You are on page 1of 11

ชื่อ สกุล __________________________ ชั้น _______ เลขที่ ___________ คะแนนรวม_____

วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 

1
ใบงาน เรื่อง การแยกสารเนื้อผสม (Seperation Of Substance)

1. การจาแนกสารโดยการใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์
เมื่อใช้สมบัติทางกายภาพของสารที่ได้จากการสังเกต
ลักษณะความแตกต่างของเนื้อสาร จะสามารถจาแนก
ได้ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
 __________________________________
 __________________________________
(Filtration) เป็นการแยกของเหลวกับของแข็ง
(Homogeneous Substance) หมายถึง สารที่มีเนื้อ
ที่ไม่ละลายในของเหลว จากภาพของแข็ง (ทราย) มี
สารเหมือนกันทุกส่วน ทาให้สารมีสมบัติเหมือนกัน
ขนาดใหญ่กว่าขนาดรูของกระดาษกรอง จึงติดค้างอยู่
ตลอดทุกส่วน เช่น แอลกอฮอล์ ,ทองคา (Au) ,โลหะ
ส่วนที่เป็นของเหลวไหลผ่านรูของกระดาษกรองลงสู่
บัดกรี ,น้าเกลือ ,ซีอิ๊วขาว ,น้าอัดลม เป็นต้น
ภาชนะด้านล่าง
 __________________________________
 เช่น _______________________________
(Heterogeneous Substance) หมายถึง สารที่มี
เนื้อสารแตกต่างกันในแต่ละส่วน จะทาให้สารนั้นมี
สมบัติ ไม่เหมือนกันตลอดทุกส่วน เช่น น้าอบไทย ,
น้าคลอง ,น้าโคลน ,พริกเกลือ ,ดิน เป็นต้น
2. กระบวนการแยกสารเนื้อผสม ต้องวิเคราะห์สมบัติ
ทางกายภาพของสารเนื้อผสม ได้แก่
______________________________________ แกว่งสารส้ม อนุภาคแขวนลอยตกตะกอน
______________________________________
 __________________________________
3. วิธีการแยกสารต่อไปนี้ คือวิธีการแยกสารแบบใด
(Sedimentation) การแยกสารผสมที่เป็นของแข็งที่
แขวนลอยอยู่ในของเหลว โดยมีหลักการที่สาคัญ คือ
การนาสารผสมตั้งทิ้งไว้ เนื่องจากอนุภาคของแข็งที่
แฝงอยู่นั้นมีน้าหนัก ดังนั้นจึงตกตะกอนอยู่ที่ก้น
ภาชนะ เราสามารถใช้สารส้มเร่งการตกตะกอนได้
 เช่น _______________________________
 __________________________________
______________________________________
(Sieving) เป็นการแยกสารที่เป็นของแข็งขนาดใหญ่
(เสริมความรู้) นักวิทยาศาสตร์จึงได้คิดค้น
แยกออกจากสารที่เป็นของแข็งขนาดเล็ก โดยใช้
เครื่องเหวี่ยง (centrifuge) แรงเหวี่ยงดังกล่าวจะทา
ตะแกรง โดยของแข็งขนาดใหญ่จะติดอยู่บนตะแกรง
ให้ของแข็งที่แขวนลอยในของเหลวตกตะกอนได้ง่าย
และของแข็งขนาดเล็กจะผ่านรูตะแกรง
และเร็วขึ้น
 เช่น _______________________________
2
 __________________________________
(Sublimation) เป็นการแยกของแข็งที่ระเหิดไม่ได้
กับของแข็งที่ระเหิดได้  _________________________________
 การระเหิดเป็นการเปลี่ยนจากสถานะใดเป็น (Handpicking) แยกด้วยวิธีการนี้จะต้องมีของแข็ง
สถานะใด ซึ่งมีขนาด รูปร่าง หรือสีที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนอีก
______________________________________ ทั้งมีขนาดใหญ่พอที่จะหยิบได้และมีปริมาณที่ไม่มาก
เช่น พิมเสนกับทราย การบูรกับเกลือ เกินไป การแยกทาได้โดยใช้มือหยิบหรืออาจใช้
ลูกเหม็นกับน้าตาล การบูรกับผงชอล์ก อุปกรณ์อื่นช่วยในการหยิบแทนมือ
 เช่น ______________________________
 ของแข็งที่ระเหิดได้ เช่น
______________________________________

 __________________________________
(Magnetic attraction) สารที่ต้องการแยกออกจาก
 __________________________________ สารผสมจะต้องมีสมบัติเป็นสารแม่เหล็ก
(Evaporation) การแยกสารละลายที่ประกอบด้วย  สารที่แม่เหล็กสามารถส่งแรงกระทาหรือดูดติดได้
ตัวละลายที่เป็นของแข็งละลายอยู่ในตัวทาละลายที่ ______________________________________
เป็นของเหลวโดยการให้ความร้อนเพื่อทาให้ตัวทา ซึ่งการแยกทาได้โดยใช้แม่เหล็กดูดแยกสารแม่เหล็ก
ละลายที่มีจุดเดือดต่าระเหยเป็นไอแยกออกไปจนหมด ออกจากสารผสม
และเหลือเพียงตัวละลาย  เช่น _______________________________
 เช่น _______________________________ ______________________________________
วิธีการ สถานะของแยก

3
แยกสาร ที่แยกได้ วัสดุที่สาคัญ

ของแข็งที่แขวนลอยใน
ของเหลว และของเหลว

ของแข็ง (ขนาดใหญ่) กับ


ของแข็ง (ขนาดเล็ก) หรือ
ของแข็งที่มีขนาด
 __________________________________ แตกต่างกัน
(Separatory funnel) เป็นวิธีการแยกสารผสม ของแข็งที่ค้างบนกระดาษ
ที่เป็นของเหลว 2 ชนิด ซึ่งไม่รวมเป็นเนื้อเดียวกัน กรอง และของเหลวที่
โดย อาศัยความแตกต่างของความหนาแน่นของ ไหลลงสู่บีกเกอร์
ของเหลวแต่ละชนิดที่ไม่เท่ากัน ของเหลวที่มีความ ของแข็งที่มีขนาด รูปร่าง
หนาแน่นน้อยกว่าจะแยกชั้นอยู่ด้านบน ของกรวย หรือสีที่แตกต่าง
แยก ส่วนของเหลวที่มีความหนาแน่นมากกว่าจะแยก
ชั้นอยู่ด้านล่าง 5. จากสารที่ต้องการแยก จงตอบคาถามในตาราง
 เช่น ______________________________
การร่อน การตกตะกอน การใช้กรวยแยก
4. ตารางสรุปการแยกสาร จงตอบคาถามในตาราง
การระเหยแห้ง การใช้แม่เหล็กดูด การหยิบออก
การร่อน การตกตะกอน การใช้กรวยแยก
การกรอง การระเหิด
การระเหยแห้ง การใช้แม่เหล็กดูด การหยิบออก
การกรอง การระเหิด ข้อ สารที่ต้องการแยก วิธีการแยกสาร
1 ทรายหยาบ
วิธีการ สถานะของแยก ทรายละเอียด
แยกสาร ที่แยกได้ วัสดุที่สาคัญ
2 ข้าวเปลือก
ของแข็งที่ระเหิดได้ กับ ข้าวสาร
ของแข็งที่ระเหิดไม่ได้ 3 กากมะพร้าว
น้ากะทิ
ของเหลว 2 ชนิดที่ 4 เกลือ น้า
ไม่ผสมกัน ในน้าเกลือ
ของแข็งที่มีสารแม่เหล็ก 5 น้า น้ามัน
กับ ของแข็งที่ไม่มีสาร
แม่เหล็ก 6 ตะกอนจาก
น้าคลอง
ของเหลวที่ถูกให้ความร้อน 7 ผลชอล์ก การบูร
จนแหลือเป็นของแข็ง 8 แป้งทาเบเกอรี่
ข้อ สารที่ต้องการแยก วิธีการแยกสาร การแยกสาร สารที่แยก

4
เนื้อผสม วิธีการแยกสาร ออกจากกัน
9 กากถั่วเหลือง
น้าเต้าหู้ 1.เก็บมดและ
10 พิมเสน ทราย แมลงจากจั่น
11 ผงกามะถัน มะพร้าว
ผงตะไบเหล็ก
2.ใช้ผ้าขาวบาง
12 กากกาแฟ กรองเศษฝุ่น
น้ากาแฟ และแมลงออก
13 ผลึกไอโอดีน จากน้าตาล
ผงแป้ง มะพร้าว
14 น้า น้าตาล 3.ขณะเคี่ยว
(น้าเชื่อม) น้าตาลจะเกิด
15 ผงตะไบเหล็ก ฟองที่ผิวหน้า
ทราย ของน้าตาลให้
ตักฟองออก
16 ดินสองพองผสมน้า

17 เศษเหล็กในขยะ
 ศึกษาแผนภาพกระบวนการบาบัดน้าเสีย
18 ตะปูเหล็กปนกรวด กระบวนการบาบัดน้าเสียใช้วิธีอะไรบ้าง ในการแยก
19 เปลือกถั่ว สารออกจากกัน และแต่ละวิธีใช้แยกสารที่มีลักษณะ
กับเมล็ดถั่ว หรือสมบัติอย่างไร
**** เติมคาตอบในตารางหน้าถัดไป ****
20 น้าด่างทัมทิม
6. การแยกสารในชีวิตประจาวัน
 การทาน้าตาลปึก
ตารางการบาบัดน้าเสีย

5
วิธีแยกสารในกระบวน สถานะของสารที่
การบาบัดน้าเสีย แยกออกจากกัน
การกรองในขั้นตอนการใช้
ตะแกรงคัด
การตกตะกอนในขั้นตอน
ตกตะกอนในถังตกตะกอน
การกรองตะกอนในบ่อกรอง

 เสริมความรู้ “กระบวนการบาบัดน้าเสีย”
น้าเสียจากชุมชนจะมีสิ่งต่างๆ ปนอยู่ในน้า ได้แก่
เศษขยะ กรวด ทราย น้าเสียจะถูกรวบรวมไหลตามท่อผ่าน
ตะแกรง เศษขยะที่มีขนาดใหญ่กว่ารูตะแกรงจะถูกแยกออก
น้าเสียที่มีทรายปน จะส่งมายังบ่อดักกรวดทรายเพื่อคัดแยก  ให้นักเรียนออกแบบและอธิบายวิธีการแยกสาร
กรวดทรายออก และจะถูกส่งต่อไปยังบ่อเติมอากาศเพื่อเลี้ยง ผสมที่มีส่วนผสมของเกลือ พริกขี้หนู แป้งมันและ
จุลินทรีย์ให้ย่อยสลายสิ่งสกปรกในน้า จากนั้นน้าเสียจะไหล กระเทียม โดยระบุว่าเป็นการแยกสารผสมในแต่ละ
เข้าสู่บ่อตกตะกอน เพื่อแยกตะกอนออกจากน้า น้าจะไหล ขั้นตอนจะได้สารชนิดใดออกมา
ผ่านบ่อกรอง ของแข็งที่ปนมากับน้าจะถูกแยกออกด้วยวัสดุ
กรองที่มีรูขนาดเล็ก ต่อจากนั้นเติมสารเคมีเพื่อฆ่าเชื้อโรคใน
น้าที่กรองได้ ก่อนที่จะปล่อยน้าให้ไหลไปยังถังน้าใสก่อน
ปล่อยสู่แหล่งน้า

 จงเขียนแผนภาพ การแยกสารต่อไปนี้
(ถั่วเขียว น้าตาลทราย แป้งมัน และผงตะไบเหล็ก)
เสริมข้อสอบ O-NET

6
1
เสริมข้อสอบ O-NET

7
2
เสริมข้อสอบ O-NET

8
3
9
เสริมข้อสอบ O-NET

4
10
เสริมข้อสอบ O-NET

5
เสริมข้อสอบ O-NET

11
6

You might also like