You are on page 1of 48

พันธะเคมี (1)

พันธะไอออนิก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พร้ อมพงศ์ เพียรพินิจธรรม
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
พันธะเคมี คือ อะไร?
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมกับอะตอมหรื อไอออนกับไอออน ที่ทาให้ 2
อะตอมหรื อ ไอออนเหล่ า นั น้ รวมตั ว กั น เป็ นโมเลกุ ล หรื อ สารประกอบที่ มี
เสถียรภาพ
- พันธะไอออนิก
- พันธะโลหะ
- พันธะโคเวเลนต์
ชนิดของพันธะเคมี พิจารณาได้ โดยใช้ ค่า EN
ชนิดพันธะเคมี
EN ต่างกันมาก EN ต่าทังคู
้ ่ EN สูงทังคู
้ ่ 3

F Na Na Na F F

พันธะไอออนิก พันธะโลหะ พันธะโคเวเลนต์


แบบฝึ กหัด
พิจารณาพันธะที่เกิดขึ ้นระหว่างอะตอมของธาตุตอ่ ไปนี ้
4
- N กับ F
- K กับ Br
- Cl กับ O
- Na กับ K
- Be กับ F
กฎออกเตต (Octet rule)
“อะตอมของธาตุตา่ ง ๆ ที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนไม่เท่ากับ 8 มีแนวโน้ มที่จะ
5
ปรับตัวให้ มีเสถียรภาพมากขึ ้นโดยรวมตัวกันเองหรื อรวมตัวกับอะตอมของ
ธาตุอ่ืนในสัดส่วนที่ทาให้ แต่ละอะตอมมี เวเลนซ์ อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 หรื อมี
จานวนอิเล็กตรอนเท่ากับแก๊ สเฉื่อย”
พันธะไอออนิก
- EN ต่ างกันมาก
6
การเขียนสูตรสารประกอบไอออนิก
- เขียนสัญลักษณ์ธาตุที่เป็ นไอออนบวกไว้ ข้างหน้ าตามด้ วยไอออนลบ
- แสดงอัตราส่วนอย่างต่า ของจานวนไอออนที่ เป็ นองค์ ประกอบโดยเขี ยน 7

ตัวเลขอาระบิกห้ อยท้ ายไอออนนัน้


- กรณีที่จานวนเป็ น 1 ไม่ต้องเขียน
เช่น
Na+ กับ Cl-
Ca2+ กับ F-
NH4+ กับ SO42-
การเรี ยกชื่อสารประกอบไอออนิก
- เรี ยกชื่อไอออนบวกตามด้ วยชื่อไอออนลบ
- เรี ยกชื่อไอออนบวกด้ วยชื่อธาตุนนั ้ ๆ 8

- ธาตุที่เกิดเป็ นไอออนบวกได้ มากกว่า 1 ชนิด ให้ เรี ยกชื่อธาตุนั น้ และระบุ


ตัวเลขประจุหรื อเลขออกซิเดชันของไอออนนันในวงเล็
้ บเป็ นเลขโรมัน
- เรี ยกชื่อไอออนลบด้ วยชื่อธาตุนนโดยเปลี
ั้ ่ยนท้ ายเป็ น ไ-ด์ (-ide)
- การลงท้ ายแบบอื่น ๆ เช่น -ium, -ous, -ite, -ic, -ate
ตัวอย่ างการเรี ยกชื่อสารประกอบไอออนิก
- K2O, Na2S, CaCl2, KCN, NH4Br
9

- FeCl2, FeCl3

- Na2SO3, Na2SO4, Na2S2O3, KNO2, KNO3

- NaClO, NaClO2, NaClO3, NaClO4


พันธะเคมี (2)
พันธะไอออนิก โลหะ และ โคเวเลนต์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พร้ อมพงศ์ เพียรพินิจธรรม
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก
- วัฏจักรบอร์ น–ฮาเบอร์ (Born-Haber cycle)
2
สมบัตขิ องสารประกอบไอออนิก (1)
3
สมบัตขิ องสารประกอบไอออนิก (2)
4
สมบัตขิ องสารประกอบไอออนิก (3)
พลังงานไฮเดรชัน 5

พลังงานแลตทิซ
พันธะโลหะ
- EN ต่าทัง้ คู่
6
สมบัตขิ องโลหะ
7
พันธะโคเวเลนต์
พลังงานศักย์ (kJ/mol)
- EN สูงทัง้ คู่
8

H H

436 kJ / mol H H

74 pm ระยะระหว่ างนิวเคลียสของไฮโดรเจน (pm)

“อะตอมที่เกิดพันธะจะใช้ เวเลนซ์ อิเล็กตรอนร่ วมกันในการเกิดพันธะทาให้ เสีียรขน้ ”


กฎออกเตต (Octet rule)
“อะตอมของธาตุตา่ ง ๆ ที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนไม่เท่ากับ 8 มีแนวโน้ มที่จะ
9
ปรับตัวให้ มีเสถียรภาพมากขึ ้นโดยรวมตัวกันเองหรื อรวมตัวกับอะตอมของ
ธาตุอ่ืนในสัดส่วนที่ทาให้ แต่ละอะตอมมี เวเลนซ์ อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 หรื อมี
จานวนอิเล็กตรอนเท่ากับแก๊ สเฉื่อย”
กฎออกเตต (Octet rule)
• ใช้ ได้ ดีกบั ธาตุใน s และ p block
10
• ใช้ ได้ ดีกบั สารประกอบอินทรี ย์
• มีข้อยกเว้ นมาก โดยเฉพาะกับอะตอม Be B และ Al

Noble Gas (8A) valence e−  8 valence e− = 8


สัญลักษณ์ แบบจุดของลิวอิส
11
IA IIA IIIA IVA VA VIA VIIA VIIIA
He 
Li Be B C N O F Ne
Na Mg Al Si P S Cl Ar
โครงสร้ างลิวอิส (Lewis structure)
อิเล็กตรอนคูร่ ่วมพันธะ
12
H F อิเล็กตรอนคูโ่ ดดเดี่ยว
- พันธะเดี่ยว (single bond)
H2 F2
- พันธะคู่ (double bond)
O2
- พันธะสาม (triple bond)
N2
พันธะเคมี (3)
พันธะโคเวเลนต์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พร้ อมพงศ์ เพียรพินิจธรรม
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
การเขียนสูตรโครงสร้ างของสารโคเวเลนต์
2
H H
HCH H −C −H
H
H
N N N N

1. กำหนดอะตอมกลำง (ต้ องกำร valence electron หลำยตัว) และกำร


จัดเรี ยงอะตอมในโมเลกุล
การเขียนสูตรโครงสร้ างของสารโคเวเลนต์
2. นับจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของทุกอะตอมในโมเลกุล
3
• ไอออนลบ: เพิ่มจำนวนอิเล็กตรอนเท่ำกับจำนวนประจุลบของไอออน
• ไอออนบวก: ลบจำนวนอิเล็กตรอนเท่ำกับจำนวนประจุบวกของไอออน
3. เชื่อมอะตอมด้ วยพันธะเดี่ยว (ระหว่ำงอะตอมกลำงกับอะตอมปลำย) โดยใช้
2 อิเล็กตรอนในกำรสร้ ำงพันธะเดี่ยวแต่ละพันธะ
4. เติมเวเลนซ์อิเล็กตรอนให้ กบั อะตอมปลำยให้ ครบ 8 (ยกเว้ น H เท่ำกับ 2)
การเขียนสูตรโครงสร้ างของสารโคเวเลนต์
5. เติมอิเล็กตรอนที่เหลือให้ กบั อะตอมกลำง (อำจมำกกว่ำ 8)
4
6. ถ้ ำจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่อะตอมกลำงไม่ครบ 8 ให้ นำอิเล็กตรอนที่ไม่
ร่วมพันธะ (unshared pair electron) ของอะตอมรอบ ๆ มำสร้ ำงพันธะคู่
หรื อพันธะสำม
7. จำนวนวำเลนซ์อิเล็กตรอนรวมต้ องเท่ำกับที่ได้ จำกข้ อ 1.
ตัวอย่ างการเขียนโครงสร้ างลิวอิส NF3
1. อะตอมกลำงคือ N 5

2. จำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน = 5 + (7x3) = 26 อิเล็กตรอน


(จำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของ N = 5 F = 7)
3. เขียนพันธะเดี่ยวระหว่ำงอะตอมกลำงกับอะตอมปลำย
F N F F N F

F หรือ F
ตัวอย่ างการเขียนโครงสร้ างลิวอิส NF3
4. เขียนอิเล็กตรอนของอะตอมปลำยให้ ครบ 8 6
F N F
F

5. เติมอิเล็กตรอนที่เหลือให้ กบั อะตอมกลำง (26 – 24 = 2 อิเล็กตรอน)


F N F F N F F N F
หรือ หรือ
F F F
ข้ อยกเว้ นของกฎออกเตท
1. โมเลกุลที่มีอิเล็กตรอนเป็ นเลขคี่ เช่น 7

ClO2 มีอิเล็กตรอนรวม เท่ำกับ 19


NO มีอิเล็กตรอนรวม เท่ำกับ 11
NO2 มีอิเล็กตรอนรวม เท่ำกับ 17
ข้ อยกเว้ นของกฎออกเตท
2. โมเลกุลที่อะตอมกลำงมีอิเล็กตรอนน้ อยกว่ำ 8 8

BF3 B มีอิเล็กตรอนเท่ำกับ 6
BeH2 Be มีอิเล็กตรอนเท่ำกับ 4
ข้ อยกเว้ นของกฎออกเตท
3. โมเลกุลที่อะตอมกลำงมีอิเล็กตรอนมำกกว่ำ 8 9

PCl5 มีอิเล็กตรอน เท่ำกับ 10


XeF4 มีอิเล็กตรอน เท่ำกับ 12
SF4 มีอิเล็กตรอน เท่ำกับ 10
เรโซแนนซ์

O O O 10


O O O O O O

S S S
O O O O  O O
การเขียนสูตรสารโคเวเลนต์
- เขี ย นสั ญ ลั ก ษณ์ ข องธาตุ ท่ี เ ป็ นอะตอมกลาง แล้ วตำมด้ วยธาตุ ท่ี
11
ล้ อมรอบ
- เรี ยงลำดับจำกธำตุที่มีคำ่ EN น้ อยก่อนตำมด้ วยธำตุที่มีค่ำ EN มาก
- ยกเว้ นบำงโมเลกุล เช่น NH3
- ถ้ ำธำตุใดมีจำนวนอะตอมมำกกว่ำ 1 อะตอม ให้ ระบุจำนวนอะตอมของธำตุ
นันไว้
้ มมุ ล่ำงด้ ำนขวำของสัญลักษณ์ เช่น CO2, BF3, H2O, P2O5 เป็ นต้ น
การเรี ยกชื่อสารโคเวเลนต์
- โมเลกุลที่ประกอบด้ วยธำตุชนิดเดียว ให้ เรี ยกชื่อตำมชื่อของธำตุนนั ้
- เรี ยกชื่อธำตุที่อยูห่ น้ ำก่อนแล้ วตำมด้ วยชื่อธำตุที่อยู่ถดั มำ 12

- เปลี่ยนเสียงพยำงค์ท้ำยเป็ น ไ-ด์ (-ide)


- ระบุจำนวนอะตอมของแต่ละธำตุองค์ประกอบในโมเลกุลนันด้ ้ วยภำษำกรี ก
1 (mono) 2 (di) 3 (tri) 4 (tetra) 5 (penta)
6 (hexa) 7 (hepta) 8 (octa) 9 (nona) 10 (deca)
- ยกเว้ นธำตุแรกที่มีเพียงอะตอมเดียวไม่ต้องระบุจำนวนอะตอมของธำตุนนั ้
- ยกเว้ นสำรบำงชนิด เช่น H2O, NH3 เป็ นต้ น
การเรี ยกชื่อสารโคเวเลนต์
CO 13

CO2
BF3
Cl2O
SiCl4
SF6
P2O5
P4O10
Cl2O7
พันธะเคมี (4)
รูปร่ างโมเลกุล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พร้ อมพงศ์ เพียรพินิจธรรม
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
รู ปร่ างโมเลกุล (1)
- ใช้ แบบจ ำลองการผลั ก ระหว่ างคู่ อิ เ ล็ ก ตรอนที่ อ ยู่ ในวงเวเลนซ์
2
(Valence Shell Electron Pair Repulsion model, VSEPR)
- พิจำรณำจำกจำนวนกลุ่ มอิเล็กตรอนรอบอะตอมกลางเฉพำะที่อยู่ใน
ระดับพลังงานนอกสุด
- แรงผลัก : คูอ่ ิเล็กตรอน-คูอ่ ิเล็กตรอน > คูอ่ ิเล็กตรอน-พันธะ > พันธะ-พันธะ
- 5 รู ปแบบหลัก
รู ปร่ างโมเลกุล (2)
- 2 กลุม่ : เส้ นตรง AB2 เช่น BeCl2, CO2
3

- 3 กลุม่ :

สำมเหลี่ยมแบนรำบ (AB3) เช่น BF3, CO32- มุมงอ (AB2E) เช่น SO2, O3


รู ปร่ างโมเลกุล (3)
- 4 กลุม่ : ทรงเหลี่ยมสี่หน้ ำ AB4 เช่น CCl4, CH4
4

พีระมิดฐำนสำมเหลี่ยม (AB3E) เช่น NH3 มุมงอ (AB2E2) เช่น H2O, O3


รู ปร่ างโมเลกุล (4)
- 5 กลุม่ : พีระมิดคูฐ่ ำนสำมเหลี่ยม AB5 เช่น PCl4
5

ไม้ กระดก (AB4E) เช่น SF4 รูปตัวที (AB3E2) เช่น ClF3 เส้ นตรง (AB2E3) เช่น XeF2
รู ปร่ างโมเลกุล (5)
- 6 กลุม่ : ทรงเหลี่ยมแปดหน้ ำ AB6 เช่น SF6
6

พีระมิดฐำนสี่เหลี่ยม (AB5E) เช่น BrF5 สี่เหลี่ยมแบนรำบ (AB4E2) เช่น XeF4


สภาพขัว้ ของโมเลกุลโคเวเลนต์ (1) ม่ มีขวั ้
(ก) พันธะโคเวเลนต์

H H H Cl

(ก) พันธะโคเวเลนต์ ม่ มีขวั ้ (ข) พันธะโคเวเลนต์ มีขวั ้

รูป 2.8 การกระจายตัวของ


สภาพขัว้ ของโมเลกุลโคเวเลนต์ (2)
8

H .. .. ขัว้ ของพันธะ
C N
Cl Cl H H .. O ขัว้ ของโมเลกุล
Cl H H H

ตรคลอโรมีเทน แอมโมเนีย นา้


สภาพขัว้ ของโมเลกุลโคเวเลนต์ (3)
9
ความยาวพันธะและพลังงานพันธะ
พลังงานศักย์ (kJ/mol)

10

H H

436 kJ / mol H H

74 pm ระยะระหว่ างนิวเคลียสของ โดรเจน (pm)


พลังงานพันธะ (1)
11

CH4 (g) + 435 kJ/mol → CH3 (g) + H (g) (mol)


CH3 (g) + 453 kJ/mol → CH2(g) + H (g) 1
CH2(g) + 425 kJ/mol → CH (g) + H (g) 6.02 x
CH(g) + 339 kJ/mol → C (g) + H(g) 1 =
1
1
1
พลังงานพันธะ (2)
H–H 436 C–C 348 C=C 614 CC 839
12
H–F 567 C–N 286 C=N 615 CN 890
H – Cl 431 N–N 158 N=N 470 NN 945
H – Br 366 O–O 144 O=O 498
H–I 298 C–O 360 C=O 804
H–N 391 C–H 413
H–O 463 C – Cl 327
H–S 364 C – Br 285
S–O 521 C–S 289
F–F 159 Cl – Cl 243
Br – Br 192 I–I 151
พลังงานของปฏิกริ ิยา (1)
ปฏิกิริยำกำรเผำไหม้ แก๊ สมีเทน (CH4) 1 โมล ได้ ผลิตภัณฑ์เป็ นแก๊ ส 13

คำร์ บอนไดออกไซด์ และไอน ้ำ ปฏิกิริยำนี ้คำยพลังงำนหรื อดูดพลังงำนเท่ำใด


สมกำรเคมีที่ดลุ แล้ วของปฏิกิริยำเผำไหม้ CH4 1 โมล เป็ นดังนี ้

CH4(g) + 2O2(g) ⎯→ CO2(g) + 2H2O(g)


พลังงานของปฏิกริ ิยา (2)
พลังงำนที่ใช้ สลำยพันธะของ CH4 1 โมลและ O2 2 โมล 14

= (4 mol  413 kJ/mol) + (2 mol  498 kJ/mol) = 2648 kJ

พลังงำนที่คำยออกมำจำกกำรสร้ ำงพันธะของ CO2 1 โมลและ H2O 2 โมล


= [2 mol  (-804 ) kJ/mol ] + [4 mol  (-463) kJ/mol ] = -3460 kJ

พลังงำนของปฏิกิริยำ (H) = (2648 kJ) + (-3460 kJ) = -812 kJ

You might also like