You are on page 1of 64

การเคลื่อนที่ของโมเลกุลแบบสุ่ ม

ในก๊ าซและสารละลาย
(Random Molecular Motion in Gases and Solutions)

พรพรรณ พึ่งโพธิ์
CHEM 1210 ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
1
สถานะของสสาร
แก๊ส ของเหลว ของแข็ง

มีรูปร่างและปริมาตรตาม มีรูปร่างตามส่วนของ มีรูปร่างและปริมาตรแน่นอน


ภาชนะบรรจุ ภาชนะบรรจุ
(อนุภาคเคลื่อนที่ผ่านกันได้) (อนุภาคเคลื่อนที่ผ่านกันได้) (อนุภาคเคลื่อนที่ผ่านกันได้)
บีบอัดได้ (มีช่องว่างระหว่าง บีบอัดได้ยาก (มีช่องว่างระหว่าง บีบอัดได้ยาก (มีช่องว่างระหว่าง
อนุภาคอยู่มาก) อนุภาคอยู่น้อย) อนุภาคอยู่น้อย)
ไหลเวียนได้ง่าย (อนุภาค ไหลเวียนได้ง่าย (อนุภาค ไหลเวียนได้ยาก (อนุภาคสั่นอยู่
เคลื่อนที่ผ่านกันได้) เคลื่อนที่ผ่านกันได้) กับที่)
2
แก๊ส (GAS)
ลักษณะทั่วไป แก๊ส ของเหลว ของแข็ง

ความเป็ นระเบียบของโมเลกุล ตา่ สู ง

แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล น้ อย มาก

ระยะห่ างระหว่างโมเลกุล มาก น้ อย

ปริมาตร ขึ้นกับ ภาชนะ แน่ นอน แน่ นอน

รูปร่ าง ขึ้นกับ ภาชนะ a ภาชนะ แน่ นอน

ผลของ T และ P ต่อปริมาตร มีผลมาก มีผลน้ อย ไม่มผี ล

3
โมเลกุลของแก๊สเคลื่อนทีต่ ลอดเวลาอย่ างอิสระใน
ทุกทิศทางและสามารถฟุ้งกระจายเต็มภาชนะทีบ่ รรจุ
ปริมาตรของแก๊ส (V) ขึน้ อยู่กบั ความดัน (P) และอุณหภูมิ (T)
หน่ วยของปริมาตร ความดัน และอุณหภูมิ
ปริมาตร (Volume, V)
⬧ ลิตรหรื อลูกบาศก์เดซิเมตร (L, dm3)
⬧ มิลลิลติ ร (mL) หรื อลูกบาศก์เซนติเมตร (cm3)
⬧ ลูกบาศก์เมตร (m3)
1 L = 1000 mL = 1000 cm3 = 0.001 m3
4
อุณหภูมิ (Temperature, T)
⬧ เคลวิน (Kelvin, K) หน่ วยวัดอุณหภูมสิ ั มบูรณ์ ใช้ สัญลักษณ์ T
⬧ องศาเซลเซียส (Celcius, oC) ใช้ สัญลักษณ์ t
T (K) = 273 + t (oC)
ุ หภูมหิ น่ วย เคลวิน (K) เสมอ
การคานวณเรื่ องแก๊ส ต้ องใช้ อณ
สภาวะมาตรฐาน (STP)
อุณหภูมิ (T) = 0 oC = 273 K
ความดัน (P) = 1 atm
5
ความดัน (Pressure, P)
แรงเนื่องจากการชนระหว่ างโมเลกุลของแก๊สกับผนังภาชนะ
⬧ ปาสคาล (Pascal, Pa) หรื อนิวตันต่ อตารางเมตร (N/m2)
⬧ บรรยากาศ (Atmosphere, atm) ⬧ มิลลิเมตรปรอท (mmHg)
⬧ บาร์ (bar) ⬧ ทอร์ (torr)
1 Pa = 1 N/m2
1 atm = 760 mmHg = 760 torr
= 1.0133 bar
= 1.0133 × 105 Pa

6
กฎของก๊ าซ
กฎของบอยล์
กฎของชาร์ ล
กฎของเกย์ลูสแสค
กฎของอาโวกาโดร
ทฤษฎีจลน์ ของแก๊ส

7
กฎของบอยล์ “ปริมาตร (V) ของแก๊สแปรผกผันกับความดัน (P)
เมื่ออุณหภูมิและจานวนโมลคงที”่

V ลดลง
P เพิม่ ขึน้

P เพิม่ ขึน้
V ลดลง

1
P
เมื่อ T และ n คงที่ P1V1 = P2V2

8
ตัวอย่าง แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 250.0 cm3 ทีค่ วามดัน 4.0 atm จงหาว่า
ปริมาตรแก๊สจะเปลีย่ นไปเป็ นเท่าใด เมื่อความดันเปลีย่ นไปเป็ น 6.0 atm
ทีอ่ ุณหภูมิคงที่
วิธีทา จากสู ตร P1V1 = P2V2
P1 = 4.0 atm P2 = 6.0 atm
V1 = 250 cm3 V2 = ?
แทนค่ าตัวแปรดังกล่ าวลงในสู ตร จะได้
(4.0 atm)(250.0 cm3) = (6.0 atm)(V2)
V2 = (4.0 atm)(250.0 cm3)
(6.0 atm)
ตอบ V2 = 166.7 cm3
9
ตัวอย่าง แก๊ส CO2 มีปริมาตร 150.0 mL และความดัน 35.3 mmHg
ถ้ าปริมาตรแก๊สลดลงเหลือ 50.0 mL ความดันจะเป็ นเท่าไร (อุณหภูมิคงที)่
วิธีทา จากสู ตร P1V1 = P2V2
P1 = 35.3 mmHg P2 = ?
V1 = 150.0 mL V2 = 50.0 mL
แทนค่ าตัวแปรดังกล่ าวลงในสู ตร จะได้
(35.3 mmHg)(150.0 mL) = (P2)(50.0 mL)

ตอบ P2 = 106 mmHg

10
ตัวอย่ าง แก๊ สชนิดหนึ่งมีปริ มาตร 12 L ที่ความดัน 1.2 atm จงหาปริ มาตรของ
แก๊สนีถ้ ้ าความดันของแก๊สเพิม่ เป็ น 2.4 atm ทีอ่ ุณหภูมิเดียวกัน
แนวคิด: เรารู ้ปริ มาตรของแก๊สที่ความดันหนึ่งและต้องการหาปริ มาตรของแก๊สที่อีกความดัน
แนวคิหนึด่:งเรารู
(อุณ้ปหภู
ริ มมาตรของแก๊ สทีา่คต้วามดั
ิคงที่) แสดงว่ องใช้นกหนึ
่ งและต้องการหาปริ มาตรของแก๊สที่อีกความดัน
ฎของบอยล์
หนึ่ง (อุณหภูมิคงที่) แสดงว่าต้องใช้กฎของบอยล์
วิธีทา V = 12 L P = 1.2 atm
1 1
V2 = ? P2 = 2.4 atm
จากกฎของบอยล์: P1V1 = P2V2 ดังนั้นหา V2
P1V1 (1.2 atm)(12 L)
V2 = P2
= 2.4 atm
= 6.0 L

ดังนั้นปริ มาตรของแก๊สคือ 6.0 ลิตร


กฎของชาร์ ล “ปริมาตร (V) ของแก๊สแปรผันโดยตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ์ (T)
เมื่อความดันและจานวนโมลคงที”่

VaT เมื่อ P และ n คงที่


T เพิม่ ขึน้
V1 V2
=
T1 T2
V เพิม่ ขึน้

-273 oC

12
ตัวอย่าง ทีอ่ ุณหภูมิ 25 oC และความดัน 760 mmHg แก๊สชนิดหนึ่งมี
ปริมาตร 50 cm3 จงหาว่าเมื่อปริมาตรของแก๊สเพิม่ ขึน้ เป็ น 80 cm3
แก๊ สชนิดนีจ้ ะมีอุณหภูมิเท่ าใด ถ้ าความดันคงที่

วิธีทา จากสู ตร V1 = V2 V1 = 50 cm3 V2 = 80 cm3


T1 T2 T1 = 273+25 = 298 K T2 = ?
แทนค่ าตัวแปรดังกล่ าวลงในสู ตร จะได้
(50 cm3) = (80 cm3)
298 K T2
T2 = (298 K)(80 cm3)
(50 cm3)
ตอบ T2 = 477 K
13
ตัวอย่าง ตัวอย่ างแก๊ สไนโตรเจนมีปริมาตร 117 mL ที่ 100°C อยากทราบ
ว่ าอุณหภูมิของแก๊ สนี้ในหน่ วย °C ต้ องมีค่าเท่ าใดจึงให้ ปริ มาตรของแก๊ ส
เป็ น 234 mL ทีค่ วามดันคงที่
แนวคิด ทราบปริ มาตรของตัวอย่ างที่อุณหภู มิหนึ่งและต้ องการอุณหภู มิที่ปริมาตรที่
สอง (ความดัน คงที่ ) ดัง นั้ น หาคาตอบโดยใช้ กฎของชาร์ ล ซึ่ ง การค านวณต้ อ งใช้
อุณหภูมใิ นหน่ วยเคลวินเท่ านั้น
𝐕𝟏 𝐕𝟐
วิธีทา จากสมการ =
𝐓𝟏 𝐓𝟐
V1 = 117 mL, V2 = 234 mL,
T1 = 273+100°C = 373 K, T2=?
𝟐𝟑𝟒 𝐦𝐋 𝟐𝟕𝟑 𝐊
แทนค่ าในสมการ 𝐓𝟐 = = 𝟕𝟒𝟔 𝐊
𝟏𝟏𝟕 𝐦𝐋

ตอบ T2 = 746 K - 273 = 473 °C


14
กฎของเกย์ ลูสแสค “ความดัน (P) ของแก๊ สแปรผันโดยตรงกับอุณหภูมสิ ั มบูรณ์ (T)
เมื่อปริมาตรและจานวนโมลคงที่ ”

To manometer To manometer Pa T เมื่อ V และ n คงที่


(1.00 atm) (1.37 atm)
P1 P2
=
T1 T2

Ice bath Boiling water

15
ตัวอย่ าง บรรจุแก๊ สไนโตรเจนลงในภาชนะปริมาตร 50 L อุณหภูมิ 35๐C มีความ
ดัน 15 atm ถ้ าอุณหภูมสิ ู งขึน้ เป็ น 80๐C จะมีความดันเท่ าใด

วิธีทา จากสู ตร P1 = P2 P1 = 15 atm P2 = ?


T1 T2 T1 = 273+35 = 308 K
แทนค่ าตัวแปรดังกล่ าวลงในสู ตร จะได้ T2 = 273+80 = 353 K
(15 atm) = (P2)
308 K 353 K
P2 = (353 K)(15 atm)
(308 K)
ตอบ P2 = 17 atm

16
ตัวอย่าง แก๊สมีเทนมีความดัน 350 torr ทีอ่ ุณหภูมิ 18°C ความดันของแก๊ส
จานวนนีม้ ีค่าเท่ าไร ถ้ าปริมาตรคงตัวและอุณหภูมิเพิม่ ขึน้ เป็ น 45 °C
วิธีทา จากสมการ 𝐏𝟏 𝐏𝟐
=
𝐓𝟏 𝐓𝟐

เมื่อ P1 = 350 torr, T1 = 273+18°C = 291 K


P2 = ค่ าทีโ่ จทย์ต้องการ T2 = 273+45 °C = 318 K
𝟑𝟓𝟎 𝐭𝐨𝐫𝐫 𝐏𝟐
จะได้ 𝟐𝟗𝟏 𝐊
=
𝟑𝟏𝟖 𝐊
𝟑𝟓𝟎 𝐭𝐨𝐫𝐫 𝟑𝟏𝟖 𝐊
𝐏𝟐 =
𝟐𝟗𝟏 𝐊

ตอบ 𝐏𝟐 = 𝟑𝟖𝟐 𝐭𝐨𝐫𝐫

17
กฎของอาโวกาโดร “ปริมาตร (V) ของแก๊สแปรผันโดยตรงกับจานวนโมล (n)
เมื่ออุณหภูมิและความดันคงที่ ”

Van เมื่อ T และ P คงที่

n เพิม่ ขึน้ V1 V2
=
n1 n2
n = 1 mol n = 2 mol
V เพิม่ ขึน้

ที่ STP แก๊ สใดๆ 1 โมล มีปริมาตร 22.4 L (standard molar volume)

18
ตัวอย่าง ลูกโป่ งปริมาตร 4.8 L บรรจุแก๊ สฮีเลียม 0.22 mol หากต้ องการ
ให้ ลูกโป่ งมีปริมาตร 6.4 L จะต้ องบรรจุแก๊ สฮีเลียมเพิม่ เข้ าไปกีโ่ มล ที่
อุณหภูมิและความดันคงที่

วิธีทา จากสู ตร V1 = V2 V1 = 4.8 L V2 = 6.4 L


n 1 n2 n1 = 0.22 mol n2 = ?
แทนค่ าตัวแปรดังกล่ าวลงในสู ตร จะได้
(4.8 L) = (6.4 L)
(0.22 mol) n2
n2 = (6.4 L)(0.22 mol)
(4.8 L)
ตอบ n2 = 0.29 mol
19
ตัวอย่ าง แก๊ สชนิดหนึ่งจานวน 1 mol มีปริมาตร 27.0 L และความหนาแน่ น
1.41 g/L ที่อุณหภูมิและความดันที่กาหนดค่ าหนึ่ง จงหาน้าหนักโมเลกุลของ
แก๊สนี้ และจงหาความหนาแน่ นของแก๊สนีท้ ี่ STP
วิธีทา 1) เปลีย่ นความหนาแน่ น 1.41 g/L เป็ นนา้ หนักโมเลกุล (g/mol)
?𝐠 𝟏. 𝟒𝟏 𝐠 𝟐𝟕. 𝟎 𝐋
= × = 𝟑𝟖. 𝟏 𝐠/𝐦𝐨𝐥
𝐦𝐨𝐥 𝐋 𝐦𝐨𝐥

2) ในการคานวณหาความหนาแน่ นที่ STP


𝟑𝟖. 𝟏 𝐠 𝟏 𝐦𝐨𝐥
𝐃𝐞𝐧𝐬𝐢𝐭𝐲 = × = 𝟏. 𝟕𝟎 𝐠/𝐋 𝐚𝐭 𝐒𝐓𝐏
𝟏 𝐦𝐨𝐥 𝟐𝟐. 𝟒 𝐋

20
กฎรวมแก๊ส V a
T P1 V1
=
P2 V2
P T1 T2

ตัวอย่าง แก๊สมีปริมาตร 2.0 L ทีอ่ ุณหภูมิ 25.0 oC และความดัน 760 mmHg


ถามว่าทีค่ วามดัน 780 mmHg และอุณหภูมิ 10.0 oC แก๊สนีจ้ ะมีปริมาตรเท่าใด
วิธีทา จากสู ตร P1V1
=
P2 V2
T1 T2
P1 = 760 mmHg V1 = 2.0 L T1 = 273+25 = 298 K
P2 = 780 mmHg V2 = ? T2 = 273+10 = 283 K
แทนค่ าตัวแปรดังกล่ าวลงในสู ตร จะได้
(760 mmHg) (2.0 L)
298 K
= (780 mmHg) (V2 )
283 K
V2 = (760 mmHg) (2.0 L) (283 K)
(298 K) (780 mmHg)
ตอบ V2 = 1.85 L 21
ตัวอย่าง แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 12.0 L ที่ 240 oC ภายใต้ ความดัน 80.0 kPa
จงหาอุณหภูมิของแก๊ สนีท้ ที่ าให้ แก๊ สมีปริมาตร 15.0 L ทีค่ วามดัน 107 kPa
แนวคิด: ใช้กฎรวมแก๊สเพื่อหาอุณหภูมิที่ตอ้ งการ
วิธีทา

V1 = 12.0 L P1 = 80.0 kPa T1 = 240.0 oC + 273 o = 513 K


V2 = 15.0 L P2 = 107 kPa T2 = ?
แทนค่าลงในสมการกฎรวมของแก๊สและหาค่า T2
P1V1 P2V2 P2V2T1 (107 kPa)(15.0L)(513 K)
= หรื อ T2 = = = 858 K
T1 T2 V1T1 (80.0 𝐾𝑃𝑎)(12.0 𝐿)
K = oC + 273 o ดังนั้น oC = 858 K – 273 o = 585 oC

22
แก๊สอุดมคติ (ideal gas)
◼ ไม่ มีแรงดึงดูดหรื อแรงผลักระหว่างโมเลกุล
◼ ปริ มาตรของโมเลกุลมีค่าน้ อยมาก

◼ พลังงานจลน์ มีค่าคงที่ เมื่ออุณหภูมิคงที่

กฎของแก๊สอุดมคติ (Ideal gas law) PV = nRT


P = ความดัน (atm) T = อุณหภูมิ (K)
V = ปริมาตร (L) n = จานวนโมล (mol)
R = ค่ าคงทีข่ องแก๊ส (gas constant) = 0.082 L.atm.mol-1.K-1
ค่ า R คานวณได้ จากแก๊ สสมบูรณ์ 1 โมลทีส่ ภาวะ STP (273 K และ 1 atm)
มีปริมาตร 22.4 L แทนค่ าใน PV = nRT
23
ตัวอย่าง จงคานวณหาจานวนโมลของแก๊ สอุดมคติชนิดหนึ่งทีม่ ีปริมาตร
2.75 L และความดัน 6.5 atm ทีอ่ ุณหภูมิ 300 K

วิธีทา จากสมการของกฎแก๊ สอุดมคติจะได้ n = PV


RT
V = 2.75 L P = 6.5 atm
T = 300 K R = 0.082 LatmK-1mol-1 n=?
แทนค่ าตัวแปรดังกล่าวลงในสมการ จะได้
n = (6.5 atm) (2.75 L)
(0.082 L  atm  K -1  mol -1 ) (300 K)

ตอบ n = 0.73 mol


24
ตัวอย่าง ภาชนะบรรจุแก๊ สปริมาตร 4.00 L สามารถทนความดันได้
สู งสุ ด 3.50 atm ถ้ าบรรจุแก๊ สจานวน 0.410 mol ในภาชนะใบนี้
อยากทราบว่าภาชนะนีจ้ ะทนอุณหภูมิได้ สูงสุ ดเท่ าใด (ในหน่ วย oC)
วิธีทา จากสมการของกฎแก๊ สอุดมคติจะได้ T = PV
nR
V = 4.00 L P = 3.50 atm
n = 0.410 mol R = 0.082 LatmK-1mol-1 T = ?
แทนค่ าตัวแปรดังกล่าวลงในสมการ จะได้
T = (3.50 atm) (4.00 L)
(0.410 mol)(0.082 L  atm  K -1  mol -1 )
T = 416.4 K
ตอบ T = 416.4 – 273 = 143.4 oC
25
ตัวอย่าง จงหาความดันในหน่ วย atm ทีเ่ กิดจากแก๊ส Xe จานวน 54.0 g
ในภาชนะ 1.00 L ที่ 20°C
แนวคิด เขียนค่าตัวแปรพร้อมหน่วยที่เหมาะสม จากนั้นแทนค่าของตัวแปรต่างๆ
ลงในสมการแก๊สอุดมคติเพื่อหาค่า P
𝐧𝐑𝐓
วิธีทา จากสมการของกฎแก๊ สอุดมคติจะได้ 𝐏 =
𝐕
V = 1.00 L, T = 273 +20°C = 293 K, P = ?
𝟏 𝐦𝐨𝐥
𝐧 = 𝟓𝟎. 𝟎 𝐠 𝐗𝐞 𝐱 = 𝟎. 𝟒𝟏𝟏 𝐦𝐨𝐥
𝟏𝟑𝟏. 𝟑 𝐠 𝐗𝐞
แทนค่ าตัวแปรต่ างๆ ลงในสมการแก๊ สอุดมคติ
𝟎. 𝟒𝟏𝟏 𝐦𝐨𝐥 𝟎. 𝟎𝟖𝟐𝟏 𝐋 𝐚𝐭𝐦 𝐦𝐨𝐥−𝟏 𝐊 −𝟏 𝟐𝟗𝟑 𝐊
𝐏 =
𝟏. 𝟎𝟎 𝐋
ตอบ 𝐏 = 𝟗. 𝟖𝟗 𝐚𝐭𝐦 26
ตัวอย่าง แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 700 mL หนัก 0.550 g ทีอ่ ุณหภูมิ 70๐C
ความดัน 600 mmHg จงหามวลโมเลกุลและความหนาแน่ นแก๊ สนี้

วิธีทา จากสมการของกฎแก๊ สอุดมคติจะได้ n = PV


RT
V = 0.7 L P = 600/760 atm
T = 70 + 273 K R = 0.082 LatmK-1mol-1 M = ?
แทนค่ าตัวแปรดังกล่าวลงในสมการ จะได้
n = 0.0196 mol
แก๊ส 0.0196 mol มีมวล 0.550 g
นั่นคือ แก๊สชนิดนีม้ ีมวลต่ อโมล = 0.550/0.0196 = 28.06 g/mol
และมีความหนาแน่ นเท่ากับ 0.550 g/0.7 L = 0.786 g/L
27
แก๊สอุดมคติ (ideal gas) และแก๊สจริง (real gas)

ทีส่ ภาวะใด ๆ
PV
แก๊ สอุดมคติ 1 โมล RT
= 1 เสมอ แต่ แก๊สจริง 1 โมล PV
 1
RT
แก๊สจริงจะมีพฤติกรรมเสมือนแก๊สอุดมคติที่ P ต่าและ T สู ง
http://www.chem.ufl.edu/~itl/2045/lectures/lec_e.html
28
29
30
แก๊สทีม่ พี ฤติกรรมตามสมการ
PV = nRT เรียกว่ า Ideal Gas

แก๊สอุดมคติ ที่ P ใดๆก็ตามจะได้


PV = 1
nRT

แก๊สจริง (เช่ น H2, O2, CO2) จะมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจากแก๊ สอุดมคติ


แต่ แก๊ สจริงจะมีพฤติกรรมเหมือนแก๊ สอุมคติเมื่ออยู่ใน
สภาวะทีค่ วามดันต่าๆ และอุณหภูมิสูงๆ
31
แก๊สจริงจะมีพฤติกรรมเสมือนแก๊สอุดมคติที่ P ต่าและ T สู ง
ทีค่ วามดันตา่
P เพิม่ ขึน้
ปริมาตรของแก๊สมีค่าน้ อยเมื่อ
เทียบกับภาชนะ แก๊สจึง
เคลื่อนทีไ่ ด้ อสิ ระมากกว่ า

พฤติกรรมของแก๊สจริง
แก๊สจริง (real gas)
◼ มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุล
◼ โมเลกุลมีขนาดทีแ่ น่ นอน
32
พฤติกรรมของแก๊ สจริงเบี่ยงเบนไปจากแก๊ สอุดมคติ
1. แก๊สจริงมีปริมาตรที่แน่นอนทาให้ บริเวณทีโ่ มเลกุลแก๊ สเคลื่อนที่ได้
อย่างอิสระลดลง

2. แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของแก๊สจริงทาให้ พลังงานจลน์ ลดลง


โมเลกุลชนกับผนังภาชนะเบาลง ส่ งผลให้ ความดันลดลง

แวนเดอร์ วาลส์ ปรับแก้สมการ PV = nRT


2 ประการคือ เทอมทีเ่ กีย่ วข้ องกับปริมาตร (V) และความดัน (P) 33
ความดันของแก๊สจริง
แรงดึงดูดระหว่ างโมเลกุลทาให้ ความดันลดลง
ความดัน a ความหนาแน่ นของโมเลกุล
P a (n/V)
ความดันทีล่ ดลง a (n/V)2
 ความดันทีล่ ดลง =
2
a n
2
V
ดังนั้นความดันของแก๊ส = P+ 2
2
a n
V
an 2
สมการควรเป็ น (P + V2
)(V - nb) = nRT
a , b เรียกว่า ค่าคงที่แวนเดอร์วาลส์ ขึ้นกับชนิดของแก๊ส
a เกี่ยวข้องกับแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของแก๊ส
34
b สัมพันธ์กับขนาดของโมเลกุล
แก๊สอุดมคติ PV = nRT
an 2
แก๊สจริง (P + V2
)(V - nb) = nRT สมการแวนเดอร์ วาลส์
a , b เรียกว่า ค่าคงที่แวนเดอร์วาลส์ ขึ้นกับชนิดของแก๊ส
a เกี่ยวข้องกับแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของแก๊ส
b สัมพันธ์กับขนาดของโมเลกุล เช่น
แก๊ส a (atmL2mol-2) b (Lmol-1)
H2 0.244 0.0266
N2 1.39 0.0391
CO2 3.59 0.0427
35
36
ตัวอย่าง จงใช้ กฎของแก๊ สอุดมคติและกฎของแก๊สจริง คานวณหาความดันของ
แก๊สไนโตรเจน 2.0 mol ทีม่ ีปริมาตร 5.0 L ที่ 350 K

วิธีทา กฎของแก๊ สอุดมคติ PV = nRT

จะได้ P = nRT
V
(2.0 mol) (0.082 L  atm  K -1  mol -1 ) (350 K)
=
5.0 L

ตอบ P อุดมคติ = 11.48 atm

37
กฎของแก๊สจริง (สมการแวนเดอร์ วาลส์ )
2
(P + V )(V - nb) = nRT
an
2

an 2
P= nRT

(V - nb) V2

= (2.0 mol) (0.082 L  atm  K -1  mol -1 ) (350 K)


(5.0 L) - (2.0 mol) (0.0391 L  mol -1 )

(1.39 atm  L2  mol -2 ) (2.0 mol) 2
(5.0 L) 2
P จริง = 11.11 atm

38
an 2
P= nRT

(V - nb) V2

= (2.0 mol) (0.082 L  atm  K -1  mol -1 ) (350 K)


(5.0 L) - (2.0 mol) (0.0391 L  mol -1 )

(1.39 atm  L2  mol -2 ) (2.0 mol) 2
(5.0 L) 2
Preal = 11.11 atm

Preal (11.11 atm) มีค่าน้ อยกว่ า PIdeal (11.48 atm)


39
การบ้าน จงใช้กฎของแก๊สอุดมคติและกฎของแก๊สจริ ง หาความดันของแก๊สไฮโดรเจนที่บรรจุในบอลลูนปริ มาตร 1000 L
(dm3) อุณหภูมิ 40 ๐C โดยใช้แก๊สไฮโดรเจนหนัก 10 kg

แนวคิด ใช้สมการแวนเดอร์ วาลส์ หาความดันของแก๊สไฮโดรเจนดังนี้

เมื่อ P เป็ นความดัน = ? Atm


V เป็ นปริ มาตร = 1000 L
10 ×103
n เป็ นจานวนโมลของแก๊ส = = 5000 mol
2

a และ b เป็ นค่าคงตัวของแวนเดอร์ วาลส์ ของแก็สไฮโดรเจนมีค่า 0.244 L2 atm mol-2 และ 0.0266 L mol-1
ตามลาดับ
ตัวอย่าง A เป็ นแก๊สจริ ง จงเขียนความสัมพันธ์ RT ของแก๊ส A ที่อุณหภูมิ 1000 K, 300 K
PV

PV
และ 1200 K ลงในกราฟ เปรี ยบเทียบกับ RT ของแก๊สสมบูรณ์

ตอบ
ที่อุณหภูมิ T หนึ่งๆ PV
RT
ของแก๊ ส สมบู ร ณ์ n โมงมีค่าคงตัว = n (PV = nRT,
PV
RT
= n)

เมื่อเพิ่มความดัน P (R, T คงตัว) ปริ มาตร V จะลดลง และทาให้ PV RT


= n เสมอ
เส้นกราฟระหว่าง PV RT
กับ P จะเป็ นเส้นตรงขนานแกน P (ดูภาพประกอบ)
42
43
กฎความดันย่ อย (partial pressure) ของดาลตัน

Pt = P1 + P2 + P3 + …
Pt = ความดันรวม
PtV = ntRT
nt = จานวนโมลทั้งหมดของแก๊สผสม
Pi
=
n i RT/V
=
ni
= Xi = n1 + n2 + n 3 + …
Pt n t RT/V nt
Pi = ความดันย่อยของแก๊สแต่ ละชนิด
Pi = XiPt เรียกว่า partial pressure

Xi = สั ดส่ วนโมลหรื อ mole fraction ของแก๊ สชนิด i 44


ตัวอย่าง นาแก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์ ปริมาตร 500 cm3 อุณหภูมิ 40oC
ความดัน 0.9 atm และแก๊สออกซิเจนปริมาตร 600 cm3 อุณหภูมิ 25oC
ความดัน 1.1 atm ใส่ ลงในภาชนะปริมาตร 1500 cm3 อุณหภูมิ 25oC
จงหา ความดันรวมของแก๊สผสมนี้
วิธีทา Ptotal = PCO2 + PO2 PO2 คานวณจาก P1V1 = P2V2
PCO2 คานวณจาก P1V1 = P2V2 P1 = 1.1 atm P2 = ?
T1 T2 V1 = 0.6 L V2 = 1.5 L
P1 = 0.9 atm P2 = ?
V1 = 0.5 L V2 = 1.5 L PCO2 = 0.29 atm
T1 = 313 K T2 = 298 K PO2 = 0.44 atm
Ptotal = 0.29 + 0.44 = 0.73 atm
45
ตัวอย่าง ภาชนะหนึ่งปริมาตร 10.0 L มีแก๊สมีเทน 0.200 mol ไฮโดรเจน
0.300 mol และไนโตรเจน 0.400 mol ที่ 25oC
จงหา (a) ความดันในหน่ วย atm ภายในภาชนะ
(b) ความดันย่อยของแก๊สแต่ ละชนิดในแก๊สผสม

แนวคิด:

(a) โจทย์กาหนดจานวนโมลของแก๊สแต่ละชนิดมาให้
ใช้กฎแก๊สอุดมคติเพื่อหาความดันรวมจากจานวนโมลรวม

(b) ความดันย่อยของแก๊สแต่ละชนิด
คานวณ แทนจานวนโมลของแก๊สแต่ละชนิดในสมการ PV = ntotalRT
ตัวอย่าง ภาชนะหนึ่งปริมาตร 10.0 L มีแก๊สมีเทน 0.200 mol ไฮโดรเจน
0.300 mol และไนโตรเจน 0.400 mol ที่ 25oC
จงหา (a) ความดันในหน่ วย atm ภายในภาชนะ
(b) ความดันย่อยของแก๊สแต่ ละชนิดในแก๊สผสม

วิธีทา

(a) ntotal = 0.200 mol CH4 + 0.300 mol H2 + 0.400 mol N2 = 0.900 mol of gas
V = 10.0 L T = 25oC + 273o = 298 K
แทนค่าต่างๆ ลงในสมการ PtotalV = ntotalRT และคานวณหา Ptotal
L.atm
(0.900 mol)(0.0821 )(298 K)
Ptotal = mol.K
10.0 L
= 2.20 atm
(b) หาความดันย่อยของแก๊สแต่ละชนิด
สาหรับแก๊สมีเทน CH4 , n = 0.200 mol, V = 10.0 L และ T = 298 K

ความดันย่อยหาได้ดงั นี้
L.atm
nCH RT (0.200 mol)(0.0821mol.K)(298 K)
PCH4 = V
4 = 10.0 L
= 0.489 atm

สาหรับการหาความดันย่อยของ ไฮโดรเจนและไนโตรเจนสามารถทาได้ในทานองเดียวกัน
การบ้าน แสดงวิธีการอย่างละเอียด
PH2 ????
PN2 ????
ทฤษฎีจลน์ ของแก๊ส (kinetic theory of gas)
อธิบายพฤติกรรมของแก๊ สในระดับโมเลกุล อาศัยสมมุติฐานทีส่ าคัญ ดังนี้
1. โมเลกุลของแก๊สมีขนาดเล็กมาก (V = 0) และอยู่ห่างกันมาก
→ แก๊สสามารถถูกอัดตัวได้ ง่าย
2. โมเลกุลของแก๊สไม่มีแรงกระทาระหว่างกัน
→ โมเลกุลเคลื่อนทีไ่ ด้ อย่ างอิสระ
3. โมเลกุลของแก๊สเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง ยกเว้นชนกันเองหรือ
ชนภาชนะและพลังงานจลน์รวมก่อนและหลังการชนมีค่าเท่าเดิม
4. พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สขึ้นอยู่กับอุณหภูมิสมั บูรณ์
49
พลังงานจลน์ เฉลีย่ ของแก๊สขึน้ อยู่กบั อุณหภูมสิ ั มบูรณ์
K.E. = ½ mv2 = 3/2RT , R = 8.314 J.mol-1.K-1

ความเร็วทีเ่ ป็ นไปได้ มากทีส่ ุ ด , vmp


(most probable speed)

ความเร็วทีเ่ ป็ นไปได้ มากทีส่ ุ ด (vmp) ของแก๊ ส N2 ทีอ่ ุณหภูมติ ่ างๆ


50
ความเร็วทีเ่ ป็ นไปได้ มากทีส่ ุ ด (vmp) เป็ นความเร็วทีโ่ มเลกุลส่ วนใหญ่
มีอยู่ขณะนั้น ความเร็ว vmp อยู่ตรงจุดสู งสุ ดของกราฟ
2RT
v mp =
M
ความเร็วเฉลีย่ ( v ) เป็ นความเร็วทีไ่ ด้ จากนาความเร็วโมเลกุลของแก๊ส
โมเลกุลทุกโมเลกุลรวมกันแล้ วหารด้ วยจานวนโมเลกุล
8RT
v=
πM
ความเร็วทีม่ ีค่าเป็ นรากทีส่ องของค่ าเฉลีย่ ของความเร็วยกกาลังสอง (vrms)
3RT
v rms =
M
vmp: v : vrms = 1 : 1.13 : 1.22
51
ที่อุณหภูมิเดียวกัน แก๊สทีม่ ีมวลน้ อยจะมีอตั ราเร็วเฉลีย่ ( v ) มากกว่าแก๊สที่
มีมวลมาก แต่ มีพลังงานจลน์เฉลี่ย (K.E.) เท่ากัน P เท่ากัน (T เดียวกัน)
52
การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎีจลน์ ของแก๊ส
1. สภาพทนแรงอัดของแก๊ส (ข้ อสมมุติที่ 1)
เนื่องจากโมเลกุลอยู่ห่างกันมาก แก๊สจึงถูกอัดให้ มปี ริมาตร
เล็กลงได้ ง่าย
2. กฎของบอยล์
เมื่อแก๊สถูกอัดให้ มปี ริมาตรเล็กลง ความหนาแน่ นของแก๊ส
เพิม่ ขึน้ ทาให้ อตั ราการชนเพิม่ ขึน้ ความดันจึงเพิม่ ขึน้
V ลดลง
P เพิม่ ขึน้
53
3. กฎของชาร์ ล (ข้ อสมมุติที่ 4)
เมื่ออุณหภูมสิ ู งขึน้ ทาให้ แก๊สมีพลังงานจลน์ เฉลีย่ สู งขึน้
โมเลกุลจึงชนผนังบ่ อยขึน้ และแรงขึน้ ความดันเพิม่ ขึน้
ปริมาตรแก๊สจะขยายออกจนความดันเท่ ากับความดันภายนอก
4. กฎความดันย่ อยของดอลตัน (ข้ อสมมุติที่ 2)
ถ้ าโมเลกุลไม่ มดี ึงดูดกันและไม่ ผลักกัน ความดันทีเ่ กิดขึน้
จากแก๊สชนิดหนึ่งก็จะไม่ ได้ รับผลกระทบจากแก๊สอีกชนิดทีอ่ ยู่
ร่ วมกัน ดังนั้นความดันรวมจึงเท่ ากับผลรวมของความดันของ
แก๊สแต่ ละชนิด

54
การแพร่ และการแพร่ ผ่าน (Diffusion and Effusion)
การแพร่ (diffusion) คือการทีแ่ ก๊สฟุ้งกระจายจากความเข้ มข้ นสู ง
ไปบริเวณทีม่ ีความเข้ มข้ นต่า โดยอาจมีการชนกันได้ เช่ น การแพร่
ของกลิน่ นา้ หอม

http://www.visualphotos.com
NH4OH HCl
http://heqeciv.etowns.net/58982.html
55
การแพร่ผ่าน (effusion) คือการทีแ่ ก๊สเคลื่อนทีผ่ ่านรูเล็ก
มาก เช่ น การซึมของลูกโป่ ง

56
57
กฎการแพร่ ของเกรแฮม
“อัตราการแพร่ ผ่าน (r) ของแก๊สแปรผกผันกับรากทีส่ องของ
ความหนาแน่ น (d)”
1 1

d และ rα
M
เมื่อเปรียบเทียบแก๊ส 2 ชนิดภายใต้ สภาวะเดียวกัน จะได้
r1 d2
=
r2 d1
ความหนาแน่ นแปรผันโดยตรงกับมวลโมเลกุล (M)
r1 M2
r2
=
M1
แก๊สหนักจะแพร่ ผ่านได้ ช้ากว่ าแก๊สเบา
58
r1 M2
=
r2 M1

r (rate) : หน่ วยเป็ น L/s


mL/min
mol/hr
หรื อให้ ข้อมูลเป็ น “เวลา” ทีใ่ ช้ ในการแพร่
เนื่องจาก rate a 1 อัตราเร็วของการแพร่ สูง ใช้ เวลาน้ อย
time อัตราเร็วของการแพร่ ต่า ใช้ เวลามาก

59
กฎการแพร่ ของเกรแฮม

60
ตัวอย่ าง แก๊ส H2 และ NH3 มีมวลโมเลกุลเป็ น 2 และ17 ตามลาดับ
จงเปรียบเทียบอัตราการแพร่ ผ่านของแก๊สทั้งสองชนิดนี้ และแก๊ส
ชนิดใดมีอตั ราการแพร่ ผ่านได้ เร็วกว่ าและเร็วกว่ ากันกี่เท่ า

วิธีทา r1
=
M2
r2 M1

rH 2 17
= = 2.9
rNH 3 2

ดังนั้นแก๊ส H2 แพร่ผ่านได้เร็วเป็น 2.9 เท่าของอัตราการแพร่ผ่านของ NH3

61
ตัวอย่าง

่ า
จงเปรียบเทียบอัตราการแพร่ของ H2จะมีอตั ราการแพร่ได้เร็วกว่า UF6 กีเท่

วิธท
ี า

62
ตัวอย่ าง จงหาค่า Vrmp, Ṽ, Vrms ของแก๊สออกซิเจนที่อุณหภูมิ 0 ๐C (O = 16)
แนวคิด ใช้สูตรคานวณหาค่าความเร็ วของแก๊สออกซิ เจนทั้ง 3 ชนิดเมื่อทราบค่า

M = 32× 10 3 = 0.032 kg
R = 8.314 J K-1mol-2 (J = kg m2s-2)
T = 273 K

I-หาค่า Vmp
2RT
Vmp =
M

2 ×8.314 ×273
= = 376.64 ms-1
0.032
II-หาค่า Ṽ
8RT
Ṽ=
πM

8 ×8.314 ×273
= = 425.10 ms-1
3.14 × 0.032

III-หาค่า Vrms
3RT
Vrms =
M

3×8.314 ×273
= = 461.29 ms-1
0.032

You might also like