You are on page 1of 10

วิทยาศาสตร์กายภาพ (เคมี

)
1

บทที่ 1 อากาศ
1.1 ธาตุและสารประกอบ

อะตอม
(Atom) He ........ K
...................... ...................... ......................

โมเลกุล อนุภาคที่เล็กที่สุดของ.....................................ที่เกิดจากอย่างน้อย 2 อะตอม


(Molecule) มารวมกัน และจัดเรียงตัวอย่างแน่นอน

H H H
H O
โมเลกุลของแก๊สไฮโดรเจน H ไฮโดรเจน 2 อะตอม + ออกซิเจน 1 อะตอม

อะตอม

ธาตุ
(Element)
โมเลกุล

สารประกอบ โมเลกุล
(Compound)
2

แบบฝึ กหัด
จงระบุ ว่าสารต่อไปนีอ้ ยู ่ในรูปอะตอมหรือโมเลกุล และเป็นธาตุหรือสารประกอบ โดยเขียน
เครื่องหมาย ✓ ลงในช่ องว่าง

สูตรเคมี ชื่ อสารเคมี อะตอม โมเลกุล ธาตุ สารประกอบ


H2
Cl2
HCl
O3
NO
CO
Ne
CH4
3

1.2 สัญลักษณ์และไอโซโทป

องค์ประกอบของอะตอม

..................................
..................................
..................................

..................................

สัญลักษณ์นิวเคลียร์ สัญลักษณ์ที่แสดงชนิดของ ธาตุ เลขมวล และเลขอะตอม


(nuclear symbol)
ของธาตุ โดยเราสามารถใช้เลขมวลและเลขอะตอมในการหาจํานวน
อนุภาค-มูลฐานของอะตอมได้

...................................
(mass number)

..................................
. (atomic number)
A
Z
X ...................................

• จํานวนโปรตรอน = ..................................
• จํานวนอิเล็กตรอน = ..............................
• จํานวนนิวตรอน = .................................
4

แบบฝึ กหัด

+ +
p = ....................... p = .......................
n = ....................... n = .......................
e# = ....................... e# = .......................

+ +
p = ....................... p = .......................
n = ....................... n = .......................
e# = ....................... e# = .......................

+ +
p = ....................... p = .......................
n = ....................... n = .......................
e# = ....................... e# = .......................
5

(ต่อ)

+ +
p = ....................... p = .......................
n = ....................... n = .......................
e# = ....................... e# = .......................

+ +
p = ....................... p = .......................
n = ....................... n = .......................
e# = ....................... e# = .......................

+ +
p = ....................... p = .......................
n = ....................... n = .......................
e# = ....................... e# = .......................
6

ISOTOPE อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน มีจํานวน โปรตอน (proton) เท่ากัน

............. ............. .............


Protium Deuterium Tritium

ISOTONE อะตอมของธาตุต่างชนิดกัน มีจํานวน นิวตรอน (neutron) เท่ากัน

31 32 40 39
15 P 16 S 20 Ca 19K

ISOBAR อะตอมของธาตุต่างชนิดกัน มีเลขมวล (p++n) เท่ากัน

14 14 24 24
7 N 6 C 11 Na 12 Mg

ISOELECTRONIC อะตอมของธาตุต่างชนิดกัน มีจํานวนอิเล็กตรอน


(electron) เท่ากัน

Ne N3- O2- F-

Na+ Mg2+ Al3+


7

แบบฝึ กหัด
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ธาตุต่างชนิดกันมีมวลต่างกันหรือมีนิวตรอนต่างกันเรียกว่าไอโซโทป
ข. มวลของอะตอม คือ มวลของโปรตอนกับอิเล็กตรอนในนิวเคลียส
ค. มวลของอะตอม คือ มวลของโปรตอนกับนิวตรอนในนิวเคลียส
ง. เลขอะตอมจะบอกถึงจํานวนโปรตอนและจํานวนนิวตรอนในอะตอม
เลขอะตอมของธาตุ คือข้อใด
ก. จํานวนอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุ
ข. จํานวนโปรตอนในอะตอมของธาตุ
ค. จํานวนนิวตรอนในอะตอมของธาตุ
ง. จํานวนโปรตอนกับนิวตรอนในอะตอมของธาตุ
ธาตุ P มีเลขอะตอม 15 มีนิวตรอน 16 จะมีเลขมวล โปรตอน และอิเล็กตรอนเท่าไรตามลําดับ
ก. 31, 15, 15
ข. 31, 16, 15
ค. 16, 15, 15
ง. 15, 31, 16
ข้อใดอธิบายความหมายไอโซโทปของธาตุได้ถกู ต้อง
ก. ธาตุชนิดเดียวกัน เลขมวลเหมือนกันแต่เลขอะตอมต่างกัน
ข. ธาตุชนิดเดียวกันมีประจุ ในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน
ค. ธาตุต่างชนิดกันมีเลขอะตอมเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน
ง. ธาตุต่างชนิดกันมีประจุ ในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน
ข้อใดบอกความหมายของเลขมวลได้ถกู ต้อง
ก. จํานวนโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม
ข. มวลรวมของนิวตรอนโปรตอน และอิเล็กตรอนในอะตอม
ค. มวลรวมของนิวตรอนและโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม
ง. มวลรวมของโปรตอน และอิเล็กตรอนในนิวเคลียสของอะตอม

You might also like