You are on page 1of 47

ไฮบริไดเซชัน

โมเลกุลที่มี > 3 อะตอม

โมเลกุลอะตอมคู ⇒ เสนตรง
โมเลกุลที่มี > 3 อะตอมขึ้นไป
⇒ หลายรูปราง: เสนตรง, มุมงอ, …
และจะมี อะตอมกลาง อยางนอย 1 อะตอม

“อะตอมกลาง” หมายถึงอะตอมที่สรางพันธะกับอะตอมอื่น
อยางนอย 2 อะตอม

ทฤษฎีพันธะเวเลนซ:
อะตอมกลางในโมเลกุลใด ๆ จะสรางพันธะดวยออรบิทัล
ของอะตอม (คือ s-, p-, d- หรือ f-ออรบิทัล) โดยตรงไมได
จะตองนําออรบิทัลเหลานัน้ มาสรางเปนไฮบริดออรบิทัล
(hybrid orbital) กอน

1
กระบวนการที่ออรบิทัลอะตอมรวมตัวกันเปน
ออรบิทัลใหมหรือไฮบริดออรบิทัลนีเ้ รียกวา
ไฮบริไดเซชัน (hybridization)
ออรบิทัลใหมที่เกิดขึ้นมี
- รูปรางตางไปจากเดิม
- มีพลังงานเปลี่ยนไป
- แตมีจํานวนเทาเดิม

ไฮบริดออรบิทัลที่ไดจะมี
- รูปรางเหมือนกัน
- ขนาดเทากัน และ
- มีพลังงานเทากันหมด

โดยทั่วไป ออรบิทัลอะตอมที่จะนํามาผสมกันเปน
ไฮบริดออรบิทัล ก็คอื เวเลนซออรบทิ ัล (valence orbital)

2
การเกิดไฮบริดออรบิทัลเมื่อ s และ p อยางละ 1 ออรบิทัล
รวมกันเปนออรบิทัลใหม 2 ออรบิทลั เรียกวา
sp ไฮบริดออรบิทัล

ไฮบริไดเซชันเปนผลมาจากการคํานวณตาม
หลักการของทฤษฎีกลศาสตรควอนตัมโดย
นําฟงกชันคลื่นของออรบิทัลมารวมกันใน
เชิงคณิตศาสตร แลวหารูปรางของออรบิทัล

sp ไฮบริดออรบิทัลมีรูปรางเปนเสนตรง คือ
มุมระหวางออรบิทัลทั้งสองเทากับ 180o
รูปรางโมเลกุล : VSEPR

3
___ ___ ___ 2p ___ ___ 2p
___ ___ sp-ไฮบริดออรบิทัล
___ 2s
___ 1s ___ 1s

กอนสราง หลังสราง

ระดับพลังงานเปลี่ยนแปลง ทําให
- การจัดอิเล็กตรอนเปลี่ยน และ
- จํานวนอิเล็กตรอนเดี่ยวอาจเปลี่ยน

___ ___ ___ 2p ___ ___ 2p


___ ___ sp-ไฮบริดออรบิทัล
___ 2s
___ 1s ___ 1s

กอนสราง หลังสราง

sp-ไฮบริดออรบิทัลมีพลังงานอยูระหวาง
s- และ p- เดิม
p-ออรบิทัล (2 ออรบิทัล) ที่ไมไดเขารวมใน
ไฮบริไดเซชันมี พลังงานคงเดิม

4
s-ออรบิทัล กับ 2p-ออรบิทัล 2 ออรบิทัล
ไดไฮบริดออรบิทัล 3 ออรบิทัล ซึ่งเรียกวา
sp2-ไฮบริดออรบิทัล

มุมระหวางไฮบริดออรบทิ ัลแตละคู = 120o


มี p-ออรบิทัลเดิมอีก 1 ออรบิทัล
ที่ตั้งฉากกับไฮบริดออรบทิ ัลทั้งสาม

5
s-ออรบิทัล กับ p-ออรบทิ ัล 3 ออรบทิ ัล
ได sp3-ไฮบริดออรบิทัล จํานวน 4 ออรบิทัล

มีรูปรางเปนรูปทรงสี่หนา (tetrahedron)
และมุมระหวางไฮบริดออรบิทัลแตละคู = 109.5o

หลักการใชไฮบริดออรบทิ ัลอธิบายการเกิดพันธะในโมเลกุล

ตองทราบโครงสรางของโมเลกุลกอน แลวจึงเลือก
ไฮบริดออรบิทัลที่มีรูปรางใกลเคียงกับรูปรางของโมเลกุล
มากที่สุดเปนออรบิทัลทีอ่ ะตอมกลางใชในการสรางพันธะ
กับอะตอมอืน่

6
โมเลกุล BeCl2 มีรูปรางเปนเสนตรง
Be เปนอะตอมกลาง และพันธะ Be−Cl ทั้งสองยาวเทากัน
___ ___ ___ 2p
Cl Be Cl
↑↓ 2s
Be
↑↓ 1s

กอนสราง

p-ออรบิทัลของ Be ไมมีอเิ ล็กตรอนเดีย่ วสําหรับสรางพันธะ

ไฮบริดออรบิทัลที่มีรูปรางคลายโมเลกุลนี้ที่สุด คือ ?

sp-ไฮบริดออรบิทัล

7
___ ___ ___ 2p ___ ___ 2p
↑ ↑ sp-ไฮบริดออรบิทัล
↑↓ 2s

↑↓ 1s ↑↓ 1s

กอนสราง หลังสราง

หลังไฮบริไดเซชัน Be มีอิเล็กตรอนเดี่ยว 2 ตัวอยูใน


sp-ไฮบริดออรบิทัล สรางพันธะได 2 พันธะ

Cl จะใช 3p-ออรบิทัลทีม่ อี ิเล็กตรอนเดี่ยว


ซอนเหลือ่ มกับ sp-ไฮบริดออรบิทัลของ Be

พันธะที่เกิดจากการซอนเหลื่อมของ sp-ไฮบริดออรบิทัล
กับ 3p-ออรบิทัลเหมือนกัน ทําใหพันธะยาวเทากัน

8
โมเลกุล BF3 มีรูปรางเปนระนาบสามเหลี่ยม
มี B เปนอะตอมกลางและพันธะทั้งสามยาวเทากัน

↑ 2p

↑↓ 2s
B
↑↓ 1s

กอนสราง

อะตอมกลางควรเลือกสราง sp2-ไฮบริดออรบิทัล
เพราะมีรูปรางใกลเคียงกับรูปรางโมเลกุลที่สุด
การจัดอิเล็กตรอนเปลี่ยนไปดังนี้
↑ 2p 2p
↑ ↑ ↑ sp2-ไฮบริดออรบิทัล
↑↓ 2s

↑↓ 1s ↑↓ 1s

กอนสราง หลังสราง

9
อิเล็กตรอนเดี่ยว 3 ตัวใน sp2-ไฮบริดออรบิทัล
ทําให B สรางพันธะได 3 พันธะกับ F 3 อะตอม

การสรางพันธะในโมเลกุล CH4

↑ ↑ 2p
รูปรางเปนทรงสี่หนา
↑↓ 2s C ใชไฮบริดออรบิทัลอะไร
C
↑↓ 1s

กอนสราง

10
C ใช sp3-ไฮบริดออรบิทลั
เมื่อสรางไฮบริดออรบิทลั แลว C มีอิเล็กตรอนเดี่ยว 4 ตัว

↑ ↑ 2p
↑ ↑ ↑ ↑ sp3-ไฮบริดออรบิทัล
↑↓ 2s

↑↓ 1s ↑↓ 1s

กอนสราง หลังสราง

ไฮโดรเจนและเฮโลเจนทุกธาตุตางก็มอี ิเล็กตรอนเดี่ยวเพียงตัวเดียว
ในอะตอม จึงสรางพันธะโคเวเลนตไดเพียง 1 พันธะ
(ยกเวนเมือ่ เฮโลเจนเปนอะตอมกลาง)
พันธะในโมเลกุล CH3Cl, CH2Cl2, CHCl3 และ CCl4
จึงเกิดขึน้ ในลักษณะเดียวกัน

11
CH3Cl, CH2Cl2, CHCl3 และ CCl4

C สรางพันธะเดี่ยว 4 พันธะดวย
sp3-ไฮบริดออรบิทัลเหมือนกัน

12
ขอสังเกตนี้เปนจริงในโมเลกุลอื่นทุกชนิดที่คารบอนสราง
พันธะเดี่ยว เชน ในอีเทน (CH3CH3) คารบอนทั้งสองอะตอม
สรางพันธะเดี่ยว 4 พันธะเหมือนกันดวย sp3-ไฮบริดออรบิทลั

ในไฮโดรคารบอนอิ่มตัวชนิดอื่น ๆ พันธะของคารบอนก็เปนเชนเดียวกัน

โมเลกุล NH3

↑ ↑ ↑ 2p
มี 3 ออรบิทลั วาง
↑↓ 2s สรางได 3 พันธะ จริง
รูปราง สามเหลี่ยมแบนราบ
↑↓ 1s
ไมจริง
กอนสราง

13
โมเลกุล NH3 มีรูปรางเปนพีระมิดฐานสามเหลี่ยม
มี N เปนอะตอมกลาง ไฮบริดออรบทิ ัลที่มีรูปรางใกลเคียงกับ
รูปรางโมเลกุลที่สุดคือ sp3 และ
N สรางพันธะเดี่ยว 3 พันธะ แสดงวาไฮบริดออรบิทัล
จะตองมีอิเล็กตรอนเดี่ยว 3 ตัว

↑ ↑ ↑ 2p
↑↓ ↑ ↑ ↑ sp3-ไฮบริดออรบิทัล
↑↓ 2s

↑↓ 1s ↑↓ 1s

กอนสราง หลังสราง

N มีอิเล็กตรอนคูโดดเดี่ยว 1 คูอยูใน sp3-ไฮบริดออรบิทัล


พันธะเกิดขึน้ โดยการซอนเหลือ่ มของไฮบริดออรบิทัล
ที่มีอิเล็กตรอนเดี่ยวกับ 1s-ออรบิทัลของ H ดังภาพ

14
จากการทดลองพบวามุมพันธะทั้งสามมุมของโมเลกุลนี้
มีคาเทากัน คือ 107.3o ซึง่ เล็กกวามุมระหวาง
sp3-ไฮบริดออรบิทัลเดิม(109.5o)

ตามทฤษฎีพนั ธะเวเลนซ (การคํานวณ)


ในโมเลกุลใด ๆ แรงผลักระหวางอิเล็กตรอนคูตาง ๆ
มีคาลดลงตามลําดับดังนี้

คูโดดเดี่ยว-คูโดดเดี่ยว > คูโ ดดเดี่ยว-คูรวมพันธะ > คูรว มพันธะ-คูรวมพันธะ

โมเลกุล NH3 มีแรงผลักเฉพาะ 2 ชนิดหลังเทานั้น


เพราะมีอิเล็กตรอนคูโดดเดี่ยว 1 คู
และคูโดดเดี่ยวผลักคูรวมพันธะ > คูรวมพันธะผลักกันเอง
ทําใหมุมพันธะ < 109.5o

15
H2O มีรูปรางเปนมุมงอและมีมมุ พันธะ 104.5o
ไฮบริดออรบิทัลที่เหมาะสมคือ sp3 เชนเดียวกับใน NH3

การจัดอิเล็กตรอน และการเกิดพันธะใน H2O


เมื่ออะตอม O สราง sp3-ไฮบริดออรบิทัล
↑↓ ↑↓ ↑ ↑ sp3-ไฮบริดออรบิทัล

↑↓ 1s

104.5°
104.5°
แรงผลักจากอิเล็กตรอนคูโ ดดเดี่ยว 2 คูทําให
อิเล็กตรอนคูร วมพันธะถูกผลักใหเขาใกลกนั
และทําใหมุมพันธะ < 109.5o และ < มุมพันธะใน NH3

16
โมเลกุลของฟอรมลั ดีไฮด(CH2=O) มีโครงสราง
เปนรูปสามเหลี่ยมระนาบและมีพันธะคูระหวาง C กับ O ดังนี้

H
c O
H

อะตอมกลาง (คือ C) ตองใช sp2-ไฮบริดออรบิทัล


C ตองใชอิเล็กตรอนเดี่ยว 4 ตัวในการสรางพันธะ
การจัดอิเล็กตรอนหลังจากที่คารบอนสรางไฮบริดออรบิทัล
แลวเปนดังนี้
↑ ↑ 2p ↑ 2p
↑ ↑ ↑ sp2-ไฮบริดออรบิทัล
↑↓ 2s

↑↓ 1s ↑↓ 1s

กอนสราง หลังสราง

17
พันธะ σ เกิดขึ้นโดยการซอนเหลือ่ มในแนวตรง
ของไฮบริดออรบิทัลดังรูป

C O

2p-ออรบิทัลที่เหลือมีอิเล็กตรอนเดี่ยว
สรางพันธะ π กับ 2p-ออรบิทัลที่มีอิเล็กตรอนเดี่ยว
ของออกซิเจนได

18
CH2O

O2

O สรางพันธะเชนเดียวกับเมือ่ อยูในโมเลกุล O2

ในโมเลกุลที่ C สรางพันธะคู 1 พันธะ


จะใช sp2-ไฮบริดออรบิทลั สรางพันธะ σ
และใช 2p-ออรบิทัลที่เหลือสรางพันธะ π เสมอ
เชน ในโมเลกุลของเอทิลนี (CH2=CH2) ซึ่งมีโครงสราง
เปนระนาบสี่เหลี่ยมผืนผา

19
CH2=CH2

CH2O

เปรียบเทียบความเหมือน

โมเลกุล HCN มีรูปรางเปนเสนตรงและมีพนั ธะสาม


ระหวาง C กับ N ดังนี้

H−C≡N:
ตามทฤษฎีพนั ธะเวเลนซ คารบอนซึ่งเปนอะตอมกลางควรสราง
พันธะดวย sp-ไฮบริดออรบิทัลซึ่งมีลกั ษณะเปนเสนตรงเชนกัน
จากสูตรโครงสรางจะเห็นวา C ตองมีอิเล็กตรอนเดี่ยว 4 ตัว
จึงจะสรางพันธะไดครบ
การจัดอิเล็กตรอนหลังจากที่สรางไฮบริดออรบิทลั แลวจึงเปนดังนี้

20
↑ ↑ 2p
↑ ↑ sp-ไฮบริดออรบิทัล

↑↓ 1s

ทั้ง sp-ไฮบริดออรบิทัลและ 2p อีก 2 ออรบิทัลตางก็มอี ิเล็กตรอน


เดี่ยว พรอมที่จะสรางพันธะได 2p-ออรบิทัลทั้งสองนี้ตั้งฉากกัน
และตั้งฉากกับ sp-ไฮบริดออรบิทัลดวย

พันธะทั้งหมดในโมเลกุลนี้ จึงเกิดขึ้นดังภาพ

21
HCN

N2

N สรางพันธะเชนเดียวกับเมือ่ อยูในโมเลกุล N2

CH≡CH

พันธะในโมเลกุลของอะเซทิลีน(C2H2)
ซึ่งมีรูปรางเปนเสนตรงก็เกิดขึ้นในลักษณะเดียวกัน

22
โมเลกุล CO2 ซึ่งมีรูปรางเปนเสนตรง อะตอมกลาง คือ
C ก็ตองใชไฮบริดออรบทิ ัลแบบ sp เชนเดียวกับใน C2H2

พันธะโคออรดิเนตโคเวเลนต

พันธะโคเวเลนต : การซอนเหลื่อมของออรบิทัลที่มี
อิเล็กตรอนเดี่ยว ทําใหมีการใชอิเล็กตรอนรวมกัน 1 คู
แตการใชอิเล็กตรอนรวมกัน 1 คู ก็อาจเกิดจากออรบิทัลที่มี
2 อิเล็กตรอนซอนเหลื่อมกับออรบิทลั ที่ไมมอี ิเล็กตรอนเลยได

23
พันธะที่เกิดขึ้นในลักษณะนี้เรียกวา
พันธะโคออรดิเนตโคเวเลนต (coordinate covalent bond)
เชน เมือ่ NH3 หรือ H2O ทําปฏิกิริยากับ H+ กลายเปน
NH4+ หรือ H3O+ ไอออน ตามลําดับ

พันธะโคออรดิเนตโคเวเลนตในบางโมเลกุลเกิดขึน้ จาก
การซอนเหลือ่ มทางดานขาง เชน ในโมเลกุล CO

24
↑ ↑ 2p C มีอิเล็กตรอนเดี่ยว 2 ตัวใน 2p-ออรบิทลั
และมี 2p-ออรบิทัลวาง 1 ออรบิทัล
↑↓ 2s สวน O มีอิเล็กตรอนเดี่ยว 2 ตัวและ
2p อีกออรบิทลั หนึ่งมีอิเล็กตรอน 2 ตัว
↑↓ 1s จึงเกิดพันธะโคเวเลนต 2 พันธะ (σ + π)
และพันธะโคออรดิเนตโคเวเลนต
กอนสราง
1 พันธะ(π)

25
ทฤษฎีออรบิทัลโมเลกุล

(Molecular Orbital Theory)


ทฤษฎีพันธะเวเลนซถือวาอิเล็กตรอนในโมเลกุลอยูใน
ออรบิทัลของอะตอมหนึง่ ๆ อยางชัดเจน และมองภาพ
ของอะตอมแยกกันในขณะที่เขาสรางพันธะ

ทฤษฎีออรบทิ ัลโมเลกุล (ซึ่งใชหลักการของทฤษฎี


กลศาสตรควอนตัมเชนกัน) ถือวาอิเล็กตรอนในโมเลกุล
อยูในออรบทิ ัลโมเลกุล ซึ่งเกิดจากการรวมตัวของออรบิทลั
ของทุกอะตอมในโมเลกุล

26
การรวมออรบิทัลของอะตอม

เมื่อไฮโดรเจน 2 อะตอมรวมตัวกันเปนโมเลกุล
การซอนเหลือ่ มในแนวตรงของ 1s-ออรบิทัล
จะทําใหเกิดออรบิทัลโมเลกุล 2 ออรบทิ ัล
1. ออรบิทัลโมเลกุลแบบสรางพันธะ
(bonding molecular orbital หรือ BMO แทนดวย σ1s)
ซึ่งมีพลังงานต่ํากวาออรบิทัลอะตอมเดิม และ

2. ออรบิทัลโมเลกุลแบบตานพันธะ
(antibonding molecular orbital หรือ AMO แทนดวย σ*1s)
ซึ่งมีพลังงานสูงกวาออรบิทัลอะตอมเดิม

ถาอิเล็กตรอนอยูในออรบิทัลโมเลกุลแบบสรางพันธะ
โมเลกุลจะเสถียร
แตถามีอิเล็กตรอนอยูในออรบิทัลโมเลกุลแบบตานพันธะ
โมเลกุลจะไมเสถียร

27
แผนภาพระดับพลังงานของออรบิทลั โมเลกุลและ
การจัดอิเล็กตรอนในโมเลกุล H2 และรูปรางของ
ออรบิทัลโมเลกุลที่เกิดขึน้ เปนดังนี้
σ∗1S
1s 1s

σ1S

σ∗1S

σ1S

อิเล็กตรอนจากทั้งสองอะตอมเขาอยูดว ยกันในออรบิทัล σ1s


แสดงการจัดอิเล็กตรอนในโมเลกุลโดยเขียนวา σ1s2
ซึ่งหมายความวามีอิเล็กตรอน 2 ตัวอยุในออรบิทัล σ1s

จากรูปรางของออรบิทัลโมเลกุล
ถามีอิเล็กตรอนอยูในออรบิทัล σ1s ความหนาแนนอิเล็กตรอน
ในบริเวณระหวางนิวเคลียสทั้งสองจะสูงและดึงดูดใหอะตอม
ทั้งสองอยูรวมกันได

28
แตถามีอิเล็กตรอนอยูในออรบิทัล σ1s*
ซึ่งมีความหนาแนนอิเล็กตรอนต่ําในบริเวณระหวางนิวเคลียส
แรงผลักระหวางนิวเคลียสจะทําใหโมเลกุลไมเสถียร

σ∗1S

σ1S

อันดับพันธะและเสถียรภาพของโมเลกุล

เสถียรภาพของโมเลกุลจะขึ้นอยูกับวาอิเล็กตรอนที่เขาอยูใน
ออรบิทัลโมเลกุลแบบสรางพันธะมีจํานวนมากกวาหรือ
เทากับอิเล็กตรอนที่เขาอยูในออรบิทัลแบบตานพันธะ

29
ถาอิเล็กตรอนเขาอยูในออรบิทัลโมเลกุลแบบสรางพันธะ
โมเลกุลจะเสถียรกวาอะตอมเดิมเพราะออรบิทัลโมเลกุลมี
ระดับพลังงานต่ํากวาออรบิทัลอะตอม

แตถามีอิเล็กตรอนอยูในออรบิทัลโมเลกุลแบบตานพันธะ
ก็มีแนวโนมจะทําใหโมเลกุลมีเสถียรภาพลดลง

อันดับพันธะ (bond order) บอกเสถียรภาพของโมเลกุล


คํานวณไดจาก

อันดับพันธะ = (จํานวน e- ใน BMO) – (จํานวน e- ใน AMO)


2

ความเสถียรของพันธะ แปรผันตาม อันดับพันธะ


ถาอันดับพันธะเทากับศูนย (0) โมเลกุลจะไมเสถียร
(หรือเกิดพันธะไมได)

30
ในกรณี H2
อันดับพันธะ = (2-0) / 2 = 1
ดังนั้น โมเลกุลของ H2 จึงเสถียร

พิจารณาการรวมตัวกันของ He 2 อะตอม:
He มี 1s-ออรบิทัล
ดังนั้น เมื่อรวมกันจะได σ1s และ σ1s* และ
มี e- รวมเทากับ 4 ตัว
จึงมีการจัดอิเล็กตรอนเปน σ1s2 σ 1s*2 ดังรูป
σ∗1S

1s 1s
σ1S

31
อันดับพันธะ = (2 – 2) / 2 = 0

นั่นคือ พันธะไมเสถียร

การจัดอิเล็กตรอนในโมเลกุล

เมื่ออะตอมที่มี 1s-ออรบิทลั รวมกันจะได


ออรบิทัลโมเลกุล 2 ออรบทิ ัล
∴เมื่ออะตอมที่มี 2s-ออรบิทัลรวมกันจะได
ออรบิทัลโมเลกุล 2 ออรบิทัล เชนกัน คือ

32
- ออรบิทัลโมเลกุลแบบสรางพันธะ(σ2s) และ
- ออรบทิ ัลโมเลกุลแบบตานพันธะ(σ2s*)

และอิเล็กตรอนจะเขาอยูใ นออรบิทัลโมเลกุลเหลานี้

กรณี Li2 หรือ Be2

การจัดอิเล็กตรอนและอันดับพันธะสําหรับโมเลกุล Li2 และ Be2

โมเลกุล จํานวน e- การจัดอิเล็กตรอน อันดับพันธะ


Li2 6 2 * 2 2 1 (4 - 2) = 1
σ1s σ1s σ2s
2
Be2 4 2 * 2 2 * 2 1 (4 - 4) = 0
σ1s σ1s σ2s σ 2s
2

33
Be2 มีอันดับพันธะ = 0 ⇒ ไมเสถียร

Li2 มีอันดับพันธะ = 1 ⇒ เสถียร

ถาอะตอมที่เขารวมตัวกันมี e- อยูใน p-ออรบิทัล


จะตองพิจารณาการรวมตัวของ p-ออรบิทัลเปน
ออรบิทัลโมเลกุลดวย โดย p-ออรบิทลั คูหนึ่งของ
อะตอมทั้งสองจะซอนเหลื่อมกันในแนวตรง และ
อีก 2 คูจ ะซอนเหลือ่ มกันทางดานขางไดออรบิทัล
โมเลกุล 6 ออรบิทัล

34
σ∗Z

σ∗Z
2pz 2pz
σZ
σZ
(ก) การรวมแบบ σ

π∗x

π∗x
2px 2px
πx
πx
(ข) การรวมแบบ π

pz-ออรบิทัลของทั้งสองอะตอมเขารวมกันในแนวตรง
ไดออรบิทัลโมเลกุล 2 ออรบิทัล คือ σz และ σ z*

สวน px- กับ py-ออรบิทัลของทั้งสองอะตอมเขารวมกันทางดานขาง


ไดออรบิทัลโมเลกุล 4 ออรบิทัล คือ πx, πy, πx* และ πy*
ออรบิทัลโมเลกุลที่มีเครื่องหมาย * กํากับคือออรบิทัลโมเลกุลแบบ
ตานพันธะซึ่งมีพลังงานสูงกวาออรบิทัลโมเลกุลแบบสรางพันธะ
และเมื่อมีอิเล็กตรอนอยูในออรบิทัลแบบตานพันธะโมเลกุลมีแนวโนม
ที่จะไมเสถียร

35
ระหวางอะตอมในคาบเดียวกัน ระดับพลังงานของ
ออรบิทัลเหลานี้มีคาไมแตกตางกันนัก แตการเรียงลําดับ
พลังงานอาจแตกตางกัน

การเรียงลําดับพลังงานของออรบิทัลโมเลกุลที่ไดจาก
การรวมตัวของ 2p-ออรบทิ ัลของธาตุในคาบที่สอง เปนดังภาพ

การเรียงลําดับพลังงานของออรบิทัลโมเลกุล
ที่ไดจากการรวมตัวของ 2p-ออรบิทัล

σ*z σ*z
π*x π*y π*x π*y
σz πx πy
πx πy σz

B2, C2 และ N2 O2, F2 และ Ne2

36
สรุป
สําหรับโมเลกุลอะตอมคูข องธาตุในคาบที่สอง(ยกเวนออกซิเจน
ฟลูออรีน และนีออน) ออรบิทัลโมเลกุลมีพลังงานสูงขึ้นตาม
ลําดับดังนี้
σ1s < σ1s* < σ2s < σ2s* < πx = πy < σz < πx* = πy* < σz*

สําหรับออกซิเจน ฟลูออรีน และนีออน


พลังงานของออรบิทัลโมเลกุลเพิม่ ขึน้ ตามลําดับดังนี้

σ1s < σ1s* < σ2s < σ2s* < σz < πx = πy < πx* = πy* < σz*

37
โมเลกุล การจัดอิเล็กตรอน อันดับพันธะ
Li2 2 * 2 2 1
σ1s σ1s σ2s

Be2 2 * 2 2 * 2 0
σ1s σ1s σ2s σ 2s

B2 2 * 2 2 * 2 1 1 1
σ1s σ1s σ2s σ 2s πx πy

C2 2 * 2 2 * 2 2 2 2
σ1s σ1s σ2s σ 2s πx πy

N2 2 * 2 2 * 2 2 2 2 3
σ1s σ1s σ2s σ 2s πx πy σz

O2 2 * 2 2 * 2 2 2 2 *1 * 1 2
σ1s σ1s σ2s σ 2s σz πx πy π x π y

F2 2 * 2 2 * 2 2 2 2 *2 * 2 1
σ1s σ1s σ2s σ 2s σz πx πy π x π y

Ne2 2 * 2 2 * 2 2 2 2 *2 * 2 *2 0
σ1s σ1s σ2s σ 2s σz πx πy π x π y σz

โมเลกุลที่มอี นั ดับพันธะเทากับ 0 เกิดขึ้นไมได


โมเลกุลที่มอี นั ดับพันธะเทากับ 3 เสถียรที่สุด
โมเลกุล O2 มีอิเล็กตรอนเดี่ยว 2 ตัว ทําใหโมเลกุลมีสมบัติเปน
พาราแมกเนติก (สอดคลองกับผลการทดลอง)

สําหรับอะตอมคูที่ประกอบดวยธาตุตางชนิดกัน
วิธีการสรางออรบิทัลโมเลกุล การจัดอิเล็กตรอน
และการคํานวณอันดับพันธะก็ใชวิธีการเดียวกับที่กลาวมา

38
โมเลกุล CO และไอออน CN- มีจํานวนอิเล็กตรอนรวมเทากัน
และเทากับในโมเลกุล N2 พอดี จึงมีการจัดอิเล็กตรอนใน
ออรบิทัลโมเลกุลและอันดับพันธะเทากับของ N2

สําหรับโมเลกุลที่มอี ิเล็กตรอนรวมกันเปนจํานวนคี่
อันดับพันธะอาจมีคาไมเปนเลขจํานวนเต็มก็ได เชน
โมเลกุล NO มีอิเล็กตรอนรวม 7 + 8 = 15 ตัว
มีการจัดอิเล็กตรอนในออรบิทัลโมเลกุลเปนดังนี้
2 * 2 2 * 2 2 2 2 *1
σ1s σ 1s σ2s σ 2s σz πx πy π x

อันดับพันธะ = (10 - 5)/2 = 2½


พันธะนี้แข็งแรงกวาพันธะคู แตไมแข็งแรงเทาพันธะสาม

39
Delocalized molecular orbitals are not confined between
two adjacent bonding atoms, but actually extend over three
or more atoms.

Electron density above and below the plane of the


benzene molecule.

40
แรงระหวางโมเลกุล

(Intermolecular Forces)

แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลหรือแรงระหวางโมเลกุล
เปนสาเหตุที่ทําใหแกสควบแนนเปนของเหลวและแข็งตัวเปนผลึกได
แบงออกเปน 2 ประเภท คือ พันธะไฮโดรเจน และแรงแวนเดอรวาลส

41
พันธะไฮโดรเจน

พันธะไฮโดรเจน (hydrogen bond หรือ H-bond)


เปนแรงดึงดูดระหวางอะตอม H ซึง่ สรางพันธะอยูกับ
F, O หรือ N กระทํากับ F, O หรือ N ในอีกโมเลกุลหนึ่ง
อะตอมที่เกี่ยวของในการเกิดพันธะไฮโดรเจนจะเรียงตัวกันดังนี้

X−H----Y

เมื่อ X และ Y แทน F, O หรือ N และเสนประ ----


แทนพันธะไฮโดรเจน อะตอม X และ Y เปนอะตอม
ที่มีอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงที่สุด 3 ธาตุแรกในตารางธาตุ
และ Y จะตองมีอิเล็กตรอนคูโดดเดี่ยวดวย
การที่อะตอม X ดึงดูดอิเล็กตรอนในพันธะ X−H ได
แรงจะทําใหอะตอม H มีประจุเปนลบเล็กนอยและ
ดึงดูดกับอิเล็กตรอนคูโดดเดี่ยวของอะตอม Y
เกิดเปนพันธะไฮโดรเจนขึ้น

42
O O

N
O

ระหวางโมเลกุลของน้ํา ระหวางน้ํากับแอมโมเนีย

ตัวอยางโมเลกุลที่สรางพันธะไฮโดรเจนไดแก
ไฮโดรเจนฟลูออไรด(HF) น้ํา(H2O) และแอมโมเนีย(NH3)
ซึ่งมีผลทําใหของเหลวทั้งสามชนิดนีม้ ีจุดเดือดสูงผิดปรกติ
เมื่อเทียบกับสารประกอบจําพวกเดียวกัน

43
500

400 H2 O
HF H2Te
จุดเดือดปกติ / K 300
H2 S H 2 Se SbH3
NH3 AsH HI
HCl HBr 3
SnH
GeH4 Xe Rn
4
200 PH3
SiH4
CH4 Kr
100 Ar
He Ne
0
1 3 5 7

เลขคาบของอะตอมกลาง

ถาโมเลกุลมีขนาดใหญมาก เชน โปรตีน พันธะไฮโดรเจน


อาจเกิดขึ้นระหวางสวนตาง ๆ ภายในโมเลกุลเดียวกันได
เรียกวาพันธะไฮโดรเจนภายในโมเลกุล (intramolecular)
มีผลทําใหโมเลกุลขดงอไปมา

พันธะไฮโดรเจนมีความแข็งแรงเพียงประมาณ 5 - 10 %
ของพันธะโคเวเลนตปรกติเนื่องจากอะตอม H และ Y
อยูหางกันมากกวาความยาวของพันธะโคเวเลนตทั่วไป

44
แรงแวนเดอรวาลส
(van der Waals forces)

แบงออกเปน 3 ชนิด คือ

แรงขั้วคู-ขั้วคู (dipole-dipole force) ซึ่งเปนแรงดึงดูด


ระหวางโมเลกุลมีขั้วกับโมเลกุลมีขั้วดวยกัน เชน ระหวาง
HCl กับ HCl และระหวางโมเลกุลของน้ํา

δ−
δ + −
δ δ+ −
δ O+
δ−
H Cl H Cl H δ H
Cl− H+ O+
δ δ δ
H H

ระหวางโมเลกุล HCl ระหวางโมเลกุล H2O

45
แรงขั้วคู-ขั้วคูเหนี่ยวนํา (dipole-induced dipole)
เปนแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลมีขั้วกับโมเลกุลไมมขี ั้ว
เมื่อโมเลกุล 2 ชนิดนี้เขาใกลกนั ขั้วคูของโมเลกุลมีขั้ว
สามารถเหนี่ยวนําใหเกิดขั้วออนขึน้ ในโมเลกุลไมมีขั้ว
ทําใหดึงดูดกันไดแตไมแข็งแรงนัก เชน แรงดึงดูด
ระหวางโมเลกุล HCl กับโมเลกุล N2

แรงลอนดอน (London force) หรือ


แรงแผกระจาย (dispersion force) เปนแรงดึงดูดระหวาง
โมเลกุลไมมขี ั้วกับโมเลกุลไมมีขั้วดวยกันเอง เชน ระหวาง
โมเลกุลของ Ar (1 โมเลกุลประกอบดวย 1 อะตอม)

46
การเคลื่อนทีข่ อง e- รอบ ๆ นิวเคลียสบางขณะทําใหกลุม หมอก e-
มีความหนาแนนไมสม่ําเสมอกัน แตละโมเลกุลจึงเกิดขั้วขึ้นได
ในชวงเวลาสั้น ๆ เมือ่ ผานชวงเวลานีไ้ ปแลว e- จะเปลี่ยน
ตําแหนงใหม และอาจเกิดขั้วคูใหมในทิศทางที่ตางจากเดิม
ขั้วคูที่เกิดขึ้นชั่วขณะในโมเลกุลเหลานี้ทําใหเกิดแรงดึงดูด
(หรือแรงผลัก)อยางออนระหวางกันได ยิ่งโมเลกุลมี e- มาก
โอกาสที่จะเกิดขั้วคูชั่วขณะก็มีมากและโมเลกุลก็มักดึงดูดกันไดดีขึ้น

แรงแผกระจายระหวางโมเลกุล Ar

โมเลกุลดึงดูดกัน โมเลกุลผลักกัน

47

You might also like