You are on page 1of 12

แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบท

โครงการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางดานคณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร


โดยความรวมมือจากนักวิชาการจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ บริษัท บางกอกซอฟแวร จํากัด
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชา เคมี เรือ่ ง อะตอมและตารางธาตุ คะแนนเต็ม 25 คะแนน ปการศึกษา 2553

บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ

เลขอะตอมและมวลอะตอมของธาตุที่ตองการใชเปดตารางเอง

1. กําหนดเลขอะตอม11Na 12Mg 14Si 16S 17Cl 26Fe 33As 38Sr


ขอใดมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนไมเหมือนแกสเฉื่อย
1. Cl-, S2-
2. Na+, Mg2+
3. Si4+, Sr2+
4. As3+, Fe3+

2. จากตารางขอใดผิด

B E F Y

A C D Z

1. ธาตุ A นําไฟฟาไดดี และเปนตัวออกซิไดสที่แรงมาก


2. ธาตุ B มีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ2 และวองไวนอยกวาธาตุ A
3. ธาตุ C มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูงมาก
4. ธาตุ D มีสมบัติเปนโลหะมากกวาธาตุ E
แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบท
โครงการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางดานคณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร
โดยความรวมมือจากนักวิชาการจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ บริษัท บางกอกซอฟแวร จํากัด
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชา เคมี เรือ่ ง อะตอมและตารางธาตุ คะแนนเต็ม 25 คะแนน ปการศึกษา 2553

3. เลขออกซิเดชันของโลหะแทรนซิชันในสารประกอบตอไปนี้
[Cr(NH3)4SO4]Cl, [Fe(H2O)5(OH)]Cl2 และ K2[PtCl4] เปนดังขอใดตามลําดับ
1. 2 2 3 2. 2 3 2

3. 3 3 2 4. 3 3 3

4. มีธาตุอยู 4 ชุด เรียงตามเลขอะตอม ธาตุชุดใดมีทั้งของแข็ง ของเหลว และแกส ที่อุณหภูมหิ อง


1. 2, 10, 18, 36, 54, 86 2. 3, 11, 19, 37, 55, 87

3. 4, 12, 20, 38, 56, 88 4. 9, 17, 35, 53, 85

5. จํานวนอิเล็กตรอนมากที่สุดที่ระดับพลังงาน n = 5 ที่อะตอมสามารถรับได และการจัดอิเล็กตรอนใน


อะตอมของอินเดียม (In) ซึ่งมีเลขอะตอมเทากับ 49 เปนไปตามขอใด

จํานวนอิเล็กตรอนที่สามารถรับได การจัดอิเล็กตรอนของ In

1. 25 2, 8, 8, 18, 8, 5

2. 49 2, 8, 8, 18, 11, 2

3. 25 2, 8, 18, 18, 3

4. 50 2, 8, 18, 18, 3
แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบท
โครงการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางดานคณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร
โดยความรวมมือจากนักวิชาการจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ บริษัท บางกอกซอฟแวร จํากัด
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชา เคมี เรือ่ ง อะตอมและตารางธาตุ คะแนนเต็ม 25 คะแนน ปการศึกษา 2553

6. พิจารณาคาพลังงานไอออไนเซชันของอะลูมิเนียมตอไปนี้
Al(g) Al+(g) + e IE1 = 0.584 MJ.mol-1
Al+(g) Al2+(g) + e- IE2 = 1.823 MJ.mol-1
Al2+(g) Al3+(g) + e- IE3 = 2.751 MJ.mol-1
Al3+(g) Al4+(g) + e- IE4 = 11.584 MJ.mol-1
ขอใดสรุปผิด
1. การที่คา IE ของอะลูมิเนียมเพิ่มขึ้นจาก IE1 IE2 แสดงวาอิเล็กตรอนตัวที่ 1 อยูใกลกับ
นิวเคลียสมากกวาตัวที่ 2 และตัวที่ 2 อยูใกลชิดกับนิวเคลียสมากกวาตัวที่ 3
2. การที่คา IE3 และ IE4 แตกตางกันมาก แสดงวาอิเล็กตรอนที่หลุดออกไปเปนอิเล็กตรอนตางกลุม
กัน
3. ขนาดของไอออนจะเล็กลงตามลําดับ Al+ > Al2+ > Al3+ > Al4+
4. อะลูมิเนียมควรมีเลขออกซิเดชันเทากับ 3 เมื่ออยูในสารประกอบ
แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบท
โครงการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางดานคณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร
โดยความรวมมือจากนักวิชาการจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ บริษัท บางกอกซอฟแวร จํากัด
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชา เคมี เรือ่ ง อะตอมและตารางธาตุ คะแนนเต็ม 25 คะแนน ปการศึกษา 2553

7. พิจารณาแผนภาพตอไปนี้
n=3 n=3 n=3

n=2 n=2 n=2

n=1 n=1 n=1

7p 7p 7p
7n 7n 7n

(1) (2) (3)

รูปใดแสดงการจัดเรียงอิเล็กตรอนในสภาวะพืน้ ของอะตอมไมถูกตอง
1. (1) และ (2) เทานั้น 2. (2) และ (3) เทานั้น

3. (1) และ (3) เทานั้น 4. (1), (2) และ (3)

8. ธาตุสมบัติ 9X, 17Y, และ 36Z มีสูตรโมเลกุลเปน X2, Y2 และ Z2 ตามลําดับ เกิดสารประกอบไอออนิกกับ
โพแทสเซียม เมื่อพิจารณาผลการทดลองตอไปนี้
I เมื่อนําสารละลาย KX มาทําปฎิกิริยากับ Y2 พบวาไมเกิดการเปลี่ยนแปลง
II เมื่อนําสารละลาย KZ มาทําปฎิกิริยากับ Y2 พบวาจะได Z2 เกิดขึน้
ขอสรุปใดถูก
1. X เปนตัวรีดวิ ซที่ดีกวา Y และ Z
2. เมื่อผสมสารละลาย KY และ X2 จะไมมีการเปลี่ยนแปลงใดเกิดขึ้น
3. เวเลนซอิเล็กตรอนของ X- หลุดไดงายกวาเวเลนซอิเล็กตรอนของ Y- และ Z-
4. เมื่อผสมสารละลาย KZ กับ X2 จะเกิด Z2 และ KX ขึ้น
แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบท
โครงการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางดานคณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร
โดยความรวมมือจากนักวิชาการจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ บริษัท บางกอกซอฟแวร จํากัด
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชา เคมี เรือ่ ง อะตอมและตารางธาตุ คะแนนเต็ม 25 คะแนน ปการศึกษา 2553

9. กําหนดสูตรเคมีตอไปนี้
CaF2 • 3Ca3(P)4)2 ; Sb2S3 • 3H2O ; Na2ZrSiO3
ถาเลขออกซิเดชันของ Si- + 4 พิจารณาเลขออกซิเดชันในขอตอไปนี้
ก. เลขออกซิเดชันของ P สูงกวา +3 และของ Sb ต่ํากวา +5
ข. เลขออกซิเดชันของ Sb สูงกวา +2 และของ Zr ต่ํากวา +1
ค. เลขออกซิเดชันของ Zr สูงกวา +1 และของ P เทากับ +5
ง. เลขออกซิเดชันของ Zr เทากับ 0 และของ Sb สูงกวา +3
ขอใดผิด
1. ขอ ก และ ข 2. ขอ ก และ ค

3. ขอ ข และ ง 4. ขอ ค และ ง


แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบท
โครงการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางดานคณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร
โดยความรวมมือจากนักวิชาการจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ บริษัท บางกอกซอฟแวร จํากัด
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชา เคมี เรือ่ ง อะตอมและตารางธาตุ คะแนนเต็ม 25 คะแนน ปการศึกษา 2553

10. กราฟแสดงความสัมพันธระหวางเลขอะตอมและพลังงานไอออนไนเซชันลําดับที่หนึ่งของธาตุ A, B, C
และ D เปนดังนี้

พลังงานไอออไนเซชันลําดับที่หนึ่ง

เลขอะตอม

พิจารณาขอสรุปตอไปนี้
ก.C เปนโลหะแอลคาไล
ข. A และ D เปนธาตุหมูเดียวกัน
ค. B เปนธาตุแฮโลเจน

ขอใดถูก

1. ขอ ก และ ข เทานั้น


2. ขอ ข และ ค เทานั้น
3. ขอ ก และ ค เทานั้น
4. ขอ ก, ข และ ค
แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบท
โครงการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางดานคณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร
โดยความรวมมือจากนักวิชาการจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ บริษัท บางกอกซอฟแวร จํากัด
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชา เคมี เรือ่ ง อะตอมและตารางธาตุ คะแนนเต็ม 25 คะแนน ปการศึกษา 2553

11. ถาพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1-5 ของธาตุ A มีคาเทากับ 0.43 3.06 4.41 5.88 7.98 MJ.mol-1
ตามลําดับ สัญลักษณนวิ เคลียรของธาตุ A ในขอใดเปนไปได
23 38
ก. A11 ข. 14
A7 ค. A19

1. ขอ ก เทานั้น 2. ขอ ข เทานั้น

3. ขอ ข และ ค 4. ขอ ก และ ค

12. ผลรวมของเลขออกซิเดชันของอะตอมกลางในขอใดทีม่ ีคารวมกันนอยที่สุด


1. K4[Fe(CN)6] K3[Fe(CN)6] [Ag(NH3)2]Cl2
2. [Ag(NH3)2]Cl2 K2[Ni(CN)4] [Cr(H2O)6]SO4
3. [Fe(H2O)6]SO4 [Ag(NH3)2]Cl2 K2Cr2O7
4. K3[Fe(CN)6] K2[Ni(CN)4] K4[Fe(CN)6]
13. ขอใดสรุปผิด
1. คาพลังงานไอออไนเซชันขึน้ อยูกับขนาด การจัดเรียงอิเล็กตรอนและประจุบนอะตอม
2. คาพลังงานไอออไนเซชันลําดับเดียวกันของธาตุแตละชนิดจะไมเทากัน
3. เมื่อ M เปนธาตุชนิดหนึ่ง ลําดับพลังงานไอออไนเซชันควรเปนดังนี้ M+ > M > M-
4. พลังงานไอออไนเซชันของ F- Ne และ Na+ มีคาเทากัน

14. กําหนดเลขอะตอมของธาตุดังนี้ A = 13, B = 19, C = 20 และ


D = 12 การเรียงลําดับขนาดอะตอมในขอใดถูก
1. B > C > D > A
2. B > C > A > D
3. C > A > B > D
4. C > B > A > D
แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบท
โครงการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางดานคณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร
โดยความรวมมือจากนักวิชาการจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ บริษัท บางกอกซอฟแวร จํากัด
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชา เคมี เรือ่ ง อะตอมและตารางธาตุ คะแนนเต็ม 25 คะแนน ปการศึกษา 2553

15. ธาตุ A และ B เปนธาตุในคาบเดียวกัน โดย B อยูในหมู 7A และมีเลขอะตอมมากกวา A C และ D อยูใน


คาบเดียวกัน โดย C เปนธาตุหมู 1 สวน D อยูในหมูเดียวกันกับ A โดยเลขอะตอมของ D มากกวา A และ มี
เวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 2 พลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1 ของธาตุเหลานี้เปรียบเทียบกันเปนอยางไร
1. B > A > D >C
2. B > A > C > D
3. A > B > D > C
4. A > D > B > C

16. ถาธาตุ X มีเลขอะตอม 8 ผลตางของพลังงานไอออไนเซชันในขอใดมีคามากที่สุด


1. IE8 – IE7
2. IE7 – IE6
3. IE6 – IE5
4. IE5 – IE4
แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบท
โครงการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางดานคณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร
โดยความรวมมือจากนักวิชาการจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ บริษัท บางกอกซอฟแวร จํากัด
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชา เคมี เรือ่ ง อะตอมและตารางธาตุ คะแนนเต็ม 25 คะแนน ปการศึกษา 2553

17. กําหนดคาพลังงานไอออไนเซชัน (kJ mol-1) ของธาตุ X, Y และ Z ซึ่งเปนธาตุสมบัติ ดังนี้

ธาตุ IE1 IE2 IE3 IE4 IE5

X 520 7,200 12,000

Y 900 1,850 15,000 21,000

Z 800 2,400 3,700 25,000 32,000

ธาตุใดสามารถรวมกับฟอสเฟตในอัตราสวน 3 ตอ 2 และธาตุใดสามารถรวมกับน้ําไดวองไวที่สุด


ตามลําดับ
1. Y และ X
2. Y และ Z
3. Z และ X
4. Z และ Y

18. ขอใดที่อธิบายเกี่ยวกับธาตุ 9A 19D 34E และ 35G ไมถูกตอง


1. 9A และ 35G มีสมบัติทางเคมีคลายกัน
2. 19D มีรัศมีไอออนนอยกวา 34E
3. 35G มีระดับพลังงานชั้นนอกสุด คือ ชั้น N
4. 34E มีคาอิเล็กโทรเนกาติวิตีมากกวา 9A
แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบท
โครงการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางดานคณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร
โดยความรวมมือจากนักวิชาการจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ บริษัท บางกอกซอฟแวร จํากัด
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชา เคมี เรือ่ ง อะตอมและตารางธาตุ คะแนนเต็ม 25 คะแนน ปการศึกษา 2553

19. หลอดไฟฟาโซเดียมที่ติดตามทางแยก จะใหแสดงสีเหลืองตลอดเวลา เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลง


อยางไรที่โซเดียม
1. อิเล็กตรอนของโซเดียมที่ระดับพลังงานสูงมีการสรางพันธะใหม
2. โซเดียมรับพลังงานไฟฟา ทําใหอิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมไป
3. โซเดียมรับพลังงานไฟฟาทําใหอิเล็กตรอนกระโดดไปอยูใ นระดับที่สูงกวาแลวเปลงแสงสีเหลือง
ออกมา
4. อิเล็กตรอนของโซเดียมรับพลังงานแลวยายไปอยูใ นระดับพลังงานสูง เมื่อกลับมาอยูในระดับ
พลังงานต่ําจึงปลอยแสงสีเหลืองออกมา

20. ถาอิเล็กตรอนเปลี่ยนระดับพลังงานดังตอไปนี้
ก. n = 2 n=3
ข. n = 2 n=6
ค. n = 7 n=2
ขอใดถูก
1. ก มีการดูดพลังงานที่มีความถี่ของคลื่นสูงที่สุด
2. ข มีการดูดพลังงานที่มีความยาวคลื่นยาวทีส่ ุด
3. ค มีการคายพลังงานที่มีความถี่ของคลื่นสูงที่สุด
4. ข มีการคายพลังงานที่มีความยาวคลื่นสั้นที่สุด
แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบท
โครงการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางดานคณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร
โดยความรวมมือจากนักวิชาการจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ บริษัท บางกอกซอฟแวร จํากัด
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชา เคมี เรือ่ ง อะตอมและตารางธาตุ คะแนนเต็ม 25 คะแนน ปการศึกษา 2553

21. ขอความเกี่ยวกับแนวโนมของสมบัติของธาตุตอไปนี้ ขอใดถูก


1. ธาตุในหมูเดียวกัน ความเปนโลหะจะเพิ่มขึ้นจากบนลงลาง และมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดเพิ่ม
ในทิศทางเดียวกัน โดยเฉพาะหมู IA, IIA, IIIA
2. ไอออนของธาตุตางชนิดกัน แตมีจํานวนอิเล็กตรอนเทากัน ไอออนที่มีจาํ นวนโปรตอนนอยกวาจะ
มีขนาดเล็กกวา
3. ที่คาบเดียวกัน รัศมีของอะตอมจะลดลงจากซายไปขวา เนื่องจากประจุบวกที่นวิ เคลียสเพิ่มขึ้น ทํา
ใหคา IE มีขนาดเพิ่มขึ้นดวย
4. ขนาดของอะตอมในหมูเดียวกันเพิ่มขึ้นจากบนลงลาง เนื่องจากระดับพลังงานเพิ่มขึ้น ขณะที่คา
IE ก็เพิ่มขึ้นจากบนลงลางดวย

22. ธาตุสมบัติ A B และ C โดย A2- และ B+ ตางมีจํานวนอิเล็กตรอนเทากับของแกสเฉื่อยในคาบที่ 3 และ C


มีเลขอะตอมเทากับ 37
ก. B+ มีขนาดใหญกวา A และ C
ข. B มีพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่หนึ่งนอยกวา A แตมากกวา C
ค. A มีสมบัติเปนโลหะมากกวา B และ C
ง. B และ C เกิดสารประกอบกับ A ไดสูตร BA2 และ CA2 ตามลําดับ
ขอใดถูกตอง
1. ข เทานั้น 2. ค เทานั้น

3. ก และ ข 4. ค และ ง
แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบท
โครงการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางดานคณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร
โดยความรวมมือจากนักวิชาการจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ บริษัท บางกอกซอฟแวร จํากัด
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชา เคมี เรือ่ ง อะตอมและตารางธาตุ คะแนนเต็ม 25 คะแนน ปการศึกษา 2553

23. พิจารณาอะตอมและไอออนตอไปนี้ : 25A2+ 15B 16C2- 44D


อะตอมหรือไอออนใดมีจํานวนอิเล็กตรอนเดี่ยวมากที่สุด
1. A2+ 2. B

3. C2- 4. D

24. การใหพลังงานแกอิเล็กตรอนของอะตอมไฮโดรเจนพบวา อิเล็กตรอนมีการเปลี่ยนระดับพลังงานขึ้น


ไปสูสถานะกระตุนที่ n=6 หลังจากปลอยใหอิเล็กตรอนคายพลังงาน พบวาไดเสนสเปกตรัมที่มีความยาว
คลื่นแตกตางกัน 15 เสน จากขอมูลขางตน
1. เสนสเปกตรัมทั้ง 15 เสน จะอยูในชวงคลื่นอินฟราเรด
2. เสนสเปกตรัมที่มีความยาวคลื่นสั้นที่สุด จะไดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 6 ไป n = 1
3. เสนสเปกตรัมที่มีความยาวคลื่นยาวที่สุด จะไดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 2 ไป n = 1
4. การเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 6 ไป n = 4 จะคายพลังงานเทากับการเปลี่ยนระดับพลังงานจาก
n = 3 ไป n = 1

25. กําหนดให
ก. A B C และ D เปนธาตุที่อยูในคาบที่ 3 ของตารางธาตุ
ข. สูตรเคมีของสารประกอบที่เกิดจาก A และ C คือ AC2
ค. พลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1 ของ A มากกวา B และ C มากกวา D
ง. สารละลายออกไซตของ A และ B มีสมบัติเปนเบส สวนสารละลายออกไซดของ C และ D
มีสมบัติเปนกรด
การเปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพของ A B C และ D ขอใดถูก
1. เลขอะตอมของ C เปน 2 เทาของ A
2. จุดหลอมเหลวของ A > B > C > D
3. คาอิเล็กโทรเนกาติวิตีของ C > D > A > B
4. เลขออกซิเดชันสูงสุดของ D > C > B > A

You might also like