You are on page 1of 16

Slide PPT61-NEW

เคมี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6

Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน

บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200


Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 webmaster@aksorn.com / www.aksorn.com
4
หน่วยการเรียนรู้ที่

ปริมาณสัมพันธ์

ตัวชี้วัด

• บอกควำมหมำยของมวลอะตอมของธำตุ คำนวณมวลอะตอมเฉลี่ยของธำตุ มวลโมเลกุลและมวลสูตร


• อธิบำยและคำนวณปริมำณใดปริมำณหนึ่งจำกควำมสัมพันธ์ของโมล จำนวนอนุภำค มวล และปริมำตรของแก๊สที่ STP
• คำนวณอัตรำส่วนโดยมวลของธำตุองค์ประกอบของสำรประกอบตำมกฎสัดส่วนคงที่
• คำนวณสูตรอย่ำงง่ำยและสูตรโมเลกุลของสำร
มวลอะตอม
ใช้ 1 ของ C-12 1 อะตอม มำเป็นมำตรฐำนในกำรเปรียบเทียบ โดยเขียนควำมสัมพันธ์ได้ ดังนี้
12

มวลของธำตุ 1 อะตอม (g)


มวลอะตอมของธาตุ = 1 มวลของธำตุ C-12 1 อะตอม (g)
12
มวลของธำตุ 1 อะตอม (g)
= -24
1.66 x 10 (g)
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงมวลอะตอมกับมวลของธาตุ 1 อะตอม ของธำตุบำงชนิด

อะตอมธาตุ มวลอะตอม มวลของธาตุ 1 อะตอม (กรัม)


-24
H 1 1.66 x 10
C 12 12 x 1.66 x 10-24
N 14 14 x 1.66 x 10-24
-24
O 16 16 x 1.66 x 10
Na 23 23 x 1.66 x 10-24
P 31 31 x 1.66 x 10-24
-24
S 32 32 x 1.66 x 10
มวลอะตอมไม่มีหน่วย แต่มวลของธาตุ 1 อะตอม มีหน่วยเป็น กรัม
มวลอะตอม
มวลอะตอมเฉลี่ย
กำรหำมวลอะตอมเฉลี่ยของธำตุแต่ละชนิดจะต้องคำนึงถึงปริมำณของแต่ละไอโซโทปที่พบในธรรมชำติ
ซึ่งสำมำรถหำมวลอะตอมเฉลี่ยของธำตุได้โดยใช้ควำมสัมพันธ์

มวลอะตอมของแต่ละไอโซโทป x %ที่พบในธรรมชำติ
มวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ = ෍ ( 100
)
แมสสเปกโทรมิเตอร์ (mass spectrometer)
เป็นเครื่องมือที่ใช้วิเครำะห์หำปริมำณของแต่ละไอโซโทปของธำตุ
โดยอำศัยหลักกำรเคลื่อนที่ของอนุภำคประจุไฟฟ้ำในบริเวณที่มีสนำมแม่เหล็กและสนำมไฟฟ้ำ
จุดตรวจสอบ
ลำอิเล็กตรอนชนกับอะตอม
Y+ X+
เกิดเป็นไอออนบวก
ไอออนที่มีมวลน้อยสุด
สำรตัวอย่ำง
ขดลวดควำมร้อน ลำไอออน
Z+

แหล่งกำเนิด ไอออนที่มีผลมวลมำกที่สุด
อิเล็กตรอน ผลของสนำมแม่เหล็ก
ทำให้ไอออนแยกตำม e/m
แผ่นเร่งอนุภำค แม่เหล็ก
ที่เป็นสนำมไฟฟ้ำ
มวลโมเลกุล
1
เป็นมวลเปรียบเทียบ เช่นเดียวกับมวลอะตอม ปัจจุบันใช้เทียบกับ 12 ของ C-12 1 อะตอม โดยเขียนควำมสัมพันธ์ได้ ดังนี้

มวลของสำรนั้น 1 โมเลกุล (g)


มวลโมเลกุลของสาร = 1 มวลของธำตุ C-12 1 อะตอม (g)
12
มวลของสำรนั้น 1 โมเลกุล (g)
= -24
1.66 x 10 (g)
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงมวลโมเลกุลกับมวลของสาร 1 โมเลกุล ของสำรบำงชนิด

โมเลกุล มวลโมเลกุล มวล 1 โมเลกุล (กรัม)


-24
CO2 44 44 x 1.66 x 10
N2 28 28 x 1.66 x 10-24
H2 SO4 98 98 x 1.66 x 10-24
-24
NaCI 58.5 58.5 x 1.66 x 10
NO2 46 46 x 1.66 x 10-24
SO2 64 64 x 1.66 x 10-24
-24
CaCO3 100 100 x 1.66 x 10
-24
มวลอะตอมและมวลโมเลกุลเป็นมวลเปรียบเทียบ จึงไม่มีหน่วย และมวล 1 amu มีค่ำเท่ำกับ 1.66 x 10 กรัม
โมล
สาร 1 โมล มีจำนวนอนุภำคเท่ำกับ 6.02 x 10 23
อนุภำค

Zn 1 โมล หมำยถึง 1 โมลอะตอม มีจำนวน 6.02 x 10


23
อะตอม
23
CO2 1 โมล หมำยถึง 1 โมลโมเลกุล มีจำนวน 6.02 x 10 โมเลกุล
2+ 23
Ca 1 โมล หมำยถึง 1 โมลไอออน มีจำนวน 6.02 x 10 ไอออน
e-
23
1 โมล หมำยถึง 1 โมลอิเล็กตรอน มีจำนวน 6.02 x 10 อิเล็กตรอน

• ธาตุ 1 โมลอะตอม มีมวลเท่ำกับมวลอะตอมของธำตุนั้น (กรัม)


• สาร 1 โมลโมเลกุล มีมวลเท่ำกับมวลโมเลกุลของสำรนั้น (กรัม)
• แก๊ส 1 โมล มีปริมำตร 22.4 ลิตร ที่ STP
โมล
สูตรเคมี
สัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแทนธาตุหรือสารประกอบเพือ่ แสดงองค์ประกอบของสารนั้น
ชื่อสาร สูตรเคมี
แก๊สไฮโดรเจน H2

แก๊สออกซิเจน O2

เลด (II) ไนเตรต Pb(NO3 )2

โพแทสเซียมไอโอไดด์ KI

แคลเซียมคาร์บอเนต (หินปูน) CaCO3

แคลเซียมไฮดรอกไซด์ (น้้าปูนใส) Ca(OH)2

แคลเซียมออกไซด์ (ปูนขาว) CaO


สูตรเคมี
ชื่อสาร สูตรเคมี
โซเดียมคาร์บอเนต Na2CO3

โซเดียมไฮดรอกไซด์ (โซดาไฟ) NaOH

โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (ด่างทับทิม) KMnO4

ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ H2 O2

กรดไฮโดรคลอริก (กรดเกลือ) HCI

กรดซัลฟิวริก (กรดก้ามะถัน) H2 SO4

กรดแอซีตกิ (กรดน้้าส้ม) CH3COOH

แอมโมเนีย NH3
สูตรเคมีของสารที่มีน้าผลึก สูตรเคมีสำมำรถเขียนได้หลำยลักษณะ ดังนี้
1. สูตรอย่างง่ายหรือสูตรเอมพิริคัล (empirical formula)
ชื่อสาร สูตรเคมี เป็นสูตรที่แสดงอัตรำส่วนอย่ำงต่ำของจำนวนอะตอมของธำตุที่เป็นองค์ประกอบ
คอปเปอร์ซัลเฟตเพนตะไฮเดรต CuSO45H 2O 2. สูตรโมเลกุล (molecular formula)
เป็นสูตรที่แสดงจำนวนอะตอมของธำตุองค์ประกอบทีม่ ีอยู่จริงใน 1 โมเลกุลของสำร
แมกนีเซียมซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต MgSO47H2O
3. สูตรโครงสร้าง (structural formula)
โซเดียมเตเตระโบเรตเดคะไฮเดรต Na2 B4O710H2O กำรเขียนสูตรที่แสดงให้เห็นว่ำอะตอมที่เป็นองค์ประกอบของโมเลกุล
ดังที่แสดงในสูตรโมเลกุลมีกำรสร้ำงพันธะกันอย่ำงไร เช่น สูตรโครงสร้ำง
ของ C6 H14เขียนได้ ดังนี้

H H H H H H
H C C C C C C H
H H H H H H
การค้านวณเกี่ยวกับสูตรเคมี

การค้านวณมวลเป็นร้อยละจากสูตร
ถ้ำต้องกำรทรำบว่ำ 1 โมลของสำรมีธำตุองค์ประกอบแต่ละชนิดอยู่ร้อยละเท่ำใด
สำมำรถคำนวณโดยใช้ควำมสัมพันธ์ ดังนี้

จำนวนอะตอมในสูตรสำรประกอบ x มวลอะตอม
มวลร้อยละของธาตุ = x 100
มวลโมเลกุลของสูตรสำรประกอบ
การค้านวณเกี่ยวกับสูตรเคมี

การค้านวณหาสูตรเอมพิริคัลและสูตรโมเลกุล
• การหาสูตรเอมพิริคัล ให้พิจำรณำว่ำสำรที่จะหำสูตรเอมพิริคัลมีธำตุใดประกอบอยู่แล้วหำมวลของแต่ละธำตุ
ที่เป็นองค์ประกอบในสูตร จำกนั้นหำอัตรำส่วนโดยโมลสุดท้ำยทำเป็นอัตรำส่วนอย่ำงต่ำ

กำรหำสูตรโมเลกุล และสำมำรหำได้จำกควำมสัมพันธ์ ดังนี้

สูตรโมเลกลุ = (สูตรเอมพิริคัล)n

You might also like