You are on page 1of 30

ชือ� ........................................................... สกุล...................................................... เลขที� ................. ม. ......5/..........

แก๊ส : Gas
พลังงานกับการเปลีย่ นแปลงสถานะ
ดูดความร้ อน
การระเหิด

การ การกลายเป็ นไอ แก๊ ส


ของแข็ง ของเหลว
หลอมเหลว
การแข็งตัว การควบแน่น
คายความร้ อน
โดยทัว่ ไปแล้วโมเลกุลของของแข็งจะเกาะตัวกันอยูอ่ ย่างหนาแน่นและมีแรงยึดเหนี่ ยว
ระหว่างโมเลกุลมากกว่าของเหลว ส่ วนของเหลวจะอยู่กนั อย่างหนาแน่ น และมีแรงยึดเหนี่ ยว
ระหว่างโมเลกุลมากกว่าแก๊ส
การเปลี่ยนสถานะจากของแข็งไปเป็ นของเหลวเรี ยกเป็ นการหลอมเหลว อุณหภูมิขณะ
หลอมเหลว ( วัดที่ความดัน 1 บรรยากาศ ) เรี ยกเป็ นจุดหลอมเหลว
การเปลี่ยนสถานะจากของเหลวไปเป็ นแก๊สหรื อไอเรี ยกเป็ นการกลายเป็ นไอ อุณหภูมิ
ขณะเดือดกลายเป็ นไอ ( วัดที่ความดัน 1 บรรยากาศ ) เรี ยกเป็ นจุดเดือด
การเปลี่ยนสถานะจากของแข็งไปเป็ นแก๊สหรื อไอเรี ยกเป็ นการระเหิด
ทั้งการหลอมเหลว และการกลายเป็ นไอ จะเป็ น การเปลี่ยนแปลงแบบดูดความร้อน
การเปลี่ยนแปลงสถานะจากแก๊สกลายเป็ นของเหลวเรี ยกเป็ นการควบแน่ น
การเปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเป็ นของแข็งเรี ยกเป็ นการแข็งตัว
ทั้งการควบแน่น และการแข็งตัว จะเป็ นการเปลี่ยนแปลงแบบคายความร้อน
( จาเป็ นหลักสั้ นๆ ว่ า สร้ างคาย สลายดูด )
เพิม่ เติม ; ความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะ เรี ยกความร้อนแฝง
การเปลี่ยนแปลงที่มีการดูดความร้อนไปจากสิ่ งแวดล้อม จะทาให้อุณหภูมิสิ่งแวดล้อมลดลง
การเปลี่ยนแปลงที่มีการคายความร้อนเข้าสู่สิ่งแวดล้อม จะทาให้อุณหภูมิสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น
ฝึ กทา. การเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้เป็ นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดหรื อคายความร้อน
การหลอมเหลว ............... การกลายเป็ นไอ ................ การระเหิด ................
การควบแน่น .................. การแข็งตัว ...................
สมบัตขิ องแก๊ ส
สมบัตทิ วั่ ไป และทฤษฏีจลน์ ของแก๊ ส
แก๊ ส จะมี แรงยึด เหนี่ ย วอนุ ภ าคน้อ ยมากเมื่ อ เที ย บกับ ของแข็ง และของเหลว จึ งท าให้
อนุ ภาคของแก๊ส อยู่ห่างกันมาก เมื่ อบรรจุแก๊สลงในภาชนะอนุ ภาคของแก๊สจะฟุ้ งกระจายเต็ม
ภาชนะที่บรรจุ ทาให้รูปร่ างเปลี่ยนแปลงตามขนาดและรู ปร่ างของภาชนะนั้น อีกทั้งสามารถบีบ
อัดให้ปริ มาตรของแก๊สลดลงได้ดว้ ย
เพื่อความสะดวกในการศึกษาเรื่ องราวเกี่ยวกับแก๊ส นักวิทยาศาสตร์ จึงได้สร้างทฤษฏีจลน์
ของแก๊สขึ้น ซึ่ งมีความดังนี้
1. แก๊สประกอบด้วยอนุภาคจานวนมากที่มีขนาดเล็กจนถือได้วา่ อนุ ภาคแก๊สไม่มีปริ มาตร
เมื่อเทียบกับขนาดภาชนะที่บรรจุ
2. โมเลกุลแก๊สอยู่ห่างกันมาก ทาให้แรงดึงดูดและแรงผลักระหว่างโมเลกุลมีนอ้ ยมาก
จนถือได้ว่าไม่มีแรงกระทาต่อกัน
3. โมเลกุ ลทุ กโมเลกุล จะเคลื่ อนที่เป็ นเส้นตรงแบบสับสนไร้ทิ ศทาง ด้วยอัตราเร็ วคงที่
และอาจเปลี่ ยนแนวการเคลื่อนที่ได้หากไปชนใส่ ผนังภาชนะหรื อชนกับโมเลกุลแก๊สด้วยกันเอง
เรี ยกการเคลื่อนที่แบบน้ ีวา่ การเคลื่อนที่แบบบราวน์เนียน
4. โมเลกุลของแก๊สที่ชนกันเองหรื อชนผนังภาชนะ จะเกิดการถ่ายเทพลังงานให้แก่กนั ได้
แต่พลังงานรวมของระบบมีค่าคงที่
5) ณ.อุณหภูมิเดียวกัน โมเลกุลของแก๊สแต่ละโมเลกุลจะเคลื่ อนที่ดว้ ยความเร็ วไม่เท่ากัน
แต่มีพลังงานจลน์เฉลี่ยเท่ากัน โดยพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน
แก๊สที�มีสมบัติเป็ นไปตามทฤษฏีจลน์ทุกประการเรี ยกว่าแก๊ สในอุดมคติ ส่วนแก๊สในความ
เป็ นจริ งจะมีสมบัติใกล้เคียงกับทฤษฏีจลน์เมื�อความดันตํ�า และอุณภูมิสูงเท่าน้ันโดยเฉพาะแก๊ส
เฉ�ือยจะมีสมบัติใกล้เคียงกับแก๊สอุดมคติมากจนถือว่าเป็ นแก๊สอุดมคติได้
ความสั มพันธ์ ระหว่างปริมาตร ความดัน และอุณหภูมขิ องแก๊ ส
กฏของบอยล์
กล่าวว่า " เมื่ออุณหภูมิและมวลของแก๊สคงที่ ปริ มาตรของแก๊สจะแปรผกผันกับความ
ดันของแก๊สนั้น "
นัน่ คือ P  V1
P = k V1 เมื่อ k คือค่าคงที่
PV = k
จะเห็นว่า P คูณ V จะคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่วา่ PV ตอนไหนๆ ต้องมีค่าเท่าเดิม
นัน่ คือ P1V1 = k
P2V2 = k
จึงได้วา่ P1V1 = P2V2
เมื่อ P1 = ความดันตอนแรก V1 = ปริ มาตรตอนแรก
P2 = ความดันตอนหลัง V2 = ปริ มาตรตอนหลัง
ควรระวัง 1. P และ V ใช้หน่วยใดๆ ก็ได้ แต่ตอนแรกและตอนหลังต้องใช้
หน่วยให้เหมือนกันเพื่อจะได้ใช้ตดั ทอนกันได้
2. สู ตรน้ ีใช้ได้เมื่ออุณหภูมิและมวลแก๊สคงที่
กฏของชาร์ ล
กล่าวว่า " เมื่อความดัน และมวลของแก๊สคงที่ ปริ มาตรของแก๊สใดๆ จะแปรผันตรง
กับอุณหภูมิเคลวิน "
นัน่ คือ V  T
V = kT เมื่อ k คือค่าคงที่
V = k
T
จะเห็นว่า T จะคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่วา่ VT ตอนไหนๆ ต้องมีค่าเท่าเดิม
V
V1
นัน่ คือ T1 = k
V2
T2 = k
V1 V2
จึงได้วา่ T1 = T2
กฏของเกย์ ลูสแซก
กล่าวว่า " เมื่อปริ มาตรและมวลของแก๊สคงที่ ความดันของแก๊สใดๆ จะแปรผันตรง
กับอุณหภูมิเคลวิน " นัน่ คือ P  T
P = kT เมื่อ k คือค่าคงที่
P
T = k
จะเห็นว่า TP จะคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่วา่ TP ตอนไหนๆ ต้องมีค่าเท่าเดิม
P1
นัน่ คือ T1 = k
P2
T2 = k
P1 P2
จึงได้วา่ T1 = T2
ม มเล ล ม ล เ ล
ที�ความดันและอุณหภูมิเดียวกัน แกสที�มีปริ มาตรเทากันจะมีจาํ นวนอนุภาคเทากัน แกส 1 โมล
จะมีจาํ นวน 6.021023 อนุภาค มีปริ มาตร 22.4 ลูกบาศกเดซิเมตร ที� STP และ V  n
หมายความวา ปริ มาตรของแกสข�ึนอยูกบั จํานวนโมลของแกส ถาจํานวนโมลของแกสเทากันแกสจะมี
ปริ มาตรเทากัน ถาแกสมีจาํ นวนโมลมากข�ึนแกสจะมีปริ มาตรเพิ�มข�ึน
อาเมเดโอ อาโวกาโดร (Amedeo Avogadro) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ปริ มาตรของแก๊ส ปริ มาณหรื อ
จําานวนโมลของแก๊ส เมื�ออุณหภูมิและความดันคงที� พบว่า
แก๊สจำานวน 1 โมล มีจำานวน 6.021023โมเลกุล และมีปริมาตร 22.4 ลูกบาศก์เดซิเมตร ที ่ STP
แก๊สต่างชนิดทีม่ ปี ริมาตรเท่ากันจะมีจาำ นวน อนุภาคเท่ากัน

11 โมล 11 โมล 11 โมล


23
23 23
23 23
23
หรือ 6.0210
6.0210 อะตอม หรือ 6.0210
6.0210 โมเลกุล หรือ 6.0210
6.0210 โมเลกุล
หรือ 4.00
4.00 กรัมของ He
He หรือ 2.02
2.02 กรัมของ H
H22 หรือ 44.0
44.0 กรัมของ CO
CO22

22.4 L 22.4 L 22.4 L

อาโวกาโดรได้สรุปเป็นกฎของอาโวกาโดร (Avogadro’s law) ซึ่งมีสาระสำาคัญดังนี้

“ที่อุณหภูมิและความดันคงที่ ปริมาตรของแกสจะแปรผันตรงกับจำานวนโมลของแก
นวนโมลของแกสนั้น”

เขียนเป็นความสัมพันธ์ได้ดังนี้ V  n เมื่อ V แทนปริมาตรของแก๊ส n แทนจำานวนโมลของแก๊ส


V  kn

ดังน้ัน เม�อื จําานวนโมลของแก๊สเพ�ิมขึ้นปริ มาตรของแก๊สจะเพ�ิมขึ้น แก๊สที�มีจาํ านวนโมล มากกว่าจะมีปริ มาตรมากกว่า


ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน

อัตราส่วน 3H2(g)  N2(g) → 2NH3(g)


3 ปริมาตร
าตร 1 ปริมาตร
าตร 2 ปริ มาตร (กฎของเกย์-ลูสแซก)
3 โมล
โมล 1 โมล
โมล 2 โมล
กฎของอาโวกาโดร
33 โมเลกุล 11 โมเลกุล
2 โมเลกุล
มค
STP คือ เมื่ อ นำ า กฎของบอยล์ กฎของชาร์ ล และกฎของ
ภาวะอุณหภูมิและความดันมาตรฐาน อาโวกาโดรมารวมกันจะได้ความสัมพันธ์ระหว่างความดัน
มีค่าเท่ากับ 0C และ 1 atm ปริมาตร จำานวนโมล และอุณหภูมิของแก๊ส เรียกว่า กฎแก๊ส
อุดมคติ (ideal gas law) ดังนี้
1
กฎของบอยล์ V  เมื่อ T และ n คงที่
P

กฎของชาร์ล V  T เมื่อ P และ n คงที่


กฎของอาโวกาโดร V  n เมื่อ T และ P คงที่

จากความสัมพันธ์ข้างต้น จะสรุปเป็นกฎแก๊สอุดมคติได้ดังนี้

V  nT หรือจัดใหอยู่ในรูปใหม่ได้ ดังนี้ PV =nRT


P

โดย R คือ ค่าคงที� ซ� ึงเรี ยกว่า ค่าคงที่ของแก๊ส (gas constant)


และเรี ยกสมการนี้ว่า สมการสถานะของแก๊สอุดมคติ (ideal gas equation)
จากความสัมพันธ์น ี้ ภายใต้สภาวะมาตรฐานหรือที ่ STP ของแก๊สใดๆ 1 โมล ปริมาตร 22.4 ลูกบาศก์เดซิเมตร
(ลิตร) สามารถคำานวณค่าคงที่ของแก๊สได้ดังนี้

PV 1 atm × 22.4 L
 0.0821 L·atm·mol K
1 1
R  
nT 1 mol × 273 K
การคํานวณโดยใช้กฎแก๊สอุดมคติ แสดงดังตัวอย่างต่อไปนี้
1. แก๊สโอโซน (O3) จําานวน 1.25 โมล ในภาชนะ 8 ลิตร ที่อุณหภูมิ 39 องศาเซลเซียส จะมีความดันเป็ น เท่าไร

2.ไอของเอทานอล (C2H5OH) ระเหยจากเอทานอล 15 กรัม อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซี ยส ความดัน 1 บรรยากาศ


ไอของเอทานอลจะมีปริ มาตรเป็ นเท่าไร

3. แก๊สนีออน (Ne) ปริ มาตร 250 ลูกบาศก์ เซนติเมตร ที่ STP จะมีมวลกี่กรัม

4. ภาชนะใบหนึ่งมีปริมาตร 0.5 ลิตร บรรจุแก๊ สชนิดหนึง่ มวล 0.4 กรัม ที่ความดัน 0.75 บรรยากาศ และ
อุณหภูมิ 303 เคลวิน แก๊สนี้มีมวลโมเลกุลเท่าไร

5. แก๊สแอมโมเนีย (NH3) ที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส มีความหนาแน่น 0.62 กรัมต่อลิตร แก๊สแอมโมเนีย


จะมีความดันกี่มิลลิเมตรปรอท
กฏรวมของแก๊ ส เมื่อเรานากฏของบอล์ย กฏของชาร์ล และกฏของเกย์ลสู แซกมารวมกัน
P1 V1 P2 V2
จะได้กฏรวมของแก๊สคือ T1 = T2
ควรระวัง 1. P , V ใช้หน่วยใดๆ ก็ได้ แต่ตอนแรกและตอนหลังต้องใช้หน่วยให้
เหมือนกันเพื่อจะได้ใช้ตดั ทอนกันได้ ส่ วน T ต้องใหน่วยเคลวินเท่านั้น
2. สู ตรนี้ใช้ได้เมื่อมวลแก๊สคงที่
หากมวลของแก๊สไม่ คงที่ ต้องใช้สมการ
P1V1 P2V2 PV PV PV PV
g1T1 = g2T2 หรื อ n1T1 = n2 T2 หรื อ N1 T1 = N2 T2
11 22 11 22
เมื่อ g1 , g2 = มวลตอนแรก และตอนหลัง ( g , kg , … )
(ใช้หน่วยใดๆ ก็ได้ แต่ตอนแรกและตอนหลังต้องใช้หน่วยให้เหมือนกัน)
n1 , n2 = จานวนโมลแก๊สตอนแรก และตอนหลัง ( โมล )
N1 , N2 = จานวนโมเลกุลแก๊สตอนแรก และตอนหลัง ( โมเลกุล )
ควรระวัง P , V ใช้หน่วยใดๆ ก็ได้ แต่ตอนแรกและตอนหลังต้องใช้หน่วยให้
เหมือนกันเพื่อจะได้ใช้ตดั ทอนกันได้ ส่ วน T ต้องใหน่วยเคลวิน เท่านั้น

หากมีความหนาแน่ นของแก๊สมาเกีย่ วข้ อง ต้องใช้สมการ


P1 P2
=
D1T1 D2T2
เมื่อ D1 , D2 = ความหนาแน่นตอนแรก และตอนหลัง ( kg/m3 , g/cm3 , … )
(ใช้หน่วยใดๆ ก็ได้ แต่ตอนแรกและตอนหลังต้องใช้หน่วยให้เหมือนกัน)
สมการทีใ่ ช้ คานวณเกีย่ วกับการผสมแก๊ส
ในกรณี ที่มีการนาแก๊สหลายตัวมาผสมกัน การคานวณสามารถใช้สมการต่อไปน้ ีได้
Pรวม . Vรวม = P1V1 + P2 V2 + …
nรวม . tรวม = n1 t1 + n2 t2 + …
กฏของแก๊ สอุดมคติ
การคานวณเกี่ยวกับสมบัติเบื้องต้นของแก๊ส นอกจากสมการข้างต้นที่กล่าวมาแล้วนั้น ยัง
สามารถใช้สมการต่อไปนี้คานวณได้อีกด้วย
PV = nRT ( กฎของแก๊ สอุดมคติ )
เมื่อ T = อุณหภูมิเคลวิน ( K )
R = ค่าคงตัวแก๊ส ( เป็ นค่าคงที่ มีค่าได้หลายแบบ )
ถ้าใช้ R = 0.0821 Lit . atm / mol . K
จะต้องใช้ P คือความดันแก๊สในหน่วย บรรยากาศ ( atm )
และ V คือปริ มาตรแก๊สในหน่วย ลิตร ( Lit , dm3 )
ถ้าใช้ R = 8.31 N . m / mol . K
จะต้องใช้ P คือความดันแก๊สในหน่วย นิวตัน/เมตร2 ( N/m2 )
และ V คือปริ มาตรแก๊สในหน่วย ลูกบาศก์เมตร ( m3 )
n = จานวนโมลแก๊ส ( โมล )
จานวนโมลแก๊สอาจหาค่าได้จาก
n = Mg = N
6.02x10 23
เมื่อ g = มวลแก๊สในหน่วยเป็ นกรัม
M = มวลโมเลกุล
N = จานวนโมเลกุล
จอห์ น ดอลตัน (John Dalton) ได้เสนอ
กฎความดันย่ อยของดอลตัน (Dalton’s Law of partial pressure)
. ค ม ่ ล
แกสในธรรมชาติทุกชนิดมีความดัน ถานําแกส ต�งั แต 2 ชนิด ที�ไมทาํ ปฏิกิริยาเคมีตอกันมาผสมกัน
ในภาชนะเดียวกัน ความดันรวมของแกสในภาชนะน�นั จะเทากับผลรวมของความดันยอยของแกสท�ีนาํ มาผสมกัน
กฎของแก๊สท�ีศึกษามาแล้วเป็ นการศึกษาสมบัติ ของแก๊สบริ สุทธ� ิ แต่ในธรรมชาติแก๊สจะอยูใ่ นรู ปของ
สารผสม เนื�อเดี ยวคือสารละลาย เช่ น อากาศประกอบด้วยแก๊ส หลายชนิ ดที�ไม่ทาํ าปฏิกิริยาเคมีต่อกัน
ซ� ึ งแก๊สแต่ละชนิ ด จะมีความดันเหมือนอย่ตู ามลําาพัง ความดันของแก๊สแต่ละ ชนิดในแก๊สผสม
เรี ยกว่า ความดันย่ อย (partial pressure)
“เมือนํ
� าแก๊ สตั�งแต่ ชนิดขึน� ไป ซึ�งไม่ ทาํ ปฏิกริ ิ ยาต่ อกันมาบรรจุไว้ ในภาชนะเดียวกัน
ความดันรวมจะเท่ ากับผลรวมของความดันย่ อย”
เขียนเป็ นความสัมพันธ�ได้ดงั นี�
PT = P1 + P2 + P3 +. . . Pn
เมื�อ PT แทนความดันรวมของแก๊ส
P1 P2 P3 และ Pn แทนความดันย่อยของแก๊สชนิดที� 1 2 3 และ n ตามลําาดับ

ค ค ม ม ลค ม ่ ล
จากกฎของบอยล์ P1V1  P 2V 2

ถ้ามีแก๊สผสมของแก๊ส A กับแก๊ส B จะคำานวณหาความดันย่อยและความดันรวมในปริมาตรใหม่ (V2) ได้ดังนี้


⎛ P11V11 ⎞
PA
A  ⎜ V ⎟
⎝ 22 ⎠ A
เมื่อ PA แทนความดันของแก๊ส A

⎛ P11V11 ⎞
PB  ⎜ V ⎟ PB แทนความดันของแก๊ส B
⎝ 22 ⎠ B

และจาก PT  PAPB V2 แทนปริมาตรภาชนะใหม


⎛ P11V11 ⎞ ⎛ P11V11 ⎞
จะได้ว่า PT  ⎜ V ⎟  ⎜⎝ V ⎟⎠ PT แทนความดันรวม
⎝ 22 ⎠ A 22 B
ตัวอย่ าง ภาชนะ A มีปริ มาตร 5 ลิตร เชื�อมต่อกับภาชนะ B ปริ มาตร 3 ลิตร ดังรู ป ภาชนะ A บรรจุแก๊สฮีเลียม ( He)
ความดัน 2 บรรยากาศ และภาชนะ B บรรจุแก๊สไนโตรเจน (N2) ความดัน 1 บรรยากาศ เมื�อเปิ ดลิ�นให้แก๊ส

ท้งสองแพร่ มาผสมกัน แก๊สฮีเลียม (He) และแก๊สไนโตรเจน (N2) จะมีความดันย่อยและความดันรวมเท่าไร
ถ้ากําหนด ให้ปริ มาตรของท่อเใชื�อมมีค่าน้อยมาก

A
B
He 2 atm N2 1 atm
5L 3L

วิธีทำา 1) หาความดันย่อยของแก๊ส He

2) หาความดันย่อยของแก๊ส N2

3) หาความดันรวมของแก๊ส He กับ N2

ความรู้เพิ่มเติม
การเตรียมแก๊สโดยการแทนที่นำ้า ความดันแก๊สที่กำาหนดเป็ หนดเป็นความดความดัันรวมที
รวมท่ีเกิกิดจากความดั
จากความดันของแก๊
ของแก๊ส
รวมกับความดันของไอน้ำา ดัดังนั้นถ้าจะหาความดันของแก๊สต้องนำาความดันของไอน้ำาไปลบออกจากความดั
ไปลบออกจากความดันรวมรวม
เช่น เตรียมแก๊สออกซิเจนโดยการแทนที่น้ำาที่อุณหภูมิ 25 องศาเ
องศาเซลเซียส วัวัดปริมาตรได้ 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ความดัน 756 มิลลิเมตรปรอท
มตรปรอท ความดัความดันไอน้ำาที่ 25 องศาเซลเ
ซลเซีซียส
ซลเ เท่ากับ 30 มิลลิเมตรปรอท
ส เท่ มตรปรอท ดังนั้นความดัน
ของแก๊สออกซิเจนจึงเท่ากับ 75630 30  726 มิลลิเมตรปรอท
ค ค ม ม ลค ม ่ ม มค
จากสมการสถานะของแก๊สอุดมคติ PV  nRT

ถ้ามีแก๊สผสมของแก๊ส A กับแก๊ส B จะคำานวณหาความดันย่อยได้ดังนี้


n A RT
PA
A 
V

n BRT
PB 
V

และจาก PT  PAPB
n A RT n BRT
 
V V
RT
 (n n )
V A B

nRT
nRT
จะได้ว่า PT 
V
เมื
เมื่อ n  nAnB

ตัวอย่าง ภาชนะปริ มาตร 15 ลิตร บรรจุแก๊ส A 1 โมล แก๊ส B 2 โมล และแก๊ส C 1.5 โมล
ทีอ่ ุณหภูมิ 27 องศา เซลเซียส ความดันย่อยของแก๊สแต่ละชนิดและความดันรวมเป็ นเท่าไร

วิธีทาํ 1) หาความดันย่อยของแก๊ส
2) หาความดันรวม

ตัวอย่าง ทําาการทดลองเตรี ยมแก๊สออกซิเจนจากการสลายตัวของโพแทสเซียมคลอเรต (KClO3)


เก็บแก๊สออกซิเจน โดยการแทนที่น้ําา พบว่าได้แก๊สที่มีปริ มาตร 128 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิ 24 oC และ
ความดันบรรยากาศเท่ากับ 762 มิลลิเมตรปรอท มวลของแก๊สออกซิเจนที่เกิดขึน้ เป็ นเท่าไร เมื่อความดัน
ของไอน้ําาที่ 24 องศาเซลเซียส มีค่าเท่ากับ 22.4 มิลลิเมตรปรอท
วิธีทาํ 1) หาความดันย่อยของแก๊ส O2

2) หามวลของแก๊ส O2
ค ค ม ่ ลค ม ม
เ ่ มล
ความสัมพันธ์ระหว่างความดันย่อยกับความดันรวมหาได้โดยพิจารณาระบบของแก๊สผสม A กับ B ดังนี้
n A RT
PA 
V
n BRT
PB 
V
PT  PAPB
(n A + n B ) RT

V

ถ้า PA หารด้วย PT จะได้เศษส่วนโมลของแก๊ส A (XA) ดังนี้


n A RT
PA V

PT (n A + n B )RT
V
nA
  XA
n A + nB
PA
 XA
PT
PA  X AP T
และ
และ PB  XBPT

ถ้าระบบประกอบด้วยแก๊สผสมมากกว่า 2 ชนิด ความดันย่อยของแก๊สแต่ละชนิดเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้

Pi  XiPT

เมื่อ Pi แทนความดันย่อยของแก๊สแต่ละชนิด
Xi แทนเศษส่วนโมลของแก๊สแต่ละชนิด
PT แทนความดันรวม

เศษส่วนโมล (mol fraction) เป็นปริมาณไม่มีหน่วยที่แสดงอัตราส่วนระหว่างจำานวนโมลขององค์ประกอบ


ชนิดใดชนิดหนึ่งกับจำานวนโมลรวมขององค์ประกอบทุกชนิด

nA
เศษส่วนโมลของแก๊ส A XA 
n A + nB

nB
เศษส่วนโมลของแก๊ส B XB 
n A + nB

และ XAXB  1
ตัวอย่าง แก๊สผสมในอากาศที่อุณหภูมิหอ้ งประกอบด้วยแก๊สออกซิ เจน (O2) 2.35 โมล
แก๊สไนโตรเจน (N2) 7.40 โมล ไอน้ําา (H2O) 0.25 โมล ถ้าความดันบรรยากาศเป็ น 745 mmHg
ความดันย่อยของแก๊สแต่ละชนิด เป็ นเท่าไร
วิธีทาํ า 1) หาเศษส่ วนโมลของแก๊ส O2 N2 และ H2O

เศษส่วนโมลของแก๊ส O2 :

เศษส่วนโมลของแก๊ส N2 :

เศษส่ วนโมลของแก๊ส H2O :

2) หาความดันย่อยของแก๊ส O2 N2 และ H2O

ความดันย่อยของแก๊ส O2 :

ความดันย่อยของแก๊ส N2 :

ความดันย่อยของแก๊ส H2O :
่ ล ่ ่
เ ม
แกสสามารถแพรได การแพรของแกสอธิบายได ดวยทฤษฎีจลนของแกส ท�ีอุณหภูมิเดียวกัน
แกสจะแพร ไดชาหรื อเร็ วข� ึนอยกู บั มวลโมเลกุล อัตราการแพรของแก๊สเป็ นสัดสวนผกผันกับรากท�ีสอง
ของมวลโมเลกุลของแกส สัมพันธกบั กฎการแพร่ ผา่ นของเกรแฮม
การแพร่ (diffusion) หมายถึง การที�อนุภาค
ของสารเคลื� อนท�ี ผา� นตัวกลางจากที� หน� ึ งไปสู �อีกที� หน� ึ ง
ข เช�น การเคล�ือนท�ีของโมเลกุลน�าํ าหอมผ�านไปในอากาศ

โมเลกุลของอากาศ

ก โมเลกุลของแก๊ส (น้ำาหอม)
ทิศทางการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของแก๊ส
รูป การแพร่ ของแกส
ตามทฤษฎีจลน์ของแก๊ส การแพร�ของแก๊สเกิดข� ึนเนื�องจากโมเลกุลของแก๊สเคลื�อนที�ตลอดเวลา
เกิดการชนกัน ระหว�างโมเลกุลของแก๊สและโมเลกุลของอากาศหรื อแก๊สอ�ืนๆ ทําให�ทิศทางการเคลื�อนที�ของโมเลกลุ
ของแก๊สเปล�ียนแปลง ตลอดเวลา การแพร�ของแก๊สจึงเกิดข� ึนได�อย�างช�าๆ แตกต�างจากอัตราเร็ วในการเคลื�อนที�
ของแต�ละโมเลกุลของแก๊ส
ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ทั้งหมด
อัตราเร็
ราเร็วในการเคลื่อนที่ของโมเลกุลแก๊ส 
เวลา
ระยะทางจากจุดเริ เริ่มต้นถึงจุดสุดท้าย
อัตราการแพร่ของโมเลกุลแก๊ส 
เวลา
สรุ ปเกี�ยวกับการแพร่ของแก๊สได้ดงั น� ี
1. แก๊สแอมโมเนียทำาปฏิกิริยากับแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ได้ของแข็งสีขาว คือ แอมโมเนี
แอมโมเนียมคลอไ
มคลอไรด์
รด์ (NH4Cl)
มีลักษณะเป็นวงแหวนเกาะที่หลอดแก้ว ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเขียนได้ดังนี้
HCl(g)NH3(g) → NH4Cl(s)
แก๊สแอมโมเนียมีมวลโมเลกุลเท่ากับ 17 แพร่ได้เร็วกว่าแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ที่มีมวลโมเลกุลเท่ากับ
2.
36.5 สังเกตได้จากวงแหวนสีขาวที่เกิดขึ้นอยู่ห่างจากปลายด้านสำาลีชุบสารละลายแอมโมเนียมากกว่าปลายด้านสำาลีชุบ
สารละลายกรดไฮโดรคลอริก HCl(g)NH (g) → NH Cl(s)3 4

สำาลีชุบสารละลาย HCl เข้มข้น (M  36.5) สำาลีชุบสารละลาย NH3 เข้มข้น (M  17)

HCl มีสถานะปกติเป็นแก๊ส เมื่อละลายน้ำา


จะได้สารละลายกรดไฮโดรคลอริ ก NH3 มีสถานะปกติเป็นแก๊ส

มีสมบัติเป็นกรดแก่ กัดกร่อนรุนแรง เมื่อละลายน้ำาจะได้สารละลายแอมโมเนีย


ถ้าเข้มข้นจะระเหยได้ง่ายที่อุณหภูมิปกติ ซึ่งระเหยเป็นแก๊สได้ง่ายที่อุณหภูมิปกติ
3. จากผลการทดลองแสดงว่า ที่อุณหภูมิเดียวกัน แก๊สที่มีมวลโมเลกุลน้อยจะแพร่ได้เร็วกว่าแก๊สที่มี
มวลโมเลกุลมาก
4. การแพร่ของแก๊สแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้
4.1 การแพร่ (diffusion) เป็นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของแก๊สชนิดหนึ่งผ่านเข้าปะปนกับโมเลกุลของ
แก๊สอีกชนิดหนึ่งอย่างช้าๆ เกิดการชนกันระหว่างโมเลกุลของแก๊สทุกชนิดที่ปะปนกัน เช่น การแพร่ของสารทุกชนิด
ในอากาศ
4.2 การแพร่ผ่าน (effusion) เป็นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของแก๊สผ่านแผ่นกั้นรูเล็กๆ โดยโมเลกุล
ไม่ชนกัน เช่น การแพร่ผ่านของแก๊สเข้าสู่ท่อสุญญากาศ

แก๊ส สุญญากาศ
การแพร่ผ่าน (effusion)
แพร่
แก๊สเบา

แก๊สหนัก

แผ่นกั้น

อากาศ
การแพร่ (diffusion)
่ ่ เ ม
“ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน อัตราการแพร่ผ่านของแกสจะเปนสัดส่วนผกผันกับ
รากที่สองของมวลต่อโมลหรือมวลโมเลกุลของแกส”
เรียกว่า กฎการแพร่ผ่านของเกรแฮม (Graham’s law of effusion) ดังนี้
1 k
r 
M
หรือ r 
M
เมื่อ r แทนอัตราการแพร่ผ่านของแก๊ส
ทอมัส เกรแฮม
M แทนมวลต่อโมลหรือมวลโมเลกุลของแก๊ส

่ ่ ม ล มเล ล
ถ้าต้องการเปรียบเทียบอัตราการแพร่ผ่านของแก๊ส 2 ชนิด ที่บรรจุในหลอดขนาดเล็กๆ โดยทำาการทดลอง
ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกันซึ่งค่า k เท่ากัน จะได้ดังนี้
k1 k2 r1 M2
r1 
M1
r2 
M2
ดังนั้น r2

M1

เมื่อ r1 และ r2 แทนอัตราการแพร่ผ่านของแก๊สชนิดที่ 1 และ 2


M1 และ M2 แทนมวลต่อโมลหรือมวลโมเลกุลของแก๊สชนิดที่ 1 และ 2

่ ่ ค ม ่
ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน ความหนาแน่นของแก๊สเป็นสัดส่วนโดยตรงกับมวลต่อโมลหรือมวลโมเลกุล
ของแก๊ส ดังนี้ D  M หรือ D  kM

เมื่อ D แทนความหนาแน่นของแก๊ส
M แทนมวลโมเลกุลของแก๊ส
ใน คค ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่าที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน อัตราการแพร่ผ่านของแก๊สเป็นสัดส่วนผกผันกับ
รากที่สองของความหนาแน่นของแก๊ส ดังนี้
1 หรือ r k การแพร่ผ่านของแก๊สเป็นไป
r  
D D เช่นเดียวกับการแพร่ของแก๊ส
กฎการแพร่ผ่านของเกรแฮม
ดังนั้น r1 D2 สามารถใช้อธิบายการแพร่

r2 D1 ของแก๊สได้ในกรณีที่มี
ระยะทางการแพร่ช่วงสั้นๆ
เมื่อ D1 และ D2 แทน ความหนาแน่นของแก๊สชนิดที่ 1 และ 2 และที่ความดันคงที่
เมื่อเปรียบเทียบอัตราการแพร่ผ่านของแก๊ส 2 ชนิด ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน เขียนความสัมพันธ์ได้

ดังนี้ r1 M2 D2
 
r2 M1 D1
่ ่ ลเล
อัตราการแพร่ผ่านของแก๊สเท่ากับระยะทางที่แก๊สเคลื่อนที่ในหนึ่งหน่วยเวลา เขียนเป็นความสัมพันธ์ได้ดังนี้
S เมื่อ S แทนระยะทางที่แก๊สเคลื่อนที่ได้
r 
t t แทนเวลาที่แก๊สใช้ในการเคลื่อนที่

จากความสัมพันธ์ข้างต้นพบว่า อัตราการแพร่ผ่านของแก๊สเป็นสัดส่วนโดยตรงกับระยะทางที่แก๊สเคลื่อนที่ได้
แต่เป็นสัดส่วนผกผันกับเวลาทีแ่ ก๊สใช้ในการเคลือ่ นที ่ หมายความว่า แก๊สทีม่ อี ตั ราการแพร่ผา่ นต่าำ หรือแพร่ได้ชา้ จะเคลือ่ นที่
ได้ระยะทางน้อยแต่ใช้เวลามาก ส่วนแก๊สทีม่ อี ตั ราการแพร่ผา่ นสูงหรือแพร่ได้เร็วจะเคลือ่ นทีไ่ ด้ระยะทางมากแต่ใช้เวลาน้อย
ซึ่งจะสัมพันธ์กับมวลโมเลกุลและความหนาแน่นด้วยดังนี้
r11 S1 t M2 D2
  2  
r22 S2 t1 M1 D1

เมื่อ t1 และ t2 เป็นเวลาที่แก๊สใช้เคลื่อนที่ได้ระยะทาง S1 และ S2 ตามลำาดับ

ความรู้เพิ่มเติม
การคำานวณหามวลโมเลกุล ระยะทาง หรือเวลาทีแ่ ก๊สใช้เคลือ่ นทีอ่ าจใช้หลักการของทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ในการคำานวณได้
หลักการ คือ ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน แก๊สทุกชนิดมีพลังงานจลน์เท่ากัน เขียนเป็น
ความสัมพันธ์ได้ดังนี้

1 2 1 2
M v  M v
2 X X 2 Y Y

เมื่อ MX และ MY แทนมวลโมเลกุลของแก๊ส X และ Y


vX และ vY แทนความเร็วของแก๊ส X และ Y
S
เนื่องจาก v 
t
ระยะทางที่แก๊ส X เคลื่อนที่ได้
vX 
จะได้ว่า เวลาที่แก๊ส X ใช้ช้ในการเคลื่อนที่
ระยะทางที่แก๊ส Y เคลื่อนที่ได้
vY 
เวลาที่แก๊ส Y ใช้ในการเคลื่อนที่
ตัวอย่าง แก๊สชนิดหนึ�งแพร่ผ่านรู พรุ นได้ในเวลา 1.5 นาที ภายใต้อุณหภูมิและความดันเดียวกัน แก๊สโบรมีน
แพร่ผ่านรู พรุ นเดียวกันได้ในเวลา 4.73 นาที มวลโมเลกุลของแก๊สชนิดนี้เป็ นเท่าไร

ตัวอย่าง แก๊ส X มีมวลโมเลกุล 81 เคลื�อนที�ได้ระยะทาง 30 เซนติเมตร ในเวลา 2 วินาที แก๊ส Y มีมวลโมเลกุล 25


จะเคลื�อนที�ได้ระยะทางกี�เซนติเมตรในเวลา 4 วินาที

ตัวอย่าง ที�อุณหภูมิและความดันหนึ�ง แก๊ส X ซึ�งมีมวลโมเลกุล 25 เคลื�อนที�ผ่านหลอดแก้วยาว 20 เซนติเมตร


ใช้เวลา 2 วินาที ถ้าให้แก๊ส Y ซึ่งมีมวลโมเลกุล 64 เคลื่อนที่ผ่านหลอดแก้วเดียวกันจะใช้เวลากี่วินาที
ี ล
โมเลกุลของแก๊สอยูห่ ่างกันมาก
ทำาให้แรงดึงดูดและแรงผลักระหว่าง
โมเลกุลน้อยมากจนถือได้ว่า
ไม่มีแรงกระทำาต่อกัน
โมเลกุลของแก๊สเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว
แก๊สประกอบด้วยอนุภาคจำานวนมาก ในแนวเส้นตรง เป็นอิสระ อัตราเร็วคงที่
ที่มีขนาดเล็กจนถือได้ว่าอนุภาคแก๊ส และไม่เป็นระเบียบ จนกระทั่งชนกับโมเลกุลอื่น
ไม่มีปริมาตรเมื่อเทียบกับ ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หรือชนกับผนังของภาชนะ จึงจะเปลี่ยน
ขนาดภาชนะที่บรรจุ ทิศทางและอัตราเร็ว

4 โมเลกุลของแก๊สที่ชนกันเอง หรือ
ชนกับผนังภาชนะ จะเกิดการถ่ายเทพลังงาน
5 ณ อุณหภูมิเดียวกัน โมเลกุลของแก๊ส
แต่ละโมเลกุลเคลื่อนที่ด้วยความเร็วไม่เท่ากัน ให้แก่กันได้ แต่พลังงานรวม
แต่จะมีพลังงานจลน์เฉลี่ยเท่ากัน โดยที่ ของระบบมีค่าคงที่
พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สจะแปรผันตรง
กับอุณหภูมิเคลวิน

ค่าพลังงานจลน์ (kinetic energy : Ek) ของแก๊สหาได้จากสูตร

1 2 เมื่อ M แทน มวลโมเลกุล มีหน่วยเป็น กิโลกรัม (kg)


2 Mv
Ek 
v
แทน อัตราเร็ว มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที (m/s)
v = S เมื่อ v แทน อัตราเร็ว มีหน่วยเป็น เซนติเมตรต่อวินาที (cm/s)
t S แทน ระยะทาง มีหน่วยเป็น เซนติเมตร (cm)
t แทน เวลา มีหน่วยเป็น วินาที (s)
การใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊สอธิบายสมบัติของแก๊ส

แก๊สมีแรงดันเนื่องจากโมเลกุลของแก๊ส
ปริมาตรและรูปร่างของแก๊สไม่แน่นอน
เปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุ เนื่องจาก ที่มีพลังงานจลน์เคลื่อนที่ชนผนังภาชนะ
โมเลกุลของแก๊สมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล และมีการถ่ายเทพลังงานทำาให้เกิดแรงดัน
น้อยมาก และเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระทุกทิศทาง ความดัน  แรงดัน
พื้นที่

แก๊สมีความหนาแน่นน้อย
เพราะโมเลกุลอยู่ห่างกัน
มีมวลน้อย แต่มีปริมาตรมาก
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
กับสมบัติของแก๊ส
แก๊สถูกบีบอัดให้มีปริมาตร
ลดลงได้มาก เพราะมีช่องว่าง
ระหว่างโมเลกุลมาก

แก๊สเปลี่ยนแปลงปริมาตร เมื่ออุณหภูมิ แก๊สแพร่ได้เร็วเพราะมีพลังงานจลน์


และความดันเปลี่ยนแปลง เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น พลังงานจลน์เฉลี่ย
จะเพิ่มขึ้น แก๊สจะแพร่ได้เร็วขึ้น

P1 P2

t1C t2C ความดัน 1 บรรยากาศ ความดัน 2 บรรยากาศ


เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก t1 เป็น t2 โมเลกุล มีช่องว่างระหว่าง เมื่อความดันเพิ่มขึ้น
ของแก๊สมีพลังงานจลน์เฉลี่ยเพิ่มขึ้น จึงเคลื่อนที่ โมเลกุลมาก โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่
ห่างจากกันมากขึ้น ปริมาตรจึงเพิ่มขึ้น เข้าใกล้กันมากขึ้น
โดยมีปริมาตรลดลง
ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับแก๊ส ของเหลว และของแข็ง

แก๊ส ของเหลว ของแข็ง

สมบัติ

ปริมาตรและรูปร่าง เปลี่ยนแปลงตาม ปริมาตรคงที่ คงที่


ภาชนะที่บรรจุ รูปร่างเปลี่ยนแปลง
ตามภาชนะที่บรรจุ

ความหนาแน่น ⎜⎛ D  m⎞⎟ น้อยที่สุด มากกว่าแก๊ส มากที่สุด


⎝ V⎠

สภาพการบีบอัด บีบอัดได้มาก บีบอัดไม่ได้ บีบอัดไม่ได้

การเคลื่อนที่ของโมเลกุล โมเลกุลเคลื่อนที่ โมเลกุลเคลื่อนที่ โมเลกุลเคลื่อนที่ไม่ได้


เป็นอิสระมาก ผ่านกันได้ สั่นไหวได้เล็กน้อย

พลังงานจลน์ มากที่สดุ มากกว่าของแข็ง น้อยที่สุด

แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล น้อยที่สุด มากกว่าแก๊ส มากที่สุด


การใช้ ทฤษฎีจลน์ อธิบายสมบัติของแก๊ส
1. อธิบาย ทาไมปริ มาตรแก๊สจึงเป็ นส่ วนกลับกับความดัน
– ปริ มาตรมาก  โอกาสชนผนังน้อย  ความดันต่า
– ปริ มาตรน้อย  ชนผนังบ่อยข้ ึน  ความดันสู ง
2. อธิ บายทาไมความดันจึงเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับจานวนโมล
– โมลมาก  โมเลกุลมาก  ชนผนังบ่อย  ความดันสู ง
– โมลน้อย  โมเลกุลน้อย  ชนผนังน้อย  ความดันต่า
3. อธิ บายทาไมปริ มาตรจึงเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับจานวนโมล
– โมลมาก  โมเลกุลมาก  ชนผนังย่อย  ขยายปริ มาตรให้มากข้ ึน
– โมลน้อย  โมเลกุลน้อย  ชนผนังน้อย  ปริ มาตรหดตัวเล็กลง
4. อธิ บายทาไมปริ มาตรจึงเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับอุณหภูมิ
– อุณหภูมิสูง  โมเลกุลวง่ิ เร็ ว  ชนผนังบ่อย  ขยายปริ มาตรให้มากข้ ึน
– อุณหภูมิต่า  โมเลกุลวง่ิ ช้า  ชนผนังน้อย  ปริ มาตรหดตัวเล็กลง
การแพร่ของแก๊ ส
การแพร่ ของแก๊สมี 2 แบบ คือ
1. Diffusion คือการที่โมเลกุลของแก๊สใดๆ สามารถเคลื่อนที่ฟุ้งกระจายไปในท่าม
กลางโมเลกุลแก๊สอื่นๆ จากที่หน่ ึงไปยังอีกที่หน่ ึงเกิดจากความเข้มข้นต่างกัน
2. Effusion คือการเคลื่อนที่ของโมเลกุลแก๊สโดยลอดผ่านช่องเล็กๆ ออกไป
อัตราการแพร่ คืออัตราส่ วนของระยะทางที่แก๊สแพร่ ไป ( S ) ต่อ เวลา ( t )
หรื ออัตราส่ วนของปริ มาตรแก๊สที่แพร่ ไป ( V ) ต่อ เวลา ( t )
หรื ออัตราส่ วนของมวลแก๊สที่แพร่ ไป ( m ) ต่อ เวลา ( t )
นัน่ คือ R = St และ R = Vt และ R = mt

กฏการแพร่ ผ่านของเกรแฮม กล่าวว่า


" เมื่ออุณหภูมิและความดันคงที่ อัตราการแพร่ ของแก๊สใดๆ จะเป็ นปฏิ ภาคกลับกับ
รากที่สองของมวลโมเลกุล หรื อความหนาแน่นแก๊ส "

นัน่ คือ R  1
M
R = k 1 เมื่อ k คือค่าคงที่
M
R M = k
จะเห็นว่า R คูณ M จะคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่วา่ R M ตอนไหนๆ จะมีค่าเท่าเดิม
จึงได้วา่ R1 M1 = R2 M 2
R1 M2
หรื อ R2 = M1
เมื่อ R1 , R2 คืออัตราการแพร่ ของแก๊สตัวที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
M1 , M2 คือมวลโมเลกุลของแก๊สตัวที� 1 และ 2 ตามลาดับ
R1 D2
นอกจากน้ียงั จะได้อีกว่า R 2 = D1
เมื่อ D1 , D1 คือความหนาแน่นของแก๊สตัวที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
เทคโนโลยีทเี่ กีย่ วข้ องกับสมบัตขิ องของแข็ง ของเหลว และแก๊ ส
การทาน้าแข็งแห้ ง
ขั้นตอนการผลิตน้ าแข็งแห้งมีดงั แผนภาพต่อไปนี้

แก๊ส CO2 เพิ่มความดัน CO2 เหลว ทาให้ บริ สทุ ธิ์ CO2 เหลวแห้ง
ลดอุณหภูมิ และแห้ ง และบริ สุทธิ

เพิ่มความดัน และลดอุณหภูมิ

CO2 แข็ง CO2 เหลวแห้งและบริ สุทธิ


(น้ าแข็งแห้ง) อัดผ่านรูพรุน ที่ความดัน 18 atm , –25oc

น้าแข็งแห้งที่ได้ ถ้าเก็บไว้ที่อุณหภูมิปกติจะระเหิ ดกลายเป็ นควันแก๊ส CO2 ได้โดยตรง


ซ่ ึ งต่างจากน้าแข็งธรรมดา
การทาไนโตรเจนเหลว
ข้นั ตอนการผลิตไนโตรเจนเหลวมีดงั แผนภาพต่อไปน้ ี

อากาศจาก ส่งผ่านสาร อากาศที่ไม่มี ใช้สาร Al2O3 อากาศแห้ง


เครื่ องอัด ละลาย NaOH CO2 ดูดความช้ืน

ลดอุณหภูมิ เป็ น –183oC

N2 กลายเป็ นของเหลวถูกแยกออก O2 กลายเป็ นของเหลวถูกแยกออก


เหลืออากาศ + แก๊สอื่นๆ ทิง้ ไป ลดอุณหภูมิเป็ น –195oC เหลืออากาศ + แก๊สอื่นๆ
ที่ความดัน 18 atm , –25 c ที่ความดัน 18 atm , –25 c

You might also like