You are on page 1of 52

สรุปเนื้อหา

ติวเข้มเตรียมความพร้อมสู่โอลิมปิกวิชาการ
เอกสารประกอบการสอน
กิจกรรมติวเข้มเตรียมความพร้อมสู่โอลิมปิกวิชาการ

1H 6C

8O
2He

e- e-
10Ne
e- e- 7N
e- 13Al
++ +
+ + +
+ +
e-

e-
วิชาเคมี e
-
e e-
29Cu
26Fe
23V
e-
e-
30Zn

27Co
21Sc 24Cr
e
อาจารย์วราพงษ์ เสนาภักดิ์
โครงการ วมว. คู่ศูนย์ โรงเรียนสาธิต “พิบูลบาเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพา
อะตอมและตารางธาตุ
สรุปสาระสาคัญ
1. สมการที่ควรรู้ E = h = hc/
h คือค่าคงที่ของพลังค์ มีค่าเท่ากับ 6.625 x 10-34 จูลวินาที (J.s)
c คือความเร็วแสงเท่ากับ 3 x 108 วินาที (s)
 คือความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีหน่วยเป็นเฮิรตซ์ (Hz) หรือ รอบต่อวินาที (s-1)
 คือความยาวคลื่น มีหน่วยเป็นเมตร (m)
2. อะตอมประกอบด้วยอนุภาคมูลฐาน 3 ชนิด ได้แก่ โปรตรอน อิเล็กตรอน นิวตรอน
3. จานวนอิเล็กตรอนที่สามารถอยู่ในแต่ละระดับพลังงานเท่ากับ 2n2; n คือ ระดับพลังงาน
4. สัญลักษณ์นิวเคลียร์
A
z X
- X คือ สัญลักษณ์ของธาตุ
- A คือ เลขมวล บอกจานวนของ โปรตอน + นิวตรอน
- Z คือ เลขอะตอม บอกจานวนของ โปรตอน (เท่ากับอิเล็กตรอนเมื่อธาตุเป็นกลาง)
ถ้าธาตุมีการแสดงประจุบวก (X+) หมายถึง มีการเสียอิเล็กตรอน
ถ้าธาตุมีการแสดงประจุลบ (X-) หมายถึง ได้รับอิเล็กตรอน

5. ไอโซโทป, ไอโซโทน, ไอโซบาร์, ไอโซอิเล็กทรอนิกส์


- ไอโซโทป คือ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันเลขอะตอมเท่ากันเลขมวลต่างกัน
- ไอโซโทน คือ อะตอมต่างชนิดกันแต่นิวตรอนเท่ากัน
- ไอโซบาร์ คือ อะตอมต่างชนิดกันแต่เลขมวลเท่ากัน
- ไอโซอิเล็กทรอนิกส์ คือ อะตอมต่างชนิดกันแต่อเิ ล็กตรอนเท่ากัน
6. การจัดเรียงอิเล็กตรอน (shell)

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 2


7. การจัดเรียงอิเล็กตรอน (subshells)
ในแต่ละระดับพลังงานอิเล็กตรอนจะอยู่ใน orbital โดยแต่ละ orbital จะมีลักษณะและขนาด
ที่แตกต่างกันไป ประกอบด้วย
1. s orbital ประกอบด้วย orbital ทั้งหมด 1 orbital บรรจุอิเล็กตรอนได้ทั้งหมด 2 ตัว
2. p orbital ประกอบด้วย orbital ทั้งหมด 3 orbital บรรจุอิเล็กตรอนได้ทั้งหมด 6 ตัว
3. d orbital ประกอบด้วย orbital ทั้งหมด 5 orbital บรรจุอิเล็กตรอนได้ทั้งหมด 10 ตัว
4. f orbital ประกอบด้วย orbital ทั้งหมด 7 orbital บรรจุอิเล็กตรอนได้ทั้งหมด 14 ตัว

หลักเกณฑ์การจัดเรียงอิเล็กตรอน
1. หลักเอาฟเบา (Aufbau principle)
“ บรรจุอเิ ล็กตรอนในออร์บิทัลที่ระดับพลังงานต่่าให้เต็มก่อน แล้วจึงเติมในระดับพลังงานทีส่ ูงขึ้นไป ”

2. กฎของฮุนด์ (Hund’s rule)


“ บรรจุอเิ ล็กตรอนในออร์บิทัลให้เป็นอิเล็กตรอนเดี่ยวก่อน แล้วจึงเข้าคู่ ”

3. หลักการกีดกันของเพาลี (Pauli Exclusion Principle)


“ อิเล็กตรอนในออร์บทิ ัลเดียวกันจะต้องมีเลขควอนตัมสปินตรงข้ามกัน ”

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 3


โมเดลการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบ subshells

8. การเปรียบเทียบขนาดอะตอม
กรณีหมู่/คาบเดียวกัน
ในหมู่เดียวกัน ขนาดใหญ่ขึ้นจาก บน ลง ล่าง
ในคาบเดียวกัน ขนาดเล็กลงจาก ซ้าย ไป ขวา

(ref. https://f.ptcdn.info/690/054/000/ozjglkf4l8T8X9aU190-o.png)
กรณีหมู่/คาบ ต่างกัน
1) จัดเรียงอิเล็กตรอน
2) พิจารณาระดับพลังงาน ถ้าระดับพลังงานมากกว่าขนาดใหญ่กว่า
3) ถ้าระดับพลังงานเท่ากัน พิจารณาเลขอะตอม ถ้าเลขอะตอมมากกว่าขนาดเล็กกว่า

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 4


9. การเปรียบเทียบพลังงานไอออไนเซชัน (IE)
IE คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนให้หลุดออกจากอะตอมในสภาวะแก๊สและกลายเป็นไอออนบวก

IE1, Al (g) Al+ (g) + e-


577 kJ/mol

e-
3+ 4+ -
IE4, Al (g) Al (g) + e
e-
e- 11,600 kJ/mol
e-
e-
e-
Al e-

e-
e- e-
e- e-

e-
IE2, Al+ (g) Al2+ (g) + e- IE3, Al2+ (g) Al3+ (g) + e-
1,816 kJ/mol 2,881 kJ/mol

กรณีหมู่/คาบเดียวกัน
ในหมู่เดียวกัน ค่า IE1 น้อยลงจาก บน ลง ล่าง
ในคาบเดียวกัน ค่า IE1 มากขึ้นจาก ซ้าย ไป ขวา
* ยกเว้น หมู่ 2A มากกว่า หมู่ 3A และ หมู่ 5A มากกว่า หมู่ 6A *
กรณีหมู่/คาบ ต่างกัน
1) จัดเรียงอิเล็กตรอน
2) พิจารณาระดับพลังงาน ถ้าระดับพลังงานมากกว่าค่า IE1 น้อยกว่า
3) ถ้าระดับพลังงานเท่ากัน พิจารณาเลขอะตอม ถ้าเลขอะตอมมากกว่าค่า IE1 มากกว่า
10. EN (Electronegativity), EA (Electron affinity)
EN คือ ความสามารถในการรับอิเล็กตรอนของธาตุ โดย ธาตุที่มี EN สูงสุดในตารางธาตุ คือ Fluorine

(ref. https://d2jmvrsizmvf4x.cloudfront.net/kTbJOHF2Quy8BxvsVcdK_electronegativity_values.jpg)

EA คือ พลังงานที่คายออกมาเมื่ออะตอมได้รบั อิเล็กตรอนในสภาวะแก๊สแล้วกลายเป็นไอออนลบ


(แนวโน้มเดียวกับ EN)

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 5


พันธะเคมี
สรุปสาระสาคัญ

Chemical Bonding

metal ionic covalent

1)......................................... 1).........................................

2)......................................... 2).........................................

ionic bond covalent bond


Ex. NaCl 11Na = ........... 17Cl = ............. Ex. CO2 6C = ........... 8 O = .............

1. พลังงานทีเ่ กี่ยวข้องในการเกิดสารประกอบไอออนิก

1) การระเหิด 2) IE
3) การสลายพันธะ 4) EA
5) พลังงานแลกทิซ

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 6


2. การอ่านชื่อสารประกอบไอออนิกและโคเวเลนต์

สารประกอบไอออนิก สารประกอบโคเวเลนต์
1) อ่านประจุบวกก่อนแล้วตามด้วยประจุลบลงท้าย ide เช่น 1) อ่านคล้ายๆ ไอออนิก แต่ถ้าสารประกอบมีอะตอม
NaCl อ่านว่า Sodium chloride มากกว่า 1 อะตอมให้อ่านจานวนอะตอมที่มีด้วยโดย 1 =
MgCl2 อ่านว่า Magnesium chloride mono, 2 = di, 3 = tri, 4 = tetra, 5 = penta, 6 =
2) ถ้าเป็นอนุมูลกลุ่มให้อ่านชื่อตามชื่อของอนุมูลกลุ่มนั้น เช่น hexa, 7 = hepta, 8 = octa, 9 = nona, 10 = deca
NH4+ อ่านว่า ammonium, CN- อ่านว่า cyanide เช่น
NH4CNอ่านว่า ammonium cyanide * ธาตุตัวหน้าที่มี 1 อะตอม ส่วนใหญ่ไม่อ่าน เช่น
(NH4)2SO4 อ่านว่า ammonium sulfate CO อ่านว่า Carbonmonoxide
3) ถ้าประจุบวกเป็นโลหะทรานสิชันให้ระบุเลขออกซิเดชันไว้ CO2 อ่านว่า Carbondioxide
หลังโลหะนั้นแล้วจึงอ่านประจุลบลงท้าย ide เช่น N2O5 อ่านว่า Dinitrogenpentaoxide
FeCl2 อ่านว่า Iron (II) chloride H2S อ่านว่า Dihydrogensulfide
FeCl3 อ่านว่า Iron (III) chloride
ยกเว้นโลหะทรานสิชันที่มีเลขออกซิเดชันเพียงค่าเดียวอ่านปกติ เช่น
AgCl อ่านว่า Silver chloride, ZnCl2 อ่านว่า Zinc chloride
4) อนุมูลกลุ่มที่ควรรู้
OH- อ่านว่า hydroxide, NO3- อ่านว่า nitrate
CO32- อ่านว่า carbonate, SO42- อ่านว่า sulfate
PO43- อ่านว่า phosphate

จงเขียนสูตร/อ่านชื่อ สารประกอบต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1) N2O3 …………………………………………………................................................………………………………
2) P4O10……………………………………………………………………………………………………….......................
3) ……........…..…. โบรอนไตรฟลูออไรด์ (boron trifluoride)
4) ………........…… คาร์บอนเตตระคลอไรด์ (carbon tetrachloride)
5) ………………….. แอมโมเนียมคลอไรด์
6) Cu(NO3)2………………………………………………………………………………………………………................
7) FeCl3 ……………………………………………………………………………………………………………...............
8) CH3COONa………………………………………………………………………………………………………............

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 7


3. สมการไอออนิกและไอออนิกสุทธิ

สารประกอบไอออนิกที่ละลายนาได้ สารประกอบไอออนิกที่ไม่ละลายนา
1) สารประกอบของโลหะแอลคาไล (หมู่1) ทุกชนิด 1) สารประกอบออกไซด์ของโลหะ (ยกเว้นออกไซด์
2) สารประกอบของแอมโมเนียม (NH4+) ทุกชนิด ของโลหะแอลคาไล และออกไซด์ของ Ca2+, Sr2+
3) สารประกอบไนเตรต (NO3-) คลอเรต (ClO3-) และ Ba2+) เมื่อละลายน้าจะทาปฏิกิริยากับน้าได้
เปอร์คลอเรต (ClO4-) แอซีเตต (CH3COO-) สารประกอบไฮดรอกไซด์ (OH-) เช่น
(ยกเว้นซิล-เวอร์แอซีเตตและโพแทสเซียมเปอร์ CaO + H2O Ca2+ + 2OH-
คลอเรตละลายได้เล็กน้อย) 2) สารประกอบไฮดรอกไซด์ (ยกเว้นไฮดรอกไซด์ของ
4) สารประกอบคลอไรด์ (Cl-) โปรไมด์ (Br-) ไอโอ โลหะแอลคาไลและของ Ba2+ และ Sr2+ ส่วน Ca2+
ไดด์ (I-) (ยกเว้น Ag+, Pb2+, Hg22+ ไม่ละลาย ส่วน ละลายได้เล็กน้อย
PbCl2 ละลายได้เล็กน้อย) 3) สารประกอบคาร์บอเนต (CO32-) ฟอตเฟต (PO43-)
5) สารประกอบซัลเฟต (SO42-) ยกเว้น ซัลเฟตของ ซัลไฟด์ (S ) (ยกเว้นสารประกอบของ NH4 และ
2- +

Pb2+, Sr2+ และ Ba2+ ส่วน ซัลเฟตของ Ca2+ และ โลหะแอลคาไล)


Ag+ ละลายได้เล็กน้อย

สมการไอออนิก คือ สมการที่แสดงไอออนอิสระของสารประกอบไอออนิกในสารละลายทุกชนิด


เช่น Ca(OH)2 กับ Na2CO3

Ca2+(aq) + 2OH -(aq) + 2Na +(aq) + CO32- (aq) CaCO 3(s) 2OH -(aq) + 2Na +(aq)

สมการไอออนิกสุทธิ คือ สมการที่แสดงเฉพาะไอออนทีท่ าปฏิกิริยาแล้วเกิดตะกอนผลิตภัณฑ์

Ca2+(aq) + CO3 2-(aq) CaCO 3(s)

แบบฝึกหัด; เขียนสมการไอออนิกและไอออนิกสุทธิแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจากการผสมสารละลายแต่ละคู่
ต่อไปนี้
1) KBr กับ AgNO3
สมการไอออนิก; ………………………………………………………………………………………………………………
สมการไอออนิกสุทธิ; ………………………………………………………………………………………………………………

2) CaCl2 กับ Na2CO3


สมการไอออนิก; ………………………………………………………………………………………………………………
สมการไอออนิกสุทธิ; ………………………………………………………………………………………………………………

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 8


4. การเขียนสูตรโครงสร้างลิวอิสของสารประกอบโคเวเลนต์

H2O CO2

CH3OH PCl5

*** ธาตุแต่ละตัวพยายามทาให้เวเลนต์อิเล็กตรอนครบ 8 (กฎออกเตต) เพือ่ ความเสถียร ยกเว้น H แค่


2 ตัวก็เสถียร หรือ B แค่ 6 ตัวก็เสถียร
*** ธาตุในคาบที่ 3 ขึ้นไปสามารถมีอเิ ล็กตรอนเกินออกเตตได้
*** สารโคเวเลนต์บางชนิดประกอบด้วยพันธะโคเวเลนต์ที่มอี ิเล็กตรอนคูร่ ่วมพันธะมาจากอะตอมใด
อะตอมหนึง่ เท่านั้น เราจะเรียกพันธะที่เกิดขึ้นนั้นว่า พันธะ............................................................................
เช่น NH4+,

แบบฝึกหัด: เขียนสูตรลิวอิสของสารต่อไปนี้
Br2 H2O2 CS2 N2H4

5. ประจุฟอร์มัล (Formal charge)


คือ ประจุสมมุติบนอะตอมในโมเลกุลหรือไอออนหลายอะตอม แนวคิดของประจุฟอร์มัลนี้ จะช่วย
ให้เราพิจารณาสูตรโครงสร้างลิวอิสได้อย่างถูกต้อง โดยปกติสูตรโครงสร้างที่เสถียรสาหรับโมเลกุลหนึง่ ๆ
นั้น จะมีประจุฟอร์มัลบนแต่ละอะตอมเป็นศูนย์หรือใกล้เคียงศูนย์มากทีส่ ุด
การหาประจุฟอร์มลั ของอะตอมในธาตุหมู่ A

ประจุฟอร์มัล = เลขหมู่ – [ (จานวนพันธะ) + (จานวนอิเล็กตรอนที่ไม่ได้ใช้สร้างพันธะ) ]

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 9


EX. โครงสร้างไหนเป็นโครงสร้างลิวอิสทีเ่ สถียรที่สุดของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2)
H O O H H O O H

6. ความยาวและพลังงานพันธะ
การเปรียบเทียบ
1. ความยาวพันธะ..............................................................................................................
2. พลังงานพันธะ................................................................................................................
การคานวณพลังงาน
มี 2 แบบ ได้แก่ คานวณในรูปสารประกอบ กับคานวณพลังงานของปฏิกริ ิยา (∆H) มีวิธี
คานวณเหมือนกัน ดังนี้
1. วาดสูตรแบบเส้นแสดงโครงสร้างของโมเลกุลต่างๆ ที่โจทย์กาหนดให้
2. เขียนสรุปแจกแจงว่าในโมเลกุลต่างๆ นั้น มีพันธะระหว่างธาตุตัวไหนกับตัวไหนบ้าง
3. แทนค่าพลังงานของพันธะต่างๆ แล้วก็คานวณค่าไว้ แยกเป็นของสารตัง้ ต้น กับ
ผลิตภัณฑ์ (ค่าพลังงานของพันธะต่างๆ โจทย์จะกาหนดมาให้)
4. ตั้งสมการ ∆H = Eสารตั้งต้น – Eผลิตภัณฑ์ (สาหรับให้หาพลังงานของปฏิกริ ิยา)
5. ถ้า ∆H ติด ลบ ก็แสดงว่าปฏิกริ ิยานั้น คายความร้อน ถ้าได้ค่า บวก ก็ ดูดความร้อน

*** ถ้าสมการที่เค้าให้ยังไม่ได้ดุล ก็ดุลให้เรียบร้อยก่อน !!!!!


ตัวอย่างการคานวณพลังงาน

EX1. คานวณพลังงานที่ต้องใช้เพือ่ สลายแก๊สบิวเทน (C4H10) 0.5 โมล ออกเป็นอะตอมอย่างสมบูรณ์

EX2. คานวณพลังงานของปฏิกริ ิยาการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของแก๊สมีเทน

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 10


7. รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์

สูตร รูปร่างโมเลกุล แบบฝึกหัด: จงบอกรูปร่างโมเลกุลของต่อไปนี้


AX2 เส้นตรง 1) BeCl2............................................................................
AX2E มุมงอ 2) CO2 ............................................................................
AX2E2 มุมงอ 3) NH3 ............................................................................
AX2E3 เส้นตรง 4) H2O ............................................................................
AX3 สามเหลี่ยมแบนราบ 5) CCl3Br..........................................................................
AX3E พีระมิดฐานสามเหลี่ยม
6) PF5 ..............................................................................
AX3E2 ตัวที
7) XeF2.............................................................................
AX4 ทรงสี่หน้า
8) SF6 ..............................................................................
AX4E กระดานหก
9) SO42-............................................................................
AX4E2 พีระมิดฐานสี่เหลี่ยม
10) NH4+..........................................................................
AX5 พีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม
AX5E พีระมิดฐานสี่เหลี่ยม
AX6 ทรงแปดหน้า

8. การพิจารณาสภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
หลักการพิจารณาแบบเข้าใจง่ายๆ
1) หาอะตอมกลางให้เจอ
2) ดูอะตอมที่มาล้อมรอบอะตอมกลาง
- ถ้า อะตอมล้อมรอบต่างกัน โมเลกุลนั้น มีขัว
- ถ้าอะตอมล้อมรอบเหมือนกัน ดูข้อ 3.
3) ดูอะตอมกลาง
- ถ้า อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว โมเลกุลนั้น มีขวั
- ถ้าอะตอมกลางไม่มอี ิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว โมเลกุลนั้น ไม่มีขั้ว
*** ทิศทางของขั้วจะพุ่งไปทางอะตอมที่มีค่า EN สูงทีส่ ุด

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 11


*** ใช้เรื่องขั้วทานายการละลายได้ โดย โมเลกุลที่มีสภาพขั้วเหมือนกันก็จะละลายกันได้ คือ ถ้า
โมเลกุลมีขั้ว+โมเลกุลมีขั้ว หรือ ไม่มีขั้ว+ไม่มีขั้ว ก็จะละลายกันได้ แต่ถ้า มีขั้ว+ไม่มีขั้วก็จะไม่ละลายกัน
*** สารประกอบไฮโดรคาร์บอนทุกตัว ไม่มีขั้ว

9. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์
1. แรงแวนเดอร์วาลส์
- แรงลอนดอน เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลไม่มีขวั้ (แรงนี้จะมีสภาพขั้วเกิดขึ้น
ชั่วคราวเนื่องจากอิเล็กตรอนในอะตอมไม่อยู่นงิ่ ความหนาแน่นของอิเล็กตรอนรอบๆ นิวเคลียส
เปลี่ยนแปลงได้ ทาให้ความหนาแน่นของอิเล็กตรอนไม่สม่าเสมอ จึงเกิดเป็นขั้วและโมเลกุลที่อยู่ข้างเคียงถูก
เหนี่ยวนาทาให้เกิดขั้วเช่นกัน โมเลกุลเหล่านั้นเกิดแรงดึงดูด เรียกว่า แรงลอนดอน)
- แรงดึงดูดระหว่างขัว เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมีขั้วแต่ขั้วน้อยๆ (EN ต่างกันไม่
เยอะความเป็นขั้วจึงน้อยกว่า) แต่เป็นแรงยึดเหนี่ยวที่แข็งแรงกว่าลอนดอน
2. พันธะไฮโดรเจน
เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่สภาพขั้วของโมเลกุลสูงมากๆ (ENมันต่างกันเยอะมากๆ) เกิด
กับโมเลกุลของสารที่มี H ติดกับธาตุที่มี EN สูง ได้แก่ F, O, N เช่น น้า แอมโมเนีย กรดอะซิติก

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 12


สมบัติของธาตุและสารประกอบ
สรุปสาระสาคัญ
แหล่งที่มาของโลหะแอลคาไลน์ (IA) และการเตรียม
ธาตุ แหล่งของธาตุ การเตรียม
แยกสลายด้วยไฟฟ้า (electrolysis) LiCl
Li แร่ซิลเิ กต เช่น spodumene (LiAl(Si2O6))
ที่หลอมเหลว
Na NaCl แยกสลายด้วยไฟฟ้า NaCl ที่หลอมเหลว
K KCl แยกสลายด้วยไฟฟ้า KCl ที่หลอมเหลว
แร่ลีพิโดไลต์ (lepidolite) ที่ไม่บริสุทธิ์
Rb (Li2(F, OH)2 Al2(SiO3)3 (มี Rb และ Cs เป็น รีดิวซ์ RbOH ด้วย Mg และ H2
ส่วนประกอบด้วย)
Cs แร่พอลลูไซต์ (pollucite) Cs4Al4O26H2O รีดิวซ์ CsOH ด้วย Mg และ H2

ปฏิกิริยาของโลหะแอลคาไลน์ (IA) กับธาตุต่างๆ (M = โลหะแอลคาไลน์)


ปฏิกิริยา หมายเหตุ
2M + X2 -----> 2MX X2 = โมเลกุลของธาตุฮาโลเจน
4Li + O2 -----> 2Li2O ใช้ออกซิเจนมากเกินพอ
2Na + O2 -----> Na2O2 -
M + O2 -----> MO2 M = K, Rb หรือ Cs
2M + S -----> M2S -
6Li + N2 -----> 2Li3N -
2M + H2 -----> 2MH -
12M + P4 -----> 4M3P -
2M + 2H+ -----> 2M+ + H2 -
2M + 2H2O -----> 2MOH + H2 -

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 13


แหล่งที่มาของโลหะแอลคาไลน์เอิร์ท (IIA) และการเตรียม
ธาตุ แหล่งของธาตุ การเตรียม
Be แร่เบอริล (beryl, Be3Al2Si6O18) แยกสลายด้วยไฟฟ้า BeCl2 ที่หลอมเหลว
แร่แมกนีไซต์ (magnesite, MgCO3)
Mg แยกสลายด้วยไฟฟ้า MgCl2 ทีห่ ลอมเหลว
แร่โดโลไมต์ (dolomite, MgCO3CaCO3)
Ca แร่ต่างๆ ที่มี CaCO3 แยกสลายด้วยไฟฟ้า CaCl2 ที่หลอมเหลว
แร่ซีเลสไทต์ (celestite, SrSO4)
Sr แยกสลายด้วยไฟฟ้า SrCl2 ที่หลอมเหลว
แร่สทรอนเทียไนต์ (strontianite, SrCO3)
แร่แบไรต์ (baryte, BaSO4)
Ba แยกสลายด้วยไฟฟ้า BaCl2 ที่หลอมเหลว
แร่วิเทอไรต์ (witherite, BaCO3)
แร่พิซเบลนด์ (pitchblende)
Ra แยกสลายด้วยไฟฟ้า RaCl2 ที่หลอมเหลว
Ra 1 กรัม/แร่ 7 ตัน

ปฏิกิริยาของโลหะแอลคาไลน์เอิร์ท (IIA) กับธาตุต่างๆ (M = โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท)


ปฏิกิริยา หมายเหตุ
M + X2 -----> MX2 X2 = โมเลกุลของธาตุฮาโลเจน
2M + O2 -----> 2MO ยกเว้น Ba จะให้ BaO2
M + S -----> MS -
3M + N2 -----> M3N2 เกิดที่อุณหภูมิสงู
6M + P4 -----> 2M3P2 เกิดที่อุณหภูมิสงู
M + H2 -----> MH2 M = Ca, Sr, Ba เกิดทีอ่ ุณหภูมสิ ูง
Mg เกิดที่ความดันสูง
M + 2H2O -----> M(OH)2 + H2 M = Ca, Sr, Ba
Be + 2H2O + 2OH- -----> [Be(OH)4]2- + H2 -
Mg + H2O -----> MgO + H2 -

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 14


เกี่ยวกับธาตุฮาโลเจน (VIIA) ที่สาคัญ
1. เกิดปฏิกิริยาการแทนที่ โดยธาตุที่มี EN สูงจะสามารถแทนที่ธาตุที่มี EN ต่่า ในหมูเ่ ดียวกันได้
ตัวอย่างเช่น F2 + 2Cl- -----> 2F- + Cl2 เกิดได้
2F- + Cl2 -----> F2 + 2Cl- เกิดไม่ได้
2. ละลายในคาร์บอนเตตระคลอไรด์ (CCl4) ได้ดีกว่าในน่า
Cl2 / CCl4 -----> ไม่มีสี
Br2 / CCl4 -----> สีน่าตาลหรือสีส้ม
I2 / CCl4 -----> สีม่วง
3. เกิดปฏิกิริยารีดอกซ์ได้ เช่น กับสารละลาย Na2S
Na2S + X2 -----> 2NaX + S; X = ธาตุฮาโลเจน
โดย S2- -----> S + 2e- ออกซิเดชัน
X2 + 2e- -----> 2X- รีดักชัน

สารประกอบคลอไรด์ของธาตุในคาบที่ 2 และ 3
คาบที่ 2 LiCl BeCl2 BCl3 CCl4 NCl3 Cl2O FCl
จุดหลอมเหลว (oC) 610 405 -107 -23 -27 -20 -154
จุดเดือด (oC) 1350 520 12 77 71 (สลาย) 4 -101
สถานะ ของแข็ง ของแข็ง แก๊ส ของเหลว ของเหลว แก๊ส แก๊ส
ไม่ละลาย ไม่ละลาย
ความเป็นกรด-เบส กลาง กลาง กรด กรด กรด
น่า น่า

คาบที่ 3 NaCl MgCl2 AlCl3 SiCl4 PCl3, PCl5 S2O Cl2


จุดหลอมเหลว (oC)
จุดเดือด (oC)
ของเหลว,
สถานะ ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง ของเหลว ของเหลว แก๊ส
ของแข็ง
ความเป็นกรด-เบส กลาง กลาง กรด กรด กรด กรด กรด

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 15


สรุปสารประกอบคลอไรด์ของโลหะ
1. ส่วนใหญ่เป็นของแข็ง ยกเว้น BeCl2 เป็นแก๊ส
2. จุดเดือดจุดหลอมเหลวสูง
3. เมื่อละลายน่า
3.1) หมู่ 1, 2 มีคุณสมบัติเป็นกลาง เช่น LiCl, NaCl, MgCl2 ยกเว้น BeCl2 เป็นกรด
3.2) หมู่ 3 มีคุณสมบัตเิ ป็นกรด เช่น AlCl3 (Lewis acid)
สรุปสารประกอบคลอไรด์ของอโลหะ
1. มักเป็นของเหลวหรือแก๊ส ยกเว้น PCl5 เป็นของแข็ง
2. จุดเดือดจุดหลอมเหลวต่่า ยกเว้น PCl5
3. เมื่อละลายน่า จะมีสมบัติเป็นกรด เช่น SCl2, PCl3, OCl2 ยกเว้น CCl4, NCl3 ไม่ละลายน่า

สารประกอบออกไซด์ของธาตุในคาบที่ 2 และ 3
คาบที่ 2 Li2O BeO B2O3CO2 N2O5 OF2
-78.5
จุดเดือด (oC) 1200 3900 1860 47 (สลาย) -144.8
(ระเหิด)
สถานะ ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง แก๊ส ของเหลว แก๊ส
การละลายนาและ ละลายได้
ละลายได้ดี ละลายได้ ละลายได้ ละลายได้เล็กน้อย
เล็กน้อย
สมบัติของ สารละลาย ไม่ละลาย สารละลาย สารละลาย แยกสลายให้แก๊ส O2
สารละลาย
สารละลาย เป็นเบส เป็นกรด เป็นกรด สารละลายเป็นกรด
เป็นกรด

คาบที่ 3 Na2O MgO Al2O3 SiO2 P4O10 SO2 Cl2O


300 3.8
จุดเดือด (oC) - 3600 2980 2230 -10
(ระเหิด) (ระเหิด)
สถานะ ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง แก๊ส ของเหลว
การละลายนาและ ละลายได้
ละลายได้ดี ละลายได้ ละลายได้ ละลายได้
เล็กน้อย
สมบัติของ สารละลาย ไม่ละลาย ไม่ละลาย สารละลาย สารละลาย สารละลาย
สารละลาย
สารละลาย เป็นเบส เป็นกรด เป็นกรด เป็นกรด
เป็นเบส

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 16


สรุปสารประกอบออกไซด์ของโลหะ
1. สถานะเป็นของแข็ง
2. จุดเดือดจุดหลอมเหลวสูง
3. เมื่อละลายน่ามีคุณสมบัตเิ ป็นเบส ยกเว้น BeO, Al2O3, SiO2 ไม่ละลายน่า และ B2O3 เป็นกรด
สรุปสารประกอบออกไซด์ของอโลหะ
1. มักเป็นของเหลวหรือแก๊ส ยกเว้น P2O5 เป็นของแข็ง
2. จุดเดือดจุดหลอมเหลวต่่า ยกเว้น P2O5
3. เมื่อละลายน่าจะมีสมบัตเิ ป็นกรด
จากข้อมูลของ oxide บางชนิดไม่ละลายน่า เช่น BeO, Al2O3 และ SiO2 แต่พบว่า
SiO2 มีสมบัตเิ ป็นกรดเนื่องจากสามารถท่าปฏิกริ ิยากับเบสได้ดังปฏิกิริยา
SiO2 + 2NaOH -------> Na2SiO3 + H2O
กรณีของ BeO และ Al2O3 พบว่ามีสมบัติเป็นได้ทังกรดและเบส คือถ้าท่าปฏิกริ ิยากับกรดจะท่า
หน้าที่เป็นเบส และถ้าท่าปฏิกริ ิยากับเบสจะท่าหน้าที่เป็นกรด เรียกออกไซด์พวกนีว่า Amphoteric oxide
ยกตัวอย่างเช่น BeO + 2NaOH + H2O -------> [Be(OH)4]2- + 2Na+
BeO + 2HCl -------> BeCl2 + H2O
Al2O3 + 2NaOH + H2O -------> 2[Al(OH)4]- + 2Na+
Al2O3 + 6HCl -------> 2AlCl3 + 3H2O

ธาตุทรานสิชันคาบที่ 4
1. เวเลนต์อเิ ล็กตรอนเท่ากับ 2 ยกเว้น โครเมียมและคอปเปอร์
2. รัศมีอะตอมเล็กลงจากซ้ายไปขวา
3. จุดเดือดจุดหลอมเหลวสูง
4. ความหนาแน่นเพิ่มขึนจากซ้ายไปขวา
5. สามารถดึงดูดด้วยแม่เหล็กและสามารถแสดงคุณสมบัตเิ ป็นแม่เหล็กได้ เช่น Fe, Co, Ni
6. มีเลขออกซิเดชั่นได้หลายค่า ยกเว้น Sc และ Zn มีค่าเดียวคือ +3 และ +2 ตามล่าดับ

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 17


ตารางแสดงเลขออกซิเดชันของโลหะทรานสิชันคาบที่ 4
Sc Ti V Cr Mn Fe Co Ni Cu Zn
+7
+6 +6 +6
+5 +5 +5 +5 +5
+4 +4 +4 +4 +4 +4 +4
+3 +3 +3 +3 +3 +3 +3 +3 +3
+2 +2 +2 +2 +2 +2 +2 +2 +2
+1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1

การคิดเลขออกซิเดชั่น
เลขออกซิเดชัน คือ เลขที่ถกู ก่าหนดขึนเพื่อแสดงค่าประจุไฟฟ้าหรือประจุไฟฟ้าของไอออนหรือ
อะตอมของธาตุ
การก่าหนดว่าธาตุต่างๆ จะมีเลขออกซิเดชันเท่าใด เป็นไปตามเกณฑ์ต่อไปนี
1. ธาตุอิสระทุกชนิดทีอ่ ยู่ในรูปอะตอมหรือโมเลกุลมีเลขออกซิเดชันเท่ากับ 0 เช่น Ca, Na, Zn, He,
O2, P4, และ S8
2. ออกซิเจนในสารประกอบทั่วไปมีเลขออกซิเดชั่นเท่ากับ -2
2.1 ในสารประกอบออกไซด์ เช่น H2O2 หรือ BaO2 ออกซิเจนจะมีเลขออกซิเดชั่น -1
2.2 ในสารประกอบซูเปอร์ออกไซด์ เช่น KO2 ออกซิเจนจะมีเลขออกซิเดชั่น –1/2
2.3 ในสารประกอบ OF2 ออกซิเจนจะมีเลขออกซิเดชั่น +2
3. ไฮโดรเจนในสารประกอบทั่วไปมีเลขออกซิเดชั่น +1 ยกเว้นในสารประกอบไฮไดร์ของโลหะ เช่น
NaH หรือ CaH2 ไอโดรเจนมีเลขออกซิเดชั่น -1
4. โดยทั่วไป หมู่ 1, 2, 3 เลขออกซิเดชั่นเท่ากับ +1, +2, +3 ตามล่าดับ
5. โดยทั่วไป หมู่ 7, 6, 5 เลขออกซิเดชั่นเท่ากับ -1, -2, -3 ตามล่าดับ
6. ไอออนที่ประกอบด้วยอะตอมมากกว่าหนึ่งชนิด ผลรวมของเลขออกซิเดชั่นของทุกอะตอม
จะเท่ากับประจุของไอออนนัน เช่น SO42- มีประจุ -2 ผลรวมประจุของธาตุทุกตัวจึงเท่ากับ -2
7. ไอออนที่เป็นอนุมูลกลุม่ ที่ควรรู้ เช่น
NH4+, OH-, NO3-, NO2-, CO32-, PO43-, CN-, SCN-, H2O, NH3

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 18


สีของไอออนของธาตุทรานสิชัน
ไอออน เลข OA. ชื่ออนุภาค สี
Fe2+ +2 Iron (II) ion เขียว
Fe3+ +3 Iron (II) ion น่าตาล
Mn2+ +2 Manganese (II) ion ไม่มีสี หรือ ชมพูอ่อน
Mn(OH)3 +3 Manganese (III) hydroxide น่าตาล
MnO2 +4 Manganese (IV) oxide ด่า
MnO42- +6 Manganate ion เขียว
MnO4- +7 Permanganate ion ม่วง
Cr2+ +2 Chromium (II) ion น่าเงิน
Cr3+ +3 Chromium (III) ion เขียว
CrO42- +6 Chromate ion เหลือง
Cr2O72- +6 Dichromate ion ส้ม

ปฏิกิริยานิวเคลียร์
1. ปฏิกิริยาฟิชชัน (Neclear fission) เป็นปฏิกริ ิยาที่นิวเคลียสของธาตุหนัก แตกออกเป็นสอง
ส่วนที่มีขนาดประมาณครึง่ หนึง่ ของนิวเคลียสเดิม
ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ได้น่าปฏิกริ ิยาฟิชชันในเตาปฏิกรณ์ปรมาณูมาใช้ประโยชน์ในการ
ผลิตไอโซโทปกัมมันตรังสี ใช้ในทางการแพทย์ เกษตร และอุตสาหกรรมม นอกจากนีพลังงานความร้อนที่
ได้จากการควบคุมปฏิกิริยาสามารถน่าไปใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าได้
2. ปฏิกิริยาฟิวชั่น (Nuclear fussion, Thermonuclear reaction) เป็นปฏิกิริยาทีเ่ กิดจากแก่น
ของอะตอมเบาหลอมรวมกันเข้าเป็นแก่นอะตอมทีห่ นักกว่าแล้วมีพลังงานเกิดขึนอย่างมหาศาล

การหาเกี่ยวกับปริมาณของสารกัมมันตรังสี
การค่านวณเกี่ยวกับค่าครึง่ ชีวิต (t1/2)

ปริมาณสารที่เหลือ = (1/2)n x ปริมาณสารเริ่มต้น


โดยที่ n = เวลาทังหมด / ครึ่งชีวิตของธาตุ

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 19


ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
สรุปสาระสาคัญ
>> ของแข็ง (Solid) <<
ของแข็งมีลกั ษณะที่สาคัญ ได้แก่
1. ปริมาตรและรูปร่างคงที่ไม่เปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ
2. อนุภาคอยู่ใกล้ชิดกันมาก
3. อนุภาคสั่นไปมาในตาแหน่งเดิม
ของแข็งผลึก (Crystalline Solid) คือ ของแข็งที่มโี ครงสร้างประกอบด้วยอนุภาคเรียงกันอยู่
อย่างมีระเบียบแบบแผน ประกอบด้วย
1. ผลึกโมเลกุล (Molecular Crystal)
2. ผลึกโคเวเลนต์ร่างตาข่าย (Network Covalent Crystal)
3. ผลึกโลหะ (Metallic Crystal)
4. ผลึกไอออนิก (Ionic Crystal)
ชนิดของ อนุภาค
แรงระหว่างอนุภาค สมบัติทั่วไป ตัวอย่าง
ผลึก ภายในผลึก
ผลึกโมเลกุล อะตอมหรือ โมเลกุลมีข้วั - อ่อน โมเลกุลมีขั้ว
โมเลกุล - แรงดึงดูด - จุดหลอมเหลวต่า น้าแข็ง
ระหว่างขั้ว - ไม่นาความร้อนและไฟฟ้า ผลึกกรดซาลิไซลิก
- พันธะไฮโดรเจน
โมเลกุลไม่มีขั้ว โมเลกุลไม่มีขั้วหรือ
- แรงลอนดอน อะตอม น้าตาล
ทราย กามะถัน
ผลึก อะตอม พันธะโคเวเลนต์ - เปราะ จุดหลอมเหลวสูง เพชร, แกรไฟต์,
โคเวเลนต์ - ไม่นาความร้อนและไฟฟ้า ควอตซ์
ร่างตาข่าย ยกเว้น เพชร นาความร้อน
และแกรไฟต์นาไฟฟ้าได้
ผลึกโลหะ อะตอม พันธะโลหะ - เหนียว จุดหลอมเหลวสูง เหล็ก, สังกะสี,
- นาความร้อนและไฟฟ้าได้ โลหะต่างๆ
ดี
ผลึกไอออนิก ไอออนบวก พันธะไอออนิก - เปราะ จุดหลอมเหลวสูง NaCl, KNO3,
และ - ไม่นาความร้อนและไฟฟ้า MgO
ไอออนลบ

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 20


สมบัติบางประการของของแข็งบางชนิดที่อยู่ในรูปต่างๆ

(จากหนังสือแบบเรียน สสวท.)
กามะถัน

โมเลกุลกามะถัน (S8) ผลึกกามะถันรอมบิก (เสถียร) ผลึกกามะถันมอนอคลินิก

ฟอสฟอรัส

ฟอสฟอรัสขาว ฟอสฟอรัสดา ฟอสฟอรัสแดง

คาร์บอน

แกรไฟต์ เพชร ฟลูเรอรีน


ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 21
>> ของเหลว (Liquid) <<
ของเหลวมีคุณลักษณะที่สาคัญ ได้แก่
1. ปริมาตรคงที่ แต่รูปร่างเปลี่ยนไปตามภาชนะทีบ่ รรจุ
2. อนุภาคอยู่ใกล้ชนิดกัน
3. อนุภาคเคลื่อนที่ไปทั่วของเหลว
ความตึงผิว (Surface Tension) คืองานที่ใช้ในการขยายพื้นที่ผิวของของเหลว 1 หน่วย ขึ้นกับ
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของเหลวโดยมีความสัมพันธ์ดงั นี้
“ แรงยึดเหนี่ยวมาก -----> ความตึงผิวสูงขึ้น อุณหภูมิสูง ------> ความตึงผิวลดลง ”
แรงตึงผิว (Tension Force) คือแรงที่ดึงผิวของของเหลวเข้ามาภายในเพื่อให้เหลือพื้นทีผ่ ิวของ
ของเหลวน้อยทีส่ ุด

การระเหย (Evaporation) คือกระบวนการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเป็นไอ ถ้าโมเลกุล


ที่มาพลังงานจลน์สูงอยู่ที่ผิวของเหลวก็สามารถหลุดออกไปในสถานะแก๊ส โดย ปัจจัยที่ทาให้เกิดการ
ระเหย ได้แก่ อุณหภูมิ ชนิดของเหลว พื้นทีผ่ ิวของเหลว ความดันบรรยากาศเหนือของเหลว

การระเหยในภาชนะเปิด การระเหยในภาชนะปิด

ความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว (Vapor Pressure) คือความดันไอเหนือของเหลวขณะที่


มีอัตราการระเหยเท่ากับอัตราการควบแน่น โดยสารทีม่ ีจุดเดือดต่า ความดันไอสูง เนื่องจากระเหยง่าย
ส่วนสารที่มจี ุดเดือดสูงความดันไอต่า ปัจจัยที่ทาให้เกิดความดันไอ คือ อุณหภูมิและแรงดึงดูดระหว่าง
โมเลกุลของของเหลว

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 22


ตัวอย่างความสัมพันธ์ระหว่างความดันไอกับอุณหภูมิของของเหลวชนิดต่างๆ

การเดือด (Boiling) คือปรากฏการณ์ที่ของเหลวได้รับความร้อนและเปลี่ยนสถานะเป็นไออย่าง


รวดเร็ว โมเลกุลของของเหลวทั่วทุกบริเวณในภาชนะสามารถที่จะหลุดหนีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลได้
จุดเดือด คือ อุณหภูมิที่ของเหลวมีความดันไอเท่ากับความดันบรรยากาศ
จุดเดือดปกติ คือ จุดเดือดของของเหลวที่ความดัน 1 บรรยากาศ

>> แก๊ส (Gas) <<

ประเภทของก๊าซ
นักวิทยาศาสตร์แบ่งก๊าซออกเป็น 2 ประเภทดังนี้
1. ก๊าซอุดมคติ (ideal gas) หรือ ก๊าซสมบูรณ์ (perfect gas) เป็นก๊าซสมมติที่นกั วิทยาศาสตร์
กาหนดขึ้นมาเพือ่ อธิบายพฤติกรรมบางอย่างของก๊าซ ไม่มอี ยู่จริงในธรรมชาติ ไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
โมเลกุล ไม่มีปริมาตร (ถือว่าเป็นเพียงจุดทีอ่ ยู่ในภาชนะที่บรรจุก๊าซเท่านั้น ซึ่งมีค่าน้อยมากเมื่อเทียบกับ
ขนาดของภาชนะ ทาให้สามารถตัดทิ้งได้และถือว่าไม่มปี ริมาตร) ก๊าซอุดมคติจะมีพฤติกรรมต่างๆ เป็นไป
ตามกฎของก๊าซอุดมคติ
2. ก๊าซจริง (real gas) หมายถึง ก๊าซทีม่ ีอยู่ในธรรมชาติจริงๆ เช่น H2, O2, CO2 ฯลฯ มีแรงยึด
เหนี่ยวระหว่างโมเลกุล มีปริมาตรโมเลกุล มีพฤติกรรมที่ไม่เป็นไปตามกฎของก๊าซอุดมคติ
ก๊าซจริงจะมีพฤติกรรมเป็นก๊าซอุดมคติหรือคล้ายกับก๊าซอุดมคติเมื่ออุณหภูมิสงู ๆ และเมื่อความดันต่่าๆ
ซึ่งอาจจะท่าให้โมเลกุลของก๊าซอยู่ห่างกันมาก ท่าให้มีจ่านวนโมเลกุลน้อย มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
โมเลกุลน้อยจนถือว่าไม่มีและจัดได้ว่าเป็นก๊าซอุดมคติ

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 23


กฎของบอยล์ (Boyle , s Law)

“เมื่อใช้อุณหภูมิและมวลของก๊าซคงที่ ปริมาตรของก๊าซจะแปรผกผันกับความดัน”
P1V1 = P2V2 = P3V3 = ……..
กฎของชาร์ลส์ (Charles , law)

“เมื่อความดันและมวลของก๊าซคงที่ ปริมาตรของก๊าซจะแปรผันโดยตรง กับอุณหภูมเิ คลวิน”


V1 V2 Vn
T1 = T2 = Tn = …….
กฎของเกย์ลุสแซก (Gay - Lussac, s Law)

“เมื่อปริมาตรและมวลของก๊าซคงที่ ความดันของก๊าซจะแปรผันโดยตรงกับอุณหภูมเิ คลวิน”


P1 P2 P1 T1
T1 = T2 หรือ P2 = T2
กฎของอาโวกาโดร (Avogadro, s law)

“เมื่ออุณหภูมิและความดันคงที่ ปริมาตรของก๊าซจะแปรผันโดยตรงกับปริมาณ (จ่านวนโมล) ของก๊าซนั้น”


V1 V2 V1 n1
n1 = n2 หรือ V2 = n2
กฎรวมของก๊าซ
P1V1 P2 V2
T1 = T2 = ……
สมการของก๊าซอุดมคติ
เป็นการนากฎของบอยล์ กฎของชาร์ลส์และกฎของอาโวกาโดรมารวมกัน เพือ่ ใช้หาความสัมพันธ์
ระหว่าง
P, V, T และ n ของก๊าซ
PV = nRT

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 24


สมการของก๊าซอุดมคติกับมวลโมเลกุลและความหนาแน่น
จากการคานวณเกี่ยวกับโมล
n = W = N
M 6.02 x 1023
เมื่อ N = จานวนโมเลกุล, M = มวลโมเลกุล, W = มวล, n = โมล
เมื่อนามาประยุกต์เข้ากับสมการของก๊าซอุดมคติ PV = nRT จะสามารถคานวณเกี่ยวกับมวล
โมเลกุลและความหนาแน่นของก๊าซ (d) ได้

d =
P
M RT
ตัวอย่างที่ 1 ก๊าซ N2 จานวน 10.0 dm3 ที่ 25 0 C อ่านค่าความดันได้ 0.40 atm
ก. ถ้าเพิ่มความดันเป็น 2.0 atm จะมีปริมาตรเป็นเท่าใด (สมมติก๊าซขยายตัวโดยอุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง)
(2)
ข. ถ้าลดปริมาตรของภาชนะให้เหลือ 5.0 dm3 ที่อุณหภูมิ 25 0C เท่าเดิมจะวัดความดันได้เท่าใด (0.8)
ตัวอย่างที่ 2 ก๊าซออกซิเจน จานวนหนึ่งบรรจุในถังปิดที่ปรับขนาดได้ จากการทดลองพบว่าที่ 30 0C วัด
ความดันได้ 380 mmHg ในปริมาตร 500 cm3
ก. ถ้าต้องการให้ความดันเพิม่ ขึ้นอีกเท่าตัว จะต้องลดปริมาตรลงกี่ cm3 (250)
ข. ถ้าขยายปริมาตรให้เพิ่มขึ้น 100 cm3 ความดันจะลดลงกี่ mmHg (316.7)
ตัวอย่างที่ 3 ก๊าซ He จานวนหนึ่งอยู่ในถังปิดที่ 20 0C วัดความดันได้ 400 mmHg. ถ้านาก๊าซ He
ทั้งหมดมาใส่ในถังอีกใบหนึ่งขนาด 20 dm3 ปรากฏว่าเหลือ 150 mmHg. ถังที่บรรจุก๊าซในตอนแรกมี
ปริมาตรเท่าใด (7.5)
ตัวอย่างที่ 4. ก๊าซออกซิเจนจานวนหนึ่งวัดปริมาตรได้ 200 cm3 ที่ 27 0C ความดัน 700 mmHg
ก. ถ้าทาให้อุณหภูมิเป็น 40 0C จะมีปริมาตรเท่าใด (ความดันคงที่) (208.7)
ข. ถ้าต้องการให้เหลือปริมาตรเพียง 120 cm3 ที่ 700 mmHg จะต้องทาทีอ่ ุณหภูมิเท่าใด (-93 oC)
ตัวอย่างที่ 5 ก๊าซไนโตรเจน 2.5 ลิตรที่ 1 atm 30 0C
ก. ถ้าเพิ่มอุณหภูมิ 10 0C ปริมาตรจะเพิม่ กี่ลิตร (2.583)
ข. ถ้าต้องการให้ปริมาตรลดลง 300 cm3 จะต้องลดอุณหภูมิกี่ 0C (กาหนดให้การทดลองทัง้ 2 กรณี ทาที่
ความดันคงที่) (36.4)

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 25


ตัวอย่างที่ 6 เมื่อนาของเหลว A 5 กรัมมาทาให้เป็นไอทั้งหมดที่ 40 0C ความดัน 380 mmHg ในถัง
พลาสติกซึ่งไม่มีการขยายตัวขนาด 10 dm3 ถ้าต้องการให้ความดันลดลง 100 mmHg จะต้องทาที่
อุณหภูมิเท่าใด (-42.4 oC)
ตัวอย่างที่ 7. ก๊าซออกซิเจนจานวนหนึ่งที่ 27 องศาเซลเซียส บรรจุอยู่ในถังขนาด 1.5 ลิตร วัดความดันได้
0.8 atm ถ้านาออกซิเจนทัง้ หมดนี้ใส่ในถังอีกใบหนึง่ ขนาด 2.5 ลิตร ที่ 0 0C จะอ่านความดันได้เท่าใด
(0.427)
ตัวอย่างที่ 8 ก๊าซเฉื่อย Ne 800 cm3 ที่ STP
ก. มีปริมาตรกีล่ ิตรที่ 30 0C 152 mmHg (4.44)
ข. ถ้านาทั้งหมดไปบรรจุในถังขนาด 500 cm3 ความดัน 2 atm จะอ่านอุณหภูมิได้เท่าใด (341.3 K)
ตัวอย่างที่ 9 ก๊าซ CO2 จานวนหนึ่งที่ 30 องศาเซลเซียส 0.5 atm วัดปริมาตรได้ 10.0 ลิตร
ก. ก๊าซ CO2 จานวนนี้หนักกี่กรัม (8.85)
ข. ก๊าซ CO2 จานวนนี้มีกี่โมเลกุล (1.21x1023)
ตัวอย่างที่ 10 จงหาจานวนโมลของแก๊สสมบรูณ์ ซึง่ มีปริมาตรเท่ากับ 0.452 l ที่ 87 oC และ 0.620 atm
(9.49x10-3)
ตัวอย่างที่ 11 จงหาความหนาแน่นของ NH3 ในหน่วย g/l ที่ 752 mmHg และ 55 oC (0.626 g/l)
ตัวอย่างที่ 12 จงหาน้าหนักโมเลกุลของแก๊สที่มีความหนาแน่นเท่ากับ 7.71 g/l ที่ 36 oC และ 2.88
atm (67.9 g/mol)
ตัวอย่างที่ 13 แก๊สชนิดหนึ่งเกิดจาก Si และ F โดยมีสัดส่วนโดยน้าหนักคือ Si = 33.0%, F = 67.0%
จงหาสูตรโมเลกุลของสารประกอบนี้ เมื่อแก๊สนี้มีน้าหนัก 2.38 g ที่ 1.70 atm มีปริมาตร 0.210 l และ
อุณหภูมิ 35 oC (Si2F6)

การแพร่ของก๊าซ
เนื่องจากโมเลกุลของก๊าซมีการเคลือ่ นที่ตลอดเวลาด้วยอัตราเร็วเฉลี่ยคงที่ ขณะทีเ่ คลื่อนที่อาจจะ
ชนกันเองบ้างชนกับโมเลกุลของอากาศที่ก๊าซนั้นเคลื่อนที่ผ่านหรือชนกับผนังภาชนะบ้างจึงทาให้ทิศ
ทางการเคลือ่ นที่ไม่แน่นอน ลักษณะของการเคลือ่ นที่ดังกล่าวของก๊าซที่เกิดขึ้นในทุกทิศทางก็คือการแพร่
นั่นเอง

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 26


กฎการแพร่ของเกรแฮม (Graham,s law of diffusion)
“ภายใต้อุณหภูมิและความดันเดียวกัน อัตราการแพร่ของก๊าซใด ๆ จะเป็นสัดส่วนผกผันกับรากที่สองของ
มวลโมเลกุล หรือความหนาแน่นของก๊าซ”
ถ้าให้ V = อัตราการแพร่ของก๊าซ, M = มวลโมเลกุลของก๊าซ, d = ความหนาแน่นของก๊าซ
V1 M2 d2
V2 = M1 = d1
ในกรณีที่ต้องการพิจารณาอัตราการแพร่ของก๊าซในเทอมของระยะและเวลาให้แทนอัตราการแพร่

V = ระยะทาง
เวลา (t)
(s) ลงในสูตรดังกล่าวซึง่ จะได้ความสัมพันธ์ทั่ว ๆ ไปดังนี้

V1 s1 t2 M2 d2
V2 = t1 . s2 = M1 = d1
ในกรณีที่การแพร่ของก๊าซมีระยะทางเท่ากัน ( s1 = s2 ) จะได้
V1 t2 M2 d2
V2 = t1 = M1 = d1
ในกรณีที่การแพร่ของก๊าซมีระยะทางเท่ากัน ( s1 = s2 ) จะได้
V1 s1 M2 d2
V2 = s2 = M1 = d1
ตัวอย่างที่ 1 จงเรียงลาดับอัตราการแพร่ของก๊าซใดต่อไปนี้จากเร็วไปหาช้าตามลาดับ
Ne, N2, NO, O2, Ar
ตัวอย่างที่ 2 ถ้าก๊าซ X มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 81 เคลือ่ นที่ในภาชนะหนึ่งได้ระยะทาง 30 เซนติเมตร
ในเวลา 2 วินาที ก๊าซ Y มีมวลโมเลกุล เท่ากับ 25 จะเคลื่อนที่ได้ในระยะทางกีเ่ ซนติเมตรในเวลา 4
วินาที (108 cm)
ตัวอย่างที่ 3 ที่ 25 องศาเซลเซียส 1 atm ก๊าซ A มีความหนาแน่นเป็น 3 เท่าของก๊าซ B ถ้า
ก๊าซ A แพร่ได้ 50 cm ในเวลา 20 วินาที
ก. ก๊าซ B จะแพร่ได้เร็วกี่ cm/วินาที (4.33)
ข. ถ้าต้องการให้ก๊าซ B แพร่ได้เร็ว 80 cm จะต้องใช้เวลากี่วินาที (18.5)

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 27


ปริมาณสารสัมพันธ์
สรุปสาระสาคัญ
p+................................
มวลอะตอม, มวลโมเลกุล, โมล
e-..................................
มวลของธาตุคิดจากน้าหนักของ.......................กับ........................
n...................................
มวลของธาตุ 1 อะตอม เท่ากับ...........................................................
มวลของสารประกอบ 1 โมเลกุล เท่ากับ.........................................................................................
มวลของไอออน 1 ไอออน เท่ากับ...................................................................................................

EX. เติมค้าตอบให้ถูกต้อง (ก้าหนดเลขมวลของ H = 1, C = 12, O = 16, Na = 23, P = 31)


Na 1 อะตอม มีมวลเท่ากับ..................................................................................
O 1 อะตอม มีมวลเท่ากับ.................................................................................
แอมโมเนีย 1 โมเลกุล มีมวลเท่ากับ..................................................................................
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 1 โมเลกุล มีมวลเท่ากับ...................................................................................
Na+ 1 ไอออน มีมวลเท่ากับ..................................................................................
O2- 1 ไอออน มีมวลเท่ากับ..................................................................................
ฟอตเฟสไอออน 1 ไอออน มีมวลเท่ากับ..................................................................................

EX. ถ้าต้องการ O 16 กรัม จะต้องใช้ O กี่อะตอม

EX. ถ้าต้องการ H2O 18 กรัม จะต้องใช้ H2O กี่โมเลกุล

EX. ถ้าต้องการ Na+ 23 กรัม จะต้องใช้ Na+ กี่ไอออน

1 โมลอะตอม เท่ากับ.....................................อะตอม
1 โมลโมเลกุล เท่ากับ.....................................โมเลกุล
1 โมลไอออน เท่ากับ.......................................ไอออน

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 28


ความสัมพันธ์ระหว่างโมลกับมวล
EX. เติมค้าตอบให้ถูกต้อง
Na 1 โมลอะตอม มีมวลเท่ากับ..............................................................................
เอทานอล 1 โมลโมเลกุล มีมวลเท่ากับ..............................................................................
ซัลเฟตไอออน 1 โมลไอออน มีมวลเท่ากับ..............................................................................
NH4+ 1 โมลไอออน มีมวลเท่ากับ..............................................................................
CaCO3 1 โมลโมเลกุล มีมวลเท่ากับ..............................................................................
Na2SO4·5H2O 1 โมลโมเลกุล มีมวลเท่ากับ..............................................................................

ความสัมพันธ์ระหว่างโมลอะตอม, โมลโมเลกุล, โมลไอออน


EX. เติมค้าตอบให้ถูกต้อง
H 2S 1 โมลโมเลกุล เท่ากับ.....................................................................โมลอะตอม
SO42- 1 โมลไอออน เท่ากับ.....................................................................โมลอะตอม
MgSO4·5H2O 1 โมลโมเลกุล เท่ากับ.....................................................................โมลอะตอม
K3[Fe(CN)6] 1 โมลโมเลกุล มี C เท่ากับ.............................................................โมลอะตอม
มี Fe เท่ากับ...........................................................โมลอะตอม
MgCl2 1 โมลโมเลกุล เท่ากับ.....................................................................โมลไอออน
Al(OH)3 1 โมลโมเลกุล เท่ากับ.....................................................................โมลไอออน

ความสัมพันธ์ระหว่างโมลกับปริมาตรของแก๊ส ที่ STP

*** แก๊สทุกชนิด 1 โมล มีปริมาตร เท่ากับ.................................................

EX. เติมปริมาตรที่ STP ของสารต่อไปนีให้ถูกต้อง


CH4 1 โมล มีปริมาตร เท่ากับ................................. CO2 2 โมล มีปริมาตร เท่ากับ......................
SO2 0.5 โมล มีปริมาตร เท่ากับ.............................. H 2S มีปริมาตร เท่ากับ.................................
H2S 34 กรัม มีปริมาตร เท่ากับ............................... CH3COOH 1 โมล มีปริมาตร เท่ากับ......................
NaCl 1 โมล มีปริมาตร เท่ากับ................................. CaCO3 1 โมล มีปริมาตร เท่ากับ......................

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 29


แบบฝึกหัด
1. กรดแอซีติก 24 กรัม จะมีจ้านวนออกซิเจนอะตอมเท่าใด

2. แก๊สมีเทน 48 กรัม จะมีจ้านวนโมเลกุล เท่ากับเท่าใด

3. แก๊สโพรเพน 22 กรัม มีปริมาตรเท่าใดที่ STP

4. สารในข้อใดมีมวลมากทีส่ ุด
ก. แก๊ส CO2 2,240 cm3 ที่ STP ข. น้า 5.4 กรัม
ค. กลูโคส 0.25 โมล ง. แก๊ส O2 6.4 กรัม

5. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ปริมาณเท่าใด จึงจะมีจ้านวนอะตอมของธาตุออกซิเจนเท่ากับจ้านวนอะตอม
ของ ธาตุไฮโดรเจนใน C2H6 1.204×1023 โมเลกุล
ก. 0.3 โมล ข. 52.8 กรัม
ค. 3.01×1023 โมเลกุล ง. 13.44 dm3 ที่ STP

6. ข้อใดต่อไปนีไม่ถูกต้อง
ก. NaOH 2 โมล มีมวล 80 กรัม
ข. แก๊สออกซิเจน 0.3 โมล มีปริมาตร 6.72 dm3 ที่ STP
ค. H2SO4 0.5 โมล มีจ้านวน 3.01×1023 โมเลกุล
ง. โพแทสเซียม 4 โมล มีมวล 4×6.0×1023 กรัม

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 30


การหามวลอะตอมของธาตุตา่ งๆ ในตารางธาตุ
การหาเลขมวลของธาตุต่างๆ หาจากธาตุทุกๆ ไอโซโทปทีม่ ีในธรรมชาติ ยกเว้นไอโซโทปที่เป็นกัมมันตรังสี

มวลอะตอม = (มวลไอโซโทปที่ 1 x % ) + ( มวลไอโซโทปที่ 2 x % ) + …


100

1. จงค้านวณมวลอะตอมเฉลี่ยของ 20
10Ne และ 10Ne โดยก้าหนดให้ 10Ne และ 10Ne มีในธรรมชาติ 80%
22 20 22

และ 20 % ตามล้าดับ

2. จงค้านวณมวลอะตอมเฉลี่ยของ 31𝑋 , 33𝑋 และ 35𝑋 โดยก้าหนดให้มีเปอร์เซ็นต์ในธรรมชาติเป็น


50% 30% และ 20% ตามล้าดับ

3. ทองแดงมีไอโซโทปทีเ่ สถียร 2 ไอโซโทป คือ 63Cu และ 65Cu สมมุติว่า ไอโซโทปมีมวลอะตอมเท่ากับ


63 และ 65 ตามล้าดับ จะมี 63Cu และ 65Cu ในธรรมชาติอย่างละกี่เปอร์เซ็นต์ ก้าหนดมวลอะตอม
เฉลี่ยของทองแดงเท่ากับ 63.546

4. ธาตุ X มี 3 ไอโซโทป ซึ่งมีปริมาณในธรรมชาติเท่ากับ 20%, 20%, 60% ตามล้าดับ ไอโซโทปที่ 2 และ


ที่ 3 มีมวลอะตอม 18 และ 20 ตามล้าดับ ถ้ามวลอะตอมเฉลี่ยเท่ากับ 18.8 จงหามวลอะตอมของ
ไอโซโทปที่ 1

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 31


ร้อยละของธาตุในสารประกอบ

มวลอะตอมของธาตุ 𝐱 จ้านวนอะตอมของธาตุในสูตร
ร้อยละของธาตุในสารประกอบ = x 100
มวลโมเลกุลของสารประกอบ

จงหาเปอร์เซ็นต์โดยมวลของธาตุทุกชนิด ใน H2SO4 (ก้าหนดให้ H = 1, S = 32, O = 16)

จงหามวลร้อยละของธาตุ C ใน CO2

ปุ๋ยแอมโมเนียมไนเตรต มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบร้อยละเท่าใด

สูตรอย่างง่ายและสูตรโมเลกุล
การหาสูตรอย่างง่าย มีวิธีการดังนี้
1. ต้องทราบว่าสารที่จะหาสูตรอย่างง่ายประกอบด้วยธาตุใดบ้าง
2. ต้องทราบมวลอะตอมของแต่ละธาตุ
3. ต้องทราบน้าหนักหรือปริมาณสารอื่นๆ เช่น จ้านวนอะตอม, ปริมาตรที่ STP ของแต่ละธาตุที่
4. หาจ้านวนโมลของแต่ละธาตุ
5. น้าค่าจ้านวนโมลที่น้อยที่สุดหารตลอด จะได้อัตราส่วนของสูตรอย่างง่าย
6. การปัดจุดทศนิยมของตัวเลขในการหาอัตราส่วนกรณีหารไม่ลงตัว (ไม่เป็นเลขจ้านวนเต็ม)
- ถ้าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.2 ให้ปัดลง
- ถ้ามากกว่าหรือเท่ากับ 0.8 ให้ปัดขึน
- ถ้าอยู่ระหว่าง 0.2-0.8 ให้หาเลขมาคูณให้เป็นจ้านวนเต็ม

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 32


การหาสูตรโมเลกุลของสารทั่วไป มีวิธีการดังนี้
1. ต้องทราบสูตรเอ็มพิริคลั
2. ต้องทราบมวลโมเลกุลโดยโจทย์ก้าหนดให้มาโดยตรงหรือเราต้องหามาเองจากข้อมูลทีโ่ จทย์บอก
3. น้าข้อมูลจากข้อ 1 และ 2 มาหาค่า n โดยใช้สูตร

มวลโมเลกุล = (มวลของสูตรเอ็มพิริคัล)n

โดยที่ n คือ เลขจ้านวนเต็มบวก ตังแต่ 1, 2, 3, ….


1. สาร A ประกอบด้วย C 1.8 โมล H 2.89×1024 อะตอม และ O 9.6 กรัม จงหาสูตรเอมพิริคลั ของสาร A

2. จากการวิเคราะห์นโิ คตินที่มีในบุหรี่ พบว่าประกอบด้วย C 74%, H 8.65% และ N 17.3% โดยน้าหนัก


นิโคตินมีสูตรเคมพิริคลั เป็นอย่างไร

3. สารประกอบชนิดหนึ่งประกอบด้วย C, H และ O เมื่อน้าสารนีมา 3.0 กรัม เผาจะได้ CO2 4.4 กรัม


ไอน้า 1.8 กรัม ถ้ามวลโมเลกุลของสารนี เท่ากับ 60 สูตรโมเลกุลนีเป็นอย่างไร

4. ก๊าซชนิดหนึ่งประกอบด้วย C = 82.7% และ H 17.3% โดยน้าหนัก ถ้า 1 ลิตร ของก๊าซนีหนักเป็น


58 เท่าของก๊าซไฮโดรเจน 500 cm3 ซึ่งวัดที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน จงหาสูตรโมเลกุลของก๊าซนี

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 33


สารละลาย

ร้อยละโดยมวล
(% w/w)

ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร
(% w/v)

ร้อยละโดยปริมาตร
(% v/v)

โมลาร์ (Molar, M)

โมแลล (Molal, m)

ppm

ppb

เศษส่วนโมล (mole fraction, X)

จากของแข็ง

การเตรียมสารละลาย การเจือจาง

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 34


จุดเดือด

จุดเยือกแข็ง

สมบัติคอลิแกทีพ ***
สารละลายที่มีความเข้มข้น (m) เท่ากัน ที่ละลายในตัวทาละลายเดียวกัน
จะมีจุดเดือด จุดเยือกแข็ง เท่ากัน
***
เช่น สารละลาย A ตัวถูกละลาย คือ น้าตาล และ มี “น้า” เป็นตัวท้าละลาย
สารละลาย B ตัวถูกละลาย คือ เอทานอล และ มี “น้า” เป็นตัวท้าละลาย
จะละลายน้าตาลกี่กรัม ในน้า เท่าไหร่ก็ได้ หรือ จะละลายเกลือกี่กรัม ในน้าเท่าไหร่ก็
ได้ แต่สุดท้าย ถ้า สารละลาย A และ B มีความเข้มข้นเท่ากัน แสดงว่า สารละลายทั้ง
สองนั้น จะมีจุดเดือด และ จุดหลอมเหลว เท่ากัน
หมายเหตุ: สาร A และ B ต้องเป็นสารที่ไม่แตกตัว

1. สารละลายประกอบด้วยน้า 36.0 g และสาร X 46.0 g เศษส่วนโมลของน้าเท่ากับ 0.8 มวลโมเลกุล


ของสารX เป็นเท่าใด

2. สารละลาย NaOH 40% โดยมวล/ปริมาตร ความหนาแน่น 1.2 g/cm3 เศษส่วนโมลของ NaOH เป็น
เท่าใด

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 35


3. ในการเจือจางสารละลาย H2SO4 0.6 M จ้านวน 20.0 cm3 ให้มีความเข้มข้นเป็น 0.1 M จะต้องเติม
น้าลงไปเท่าใด

4. ผสมสารละลายกรดชนิดเดียวกัน 2 ขวด ที่มีฉลากปิดว่า 0.1 M ปริมาตร 100 cm3 กับ 0.3 M จ้านวน
100 cm3 อยากทราบว่าสารละลายที่ได้ใหม่จะมีความเข้มข้นเท่าใดในหน่วยโมลาร์

5. ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย NaIO3 เข้มข้น 0.5 M จ้านวน 500.ml จะต้องชั่ง NaIO3 กี่กรัม

6. ต้องใช้ตัวถูกละลายกี่กรัมในการเตรียมสารละลายต่อไปนี
6.1) 5.24 X 10-5 M CaC2O4 1 ลิตร

6.2) 2 M NH4Cl 150 cm3

7. จงค้านวณหาจ้านวนโมลของ NaCl ที่บรรจุในสารละลาย ปริมาตร100 mL เข้มข้น 0.2 M

8. จากข้อ 7 จงค้านวณหาจ้านวนกรัมของ NaCl ในสารละลายดังกล่าว

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 36


9. จงค้านวณหาความเข้มข้นในหน่วย molarity ของสารละลายต่อไปนี
9.1) 4.67 mole ของ Li2SO3 ปริมาตร 2.04 ลิตร

9.2) 4.783 g ของ Na2CO3 ปริมาตร 10.0 L

10. จงค้านวณหาจ้านวนโมลของตัวถูกละลายในสารละลายต่อไปนี
10.1) 2.35 L ของสารละลาย Cu(NO3)2 2.0 M

10.2) 16.00 mL ของสารละลาย Pb(NO3)2 0.415 molar

11. จงค้านวณจ้านวนกรัมของตัวถูกละลายในสารละลายต่อไปนี
11.1) 0.500 L ของสารละลาย KCl 1.00 M

11.2) 6.02 L ของสารละลาย Na2O 3.76 molar

12. จงค้านวณปริมาตรที่ใช้ในการเตรียมสารละลายต่อไปนี
12.1) 4.267 mole ของ Li2SO3 ละลายให้มีความเข้มข้น 3.89 M

12.2) 4.907 mole ของ Al2O3 ท้าให้มีความเข้มข้น 0.5 M

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 37


13. จงค้านวณหา molarity ของสารละลาย HCl 12 M 200 ml หลังจากทีเ่ จือจางให้มปี ริมาตร 12 L

14. สารละลาย X มีความหนาแน่น 1.027 g/ml และมีความเข็มข้น 2.00 M จะมีความเข้มข้นเป็นร้อยละ


โดย
มวลเท่าไร ถ้ามวลโมเลกุลของสาร X เท่ากับ 74.0

15. ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย X เข้มข้น 0.12 M จ้านวน 500.0 mL จะต้องใช้สารละลายใน ข้อ 14


ปริมาตรเท่าใด

16. สารละลายกรด HClO4 เข้มข้น 70.0% มีความหนาแน่น 1.164 g/ml จงค้านวณหาความเข้มข้นใน


หน่วย
โมลาริตีของสารละลายนี

17. จงค้านวณหา molal และ Molar ของสารสารละลาย C2H5OH ในน้า โดยก้าหนดให้เศษส่วนโมลของ


เอทานอลเป็น 0.05 และความหนาแน่นของสารละลาย 0.99 g/mL

18. ฉลากของสารละลายขวดหนึ่งระบุว่าเป็น 0.7 M HCl ถ้าต้องการ HCl 0.05M ใช้ในการท้าปฏิกริ ิยา


ต้องรินสารละลาย HCl ออกมาจากขวดเท่าใด

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 38


19. ต้องการเตรียมสารละลาย NaCl เข้มข้น 15% โดยน้าหนัก จะต้องใช้ NaCl กี่กรัมละลายในน้า 100
กรัม

20. ต้องชั่งสารละลาย NaCl เข้มข้น 5.0% โดยน้าหนัก ปริมาณกี่กรัม จึงจะได้เนือ NaCl จ้านวน 3.2 กรัม
อยู่ใน
สารละลายนี

21. สารละลาย H2SO4 เข้มข้น 98 %โดยน้าหนัก มีความหนาแน่น 1.86 g/ml ปริมาตรของสารละลายนี


เป็น
เท่าใด จึงจะมีปริมาตร H2SO4 อยู่ 40.0 กรัม

22. จงค้านวณหาเศษส่วนโมล ของสารละลาย H2SO4 ที่มีความเข้มข้น 15 % โดยน้าหนัก

23. เอธิลีนไกลคอล C2H6O2 เข้มข้น 0.10 M ความหนาแน่น 0.90 g/ml คิดเป็นกี่ molal

24. สารละลายกรดไฮโดรครอริกเข้มข้น 12.0M มีความหนาแน่น 1.18 g/ml จงค้านวณหาความเข้มข้นใน


หน่วย molality

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 39


25. ลูกเหม็นจุดเยือกแข็งที่อุณหภูมิ 178.4 องศาเซลเซียส มี Kf = 40.0 oC/m จงหาว่าจุดเยือกแข็งของ
สารละลายจะลดลงเท่าใด ถ้ามีสาร A (Mw = 125 g/mol) 1.50 กรัม ละลายอยู่ในลูกเหม็น 35.0
กรัม

26. สารละลายทีม่ ีตัวถูกละลายชนิดไม่แตกตัว จ้านวน 4.5 กรัม ละลายในน้า 125 กรัม เกิดการแข็งตัวที่
อุณหภูมิ –0.372 ๐C จงค้านวณน้าหนักโมเลกุลของตัวถูกละลายนี ก้าหนดให้ Kf = 1.86 oC/m

27. ละลายสารประกอบเกลือของโพแทสเซียม (KX) จ้านวน 8.00 กรัม ในน้า 100 กรัม สารละลายนี
แข็งตัวที่ –1.25 oC จงหาว่า X คือธาตุใดของหมู่ 7A

28. สารอินทรีย์ตัวอย่างประกอบด้วย C และ H ร้อยละ 48 และ 6 โดยมวลตามล้าดับ เมื่อน้าสารนีหนัก


0.4 กรัม ไปหาปริมาณ N พบว่าเกิดก๊าซไนโตรเจน 44.8 cm3 ที่ STP และเมื่อน้าสารนีหนัก 4.0 กรัม
ละลายในเอทานอล หนัก 10.0 กรัม พบว่าได้สารละลายที่มีจุดเดือด 80.94 oC จงค้านวณหาสูตร
โมเลกุลของสารนี (จุดเดือดของเมทานอล เท่ากับ 78.5 oC, Kb เท่ากับ 1.22 oC/m)

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 40


ปริมาณสารสัมพันธ์
แบบฝึกหัดทบทวนความรู้พืนฐานก่อนเรียน
1. เขียนสูตรเคมีของสารต่อไปนี
1.1) ทองแดง.............................................. 1.5) แอมโมเนีย......................................................
1.2) ซิลเวอร์ซลั ไฟล์.................................... 1.6) โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต...........................
1.3) แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์....................... 1.7) คาร์บอนเตตระคลอไรด์....................................
1.4) ไนโตรเจนไดออกไซด์........................... 1.8) แอมโมเนียมไฮโดรเจนฟอสเฟต.........................

2. ดุลสมการต่อไปนี
2.1) C2H6 + O2 CO2 + H2O

2.2) CaCO3 + HCl CaCl2 + H2O + CO2

2.3) Na2SO4 + BaCl2 BaSO4 + NaCl

2.4) Mg + HNO3 Mg(NO3) 2 + H2

2.5) CaCO3 + H2SO4 CaSO4 + H2O + CO2

2.6) Al2O3 + H2SO4 Al2(SO4) 3 + H2O

2.7) (NH4) 3PO4 + NaOH Na3PO4 + NH3 + H2O

2.8) Fe3O4 + H2 Fe + H2O

2.9) O2 + CS2 CO2 + SO2

2.10) NaCN + CuCO3 Na2CO3 + Cu(CN)2

2.11) N2H4 + N2O4 N2 + H2O

2.12) Na2O2 + H2O NaOH + O2

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 41


การคานวณปริมาณของสารต่างๆ ในปฏิกิริยาเคมีแบบขั้นตอนเดียว
ตัวอย่าง
1. จากปฏิกิริยาการเผาไหม้แก๊สโพรเพน หากใช้แก๊สออกซิเจน 64 กรัม จะเกิดไอน้ากี่โมเลกุล

C3H8 + O2 CO2 + H2O

2. แอมโมเนียมไฮโดรเจนฟอสเฟต นิยมน้ามาใช้เป็นส่วนประกอบของปุ๋ย ซึ่งสังเคราะห์จากสารละลาย


แอมโมเนีย (NH3) และสารละลายกรดฟอสฟอริก (H3PO4) ถ้าใช้สารละลายแอมโมเนียเข้มข้น 7.4
โมลต่อลิตร ปริมาตร 3.48 ลิตร จะต้องใช้สารละลายกรดฟอสฟอริกเข้มข้น 12.9 โมลาร์ ปริมาตรกีล่ ิตร

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 42


แบบฝึกหัด
1. จากปฏิกิริยาต่อไปนี
CH4(g) + O2(g) CO2(g) + H2O(g)

ถ้าอากาศมีแก๊สออกซิเจนร้อยละ 21 โดยปริมาตร จะต้องใช้แก๊สมีเทน (CH4) กีล่ ิตร จึงจะท้าปฏิกริ ิยา


พอดีกับอากาศปริมาตร 30.0 ลิตร

2. การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช เกิดปฏิกริ ิยาเคมีดงั นี


light
CO2 + H2O C6H12O 6 + O2

พืชต้องใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กลี่ ิตร ที่ STP จึงจะสามารถสังเคราะห์กลูโคสได้ 36.0 กรัม

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 43


การคานวณปริมาณของสารต่างๆ ในปฏิกิริยาเคมีหลายขัน้ ตอน
ตัวอย่าง
1. แก๊สไฮโดรเจนไซยาไนด์ (HCN) สามารถเตรียมได้ดังนี
NH 3(g) + O 2(g) NO(g) + H 2O(g)

NO(g) + CH4 (g) HCN(g) + H 2O(g) + H 2(g)

ถ้าใช้แก๊สออกซิเจน 15.0 ลิตร จะเกิดแก๊สไฮโดรเจนไซยาไนด์กี่ลิตร

2. จงค้านวณมวลของแก๊สคลอรีนที่ต้องใช้ในการสังเคราะห์คาร์บอนเตตระคลอไรด์ 5.00 กิโลกรัม จาก


การเปลี่ยนแปลงดังสมการ
CS2(l) + Cl2 (g) S2Cl2 (l) + CCl4(l)

S2Cl2(l) + CS2(l) S8(s) + CCl4(l)

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 44


แบบฝึกหัด
1. เขียนปฏิกิริยารวมของปฏิกริ ิยาย่อยต่อไปนี
1.1)
NO(g) N 2O2(g) ..................(1)

N 2O 2(g) + O2(g) NO2(g) ..................(2)

1.2)
CO(g) + H2(g) CH 3OH(g) ....................(1)

CO2(g) + C(s) CO(g) ...........................(2)

1.3)
HBr(g) + O2(g) HOOBr(g) .........................(1)

HOOBr(g) + HBr(g) HOBr(g) ..........................(2)

HOBr(g) + HBr(g) H 2O(g) + Br 2(g) .............(3)

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 45


2. วิธีการก้าจัดแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์วิธีหนึ่งท้าได้โดยใช้ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ท้าปฏิกริ ิยาเคมีกับแคลเซียม
ออกไซด์ ซึ่งได้จากการเผาหินปูน ปฏิกิริยาเคมีทเี่ กิดขึนเขียนแสดงได้ดังนี
CaCO3(s) CaO(s) + CO2(g) ................(1)

CaO(s) + SO 2(g) CaSO3(s) ................(2)

3. ซิลิคอนที่ใช้ในชินส่วนของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ มีขันตอนการผลิตเพื่อให้ได้ซลิ ิคอนบริสทุ ธิ์ดังสมการ


SiO2(s) + C(s) Si(s) + CO(g) ......................(1)

Si(s) + Cl2(g) SiCl4 (l) ......................(2)

SiCl4 (l) + H2 (g) Si(s) + HCl(g) ......................(3)

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 46


สารกาหนดปริมาณ
ตัวอย่าง
1. จากปฏิกิริยาต่อไปนี

2Mg(s) + O2(g) 2MgO(s)

ถ้าโลหะแมกนีเซียม จ้านวน 6.000 โมล ท้าปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน จ้านวน 2.500 โมล


1.1) สารใดเป็นสารก้าหนดปริมาณ และจ้านวนโมลของสารที่เหลือเท่ากับเท่าใด
1.2) มวลของแมกนีเซียมออกไซด์ที่เกิดขึนเท่ากับเท่าใด

2. ถ้าให้แก๊สมีเทน ปริมาณ 8.00 กรัม เกิดปฏิกริ ิยาการเผาไหม้กบั แก๊สออกซิเจนปริมาณ 48.0 กรัม


ดังสมการ
CH4(g) + 2O2(g) CO2(g) + 2H2O(g)

จงค้านวณ
2.1) สารใดเป็นสารก้าหนดปริมาณและมวลของสารที่เหลือเท่ากับเท่าใด
2.2) ปริมาตรของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึนเท่ากับเท่าใดที่ STP

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 47


แบบฝึกหัด
1. แคลเซียมคาร์บอเนตท้าปฏิกริ ิยากับกรดไฮโดรคลอริก ดังสมการ
CaCO3(s) + HCl(aq) CaCl2(aq) + H2O(l) + CO2(g)

เมื่อใช้แคลเซียมคาร์บอเนต 50.0 กรัม ท้าปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก 0.500 โมล จะเกิดแก๊ส


คาร์บอนไดออกไซด์กี่ลิตร ที่ STP

2. จากปฏิกิริยาเคมี
2H2S(g) + SO2(g) 3S(s) + 2H2O(l)

ถ้าผสมแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์และแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์อย่างละ 5.00 กรัม เมื่อปฏิกิริยาเคมีเกิดอย่าง


สมบูรณ์จะเหลือสารใด เหลืออยูก่ ี่กรัมและตะกอนซัลเฟอร์ทเี่ กิดขึนเท่ากับกีก่ รัม

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 48


3. ถ้าน้าแก๊สไฮโดรเจน 30.0 ลิตร มาท้าปฏิกริ ิยากับแก๊สไนโตรเจน 20.0 ลิตร จะเกิดแก๊สแอมโมเนีย
มากที่สุดกี่โมล ที่ STP

4. ผสมสารละลายกรดเกลือเข้มข้น 1.5 โมลต่อลิตร ปริมาตร 25.0 มิลลิลิตร กับสารละลายโซเดียม


ไฮดรอกไซด์เข้มข้น 0.800 โมลต่อลิตร ปริมาตร 40.0 มิลลิลิตร ปฏิกิริยาที่เกิดขึนเขียนแสดงดังสมการ
HCl(aq) + NaOH(aq) NaCl(aq) + H2O(l)

4.1) สารใดเป็นสารก้าหนดปริมาณ
4.2) เมื่อปฏิกริ ิยาสินสุดจะได้สารละลายโซเดียมคลอไรด์กี่โมลาร์
4.3) เมื่อทดสอบสารละลายหลังสินสุดปฏิกริ ิยากับกระดาษลิตมัสสีแดงและน้าเงิน มีการ
เปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 49


ผลได้ร้อยละ

ผลที่ได้จริง (กรัมหรือโมล)
ผลได้รอ้ ยละ = x 100
ผลที่ได้ตามทฤษฎี (กรัมหรือโมล)

ตัวอย่าง
1. ถ้าน้าเบนซีน (C6H6) จ้านวน 15.6 กรัม มาท้าปฏิกริ ิยากับกรดไนตริก (HNO3) จ้านวนมากเกินพอ
พบว่าเกิดไนโตรเบนซีน (C6H5NO2) 18.0 กรัม จงหาผลได้ร้อยละ
C6H6(l) + HNO3(aq) C6H5NO2(l) + H2O(l)

2. จากการทดลองน้ากรดบิวทาโนอิก (C4H8O2) 10.0 กรัม ท้าปฏิกิริยากับเอทานอล (C2H6O) 3.14 กรัม


ได้เอทิบิวทาโนเอต (C6H12O2) และน้า ดังสมการเคมีต่อไปนี
C4H8O2(aq) + C2H6O(aq) C6H12O2(aq) + H2O(l)

จงค้านวณผลได้ร้อยละ ถ้าการทดลองพบว่าเกิดเอทิลบิวทาโนเอต 5.30 กรัม

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 50


แบบฝึกหัด
1. แก๊สแอมโมเนียท้าปฏิกิริยากับแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ ได้แอมโมเนียมคลอไรด์ซึ่งเป็นของแข็งสีขาว ถ้าใช้
แอมโมเนีย 0.200 กรัม จงค้านวณ
1.1) มวลของแอมโมเนียมคลอไรด์ที่เกิดขึน
1.2) ผลได้รอ้ ยละของปฏิกริ ิยาเคมี ถ้ามีแอมโมเนียมคลอไรด์เกิดขึน 0.20 กรัม

2. น้ามันระก้า (methyl salicylate) เตรียมได้จากปฏิกิริยาต่อไปนี


C 7H 6O 3(s) + CH 4O(l) C 8H 8O 3(l) + H 2O(l)
salicylic acid methanol methyl salicylate

จากการทดลองพบว่าเมือ่ ใช้กรดซาลิซลิ ิก 15.0 กรัม ท้าปฏิกิริยาเคมีกับเมทานอล 11.20 กรัม ค้านวณ


ผลได้ร้อยละได้เท่ากับ 74 จงหามวลของน้ามันระก้าที่ได้จริงจากปฏิกิริยานี

ติวเข้มเตรียมพร้อมสูโ่ อลิมปิกวิชาการ (เคมี) โดย อ.วราพงษ์ เสนาภักดิ์ | 51

You might also like