
2. ทาลัสซีเมีย ฮีโมฟีเลีย
2. 54 แท่ง
3. กลุ่มอาการดาวน์ ท้าวแสนปม
3. 64 แท่ง
4. ตาบอดสี กลุ่มอาการคริ-ดู-ชาต์
4. 108 แท่ง

3. กำหนดให้ A แทน ยีนเด่นที่ควบคุมลักษณะผิวปกติ 7. ชายหนุ่มคนหนึ่งมีลักษณะผิวดำพันธุ์แท้ แต่งงาน


และ a แทน ยีนด้อยที่ควบคุมลักษณะผิวเผือก กับหญิงสาวผิวขาว มีลูก 2 คน ลูกทั้งสองมีโอกาสเป็น
สามี ภรรยา ที่มีลักษณะยีนในคู่ใดที่ลูกของพวกเขามี แบบใด (O-NET M.3 ก.พ. 59)
โอกาสแสดงลักษณะผิวเผือก 50% 1. ผิวดำทั้งหมด
(O-NET M.3 ก.พ.54) 2. ผิวขาวทั้งหมด
1. AA X aa 3. ผิวดำ หรือขาวก็ได้
2. Aa X Aa 4. คนหนึ่งผิวดำ อีกคนหนึ่งผิวขาว
3. Aa X aa
4. AA X Aa
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 27
8. พิจารณาแผนภาพแล้วตอบคำถาม(O-NET M.3 ก.พ.59) 11. ข้อใดไม่เป็นการใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการ
ดำรงชีวิตของมนุษย์ (O-NET M.3 ก.พ. 60)
1. การขยายพันธุ์ไม้ผลเศรษฐกิจด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
2. การผลิตจุลินทรีย์ดัดแปรพันธุกรรมเพื่อใช้บำบัดน้ำเสีย
3. การสังเคราะห์เส้นใยผ้าจากปิโตรเลียม เพื่อใช้แทน
ชายหญิงคู่นี้มีโอกาสมีลูกชายลักษณะใด เส้นใยจากพืช
1. ตาปกติทั้งสามคน 4. การพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคลด้วยการตรวจ ดี เอน เอ
2. ตาบอดสีทั้งสามคน
3. ตาปกติหนึ่งคน ตาบอดสีสองคน
4. ตาปกติสองคน ตาบอดสีหนึ่งคน 12. พิจารณาอาการของโรคต่อไปนี้ แล้วตอบคำถาม
อาการที่ 1 อาการตาชี้ขึ้น ลิ้นจุกปาก ดั้งจมูกแบน นิ้ว
9. ผสมถั่วดอกสีม่วงกับดอกสีขาว ได้ลูกรุ่นแรก (F1)
มือสั้นป้อม การพัฒนาทางสมองช้า
เป็นสีม่วงทั้งหมด นำ F1 ผสมกันเอง ได้ลูกรุ่นที่ 2 (F2)
อาการที่ 2 อาการซีด ตาเหลือง ผิวหนังดำคล้ำ
มีลักษณะเด่น : ลักษณะด้อย = 3 : 1
ร่างกายเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ
ข้อใดสรุปได้ถูกต้อง (O-NET M.3 ก.พ. 59)
อาการที่ 3 ภาวะตาบอดสี เห็นสีแดง สีเขียวหรือสีน้ำ
1. ดอกสีม่วงเป็นลักษณะด้อย ดอกสีขาวเป็นลักษณะเด่น
เงินผิดแตกต่างไปจากคนปกติ
2. ลูกรุ่นแรก (F1) มีลักษณะเด่นทั้งหมด
ข้อใดสรุปเกี่ยวกับอาการทั้งสาม ได้ถูกต้อง
3. F1 มีลักษณะเป็นสีม่วงและสีขาว
(O-NET M.3 ก.พ. 60)
4. F2 มีลักษณะเป็นดอกสีม่วงทั้งหมด
5. F2 มีลักษณะเป็นดอกสีม่วงและดอกสีขาว
1. อาการที่ 1 เป็นอาการของผู้ป่วยกลุ่มอาการดาวน์ที่
6. F2 ได้ดอกสีขาว : ดอกสีม่วง = 3 : 1
มีความผิดปกติบนโครโมโซมร่างกาย
10. พิจารณาแผนภาพโครโมโซมของคน แล้วตอบคำถาม 2. อาการที่ 2 เป็นอาการของโรคธาลัสซีเมียที่มีความ
ผิดปกติที่ยีนบนโครโมโซมเพศ
3. อาการที่ 3 เป็นอาการของโรคตาบอดสีที่มีความ
ผิดปกติที่ยีนบนโครโมโซมเพศชายเท่านั้น
4. อาการที่ 1 เป็นความผิดปกติบนโครโมโซมเพศชาย
และเพศหญิง
5. อาการที่ 2 เป็นความผิดปกติที่ยีนบนโครโมโซม
ร่างกายทั้งเพศชายและเพศหญิง
6. อาการที่ 3 เป็นความผิดปกติที่ยีนบนโครโมโซมเพศ
โครโมโซมในภาพเป็นเพศใด และแสดงอาการของโรค
ชาย (y) และเพศหญิง (x)
ใด (O-NET M.3 ก.พ. 60)
1. เพศชาย โรคกลุ่มอาการดาวน์
2. เพศหญิง โรคกลุ่มอาการดาวน์
3. เพศชาย โรคทาลัสซีเมีย
4. เพศหญิง โรคทาลัสซีเมีย
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 28
13. โรคธาลัสซีเมียเป็นโรคทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุม 15. เกษตรกรนำต้นถั่วชนิดหนึ่งที่มีเมล็ดสีเหลืองมา
ด้วยยีนด้อยบนโครโมโซมร่างกาย เกิดจากความ ผสมพันธุ์กับต้นถั่วที่มีเมล็ดสีเขียว โดยใช้รุ่นพ่อแม่
ผิดปกติของยีนที่ควบคุมการสร้างฮีโมโกลบินในเม็ด จำนวน 2 คู่ ทำให้ได้ต้นถั่วรุ่นลูกที่มีลักษณะสีของ
เลือดแดง เมล็ด ดังตาราง
จากการศึกษาการถ่ายทอดลักษณะโรคธาลัส ต้นถั่วรุ่นพ่อแม่ ร้อยละของต้นถั่วรุ่นลูก
ซีเมียในครอบครัวหนึ่ง ที่ประกอบด้วย พ่อ แม่ ลูกสาว (เมล็ดสีเหลือง x
เมล็ดสีเหลือง เมล็ดสีเขียว
1 คน และลูกชาย 1 คน พบว่า พ่อแม่และลูกสาวไม่ เมล็ดสีเขียว)
เป็นโรคธาลัสซีเมีย แต่ลูกชายเป็นโรคธาลัสซีเมีย คู่ที่ 1 50 50
ข้อใดสรุปเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะโรคธาลัสซีเมีย คู่ที่ 2 100 0
ของครอบครัวนี้ได้ถูกต้อง (O-NET M.3 ก.พ. 61) หากนำต้นถั่วรุ่นลูกที่มีเมล็ดสีเหลืองที่ได้จากต้นถั่วรุ่น
1. พ่อหรือแม่จะต้องมีคู่ยีนที่ปกติทั้งคู่ พ่อแม่คู่ที่ 1 และ 2 มาผสมพันธุ์กัน จะได้ต้นถั่วที่มี
2. ลูกสาวจะต้องเป็นพาหะของโรคธาลัสซีเมียเสมอ ลักษณะอย่างไร (O-NET M.3 ก.พ. 63)
3. ลูกชายจะต้องได้รับยีนควบคุมโรคธาลัสซีเมียจาก 1. ต้นถั่วจะมีเมล็ดสีเขียวทั้งหมด
ทั้งพ่อและแม่ 2. ต้นถั่วจะมีเมล็ดสีเหลืองทั้งหมด
4. ลูกคนต่อไปของครอบครัวนี้ จะไม่มีโอกาสเป็น 3. ต้นถั่วจะมีเมล็ดสีเหลืองและสีเขียว ในอัตราส่วน 3 ต่อ 1
โรคธาลัสซีเมียแล้ว 4. ต้นถั่วจะมีเมล็ดสีเหลืองและสีเขียว ในอัตราส่วน 1 ต่อ 1

14. ทดลองผสมพันธุ์พืชชนิดหนึ่งที่มีดอก 2 สี ได้แก่ สี 16. แมลงชนิดหนึ่งมีลักษณะปีกสั้นและปีกยาว


แดง และ สีขาว โดยสีแดงเป็นลักษณะเด่นซึ่งถูก ลักษณะปีกยาวถูกควบคุมด้วยแอลลีล T และลักษณะ
ควบคุมด้วยยีน R และสีขาวเป็นลักษณะด้อยซึ่งถูก ปีกสั้นถูกควบคุมด้วยแอลลีล t ในการผสมพันธุ์ของ
ควบคุมด้วยยีน r แมลงชนิดนี้ระหว่างแมลงที่มีลักษณะปีกยาวกับแมลง
รุ่นพ่อแม่ ดอกสีแดง x ดอกสีขาว ที่มีลักษณะปีกสั้นคู่หนึ่งได้ลูกที่มีทั้งลักษณะปีกยาว
และปีกสั้น
จากข้อมูล ข้อใดระบุจีโนไทป์ของแมลงที่มีลักษณะปีก
ลูกรุ่นที่ 1 ดอกสีแดง x ดอกสีขาว ยาวในรุ่นพ่อแม่และรุ่นลูกได้ถูกต้อง
หากทำการทดลองต่อโดยนำเฉพาะต้นที่มีดอกสีแดงใน (O-NET M.3 มี.ค. 64)
ลูกรุ่นที่ 1 มาผสมพันธุ์กัน ลูกรุ่นที่ 2 จะเป็นไปตามข้อ รุ่นพ่อแม่ รุ่นลูก
ใด (O-NET M.3 ก.พ. 62) 1. TT TT
1. ต้นที่มีดอกสีขาว ร้อยละ 50 2. TT TT หรือ Tt
2. ต้นที่มีดอกสีแดง ลักษณะคู่ยีนแบบ Rr เท่านั้น 3. Tt Tt
3. ต้นที่มีดอกสีแดง ลักษณะคู่ยีนแบบ RR ร้อยละ 50 4. Tt TT หรือ Tt
4. ต้นที่มีดอกสีแดง และต้นที่มีดอกสีขาว ในอัตราส่วน
3:1
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรใหม่) เตรียมสอบ O-NET ม.3 และสอบเข้า ม.4 29
17. พันธุประวัติของครอบครัวหนึ่งแสดงการถ่ายทอด ข้อความ ใช่ หรือ
โรคทางพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยยีนด้อยบนออโตโซม ไม่ใช่
เป็นดังแผนภาพ 17.1 ในรุ่นที่ 1 มีหนึ่งคนที่ไม่เป็นโรคแต่ ใช่ /
เป็นพาหะ และอีกหนึ่งคนไม่เป็นโรคและ ไม่ใช่
ไม่เป็นพาหะของโรค
17.2 บุคคลที่ 3 ในรุ่นที่ II มีจีโนไทป์เป็น ใช่ /
Aa ไม่ใช่
17.3 ถ้าบุคคลที่ 2 และ 3 ในรุ่นที่ II มีลูก ใช่ /
กําหนดให้ ลักษณะไม่เป็นโรค ควบคุมด้วยแอลลีล A คนที่ 4 จะมีโอกาสเป็นโรคร้อยละ 50 ไม่ใช่
ลักษณะเป็นโรค ควบคุมด้วยแอลลีล a
จากข้อมูล ข้อความต่อไปนี้ถูกต้องใช่หรือไม่
(O-NET M.3 มี.ค. 64)

@@@@@@@@@@@@@@@@@@@

You might also like