You are on page 1of 4

สมบัติทั่วไปของสารประกอบอินทรีย์

สมบัติทางกายภาพ
1. สารประกอบอินทรี ยส์ ่ วนใหญ่ไม่ละลายน้ า ยกเว้น RCOOH, ROH, RNH2
คาอธิบาย หลักการ like-dissolve-like
- สารที่มีข้วั ก็จะละลายใน ตัวทาละลายที่มีข้ วั
- สารที่มีไม่มีข้วั ก็จะละลายใน ตัวทาละลายที่มีไม่มีข้วั
สภาพขั้ว
เกิดจากความต่างของค่า EN อะตอมที่มี EN มากจะดึงหมอก
อิเล็กตรอนให้อยูใ่ กล้กบั อะตอมนั้น
ฝั่งที่มีหมอกอิเล็กตรอนมาก จะแทนด้วย
ฝั่งที่มีหมอกอิเล็กตรอนน้อย จะแทนด้วย
สถาพขั้วของพันธะ
พันธะจะไม่มีข้ วั ก็ต่อเมื่อเป็ นอะตอมชนิดเดียวกัน เช่น H2, F2, O2
พันธะมีข้วั จะเกิดขึ้นเมื่อเป็ นอะตอมต่างชนิดกัน
สภาพขั้วของโมเลกุล
โมเลกุลที่ไม่ มีข้วั
1. โมเลกุลของธาตุชนิดเดียวกัน เช่น H2, F2, O2, P4
2. โมเลกุลที่มีรูปร่ างสมมาตรคือ เส้นตรง, สามเหลี่ยมแบนราบ
ทรงสี่ หน้า, พิระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม และ ทรงแปดหน้า
อะตอมล้อมรอบต้องเป็ นชนิดเดียวกัน!!!
3. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน คือสารที่ประกอบด้วย C และ H เท่านั้น
โมเลกุลที่มีข้วั
1. โมเลกุลของ 2 อะตอมที่ต่างชนิดกัน เช่น HCN, ClF
2. โมเลกุลที่มีรูปร่ างที่ไม่สมมาตรทิศของขั้วจะพิจารณาแบบเวกเตอร์
โจทย์ จงพิจารณาว่าสารต่ อไปนีม้ ีข้วั หรื อไม่
1. H2O
2. CH3Cl
3.CCl4

2. มักมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ า จึงลอยน้ า
ยกเว้น สารที่ประกอบด้วยหมู่ 7 (F, Cl, Br, I) จะจมน้ า เช่น CCl4, CH2Cl2, CH3Cl, CHI3

3. สถานะ
แบ่งได้ตามจานวน C
- จานวน C1 – C4 จะมีสถานะเป็ นแก๊ส เช่น CH4, C2H6, C3H8
- จานวน C5 – C8 จะมีสถานะเป็ นของเหลว
- จานวน C ≥ 9 จะมีสถานะเป็ นของแข็ง
4. แรงระหว่างโมเลกุล (Intermolecular force)
(ไม่เท่ากับ Intramolecular force = แรงดึงดูดภายในโมเลกุล)
แบ่งได้เป็ น 3 ประเภท
1. แรงลอนดอน (London/Dispersion Force)
เป็ นแรงระหว่างโมเลกุลไม่มีข้วั กับ โมเลกุลไม่มีข้ วั
ขนาดของแรงจะแปรผันตรงกับน้ าหนักโมเลกุล
2. แรงดึงดูดระหว่างขั้ว (Dipole – Dipole Force)
เป็ นแรงระหว่างโมเลกุลไม่มีข้วั กับ โมเลกุลมีข้ วั
3. พันธะไฮโดรเจน (Hydrogen Bond)
!!! ไม่ใช่พนั ธะที่ยดึ อะตอมไว้ดว้ ยกัน !!!
เป็ นแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง H กับ F, O, N
เช่น H2O, NH3, HF
5. จุดเดือด (Boiling point, bp) และ จุดหลอมเหลว (Melting point, mp)
กรณี ที่ 1 เป็ นสารคนละประเภทกัน
- Amide > Carboxylic acid > Alcohol > Amine
- Ketone, Aldehyde, Ether, Ester
- Alkyne > Alkene > Alkane
กรณี ที่ 2 เป็ นสารประเภทเดียวกัน
- จานวน C มาก mp, bp สู ง
- จานวน C น้อย mp, bp ต่า
กรณี ที่ 3 เป็ นสารประเภทเดียวกัน จานวน C เท่ากัน
- โซ่ตรง mp, bp จะสู ง
- โซ่กิ่ง mp, bp จะต่า
สมบัติทางเคมี
1. ติดไฟได้
สารประกอบอินทรี ยท์ ุกตัวติดไฟได้ดี
ปฏิกิริยาการเผาไหม้สมบูรณ์ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

การเผาไหม้สมบูร์จะต้องมี O2 ที่เพียงพอ ถ้าไม่มีไม่เพียงพอจะเกิด การเผาไหม้ไม่สมบูรณ์


ซึ่งจะได้เขม่าและแก๊สที่เป็ นอันตราย เช่น CO
ปัจจัยที่มีผลต่ อการเกิดเขม่ า
1. อัตราส่ วนของ C : H
- ยิง่ C : H สูง จะเกิดเขม่ามากกว่า C : H ต่า
เช่น Alkane (CnH2n+2)
Alkene (CnH2n)
Alkyne (CnH2n-2)
Aromatic (CnH≤2n – 6)
2. ปริ มาณ O2
- ถ้าเยอะ → เผาไหม้สมบูรณ์
- ถ้าน้อย → เผาไหม้ไม่สมบูรณ์

You might also like