You are on page 1of 25

พันธะไอออนิก

* Ionic bond *
พันธะไอออนิก ( Ionic bond )
พันธะไอออนิก ( Ionic bond ) หมายถึง พันธะระหว่างอะตอมที่อยูใ่ นสภาพไอออนที่มีประจุ
ตรงกันข้ามกัน ซึ่งเกิดจากการเคลื่อนย้ายอิเล็กตรอน 11 ตัว หรื อมากกว่า จากอิเล็กตรอนวงนอกสุ ด
ของอะตอมหนึ่งไปยังอีกอะตอมหนึ่ง เพื่อให้จำนวนอิเล็กตรอนวงนอกสุ ด ครบออกเตต ซึ่งเกิดขึ้น
ระหว่างอะตอมของโลหะกับอโลหะ โดยที่โลหะเป็ นฝ่ ายจ่ายอิเล็กตรอนในระดับพลังงานชั้นนอกสุ ด
ให้กบั อโลหะ
เนื่องจากโลหะมีค่าพลังงานไอออไนเซชันต่ำ และอโลหะมีค่าพลังงานไอออไนเซชันสูง ดังนั้น
พันธะไอออนิกจึงเกิดขึ้นระหว่างโลหะกับอโลหะได้ดี กล่าวคือ อะตอมของโลหะให้เวเลนต์
อิเล็กตรอนแก่อโลหะ แล้วเกิดเป็ นไอออนบวกและไอออนลบของอโลหะ เพื่อให้เวเลนต์อิเล็กตรอน
เป็ นแปด แบบก๊าซเฉื่ อย ส่ วนอโลหะรับเวเลนต์อิเล็กตรอนมานั้นก็เพื่อปรับตัวเองให้เสถียรแบบ
ก๊าซเฉื่ อยเช่นกัน ไอออนบวกกับไอออนลบจึงดึงดูดระหว่างประจุไฟฟ้ าต่างกันเกิดเป็ นสารประกอบ
ไอออนิก( Ionic compound ) ดังนี้
การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ ( NaCl ) จากโซเดียม (Na) อะตอมกับคลอรี น (Cl) อะตอม

โซเดียมเสี ยอิเล็กตรอนให้แก่คลอรี น 1 ตัว ทำให้อะตอมของโซเดียมมีเวเลนต์อิเล็กตรอน= 8


(อะตอมจะเถียรเป็ นไปตามกฎออกเตต) และทำให้มีจำนวนอิเล็กตรอนน้อยกว่าโปรตอน 1
ตัว ทำให้อะตอมโซเดียมแสดงอำนาจไฟฟ้ าเป็ นประจุบวก(+) ส่ วนอะตอมคลอรี นรับอิเล็ก
จากโซเดียมมา 1 ตัว ทำให้อะตอมของคลอรี นมีเวเลนต์อิเล็กตรอน = 8 (อะตอมเสถียรเป็ น
ไปตามกฎออกเตต) และทำให้มีจำนวนอิเล็กตรอนมากกว่าโปรตอน 1 ตัว ทำให้อะตอม
คลอรี นแสดงอำนาจไฟฟ้ าเป็ นประลบ(-)
โซเดียมไอออนบวก(+) และคลอไรด์ไอออน (-) จะดึงดูดกัน เพราะมีประจุไฟฟ้ าทีต่างกัน เกิดเป็ น "พันธะไอออนิก"
พันธะไอออนิก
เป็ นพันธะในสารประกอบซึ่ งธาตุที่เป็ นองค์ประกอบนั้นมีอิเล็กโตรเนกาติวิตี
(Electro negativity, EN; ความสามารถในการดึงอิเล็กตรอน) ต่างกันมากและจะอยูใ่ นสภาพที่เป็ นไอออนบวก และไอออนลบ
แรงยึดระหว่างไอออนเป็ นแรงดึงดูดไฟฟ้ าสถิตโดยมีพลังงานที่เกี่ยวข้องที่มีความสำคัญมากที่สุดคือ พลังงานแลตติช
ให้อิเล็กตรอน  cation(ไอออนบวก)
รับอิเล็กตรอน  anion(ไอออนลบ)
พิจารณา 
  -
+
Na  +  Cl   Na  Cl  เสถียร เพราะ
Valance e-
 
= 8 ตัว

2,8,1 2, 8, 7 2, 8 2, 8, 8

โลหะ + อโลหะ สารประกอบไอออนิก (ไม่เป็ นโมเลกุล)


กระบวนการเกิดสารประกอบไอออนิก เกิดผ่าน 5 ขั้นตอน เช่น
1) Na (s)  Na (g) พลังงานการระเหิด  S = + 109 kJ/mol

2) ½Cl2 (g)  Cl (g) พลังงานสลายพันธะ  ½D = ½ (242) = 121 kJ/mol

3) Na (g)  Na+ (g) + e- พลังงานไอออไนเซชัน  I = 4494 kJ/mol

4) Cl (g) + e-  Cl- (g) พลังงานอิเล็กตรอนอัฟฟิ นิตี  E = -347 kJ/mol

5) Na+ (g) + Cl- (g)  NaCl (s) พลังงานโครงผลึก  U = -787 kJ/mol

รวม 5 ขั้นตอน
Na (s) + ½Cl2 (g)  NaCl (s) S + ½D + I + E + U = H = -410 kJ/mol
การเกิดสารประกอบแมกนีเซียมคลอไรด์ จากแมกนีเซียมอะตอม(Mq) และคลอรี นอะตอม(Cl)

อะตอมแมกนีเซียมมีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนเป็ น Mg = 2, 8, 2 แมกนีเซียมมีเวเลนต์อิเล็กตรอน = 2 ดังนั้น


แมกนีเซียมจะจ่ายอิเล็กตรอนให้แก่คลอรี นอะตอม 2 ตัว เพื่อให้เวเลนต์อิเล็กตรอนเป็ น 8 จึงจะเสถียร
เหมือนก๊าซเฉื่ อย ทำให้อะตอมของแมกนีเซียมมีจำนวนอิเล็กตรอนน้อยกว่าโปรตอน 2 ตัว จึงแสดง
อำนาจไฟฟ้ าเป็ นประจุ 2+
แมกนีเซียมไอออนบวก(Mg2+)และคลอไรด์ไอออนลบ(Cl-) จะเกิดแรงดึงดูดกัน เพราะมี
ประจุไฟฟ้ าต่างกันเป็ นโมเลกุลของแมกนีเซียมคลอไรด์
การเกิดพันธะไอออนิก
เกิดจากการเคลื่อนย้ายของอิเล็กตรอนจากอะตอมหนึ่งไปยังอีกอะตอมหนึ่ง เพื่อให้เวเลนซ์
อิเล็กตรอนครบ8 อะตอมทั้งสองจะกลายเป็ นไอออนที่มีประจุตรงกันข้าม อะตอมที่เป็ นฝ่ ายให้จะเป็ น
ไอออนบวกส่ วนอะตอมที่รับจะเป็ นไอออนลบ ไอออนทั้งสองจะยึดกันด้วยแรงดึงดูดทางไฟฟ้ าเกิดเป็ น
โมเลกุลขึ้นจำนวนอิเล็กตรอนที่ให้หรื อรับเข้ามาเรี ยกว่า electro - valence
การเกิดพันธะไอออนิกในสารประกอบ แบเรี ยมออกไซด์ ( BaO )

การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของแบเรี ยม Ba = 2, 8, 18, 18, 8, 2 ( Ba มีเวเลนต์อิเล็กตรอน = 2 )และ


การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของออกซิเจน O = 2, 6 ( O มีเวเลนต์อิเล็กตรอน = 6 ) Ba เสี ยอิเล็กตรอนให้ O
จำนวน 2 ตัว Ba จึงมีประจุเป็ น 2+ ส่ วน O ได้รับอิเล็กตรอนมา 2 ตัว จึงมีประจุไฟฟ้ าเป็ น 2- เกิดแรง
ยึดเหนี่ยวด้วยประจุไฟฟ้ าต่างกัน เป็ นโมเลกุลของแบเรี ยมออกไซด์
ลักษณะสำคัญของสารประกอบไอออนิก
1. พันธะไอออนิกเป็ นพันธะที่เกิดจาก ไอออนของโลหะ + ไอออนของอโลหะ เช่น NaCl, MgO, KI
2. พันธะไอออนิก อาจเป็ นพันธะเคมีที่เกิดจากธาตุที่มีค่าพลังงานไอออไนเซชันต่ำกับธาตุที่มีค่าพลังงานไอ
ออไนเซชันสูง
3. พันธะไอออนิก อาจเป็ นพันธะที่เกิดจากไอออบวกที่เป็ นกลุ่มอะตอมของอโลหะ เช่น

4. สารประกอบไอออนิกไม่มีสูตรโมเลกุล มีแต่สูตรเอมพิริคลั ( สูตรอย่างง่าย )


5.สารประกอบไอออนิกมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง
6. สารประกอบไอออนิกในภาวะปกติเป็ นของแข็ง ประกอบไอออนบวกและไอออนลบ ไอออนเหล่านี้ไม่
เคลื่อนที่ ดังนั้นจึงไม่นำไฟฟ้ า แต่เมื่อหลอมเหลวหรื อละลายน้ำ จะแตกตัวเป็ นไอออนและเคลื่อนที่ได้
เกิดเป็ นสารอิเล็กโทรไลต์จึงนำไฟฟ้ าได้
โครงสร้ างของสารประกอบไอออนิก
โครงสร้างของสารประกอบไอออนิกมีลกั ษณะเป็ นโครงผลึกร่ างตาข่าย ประกอบ
ด้วยไอออนบวกและไอออนลบสลับกัน ไม่สามารถแบ่งแยกเป็ นโมเลกุลเดี่ยวๆได้ ดัง
นั้นจึงไม่สามารถทราบขอบเขตของไอออนของธาตุต่างๆใน 1 โมเลกุลได้ แต่สามารถ
หาอัตราส่ วนอย่างต่ำของไอออนที่เป็ นองค์ประกอบเท่านั้น จึงไม่สามารถเขียนสูตร
โมเลกุลของสารประกอบไอออนิกได้ ใช้สูตรเอมพิริคลั แทนสูตรเคมีของสารประกอบ
ไอออนิก
สารประกอบไอออนิก
เมื่อโลหะทำปฏิกิริยากับอโลหะ ธาตุท้ งั สองจะรวมกันด้วยพันธะไอออนิกเกิดเป็ น
สารประกอบไอออนิก โดยอะตอมของโลหะจะให้(จ่าย,เสี ย)เวเลนต์อิเล็กตรอนแก่อะตอม
ของอโลหะ ดังนั้นธาตุหมู่ 1A ซึ่งมีเวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1 จึงเกิดเป็ นไอออนที่มี
ประจุ +1 ธาตุหมู่ 2 ซึ่งมีเวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2 เมื่อเกิดเป็ นไอออนจะมีประจุ +2
เป็ นต้น ส่ วนอโลหะซึ่งมีจำนวนเวเลนต์อิเล็กตรอนใกล้เคียงกับก๊าซเฉื่ อยจะรับอิเล็กตรอน
มาให้ครบแปด เช่น ธาตุหมู่ 7A จะรับอิเล็กตรอน 1 ตัว เมื่อกลายเป็ นไอออนจะมีประจุ -1
สำหรับธาตุหมู่ 5 และหมู่ 6 เมื่อเกิดเป็ นไอออนจะมีประจุ -3 และ -2 ตามลำดับ เนื่องจาก
สามารถรับอิเล็กตรอนได้ 3 และ 2 อิเล็กตรอนแล้วมีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนตามกฎออก
เตต
การเขียนสู ตรและการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก
การเขียนสู ตรสารประกอบไอออนิก ใช้หลักดังนี้
1. เขียนไอออนบวกของโลหะหรื อกลุ่มไอออนบวกไว้ขา้ งหน้า ตามด้วยไอออนลบของอโลหะหรื อกลุ่มไอออนลบ
2. ไอออนบวกและไอออนลบ จะรวมกันในอัตราส่ วนที่ทำให้ผลรวมของประจุเป็ นศูนย์ ดังนั้นจึงต้องหาตัวเลขมาคูณกับจำนวน
ประจุบนไอออนบวกและไอออนลบให้มีจำนวนเท่ากัน แล้วใส่ ตวั เลขเหล่านั้นไว้ที่มุมขวาล่างของแต่ละไอออน ซึ่ง
ทำได้โดยใช้จำนวนประจุบนไอออนบวกและไอออนลบคูณไขว้กนั
3. ถ้ากลุ่มไอออนบวกหรื อไอออนลบมีมากกว่า 1 กลุ่ม ให้ใส่ วงเล็บ ( ) และใส่ จำนวนกลุ่มไว้ที่มุมล่างขวาล่าง ดังตัวอย่าง
จงเขียนสูตรของสารประกอบไอออนิกต่อไปนี้ ก. Na+ กับ O2- ข. Ca2+ กับ Cl- ค. NH4+ กับ SO42-
ข. การอ่ านชื่อสารประกอบไอออนิก
1. สารประกอบธาตุคู่ ถ้าสารประกอบเกิดจาก ธาตุโลหะที่มีไอออนได้ชนิดเดียวรวมกับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็ นไอออน
บวก แล้วตามด้วยชื่อธาตุอโลหะที่เป็ นไอออนลบ โดยเปลี่ยนเสี ยงพยางค์ทา้ ยเป็ น ไอด์ (ide) เช่น

ตัวอย่างการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิกธาตุคู่
ถ้าสารประกอบที่เกิดจากธาตุโลหะเดียวกันที่มีไอออนได้หลายชนิด รวมตัวกับ
อโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็ นไอออนบวกแล้วตามด้วยค่าประจุของไอออนของโลหะ
โดยวงเล็บเป็ นเลขโรมัน แล้วตามด้วยอโลหะที่เป็ นไอออนลบ โดยเปลี่ยนเสี ยงพยางค์
ท้ายเป็ น ไอด์ (ide) เช่น Fe เกิดไอออนได้ 2 ชนิดคือ Fe 2+ และ Fe 3+ และCu เกิด
ไอออนได้ 2 ชนิดคือ Cu + และ Cu 2+ สารประกอบที่เกิดขึ้นและการอ่านชื่อ ดังนี้
2. สารประกอบธาตุสามหรือมากกว่ า ถ้าสารประกอบเกิดจากไอออนบวกของโลหะ หรื อกลุ่มไอออนบวกรวมตัวกับกลุ่มไอออน
ลบ ให้อ่านชื่อไอออนบวกของโลหะหรื อชื่อกลุ่มไอออนบวก แล้วตามด้วยกลุ่มไอออนลบ เช่น

การละลายของสารประกอบไอออนิก
สารประกอบไอออนิกบางชนิดละลายน้ำได้ดีและบางชนิดไม่ละลายน้ำ การที่สารประกอบไอออนิกละลายน้ำได้เนื่องจาก
แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้ำกับไอออนมีค่ามากกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกกับไอออนลบ เช่น เมื่อนำโซเดียม
คลอไรด์มาละลายในน้ำ แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้ำกับโซเดียมไอออน และน้ำกับคลอไรด์ไอออนมีค่าสูงกว่าแรงยึด
เหนี่ยวระหว่างไอออนทั้งสอง โซเดียมคลอไรด์จึงละลายน้ำได้ เมื่อไอออนเหล่านี้หลุดออกจากโครงสร้างเดิม แต่ละไอออนจะ
ถูก
ล้อมรอบด้วยโมเลกุลของน้ำหลายๆโมเลกุล โดยน้ำจะหันขั้วที่มีประจุตรงกันข้ามเข้าไอออนที่ลอ้ มรอบ
ในการละลายน้ำของสารประกอบไอออนิก จะมีข้นั ย่อยๆของการเปลี่ยนแปลง 2 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1 ผลึกของสารประกอบไอออนิกสลายตัวออกเป็ นไอออนบวกและลบในภาวะก๊าซ ขั้นนี้ตอ้ งใช้
พลังงานเพื่อสลายผลีก พลังงานนี้ เรี ยกว่า พลังงานโครงร่ างผลึก ( latece energy ) , E1
ขั้นที่ 2 ไอออนบวกและไอออนลบในภาวะก๊าซรวมตัวกับน้ำ ขั้นนี้มีการคายพลังงาน พลังงานที่คายออกมา
เรี ยกว่า พลังงานไฮเดรชัน (Hydration energy ) , E2
พลังงานของการละลาย ( D E) มีคา่ = E1 + E2 พลังงานของการละลายพิจารณาจากพลังงานโครงร่ างผลึก
( E1 ) และพลังงานไฮเดรชัน ( E2 ) ดังนี้
ถ้าค่า D E< 0 ( E1 < E2 ) การละลายจะเป็ นแบบคายพลังงาน
ถ้าค่าD E > 0 ( E1 > E2 ) การละลายจะเป็ นแบบดูดพลังงาน
ถ้าD E = 0 ( E1 = E2 ) การละลายจะไม่คายพลังงาน
ถ้า พลังงานโครงร่ างผลึกมีคา่ มากกว่าพลังงานไฮเดรชันมากๆ ( E1 >>>> E2 ) จะไม่ละลายน้ำ
สูตรเคมีของสารประกอบไออนิก
1. นำจำนวน Valance e- มาหาประจุ โดยถ้าเป็ นโลหะ  + Valence e-
แต่ถา้ เป็ นอโลหะ  Valence e- ลบด้วย 8
2. นำจำนวนประจุมาคูณไขว้สลับที่กนั เช่น

Ca+2 + Cl-1  Ca1Cl2


Li+1 + O-2  Li2O
Al+3 + O-2  Al2O3
NH4+ + PO43-  (NH4)3PO4

สารประกอบไออนิก จะไม่เป็ นโมเลกุล แต่จะเป็ นกลุ่มไอออนบวก กับไอออนลบ มาอยูร่ วมกัน ส่ วนมากแข็ง


แต่เปราะ จึงทำให้มีคุณสมบัติเป็ นของแข็งไม่นำไฟฟ้ า แต่จะสามารถนำไฟฟ้ าเมื่อเป็ นของเหลวหรื อสารละลาย มี
จุดเดือดและจุดหลอมเหลวที่สูง ความดันไอต่ำ เนื่องจากไอออนมีแรงดึงดูดกันอย่างแรง ต้องใช้พลังงานค่อนข้างสูง
ในการสลายไอออนออกจากกัน สารประกอบไอออนิกจะละลายได้ดีในตัวทำละลายที่มีค่าคงตัวไดอิเล็กทริ ก
(dielectric constant) สูง (มีข้ วั ) และมักเกิดปฏิกิริยาได้เร็ ว เพราะว่าเกิดระหว่างไอออน
Lewis electron-dot symbol
เนื่องจากพันธะไอออนิกนี้ เกี่ยวกับประจุบวกและลบเราจะใช้ Lewis electron-dot symbol แสดงการเกิด
สารประกอบไอออนิก
Lewis electron-dot symbol แสดงอิเล็กตรอนวงนอกโดยเขียนเป็ นจุด แต่ละจุดแสดงถึงอิเล็กตรอนวงนอกแต่ละตัว เช่น

การเกิดไอออนบวกคืออิเล็กตรอนวงนอกทั้งหมดหลุดออกมาจากอะตอม เช่น

การเกิดไอออนลบคือการเพิ่มอิเล็กตรอนในชั้นของอิเล็กตรอนวงนอกเช่น

การที่อิเล็กตรอนจะหลุดออกหรื อเติมเข้าไปในอะตอมนั้นจะเป็ นการทำให้การจัดเรี ยงตัวของอิเล็กตรอนในไอออนนั้นๆ


เหมือนกับก๊าซเฉื่อย เช่น Cl– และ Ca 2+ มีอิเล็กตรอนวงนอก 8 ตัวเหมือนกับก๊าซเฉื่อย คือ Ar ส่ วน Na+ และ O 2- มี
อิเล็กตรอนวงนอก 8 ตัวเหมือนกับก๊าซเฉื่อย คือ Ne
ตัวอย่างการเขียนจุด
ตัวอย่ าง     จงเขียน Lewis electron-dot symbol สำหรับอะตอมต่อไปนี้       (a) F     (b) Be2+
วิธีทำ  (a) F
F มีการจักอิเล็กตรอนแบบ 1s2, 2s2, 2p5 ดังนั้นจึงมีอิเล็กตรอนวงนอกเท่ากับ 7 ดังนั้นจะมี 7 จุดอยูร่ อบๆ ดังนี้
(b) Be2+
Be มีการจัดเรี ยงตัวของอิเล็กตรอนเป็ น 1s2, 2s2 ดังนั้นจึงมีอิเล็กตรอนวงนอกเป็ น 2 ก็ตอ้ งมี 2 จุดรอบ Be แต่เมื่อ Be เป็ น
ไอออน +2 แสดงว่ามีอิเล็กตรอนหลุดออกไป 2 ตัวดังนั้นจึงเขียนได้เป็ น  Be2+

ตัวอย่ าง   การใช้ Lewis electron-dot symbol แสดงการเกิดสารประกอบไอออนิกของสองธาตุ

เราอาจแยกออกเป็ นสองปฏิกิริยาได้เป็ น
ตัวอย่ าง จงแสดงการเกิด Na2O โดยใช้ Lewis electron dot symbol

จะเห็นได้วา่ ธาตุใดที่มีค่า ionization energy ต่ำจะมีแนวโน้มเกิดเป็ นประจุบวก


ส่ วนธาตุที่มีค่า electron affinity สูงนั้นจะมีแนวโน้มเกิดเป็ นประจุลบ

You might also like