You are on page 1of 34

ลักษณะของตารางธาตุในปัจจุบัน

1.แบ่งธาตุเป็ น 18 แถวในแนวดิ่ง และแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม


- กลุ่ม A จะมี 8 หมู่ (IA ถึง VIIIA)
เป็ นพวกโลหะ (IA-IIA)
อโลหะธรรมดา (IIIA-VIIIA)
- กลุ่ม B จะมี 8 หมู่ แต่มี 10 แถว(IB ถึง VIIIB)
เป็ นโลหะทรานสิ ชนั (รวมถึงอินเนอร์ทรานสิ ชนั )

2.แบ่งธาตุเป็ น 7 คาบ ตามแนวนอน


- จะมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนอยูใ่ นระดับพลังงานเดียวกัน
การแบ่ งประเภทของธาตุ

8.2
ns1

4f
5f
ns2
d1

d5
ธาตุ

d10
การจัดเรียงอิเล็กตรอนชั้นนอกสุ ดของ

ns2np1

ns2np2
ns2np3

ns2np4
ns2np5
8.2

ns2np6
แคทไอออนและแอนไอออนของธาตุ Representative
( cation anion )
+1
+2

+3

-3
-2
-1
8.2
3. ธาตุบางหมู่มีชื่อเรี ยกเฉพาะตัว
- หมู่ 1 (IA) “โลหะอัลคาไล”

- หมู่ 2 (IIA) “โลหะอัลคาไลเอิร์ท”

- หมู่ 7 (VIIA) “ ธาตุเฮโลเจน”

- หมู่ 8 (VIIIA) “ธาตุเฉื่ อยหรื อธาตุมีตระกูล”


ธาตุทมี่ เี ลขอะตอมเกินกว่ า 100 เรียกตามระบบ IUPAC
1 =un 2 = di 3 = tri 4 = quad 5 = pent
6 = hex 7 = sept 8 = oct 9 = enn 0 = nil
ห้ ามมีสระตัวเดียวกันซ้ำกัน พยัญชนะซ้ำกันได้ ไม่ เกิน 2 ตัวอักษร
การอ่านชื่อ เรียงตามตัวเลข แล้วลงท้ ายด้ วย ium

104 = Unnilquadium Unq


108 = Unniloctium Uno
115 = Ununpentium Uup
การนำไฟฟ้ ากับตารางธาตุ
I. การนำไฟฟ้ าสามารถแบ่งธาตุออกได้เป็ น 3 ประเภท คือ
-โลหะ
- อโลหะ
- กึ่งโลหะ

1.โลหะ
- มีประมาณ 3 ใน 4 ของธาตุท้ งั หมด
- นำไฟฟ้ าได้ดี เพราะมีพนั ธะโลหะ
- การนำไฟฟ้ าจะลดลงเมื่ออุณหภูมิเพิม่ ขึ้น
2.อโลหะ
- ไม่สามารถนำไฟฟ้ าในทุกสถานะ ( ยกเว้นแกรไฟต์ )

3.กึ่งโลหะ
- นำไฟฟ้ าได้เล็กน้อยที่อุณหภูมิหอ้ ง
- เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นการนำไฟฟ้ าจะเพิ่มขึ้น
ได้แก่ ธาตุที่อยูบ่ ริ เวณเส้นบันได เช่น B, Si, Ge, As, Te
ขนาดของอะตอมและไอออนกับตารางธาตุ
1.ขนาดอะตอม
รัศมีโลหะ คือ ระยะห่างระหว่างนิวเคลียสของโลหะ
2 อะตอมหารด้วย 2

.A . A = รัศมีของโลหะ

A
รัศมีโคเวเลนต์
X pm
X pm

Cl Cl
H H

x/2 pm

x/2 pm

รัศมีโคเวเลนต์ = ความยาวพันธะ / 2
รัศมีโคเวเลนต์

Cl

Cl C Cl
Cl

ความยาวพันธะของ c – Cl = 176 pm
รัศมีอะตอมของ Cl = 99 pm
รัศมีอะตอมของ C = 176 – 99 = 77 pm
รัศมีแวนเดอร์ วาส์ ล
H2 H2

He He

รัศมีแวนเดอร์ วาส์ ล รัศมีแวนเดอร์ วาส์ ล


รัศมีไอออน

Mg2+ O2-

รัศมี O2-
รัศมี Mg 2+
สมบัตขิ องธาตุตามตารางธาตุ
ตารางธาตุ ( periodic Table ) รวบรวมธาตุเป็ นหมวดหมู่ตาม
สมบัตทิ เี่ หมือนกัน
แก๊สเฉื่ อยหรื อแก๊สมีตระกูล
H He

โลหะ เฮโลเจน
แอลคาไล โลหะแทรนซิชัน

โลหะแอลคาไล เอิร์ท ธาตุแลนทาไนด์ อินเนอร์ ทรานสิ ชัน


ธาตุแอคติไนด์
*ขนาดอะตอม*
จำนวนโปรตอนเพิม่ ขึน้

จำนวนระดับพลังงานเพิม่ ขึน้
ขนาดไอออน
ไอออนของอโลหะ - ไอออนลบ
ไอออนของโลหะ - ไอออนบวก
ขนาดของไอออนบวก
- ยิง่ เสี ยอิเล็กตรอนมากขนาดยิง่ เล็กลง เมือ่ ลดอิเล็กตรอน
ระดับพลังงานจะลดลงขนาดจึงเล็กลง
เช่ น Na+ < Na Mg2+ < Mg
ขนาดไอออนลบ
- ยิง่ รับอิเล็กตรอนเพิม่ ขึน้ ขนาดยิง่ ใหญ่ ขนึ้
เช่ น M4- > M3 - > M2- > M - > M
ขนาดไอออน
ขนาดไอออน พิจารณาจากจำนวนอิเล็กตรอนว่ าเท่ ากันหรือไม่
-ถ้ าจำนวนอิเล็กตรอนเท่ ากัน สิ่ งทีม
่ ผี ลคือ ประจุในนิวเคลียส
-ไอออนใดทีม่ จี ำนวนโปรตอนมาก ขนาดยิง่ เล็กลง
- กรณีทจี่ ำนวนอิเล็กตรอนไม่ เท่ ากัน ให้ จัดเรียงอิเล็กตรอน เพือ่
พิจารณาว่ ามีจำนวนระดับพลังงานเท่ ากันหรือไม่
- ถ้ ามีระดับพลังงานมากกว่ าขนาดจะใหญ่ กว่ า
เช่ น 8 O 2 - 2 8
17 Cl -
2 8 8

17 Cl -
> 8 O 2-
ขนาดไอออน
โปรตอนเพิม่ ขึน้
โปรตอนลดลง I II III IV V VI VII VIII

จำนวนระดับพลังงานเพิม่ ขึน้
จุดเดือด จุดหลอมเหลว
ขึน้ อยู่กบั ชนิดของแรงยึดเหนี่ยว
- แรงยึดเหนี่ยวทีเ่ ป็ นพันธะโลหะ ( ซ้ ายมือของตารางธาตุ )
- แรงยึดเหนี่ยวทีเ่ ป็ นพันธะโคเวเลนต์ และโครงผลึกร่ างตาข่ าย
-แรงแวน เดอร์ วาลส์ หรือแรงลอนดอน ( ขวามือของตารางธาตุ)
I II III IV V VI VII

mp bp สู งในคาบ
mp bp mp bp

mp bp mp bp
พลังงานไอออไนเซชัน ( Ionization Energy IE )
-เป็ นพลังงานทีใ่ ช้ ทำให้ อเิ ล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมของธาตุใน
สภาวะแก๊สให้ กลายเป็ นไอออนในสภาวะแก๊ส เช่ น
Na ( g ) + IE 1 Na + ( g ) + e -

Na +( g ) + IE 2 Na 2+( g ) + e -
IE 3 > IE 2 > IE 1 จำนวนโปรตอนเพิม่

จำนวนระดับพลังงานเพิม่
อิเล็กโทรเนกาติวติ ี ( elec tronegativity EN )
-ความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะเข้ าหาตัวเอง
ขนาดเล็กลง

ขนาดใหญ่
9_12
Electronegativities

H
2.1
IA IIA IIIA IVA VA VIA VIIA

Li Be B C N O F
1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0

Na Mg VIIIB
Al Si P S Cl
0.9 1.2 1.5 1.8 2.1 2.5 3.0
IIIB IVB VB VIB VIIB IB IIB

K Ca Sc Ti V Cr Mn Fe Co Ni Cu Zn Ga Ge As Se Br
0.8 1.0 1.3 1.5 1.6 1.6 1.5 1.8 1.8 1.8 1.9 1.6 1.6 1.8 2.0 2.4 2.8

Rb Sr Y Zr Nb Mo Tc Ru Rh Pd Ag Cd In Sn Sb Te I
0.8 1.0 1.2 1.4 1.6 1.8 1.9 2.2 2.2 2.2 1.9 1.7 1.7 1.8 1.9 2.1 2.5

Cs Ba La–Lu Hf Ta W Re Os Ir Pt Au Hg Tl Pb Bi Po At
0.7 0.9 1.1–1.2 1.3 1.5 1.7 1.9 2.2 2.2 2.2 2.4 1.9 1.8 1.8 1.9 2.0 2.2

Fr Ra Ac–No
0.7 0.9 1.1–1.7
สั มพรรคภาพอิเล็กตรอน ( Electron affinity /EA)
-พลังงานทีค่ ายออกมาเมือ่ อะตอมในสภาวะแก๊สรับอิเล็กตรอน
แล้วกลายเป็ นไอออนลบในสภาวะแก๊ส

F(g)+e F- (g ) EA = -333 kJ/mol


O(g)+e O- (g ) EA = -142 kJ/mol

P(g)+e P- (g ) EA = -74 kJ/mol


ความเป็ นโลหะ-อโลหะ

ความเป็ นโลหะ ความเป็ นอโลหะ

ธาตุทเี่ ป็ นโลหะ คือ ธาตุทมี่ แี นวโน้ มเสี ยอิเล็กตรอนได้ ง่าย


ธาตุทเี่ ป็ นอโลหะ คือ ธาตุทมี่ แี นวโน้ มทีจ่ ะรับอิเล็กตรอนได้ ง่าย
ความหนาแน่ น
D=M/V
ความหนาแน่ น = มวล / ปริมาตร
ขนาดเล็ก มวลเพิม่

ขนาดใหญ่ มวลเพิม่ แต่ มวลมีผลมากกว่ าปริมาตร


เลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชัน ( oxidation number ) คือ ค่ าประจุไฟฟ้าหรือ
ประจุไฟฟ้ าสมมุตขิ องอะตอมของธาตุหรือไอออน ซึ่งจะเป็ นเลขจำนวน
เต็มบวก จำนวนเต็มลบหรือศูนย์ กไ็ ด้
เกณฑ์ ในการกำหนดเลขออกซิเดชันของธาตุต่างๆเป็ นดังนี้ คือ

1. ธาตุอสิ ระทุกชนิดในรู ปของอะตอมหรือโมเลกุลมีเลขออกซิเดชัน


เท่ ากับศูนย์ เช่ น Al Ag O2 N2 S8 ต่ างมีเลขออกซิเดชันเป็ นศูนย์
2. เลขออกซิเดชันของธาตุคดิ ต่ อ 1 อะตอมเท่ านั้น เช่ น H2O2
เลขออกซิเดชันของ O = -1
3. ออกซิเจนในสารประกอบทัว่ ไปมีเลขออกซิเดชันเท่ ากับ -2 ยกเว้ น
-ในสารประกอบเปอร์ ออกไซด์ เช่ น H2 O2 BaO2 ออกซิเจน
มีเลขออกซิเดชันเท่ ากับ - 1
- ในสารประกอบซู ปเปอร์ ออกไซด์ เช่ น KO2 ออกซิเจน
มีเลขออกซิเดชันเท่ ากับ - 1/2
-ในสารประกอบ OF2 ออกซิเจนมีเลขออกซิเดชันเท่ ากับ + 2
4. ไฮโดรเจนในสารประกอบทัว่ ไปมีเลขออกซิเดชันเป็ น +1 เช่ น HCl
HNO3ยกเว้ น ในสารประกอบไฮไดรด์ (โลหะ +H ) เช่ น NaH
CaH2ไฮโดรเจนมีเลขออกซิเดชันเท่ ากับ - 1
5. ไอออนของธาตุมเี ลขออกซิเดชันเท่ ากับประจุของไอออนนั้น เช่ น

Na+ มีเลขออกซิเดชันเท่ ากับ +1

Br- มีเลขออกซิเดชันเท่ ากับ -1

Mg 2+ เลขออกซิเดชันเท่ ากับ +2
6. ไอออนทีป่ ระกอบด้ วยอะตอมมากกว่ า 1 ชนิด ผลรวมของ
เลขออกซิเดชันของธาตุทุกอะตอม มีค่าเท่ ากับประจุของไอออนนั้น

2-
เช่ น SO4 มีผลรวมของเลขออกซิเดชัน = -2
7. ในสารประกอบใดๆ ผลรวมของเลขออกซิเดชันของทุกอะตอม
เท่ ากับศูนย์
ตัวอย่ างการหาเลขออกซิเดชันของธาตุ
Ex 1 จงหาเลขออกซิเดชันของ P ใน H3PO4
สมมุตใิ ห้ เลขออกซิเดชันของ P = x
เลขออกซิเดชันของ H = +1
H 3 อะตอมมีเลขออกซิเดชัน = 3 x ( +1 ) = +3
O มีเลขออกซิเดชัน = -2
O 4 อะตอมมีเลขออกซิเดชัน = 4 x ( -2 ) = -8
ผลรวมของเลขออกซิเดชันในสารประกอบเท่ ากับศูนย์
ฉะนั้น +3 + x + ( -8 ) = 0
-5 + x = 0
x = +5
ฉะนั้น เลขออกซิเดชันของ P ในสารประกอบ H PO = +5
Ex 2 จงหาเลขออกซิเดชันของ Cr ใน Cr2O7 -2
สมมุตใิ ห้ เลขออกซิเดชันของ Cr = x
O มีเลขออกซิเดชัน = -2
O 7 อะตอมมีเลขออกซิเดชัน = 7 x ( - 2 ) = -14
ผลรวมของทุกอะตอมในไอออน = - 2
เนื่องจากในไอออนนีม้ ี Cr 2 อะตอม
ฉะนั้น 2 x + ( -14 ) = -2
2x = -2 +14 = +12
x = +12 / 2 = +6
ฉะนั้นเลขออกซิเดชันของ Cr = +6
แบบฝึ กทักษะ
จงหาเลขออกซิเดชันของธาตุในสารต่ อไปนี้
1. คลอรีนใน ClO2- ClO3- KClO2 Cl2O Cl2
2. ฟอสฟอรัสใน PO4-3 PO3-3 H3PO4
3. ไนโตรเจนใน N2O5 N2O3 N2O
4. ซัลเฟอร์ ใน SCl2 S2Cl2 SO2 SO3

5. คาร์ บอนใน CO3-2 HCO3- H2CO3


สมบัตขิ องสารประกอบคลอไรด์ ของธาตุในคาบที่ 2 และ 3
*คลอไรด์ ของโลหะ
1.จุดหลอมเหลว จุดเดือดสู ง (เพราะเป็ นสารไอออนิก ยกเว้ น BCl3 )
2. ละลายน้ำได้ สารละลายเป็ นกลาง ( คลอไรด์ ของโลหะ ยกเว้ น
BeCl2 BCl3 AlCl3 เป็ นกรด )
*คลอไรด์ ของอโลหะ
1. จุดหลอมเหลว จุดเดือดต่ำ ( เพราะเป็ นสารโคเวเลนต์ )
2. ละลายน้ำได้ สารละลายเป็ นกรด ยกเว้ น CCl4 NCl3
ไม่ ละลายน้ำ
*ออกไซด์ ของโลหะ
1. จุดหลอมเหลว จุดเดือดสู ง ( เป็ นสารไอออนิก)
2. ละลายน้ำได้ สารละลายเป็ นเบส ยกเว้ น BeO Al2O3 SiO2
ไม่ ละลายน้ำ B2O3 เป็ นกรด
*ออกไซด์ ของอโลหะ
1. จุดหลอมเหลว จุดเดือดต่ำ ( สารโคเวเลนต์ )
2. ละลายน้ำได้ สารละลายเป็ นกรด

You might also like