You are on page 1of 34

ตารางธาตุ

1
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ เมื่อะตอมของธาตุเป็นกลาง p = e

เลขมวล
(mass number) AX
Z
สัญลักษณ์ธาตุ
คือ จานวนโปรตอน + จานวน (Elememt symbol)
นิวตรอนในนิวเคลียส (p+n)

เลขอะตอม
(Atomic number)
คือ จานวนโปรตอนในนิวเคลียส(p)

2
ไอโซโทป ธาตุชนิดเดียวกัน แต่เลขมวลต่างกัน

1H : โปรเทียม (H)
1
2H : ดิวทีเรียม (D)
1
3H : ทริเทียม (T)
1
12C 13C 14C
6 6 6

3
ไอโซโทน ธาตุตา่ งชนิดกัน แต่จานวนนิวตรอนต่างกัน
14C และ 15N
6 7
ไอโซบาร์ ธาตุตา่ งชนิดกัน แต่เลขมวลเท่ากัน
40K และ 40Ar
19 18
ไอโซอิเล็กทรอนิก ธาตุตา่ งชนิดกัน แต่เลขมวลเท่ากัน
27Al3+ และ 31N3−
13 15
4
5
ภายในอะตอมประกอบด้ ว ยโปรตอน นิ ว ตรอนและ
อิเล็กตรอน นักเรียนจาได้หรือไม่ว่าอิเล็กตรอนอยู่ภายใน
อะตอมในลักษณะใด

เคลื่อนที่อยู่รอบ ๆ นิวเคลียส เป็นชั้น ๆ

6
การจัดเรียงอิเล็กตรอน (electron configuration)
จานวน e- มากที่สุดที่มีได้ในวงโคจร = 2n2
เมื่อ n = เลขชั้นของวงโคจร

K : ระดับชั้นที่ 1 มี e- สูงสุด 2 ตัว


L : ที่ระดับชั้นที่ 2 มี e- สูงสุด 8 ตัว
M : ที่ระดับชั้นที่ 3 มี e- สูงสุด 18 ตัว
N : ที่ระดับชั้นที่ 4 มี e- สูงสุด 32 ตัว
O : ที่ระดับชั้นที่ 5 มี e- สูงสุด 50 ตัว
7
การจัดเรียงอิเล็กตรอน (electron configuration)
1. จานวนอิเล็กตรอนในชั้นนอกสุด (valent electrons) จะมีค่ามากที่สุดห้ามเกิน 8 อนุภาค
2. จัดเรียงอิเล็กตรอนจากระดับพลังงานต่าไปหาระดับพลังงานสูงเสมอ
3. การจัดเรียงอิเล็กตรอนห้ามจัดเรียงข้ามระดับชัน้ พลังงาน

ระดับชั้นที่ 1 มี e- สูงสุด 2 ตัว


แต่ละระดับชั้นมีจานวน e- ระดับชั้นที่ 2 มี e- สูงสุด 8 ตัว
ห้ามเกิน 2n2 ระดับชั้นที่ 3 มี e- สูงสุด 18 ตัว
ระดับชั้นที่ 4 มี e- สูงสุด 32 ตัว
ระดับชั้นที่ 5 มี e- สูงสุด 50 ตัว

8
7 N , 10 Ne , 12 Mg , 16 S , 19 K , 33 As

7 N = 2 5 16S = 2 8 6
10Ne = 2 8 19K = 2 8 8 1

12Mg = 2 8 2 33As = 2 8 18 5

9
12Mg = 2 8 2

10
ตารางธาตุ (periodic table of element)

11
จานวนระดับชัน้ พลังงาน จานวนอิเล็กตรอนชัน้ นอกสุด
กาหนดคาบของธาตุบนตารางธาตุ กาหนดหมู่ของธาตุบนตารางธาตุ

12
ตารางธาตุ (periodic table of element)

7N = 2 5
หมู่ที่ 5 คาบที่ 2
19K = 2 8 8 1
หมู่ที่ 1 คาบที่ 4

53I = 2 8 18 8 7
หมู่ที่ 7 คาบที่ 5

13
ตารางธาตุ (periodic table of element)

จานวนระดับชัน้ พลังงาน
แถวที่ 1 49In
กาหนดคาบของธาตุบนตารางธาตุ แถวที่ 2 50Sn
แถวที่ 3 51Sb
แถวที่ 4 52Te
จานวนอิเล็กตรอนชัน้ นอกสุด
กาหนดหมู่ของธาตุบนตารางธาตุ แถวที่ 5 55Cs
แถวที่ 6 56Ba
14
In Sn Sb Te
Cs Ba

15
ตารางธาตุ (periodic table of element)
การระบุหมู่ในตารางธาตุทนี่ ิยมใช้ในปัจจุบันมี 2 ระบบ คือ
ระบบ IUPAC
(Internation Union of Pure and Applied Chemistry)

แบ่งธาตุเป็น 18 หมู่ โดยใช้สัญลักษณ์เลขอารบิก 1-18 แทนหมูธ่ าตุ

16
ระบบ CAS (Chemical Abstracts Service)

แบ่งธาตุออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม A และกลุ่ม B

กลุ่ม A : ธาตุเรพรีเซนเททีฟ (representative element)

กลุ่ม B : ธาตุแทรนซิชนั (transition element)

17
กลุ่ม A : ธาตุเรพรีเซนเททีฟ
(representative element)

18
กลุ่ม B : ธาตุแทรนซิชัน
(transition element)

19
ธาตุหมู่ I (โลหะแอลคาไลน์)

1. ทาปฏิกิริยารุนแรงกับน้า ได้ดา่ งกับแก๊ส H2


2. เวเลนซ์อิเล็กตรอน เท่ากับ 1
3. ทาปฏิกิริยาได้ดีมาก พบในสารประกอบที่เป็นพันธะไอออนิก
4. สารประกอบหมู่ 1 ละลายน้าได้ทุกตัว
5. ความหนาแน่นต่า ลอยน้าได้
6. จุดเดือด-จุดหลอมเหลวไม่สูง
7. จะต้องเป็นในน้ามัน เพื่อป้องกันไม้ให้ทาปฏิกิริยากับน้าในอากาศ

20
ธาตุหมู่ II (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท)

1. ทาปฏิกิริยากับน้า ได้ดา่ งกับแก๊ส H2


2. เวเลนซ์อิเล็กตรอน เท่ากับ 2
3. ทาปฏิกิริยาได้ดี พบโลหะหมู่ II ในธรรมชาติและในรูป
สารประกอบไอออนิก ยกเว้น Be
4. สารประกอบหมู่ II ส่วนใหญ่ละลายน้าได้ดี แต่ไม่ละลายน้า
ถ้าเป็นสารประกอบของ CO32- , SO42- , PO33- ยกเว้น MgSO4

21
ธาตุหมู่ VI (ชาโคเจน)

1. เวเลนซ์อิเล็กตรอน เท่ากับ 6
2. ส่วนใหญ่เป็นสารประกอบประเภทโครงร่างตาข่าย
จุดเดือด-จุดหลอมเหลวสูงมาก เมื่อเทียบกับหมู่ 7

22
ธาตุหมู่ VII (เฮโลเจน)
1. มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 7
2. มักอยู่ในรูปโมเลกุล
3. ว่องไวต่อปฎิกิรยิ าเคมี
เมื่อเกิดปฎิกิรยิ ามีแนวโน้มรับอิเล็กตรอน

23
ธาตุหมู่ VIII (แก๊สเฉือ่ ย , แก๊สมีตระกูล)
1. มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 ยกเว้น He
2. เฉื่อยชาต่อปฎิกิริยาเคมี

เช่น - แก๊สฮีเลียม (He) บรรจุในลูกโป่งสวรรค์


- แก๊สนีออน (Ne) และแก๊สซีนอน (Xe) ใช้บรรจุในหลอดไฟ
ให้เป็นสีต่าง ๆ
- แก๊สอาร์กอน (Ar) ใช้บรรจุหลอดไฟแบบมีไส้ เพื่อป้องกันไส้
หลอดทาปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ แล้วเกิดการลุกไหม้

24
ตารางธาตุ (periodic table of element)

ในตารางธาตุมีการแบ่งธาตุออกเป็น โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ


-กลุ่มเรพรีเซนเททีฟมีทั้งทีเ่ ป็นโลหะ กึ่งโลหะและอโลหะ
-กลุ่มแทรนซิชันเป็นโลหะทั้งหมด

25
26
โลหะ
อะลูมิเนียม (Al) , เหล็ก (Fe) , ตะกัว่ (Pb) , ทองแดง (Cu) ,ทองคา (Au)

สมบัติของโลหะ
- สถานะเป็นของแข็งทีอ่ ุณหภูมิหอ้ ง
- มีจุดเดือด-จุดหลอมเหลวสูง
- นาความร้อน และนาไฟฟ้าได้ดี
- มีแนวโน้มให้อิเล็กตรอน

27
28
อโลหะ
ไนโตรเจน (N) , ออกซิเจน (O) , โบรมีน (Br) , ไอโอดีน (I)

สมบัติของอโลหะ

- พบได้ทั้งสามสถานะทีอ่ ุณหภูมหิ ้อง


- ส่วนใหญ่ไม่นาไฟฟ้า
- จุดเดือด-จุดหลอมเหลวต่า
- มีแนวโน้มรับอิเล็กตรอนเมือ่ เกิดปฏิกิริยาเคมี

29
30
กึ่งโลหะ
ซิลิคอน (Si) , เจอร์เมเนียม (Ge) , สารหนู (As)

สมบัติของกึ่งโลหะ

- มีสถานะเป็นของแข็ง
- นาไฟฟ้าดีกว่าอโลหะแต่ไม่ดเี ท่าโลหะ

31
แบบฝึกหัด 1.3
1. จากตารางธาตุ จงเติมข้อมูลลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
สัญลักษณ์ธาตุ เลขอะตอม โลหะ/อโลหะ/ การนาไฟฟ้า ธาตุเรพรีเซนเททีฟ/
กึ่งโลหะ ธาตุแทรนซิชัน
Cu 29 โลหะ นาไฟฟ้า ธาตุแทรนซิชัน
O 8 อโลหะ ไม่นาไฟฟ้า ธาตุเรพรีเซนเททีฟ
S 16 อโลหะ ไม่นาไฟฟ้า ธาตุเรพรีเซนเททีฟ
Si 14 กึ่งโลหะ นาไฟฟ้า ธาตุเรพรีเซนเททีฟ
Al 13 โลหะ นาไฟฟ้า ธาตุเรพรีเซนเททีฟ
Ag 47 โลหะ นาไฟฟ้า ธาตุแทรนซิชัน
32
2. ปรอท (Hg) เป็นโลหะที่มีสถานะของเหลว ซึงปรอทเป็นมลพิษทางอากาศที่
มีความเป็นพิษสูง ปรอทอยู่หมู่ใดและคาบใดในตารางธาตุ และจัดเป็นธาตุ
เรพรีเซนเททีฟ หรือธาตุแทรนซิชัน

80Hg
ปรอท : Hg = 2 8 18 32 18 2
- อยูห่ มู่ 2B (CAS) หรือหมู่ 12 (IUPAC)
- คาบ 6
- ธาตุแทรนซิชัน

33
3.ธาตุ ช นิ ด หนึ่ ง อยู่ ห มู่ VIIA คาบ 3 ธาตุ นี้ มี สั ญ ลั ก ษณ์ ธ าตุ
อย่างไร และมีแนวโน้มให้หรือรับอิเล็กตรอน
Cl แนวโน้มที่จะรับอิเล็กตรอน

4. สารประกอบชนิ ดหนึ่ ง เกิ ด จากการรวมกั น ของธาตุ โ ซเดี ย ม


(Na) และฟลูออรีน (F) ธาตุใดให้อิเล็กตรอนและธาตุใดรับอิเล็กตรอน
Na มีแนวโน้มทีจ่ ะให้อิเล็กตรอน
F มีแนวโน้มทีจ่ ะรับอิเล็กตรอน

34

You might also like