You are on page 1of 24

83

บทที 6
การวิเคราะห์ กฎข้ อหนึงสํ าหรับปริมาตรควบคุม
6.1 การอนุรักษ์มวลและปริ มาตรควบคุม
ปริ มาตรควบคุมเป็ นปริ มาตรสมมติทีถูกเลือกขึนเพือใช้สาํ หรับครอบคลุมบริ เวณทีเราสนใจจะศึกษา
ปริ มาตรควบคุมจะถูกล้อมรอบด้วยผิวควบคุมและอนุญาตให้ทงมวลและพลั
ั งงานไหลผ่านเข้าสู่ และออกจาก
ปริ มาตรควบคุมได้ เนื องจากมวลภายในของปริ มาตรควบคุมอาจจะเกิดการเปลียนแปลงอันเป็ นผลมาจาก
มวลในส่ วนทีไหลเข้าและไหลออก ดังนันสําหรับปริ มาตรควบคุมแล้วจึงต้องมีการพิจารณาหลักการอนุรักษ์
มวล โดยอาศัยหลักทางฟิ สิ กส์ง่ายๆ การเขียนหลักการอนุ รักษ์มวลให้อยู่ในรู ปของสมการสามารถทําได้
โดยการพิจารณาถังนําทีมีนาไหลเข้
ํ าและไหลออกดังรู ปที 6.1

นําไหลเข้า

นําสะสมภายใน นําไหลออก

รู ปที 6.1 แผนภาพสําหรับศึกษาหลักการอนุรักษ์มวลสําหรับปริ มาตรควบคุม

จะเห็นได้ว่าเนื องจากในหลักการอนุรักษ์มวลนันมวลไม่สามารถถูกสร้างขึนหรื อถูกทําลายได้ ดังนันเราจึง


สามารถเขียนสมการการอนุรักษ์มวลได้วา่

อัตราการสะสมมวล อัตราไหลเชิงมวลที อัตราไหลเชิงมวลที


= −
ภายในปริมาตรควบคุม เข้าสู่ปริมาตรควบคุม ออกจากปริมาตรควบคุม

แทนค่าด้วยสัญลักษณ์ได้เป็ น
dm CV
dt
= ∑ m& i − ∑m& e (6.1)

โดยที mCV คือมวลสะสมภายในมวลควบคุม ส่ วน m& i และ m& e คืออัตราไหลเชิงมวลของนําทีไหลผ่านหน้า


ตัดทีเป็ นส่ วนของผิวควบคุมทังในส่ วนขาเข้าและขาออกตามลําดับ ทังนีเครื องหมายผลบวกทีใส่ ในสมการ
ที 6.1 นันแสดงถึงผลรวมของอัตราไหลเชิงมวลในกรณี ทีมีทางเข้าหรื อทางออกมากกว่าหนึงทาง จะสังเกต
ได้ว่าเมือใดก็ตามทีผลรวมของอัตราไหลเชิงมวลขาเข้ามากกว่าขาออก เครื องหมายของ dmCV/dt จะมีค่าเป็ น
บวก นันก็หมายความว่ามวลของนําทีสะสมภายในปริ มาตรควบคุมจะเพิมขึนเรื อยๆ เมือเวลาผ่านไป ในทาง
84

ตรงกันข้ามถ้าผลรวมของอัตราไหลเชิงมวลขาออกมีมากกว่าขาเข้า เครื องหมายของ dmCV/dt จะมีค่าเป็ นลบ


นันก็หมายความว่ามวลของนําทีสะสมภายในปริ มาตรควบคุมจะลดลงเรื อยๆ เมือเวลาผ่านไป ในกรณี ที
ผลรวมของอัตราไหลเชิงมวลขาเข้าและขาออกมีค่าเท่ากัน dmCV/dt จะมีค่าเท่ากับศูนย์ซึงแสดงว่ามวลของ
นําภายในปริ มาตรควบคุมจะไม่เปลียนแปลงเมือเทียบกับเวลาซึ งเราจะเรี ยกกรณี ในลักษณะนี ว่ามวลของ
ระบบอยูใ่ นภาวะคงตัว (steady state) อนึงสมการที 6.1 ซึงเป็ นสมการการอนุรักษ์มวลนันอาจจะมีอีกชือ
หนึงว่าสมการภาวะต่อเนือง (continuity equation)
หากนําสมการที 6.1 มาพิจารณาอีกครัง ในกรณี ทีภาวะของมวลภายในปริ มาตรควบคุมมีค่าไม่
เท่ากันตลอดทัวทังปริ มาตรควบคุม การหาค่า mCV จะทําได้โดยใช้สมการ
1
m CV = ρ dV =
∫ v
dV

สําหรับในส่ วนของ m& นัน หากพิจารณาการไหลในท่อทีแสดงในรู ป 6.2

V = Vlocal โดยที Vlocal = f(r) V = Vavg โดยที Vavg คงที

(a) การไหลทีมีการกระจายความเร็ว (b) การไหลเอกรู ป

รู ปที 6.2 การไหลภายในท่อทีหน้าตัดใดๆ

จะเห็นได้วา่ ในความเป็ นจริ งแล้วความเร็ วของของไหลทีจุดต่างๆ ของหน้าตัดหนึงๆ จะมีค่าไม่เท่ากัน โดยที


ความเร็ วของของไหลทีติดกับผิวท่อนันจะเป็ นศูนย์ ในขณะทีความเร็ วทีจุดศูนย์กลางท่อจะมีค่ามากทีสุ ดดังที
แสดงในรู ป 6.2 (a) ดังนันจะเกิดสิ งทีเรี ยกว่าการกระจายความเร็ ว (velocity profile) ดังนันหากจะทําการหา
อัตราไหลเชิงปริ มาตร (volume flow rate หรื อ V& ) บนหน้าตัดของท่อได้จากสมการ

V& =
∫Vlocal dA

โดยที Vlocal คือความเร็ วทีตําแหน่งต่างๆ ของหน้าตัด สําหรับรายละเอียดเกียวกับการหารู ปแบบการกระจาย


ความเร็ วของการไหลแบบต่างๆ นันไม่อยูใ่ นขอบเขตของตําราเล่มนีแต่จะสามารถศึกษาเพิมเติมได้ในวิชากล
ศาสตร์ ของไหล เพือให้การคํานวณทําได้ง่ายขึน เราจึงกําหนดให้การไหลภายในท่อมีลกั ษณะทีเป็ นการ
ไหลเอกรู ป (uniform flow) นันคือความเร็ วทุกๆ จุดบนพืนทีหน้าตัดมีค่าเท่ากันและมีค่าเท่ากับความเร็ วเฉลีย
(average velocity หรื อ Vavg) ดังทีแสดงในรู ป 6.2 (b) โดยทีความเร็ วเฉลียนันหาได้จาก
1
Vavg =
A∫Vlocal dA
85

เมือนําค่า Vavg ไปแทนค่าเพือหาอัตราไหลเชิงปริ มาตรจะได้วา่


V& = Vavg A = V A (6.2)
ทังนี ในตําราเล่มนี เราจะถือว่าความเร็ วทีกําหนดนันเป็ นความเร็ วเฉลียเสมอ ดังนันเราจึงละทิงตัวห้อย avg
ออกไปแล้วใช้สัญลักษณ์ V แทนความเร็ วเฉลียภายในท่อดังทีแสดงในสมการที 6.2 สําหรับอัตราไหลเชิง
มวลในสมการที 6.1 นันจะมีความสัมพันธ์กบั อัตราไหลเชิงปริ มาตรกล่าวคือ
V& VA
m& = ρ V& = = (6.3)
v v
อนึ งสมการที 6.3 นันอยูภ่ ายใต้สมมติฐานทีว่าปริ มาตรควบคุมทีอยูก่ บั ทีไม่เคลือนไหวและทิศทางการไหล
ตังฉากกับพืนที หน้าตัดเท่านัน ซึ งสมมติฐานทังสองที กล่าวมานันได้ครอบคลุมถึ งการใช้งานส่ วนใหญ่
ในทางเธอร์โมไดนามิกส์ ในกรณี ทีการไหลอยูน่ อกเหนือจากสมมติฐานดังกล่าวผูอ้ ่านจะสามารถคํานวณหา
ค่า m& ได้โดยการศึกษาเพิมเติมได้ในวิชากลศาสตร์ของไหล

ตัวอย่างที 6.1
อากาศความดัน 250 kPa อุณหภูมิ 340oC กําลังไหลอยูใ่ นท่อทีมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8 m ด้วย
ความเร็ ว 8.6 m/s จงคํานวณหาอัตราไหลเชิงปริ มาตรและอัตราไหลเชิงมวลของอากาศนี
วิธีทาํ
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: อากาศเป็ นแก๊สอุดมคติ
ตัวแปรทีทราบค่า: P, T, D, V
ตัวแปรทีต้องการ: m&

จากข้อมูลทีทราบ การหาอัตราไหลเชิงมวลได้นนจะต้
ั องทราบปริ มาตรจําเพาะของอากาศก่อน
ภาวะของอากาศ: P = 250 kPa, T =340oC
สําหรับอากาศ R = 0.287 kJ/kg-K
สมการแก๊สอุดมคติ Pv = mRT

(250 kPa )v ⎛
= ⎜ 0.287
kJ ⎞
⎟ (613.15 K )
kg − K ⎠

m3
v = 0.70390
kg
เนืองจากท่อมีหน้าตัดเป็ นวงกลมดังนัน
π π
A = D 2 = 0.8 2 m 2 = 0.50265 m 2
4 4
86

แทนค่าลงไปในสมการที 6.2 เพือหา V&


V& = V A
V& = (8.6 m/s )(0.50265 m 2 )
m3
V& = 4.323 คําตอบ
s
แทนค่าลงไปในสมการที 6.3 เพือหา m&
V&
m& =
v
4.323 m 3 / s
m& =
0.70390 m 3 / kg
kg
m& = 6.141 คําตอบ
s
หมายเหตุ
สําหรับค่า V& ทีคํานวณได้จากตัวอย่างนีนันจะมีอีกชือหนึงว่าเป็ นอัตราไหลเชิงปริ มาตรจริ ง (actual
volume flow rate) ซึงมีความหมายว่าเป็ นอัตราไหลเชิงปริ มาตรของแก๊สทีภาวะจริ งทีปรากฏนันคือภาวะที
ความดัน 250 kPa อุณหภูมิ 340oC ในทางปฏิบตั ิบางครังนันอัตราไหลของแก๊สจะนิยมระบุเป็ นอัตราไหล
เชิงปริ มาตรมาตรฐานหรื ออัตราไหลเชิงปริ มาตรปกติ (standard or normal volume flow rate) ซึงจะหมายถึง
อัตราไหลเชิงปริ มาตรของแก๊สทีภาวะมาตรฐานทีกําหนด ตัวอย่างเช่นสมมติว่าภาวะมาตรฐานกําหนดไว้ที
15oC, 101.325 kPa ถ้าอากาศมีอตั ราไหลเชิงปริ มาตรที 4.323 m3/s (standard) หากคํานวณหาค่า v ทีภาวะ
มาตรฐานดังกล่าวโดยใช้สมการแก๊สอุดมคติจะได้ v = 0.81618 m3/kg ดังนันอัตราไหลเชิงมวลของอากาศก็
4.323 m 3 / s kg
จะมีค่าเป็ น m& = = 5. 297 ซึ งจะมีค่าตําลงจากคําตอบทีได้จากตัวอย่าง
0.81618 m 3 / kg s
เนื องจากค่าปริ มาตรจําเพาะได้เพิมขึนจากภาวะจริ งทีปรากฏไปเป็ นภาวะมาตรฐาน โดยสรุ ปแล้วหากมี
การระบุอตั ราไหลเชิ งปริ มาตรมาตรฐาน ก็จะเที ยบเท่ากับว่าเราทราบอัตราไหลเชิ งมวลไปในตัวเพราะ
ปริ มาตรจําเพาะได้ถูกกําหนดแล้วตามภาวะมาตรฐาน ส่ วนอัตราไหลเชิงปริ มาตรจริ งนัน เราจะทราบอัตรา
ไหลเชิงมวลได้กต็ ่อเมือเราทราบภาวะจริ งของแก๊สทีปรากฏ อนึงหน่วยของอัตราไหลเชิงปริ มาตรมาตรฐาน
จะมีสัญลักษณ์ตวั S หรื อตัว N ปรากฏอยูก่ บั หน่วยเช่น SCMH (standard cubic meter per hour) หรื อ
Nm3/min (normal cubic meter per minute) เป็ นต้น ส่ วนหน่วยของอัตราไหลเชิงปริ มาตรจริ งจะมีสัญลักษณ์
ตัว A ปรากฏอยูก่ บั หน่วยเช่น ACMH (actual cubic meter per hour) เป็ นต้น ข้อควรระวังอย่างหนึงก็คือ
ภาวะมาตรฐานทีใช้ในปั จจุบนั จากหลายองค์กรมีค่าทีต่างกัน บางแห่ งใช้ 0oC, 100 kPa ส่ วนบางแห่ งใช้
15oC, 101.325 kPa ดังนันควรจะต้องศึกษาภาวะมาตรฐานก่อนจะนําค่าไปคํานวณต่อไป
87

6.2 กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุม


จากหัวข้อที 5.8 กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับมวลควบคุมในรู ปอัตราคือ
dE CM
= Q& − W& (6.4)
dt
ในการเขียนกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุมนัน เราสามารถทําได้โดยใช้วิธีการ
เดียวกับการเขียนหลักการอนุรักษ์มวลกล่าวคือพลังงานไม่สามารถถูกสร้างขึนหรื อถูกทําลายได้ ดังนันโดย
อาศัยหลักการดังกล่าว เราจะสามารถเขียนได้วา่

อัตราการสะสมพลังงาน
= อัตราการถ่ายเทพลังงาน − อัตราการถ่ายเทพลังงาน
ภายในปริมาตรควบคุม เข้าสู่ปริมาตรควบคุม ออกจากปริมาตรควบคุม

หากพิจารณารู ปที 6.3 ทีแสดงให้เห็นถึงระบบทีเป็ นปริ มาตรควบคุมโดยทัวไป จะเห็นได้ว่าพจน์ทีอยู่


ทางด้านซ้ายมือของสมการด้านบนจะเทียบเท่ากับพจน์ทีอยู่ทางด้านซ้ายมือของสมการที 6.4 สําหรับใน
ส่ วนของพจน์ทีอยู่ทางด้านขวามือของสมการด้านบนนันจะพบว่ามีส่วนทีแตกต่างจากพจน์ทีอยู่ทางด้าน
ขวามือของสมการที 6.4 อยู่ เนืองจากพจน์ทีอยูท่ างด้านขวามือของสมการที 6.4 ได้แสดงถึงพลังงานทีผ่าน
เข้าออกทางผิวควบคุมได้แก่งานหรื อความร้อนเท่านัน แต่จากรู ปที 6.4 จะเห็นได้ว่ายังมีพลังงานอีกรู ปแบบ
หนึ งที ผ่านเข้าออกทางผิว ควบคุ มนันคืออัตราการขนส่ งพลังงานผ่านผิวควบคุ มโดยอัตราไหลเชิ งมวล
ในขณะทีอัตราไหลเชิงมวลจะไม่ปรากฏอยูใ่ นสมการที 6.4 เนืองจากสมการที 6.4 เป็ นสมการสําหรับมวล
ควบคุมนันเอง

m& i
W& boundary

m& e
W&
Q&

รู ปที 6.3 แผนภาพสําหรับศึกษากฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุม

โดยสรุ ปแล้วเราต้องเพิมพจน์ทีแสดงถึงอัตราการขนส่ งพลังงานผ่านผิวควบคุมโดยอัตราไหลเชิงมวลลงไป


ในสมการที 6.4 ซึงจะสามารถเขียนได้เป็ น
88

dE CV
= Q& − W& + E& mass flow ,i − E& mass flow ,o (6.5)
dt
จะเห็นได้ว่าพจน์ทีเพิมเติมเข้าไปนอกเหนือจากสมการที 6.4 ก็คือ E& mass flow ,i และ E& mass flow ,o หรื อก็คืออัตรา
การขนส่ งพลังงานผ่านผิวควบคุมโดยอัตราไหลเชิงมวลนันเอง
ในการขนส่ งพลังงานเข้าสู่ และออกจากปริ มาตรควบคุมนันสิ งทีจะต้องพิจารณาก็คือมีพลังงาน
รู ปแบบใดบ้างทีสารจะสามารถขนส่ งผ่านผิวควบคุมได้ พลังงานรู ปแบบแรกก็คือพลังงานทีเราได้แนะนํา
ไปแล้วในหัวข้อที 5.2 นันคือพลังงานรวมจําเพาะ (specific total energy หรื อ e) ซึงก็คือผลรวมของพลังงาน
ทุกรู ปแบบหรื อพลังงานรวมมาคิดต่อหนึงหน่วยมวลกล่าวคือ
E U + KE + PE V2
e = = = u+ + gZ
m m 2
นอกเหนือจากพลังงานรวมจําเพาะทีขนผ่านผิวควบคุมโดยอัตราไหลเชิงมวลแล้ว ยังมีพลังงานอีกรู ปหนึงที
ผ่านเข้าออกทางผิวควบคุมซึงมีชือว่าพลังงานไหล (flow energy หรื อ Wflow ) พลังงานไหลนันเกิดจากการที
ของไหลจะสามารถไหลเข้าสู่ ปริ มาตรควบคุมได้นนจะต้
ั องถูกดันจากก้อนของไหลทีอยูถ่ ดั ไปดังทีแสดงใน
รู ปที 6.4 (a) ลักษณะของการดันทีเกิดขึนนันเปรี ยบได้กบั การมีลูกสู บจําลองคอยดันของไหลให้ไหลเข้าสู่
ปริ มาตรควบคุมดังทีแสดงในรู ปที 6.4 (b)
area A

P F P
v v
CV CV
L
Wflow

รู ปที 6.4 พลังงานไหลของการไหล

ดังนันงานทีเกิดจากการเคลือนทีของลูกสูบทีออกแรง F เป็ นระยะทาง L ก็คือพลังงานไหลกล่าวคือ


Wflow = F L = P A L = P V
พลังงานไหลต่อหนึงหน่วยมวล (wflow) ก็จะเขียนได้เป็ น
PV
w flow = = Pv (6.6)
m
ดังนันพลังงานรวมที เกิ ดจากการไหลต่ อหนึ งหน่ วยมวลจะเกิ ดจากผลรวมของพลังงานรวมจําเพาะกับ
พลังงานไหลในสมการที 6.6 ซึงสามารถเขียนได้เป็ น
89

V2 V2
e + w flow = e + Pv = u + + gZ + Pv = h + + gZ
2 2
จะเห็ นได้ว่าพลังงานไหลได้ถูกรวมเข้ากับพลังงานภายในจําเพาะกลายไปเป็ นเอนธัลปี จําเพาะ ดังนัน
พลังงานรวมทีเกิดจากการไหลต่อหนึ งหน่วยมวลก็คือผลรวมระหว่างเอนธัลปี จําเพาะ พลังงานจลน์ต่อหนึ ง
หน่ วยมวลและพลังงานศักย์ต่อหนึ งหน่วยมวล เราจะเรี ยกผลรวมดังกล่าวว่าเอนธัลปี รวม (total enthalpy
หรื อ htotal) ซึงจะสามารถเขียนได้เป็ น
V2
h total = h + + gZ (6.7)
2
ดังนัน E& mass flow ,i และ E& mass flow ,o จะสามารถเขียนได้เป็ น
E& mass flow ,i = m& i h total ,i และ E& mass flow ,e = m& e h total ,e (6.8)
จากนันแทนค่าในสมการที 6.8 ข้างต้นลงไปในสมการที 6.5 ผลทีได้คือ
dE CV
= Q& − W& + m& i h total ,i − m& e h total ,e
dt
ทังนีทังนันอาจจะเป็ นไปได้ว่าทางเข้าและทางออกของปริ มาตรควบคุมอาจจะมีหลายทาง ดังนันจึงต้องเพิม
เครื องหมายผลบวกลงไปข้างหน้าพจน์ทีมีการไหลปรากฏอยู่ จะได้วา่
dE CV
dt
= Q& − W& + ∑ m& h i total ,i − ∑ m& h e total ,e
(6.9)
V2 V2
= Q& − W& + ∑ m& ⎛⎜ h i i + i + gZ i ⎞⎟ − ∑ m& e ⎛⎜ h e + e + gZ e ⎞⎟
⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠
สมการที 6.9 คือกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุมและอยู่ในรู ปทัวไปก่อนทีจะ
นําไปลดรู ปเพือใช้งานในกรณี เฉพาะต่อๆ ไป ทังนีหากทบทวนสมการที 6.9 อีกครังพบว่าด้านซ้ายมือของ
สมการคืออัตราการเปลียนแปลงพลังงานทีเกิดขึนภายในปริ มาตรควบคุม ทังนีหากเราย้อนกลับไปดูสมการ
ที 6.5 ซึงเป็ นต้นแบบของสมการที 6.9 จะพบว่า
⎛ ⎛ V2 ⎞⎞
E CV = (m e )CV = ⎜⎜ m ⎜ u + + gZ ⎟ ⎟⎟ (6.10)
⎝ ⎝ 2 ⎠ ⎠ CV
ส่ วนทางด้านขวามือของสมการที 6.9 คืออัตราการถ่ายเทพลังงานในรู ปแบบต่างๆ ทีเข้าสู่ และออกจาก
ปริ มาตรควบคุมผ่านทางผิวควบคุมซึ งได้แก่อตั ราการถ่ายเทความร้อน กําลัง และอัตราการขนส่ งพลังงาน
โดยอัตราไหลเชิงมวล อนึ งอัตราการถ่ายเทความร้อนและกําลังจะต้องมีเครื องหมายตามสัญนิ ยมทีกําหนด
ด้วยเช่นกัน
90

6.3 กระบวนการภาวะคงตัว
ในกระบวนการต่างๆ ที เกี ยวข้องกับทางวิศวกรรมนันส่ วนมากจะเป็ นกระบวนการภาวะคงตัว
(steady-state process) ซึงจะอยูภ่ ายใต้สมมติฐานทีว่า
1) ปริ มาตรควบคุมไม่เคลือนทีเมือเทียบกับกรอบอ้างอิงทีกําหนด
2) ภาวะของมวลในแต่ละตําแหน่งของปริ มาตรควบคุมไม่แปรเปลียนตามเวลา
3) ค่าของอัตราไหลเชิงมวลและภาวะของสารทีไหลผ่านผิวควบคุมไม่แปรเปลียนตามเวลา
4) อัตราการถ่ายเทความร้อนและกําลังผ่านผิวควบคุมเป็ นค่าคงตัว
ตัวอย่างของอุปกรณ์ทีมีการทํางานภายใต้กระบวนการภาวะคงตัวได้แก่ กังหัน เครื องอัด เครื องสูบ อุปกรณ์
แลกเปลียนความร้อน ห้องผสม หัวฉี ด ดิฟฟิ วเซอร์ เป็ นต้น จะเห็นได้ว่าในช่วงของการเริ มเดินเครื องนัน
อุปกรณ์ต่างๆ เหล่านีจะอยูใ่ นสภาวะชัวขณะ (transient) ซึงภาวะทีจุดต่างๆ หรื อแม้กระทังอัตราไหลของสาร
ก็ยงั คงแปรเปลียนตามเวลาอยู่ เป็ นผลให้ขอ้ สมมติฐานของกระบวนการภาวะคงตัวนันจะไม่สมเหตุสมผล
เท่าใดนัก แต่เมือใดก็ตามทีอุปกรณ์ต่างๆ เหล่านันได้เดินเครื องไปเป็ นระยะเวลานาน จะพบว่าอัตราไหล
และภาวะของสารจะเริ มคงทีและไม่แปรเปลียนตามเวลาแต่ภาวะของสารอาจจะแปรเปลียนตามตําแหน่ ง
ต่างๆ ซึ งนันก็หมายความว่าอุปกรณ์ต่างๆ ได้เข้าสู่ กระบวนการภาวะคงตัวแล้ว อนึ งในตําราบางเล่มอาจจะ
อ้างอิงถึงกระบวนการภาวะคงตัวว่ากระบวนการไหลคงตัว (steady flow process) ก็ได้
จากข้อสมมติฐานทังสี ข้อทีกล่าวมาข้างต้น จะส่ งผลต่อสมการการอนุรักษ์มวลและกฎข้อทีหนึงของ
เธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุมคือ
1) เนื องจากปริ ม าตรควบคุ ม ไม่ มีก ารเคลื อนที ดัง นันงานขอบเขตเคลื อนที ที เกิ ดจากปริ ม าตร
ควบคุมจึงเป็ นศูนย์ ในขณะเดียวกันงานทีเกิดจากความเร่ งเนืองจากปริ มาตรควบคุมทีเคลือนทีก็
เป็ นศูนย์เช่นเดียวกัน
2) เนื องจากภาวะของสารทีตําแหน่ งใดๆ ภายในปริ มาตรควบคุมไม่แปรเปลียนตามเวลา ดังนัน
อัตราการสะสมมวลและพลังงานภายในปริ มาตรควบคุมจึงมีค่าเป็ นศูนย์ จากสมการที 6.1
และ 6.9 จะได้วา่
dM CV dE CV
= 0 และ = 0
dt dt
3) เนืองจากอัตราไหลเชิงมวล ภาวะของสารทีไหลผ่านผิวควบคุม อัตราการถ่ายเทความร้อนและ
กําลังทีผ่านผิวควบคุมไม่แปรเปลียนตามเวลา ดังนันปริ มาณทีแสดงอยูใ่ นสมการที 6.1 และ 6.9
ทังหมดก็จะไม่เป็ นฟังก์ชนั ของเวลา
จากผลทังสามข้อดังกล่าว สมการการอนุ รักษ์มวลและกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตร
ควบคุมจะสามารถเขียนได้เป็ น
91

0 = ∑ m& − ∑ m&
i e (6.11)
Vi 2 Ve 2
0 = Q& − W& + ∑ ⎛
m& i ⎜ h i +
⎝ 2
+ gZ i ⎞⎟ −
⎠ ∑ ⎛
m& e ⎜ h e +
⎝ 2
+ gZ e ⎞⎟ (6.12)

สําหรั บอุปกรณ์ ทีมีทางเข้าและทางออกอย่างละหนึ งทางซึ งมีชือเรี ยกโดยย่อว่าอุปกรณ์ การไหลเชิ งเดี ยว


(single stream device) นัน สมการการอนุรักษ์มวลจะสามารถเขียนได้เป็ น
m& i = m& e = m& (6.13)
เป็ นผลให้กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุมลดรู ปเหลือเป็ น
Vi 2 ⎛ Ve 2

0 = Q& − W& + m& ⎜ h i + ⎞
+ gZ i ⎟ − m& ⎜ h e + + gZ e ⎞⎟ (6.14)
⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠
หรื อในบางครังเราจะเขียนกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ในรู ปของพลังงานต่อหนึงหน่วยมวลซึงจะทํา
ได้โดยการหารสมการที 6.14 ด้วย m& จะได้วา่
V2 V2
0 = q − w + ⎛⎜ h i + i + gZ i ⎞⎟ − ⎛⎜ h e + e + gZ e ⎞⎟ (6.15)
⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠
โดยที q = Q& / m& และ w = W& / m& จะเห็นได้วา่ ทัง q และ w นันเป็ นการถ่ายเทความร้อนจําเพาะและงาน
จําเพาะทีเกิดจากสัดส่ วนของปริ มาณทีเขียนอยูใ่ นรู ปของอัตราและจะมีคล้ายคลึงกับสมการที 4.2 และ 4.12

6.4 ตัวอย่างของกระบวนการภาวะคงตัว
1) อุปกรณ์แลกเปลียนความร้อน
อุปกรณ์แลกเปลียนความร้อน (heat exchanger) เป็ นชือโดยทัวไปทีใช้สาํ หรับเรี ยกอุปกรณ์ทีใช้
สํา หรั บ ในการแลกเปลี ยนความร้ อ นระหว่ า งของไหลจํา นวนสองชนิ ด แต่ ใ นทางปฏิ บ ัติ นันอุ ป กรณ์
แลกเปลียนความร้อนจะมีชือเรี ยกแตกต่างกันแล้วแต่การใช้งาน ตัวอย่างเช่นหม้อนํารถยนต์ (radiator) ใช้
สําหรับแลกเปลียนความร้ อนระหว่างนําระบายความร้ อนทีมาจากเครื องยนต์กบั อากาศภายนอก เครื อง
ระเหย (evaporator) ใช้สาํ หรับแลกเปลียนความร้อนระหว่างสารทําความเย็นกับสื อทีใช้สาํ หรับส่ งผ่านความ
เย็นซึงใช้สาํ หรับระบบปรับอากาศ รี คูเพอเรเตอร์ (recuperator) ใช้สาํ หรับแลกเปลียนความร้อนระหว่างไอ
เสี ยกับอากาศทีใช้ในการเผาไหม้ซึงใช้ในเตาเผาสําหรั บอุตสาหกรรมต่างๆ เป็ นต้น เงือนไขต่างๆ ของ
กระบวนการทีเกิดขึนจากอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนมีดงั ต่อไปนี
− กระบวนการทีเกิดขึนในของไหลแต่ละชนิดจะมีความดันค่อนข้างคงที ทังนีในความเป็ นจริ งจะ
เกิดความดันตก (pressure drop) อันเนืองมาจากแรงเสี ยดทานระหว่างของไหลกับท่อซึงจะทํา
ให้ค่าความดันลดลงเล็กน้อย
92

− โดยปรกติแล้วอุปกรณ์ แลกเปลียนความร้ อนมี วตั ถุประสงค์เพือให้เกิ ดการถ่ายเทความร้ อน


ระหว่างของไหลทังสอง ดังนันการถ่ายเทความร้อนสู่สิงล้อมรอบมีค่าใกล้เคียงศูนย์
− งานทีเกิดขึนเป็ นศูนย์
− การเปลียนแปลงพลังงานจลน์และพลังงานศักย์มีค่าน้อยมากจนถือว่าเป็ นศูนย์ได้
แผนภาพที ใช้แ สดงถึ ง อุ ป กรณ์ แ ลกเปลี ยนความร้ อ นจะแสดงอยู่ใ นรู ป ที 6.5 จะเห็ น ได้ว่ า ในอุ ป กรณ์
แลกเปลียนความร้อนนันของไหลทังสองชนิ ดจะไม่สัมผัสกันโดยตรง นอกจากนันยังมีการเพิมพืนทีสัมผัส
ระหว่างของไหลทังสองให้เพิมมากขึนเพือจะเพิมประสิ ทธิภาพการถ่ายเทความร้อนให้ได้มากทีสุ ด
ของไหล 2
ของไหล 2
ของไหล 2
ของไหล 1
ของไหล 1 ของไหล 1

รู ปที 6.5 แผนภาพทีใช้สาํ หรับแสดงถึงอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อน

2) ห้องผสมและห้องแยก
ห้องผสม (mixing chamber) เป็ นอุปกรณ์ทีใช้สาํ หรับผสมของไหลทีไหลมารวมกันตังแต่สองสาย
ขึนไปเข้าด้วยกันเพือให้ได้ของไหลอยู่ในภาวะทีต้องการ ลักษณะของห้องผสมมีได้หลากหลายตังแต่ถงั
หรื อภาชนะรู ปต่างๆ หรื อแม้กระทังอยู่ในรู ปของข้อต่อตัวทีหรื อตัววายเพือให้ของไหลสองสายไหลมา
รวมกันก็ได้ ส่ วนห้องแยก (separate chamber) เป็ นอุปกรณ์ทีใช้สาํ หรับแยกของไหลออกไปเป็ นหลายสาย
ทังนี โดยมากจะใช้สาํ หรับแยกของผสมสองสถานะออกไปเป็ นไออิมตัวและของเหลวอิมตัว ลักษณะของ
ห้องแยกโดยมากมักจะอยูใ่ นรู ปของถังหรื อภาชนะ จากนันอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลกแยกสถานะของเหลว
ออกจากทางด้านล่างของภาชนะในขณะทีสถานะไอจะลอยขึนด้านบน เงือนไขต่างๆ ของกระบวนการที
เกิดขึนจากห้องผสมและห้องแยกมีดงั ต่อไปนี
− จากหลักการอนุรักษ์มวลทําให้ผลรวมของอัตราไหลขาเข้าเท่ากับผลรวมของอัตราไหลขาออก
− กระบวนการทีเกิดขึนภายในห้องผสมหรื อห้องแยกจะมีความดันค่อนข้างคงที ดังนันเส้นทาง
ของของไหลทุกๆ สายทีเข้าสู่หรื อออกจากห้องผสมหรื อห้องแยกจะมีความดันเท่ากัน
− การถ่ายเทความร้อนสู่ สิงล้อมรอบมีค่าใกล้เคียงศูนย์เพราะเนื องจากกระบวนการผสมหรื อแยก
จะเกิดขึนได้ในเวลาอันสัน รวมทังการหุม้ ฉนวนของภาชนะทีป้ องกันความร้อนสูญเสี ย
− งานทีเกิดขึนเป็ นศูนย์
− การเปลียนแปลงพลังงานจลน์และพลังงานศักย์มีค่าน้อยมากจนถือว่าเป็ นศูนย์ได้
93

แผนภาพทีใช้แสดงถึงห้องผสมและห้องแยกจะแสดงอยูใ่ นรู ปที 6.6


ห้องผสม ห้องแยก

รู ปที 6.6 แผนภาพทีใช้สาํ หรับแสดงถึงห้องผสมและห้องแยก

3) หัวฉีดและดิฟฟิ วเซอร์
หัวฉี ด (nozzle) เป็ นอุปกรณ์ทีใช้สาํ หรับเร่ งของไหลให้มีความเร็ วเพิมขึน ในขณะทีดิฟฟิ วเซอร์
(diffuser) เป็ นอุปกรณ์ทีใช้สาํ หรับหน่ วงของไหลมีความเร็ วลดลง จะเห็นได้ว่าอุปกรณ์ทงสองอย่ ั างนี จะ
ทํางานตรงกันข้ามกัน สําหรั บหัวฉี ดนันความเร็ วทีเพิมขึนจะทําให้ความดันของของไหลมีค่าลดตําลง
ในทางตรงกันข้ามในส่ วนของดิฟฟิ วเซอร์ นันความเร็ วทีลดลงจะทําให้ความดันของของไหลมีค่าเพิมขึน
เงือนไขต่างๆ ของกระบวนการทีเกิดขึนจากหัวฉีดและดิฟฟิ วเซอร์มีดงั ต่อไปนี
− งานทีเกิดขึนเป็ นศูนย์
− การถ่ายเทความร้อนสู่ สิงล้อมรอบมีค่าใกล้เคียงศูนย์ ยกเว้นในกรณี พิเศษทีมีการระบุถึงการ
ระบายความร้อนออกจากตัวหัวฉีด
− การเปลียนแปลงพลังงานศักย์มีค่าน้อยมากจนถือว่าเป็ นศูนย์ได้
− การเปลียนแปลงพลังงานจลน์ไม่สามารถละทิงได้เนื องจากสิ งทีเราต้องการคือความเร็ วของ
ของไหลทีเพิมขึนหรื อลดลง
แผนภาพทีใช้แสดงถึงหัวฉีดและดิฟฟิ วเซอร์ทีใช้งานโดยในสภาพทัวๆ ไปทีไม่ใช่กรณี ทีใช้สาํ หรับความเร็ ว
สูงกว่าความเร็ วเสี ยงจะแสดงอยูใ่ นรู ปที 6.7 จะเห็นได้วา่ หัวฉีดจะมีลกั ษณะคล้ายท่อทีมีพืนทีหน้าตัดทีลดลง
ในขณะทีดิฟฟิ วเซอร์ จะมีลกั ษณะตรงกันข้ามนันคือมีพืนทีหน้าตัดเพิมขึน ทังนี หากพิจารณาจากสมการที
6.13 เราจะอธิบายได้ว่าเพือให้ m& มีค่าคงทีตลอดทุกหน้าตัดของหัวฉี ดหรื อดิฟฟิ วเซอร์ จาก m& = V A / v
จะเห็นได้ว่าสําหรับหัวฉี ด หนทางหนึ งทีจะทําให้ความเร็ วเพิมขึนได้นนก็ ั คือการลดพืนทีหน้าตัดลงเพือจะ
รักษาค่า m& ให้มีค่าคงทีตลอดทุกหน้าตัด ส่ วนในกรณี ของดิฟฟิ วเซอร์ ก็จะมีลกั ษณะทีตรงกันข้ามนันก็คือ
ความเร็ วจะลดลงได้เมือทําการเพิมพืนทีหน้าตัดเพือจะได้รักษาค่า m& ให้มีค่าคงทีตลอดทุกหน้าตัด
หัวฉีด ดิฟฟวเซอร์

Vout > Vin Vout < Vin

รู ปที 6.7 แผนภาพทีใช้สาํ หรับแสดงถึงหัวฉีดและดิฟฟิ วเซอร์ทีใช้งานโดยทัวไป


94

4) กังหัน เครื องอัด เครื องเป่ าลม พัดลม และเครื องสูบ


กังหัน (turbine) เป็ นอุปกรณ์ทีใช้สาํ หรับในการผลิตงานเพลา (shaft work) อันเป็ นผลมาจากการที
แก๊สทีมีความดันสูงขับและหมุนใบพัดซึงต่ออยูก่ บั เพลานันๆ จากนันแก๊สทีผ่านกังหันไปแล้วก็จะมีความดัน
ทีลดลง เครื องอัด (compressor) จะทํางานในทางตรงกันข้ามกับกังหันนันก็คือ เครื องอัดเป็ นอุปกรณ์ทีใช้
สําหรับเพิมความดันของแก๊สโดยอาศัยแรงขับจากงานเพลา สําหรับเครื องเป่ าลม (blower) และพัดลม (fan)
นันมี ลกั ษณะเดี ยวกันกับเครื องอัดเพียงแต่ว่าระดับของความดันที เพิมขึนของแก๊สจะต่างกัน เครื องสู บ
(pump) จะมี วตั ถุประสงค์เช่ นเดี ยวกับเครื องอัดเพียงแต่ว่าของไหลทีใช้เป็ นของเหลวแทนที จะเป็ นแก๊ส
ตามสัญนิยมทีกําหนด งานจากกังหันจะมีเครื องหมายเป็ นบวก ในขณะทีงานจากเครื องอัด เครื องเป่ าลม พัด
ลม และเครื องสู บจะมีเครื องหมายเป็ นลบ เงือนไขต่างๆ ของกระบวนการทีเกิดขึนจากกังหัน เครื องอัด
เครื องเป่ าลม พัดลม และเครื องสูบมีดงั ต่อไปนี
− งานทีเกิดขึนไม่เป็ นศูนย์เนืองจากงานเพลา
− การถ่ายเทความร้อนสู่สิงล้อมรอบมีค่าใกล้เคียงศูนย์ ยกเว้นในกรณี ทีมีความร้อนสู ญเสี ยเกิดขึน
หรื อมีการระบุถึงการระบายความร้อนออกจากอุปกรณ์ดงั กล่าว
− การเปลียนแปลงพลังงานศักย์และพลังงานจลน์มีค่าน้อยมากจนถือว่าเป็ นศูนย์ได้
แผนภาพทีใช้แสดงถึงกังหัน เครื องอัด เครื องเป่ าลม พัดลม และเครื องสูบจะแสดงอยูใ่ นรู ปที 6.8

กังหัน เครืองอัด
W& W& W&

เครืองเปาลม พัดลม
เครืองสูบ
W&
W& W& W&
รู ปที 6.8 แผนภาพทีใช้สาํ หรับแสดงถึงกังหัน เครื องอัด เครื องเป่ าลม พัดลม และเครื องสูบ

5) ธรอตทลิงวาล์ว
ธรอตทลิงวาล์ว (throttling valve) เป็ นอุปกรณ์ทีใช้สาํ หรับขัดขวางหรื อหน่วงเหนี ยวการไหลของ
ของไหลเพือให้ก่อให้เกิ ดความดันตกอย่างรวดเร็ ว ตัวอย่างของธรอตทลิงวาล์วได้แก่ วาล์วทีใช้สําหรั บ
ควบคุมอัตราไหลทีพบได้โดยทัวไป หลอดรู เล็ก (capillary tube) ทีมีลกั ษณะเป็ นท่อขนาดเล็กซึงใช้ในระบบ
ทําความเย็นเป็ นต้น การขัดขวางหรื อหน่วงเหนียวการไหลนันส่ วนมากจะทําได้โดยการทําให้พืนทีหน้าตัด
ในระหว่างการไหลมีขนาดลดลง เงือนไขต่างๆ ของกระบวนการทีเกิดขึนจากธรอตทลิงวาล์วมีดงั ต่อไปนี
95

− งานทีเกิดขึนเป็ นศูนย์
− การถ่ายเทความร้อนสู่สิงล้อมรอบมีค่าใกล้เคียงศูนย์
− การเปลียนแปลงพลังงานศักย์และพลังงานจลน์มีค่าน้อยมากจนถือว่าเป็ นศูนย์ได้
แผนภาพทีใช้แสดงถึงธรอตทลิงวาล์วจะแสดงอยูใ่ นรู ปที 6.9

รู ปที 6.9 แผนภาพทีใช้สาํ หรับแสดงถึงธรอตทลิงวาล์ว

ตัวอย่างที 6.2
อุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนซึ งมีฉนวนความร้อนหุ ้มภายนอกอันหนึ งทําหน้าทีแลกเปลียนความ
ร้อนระหว่างไอนําและอากาศ ไอนําอิมตัวทีอัตราไหลเชิงมวล 2.0 kg/s ทีความดัน 600 kPa คายความร้อน
ให้แก่อากาศจนกระทังกลายเป็ นของผสมสองสถานะ ในขณะเดียวกันอากาศทีอัตราไหลเชิงมวล 24 kg/s ที
อุณหภูมิ 25oC ความดัน 100 kPa ได้รับความร้อนจนกระทังมีอุณหภูมิสูงขึนเป็ น 130oC จงหาคุณภาพสาร
สองสถานะของนําเมือออกจากอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อน
วิธีทาํ
CV อากาศ
ปริ มาตรควบคุม: อุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนทังหมด A
กระบวนการ: ไอโซบาริ ก (แยกไอนํากับอากาศ)
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ตารางสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์ของนํา 1 2
อากาศเป็ นแก๊สอุดมคติ ไอนํา
ตัวแปรทีทราบค่า: m& s , P1, x1, m& a , TA, PA, TB B
ตัวแปรทีต้องการ: x2
จากข้อมูลทีโจทย์กาํ หนด เริ มต้นทีการหาสมบัติของนําก่อน
ภาวะที 1: P1 = 600 kPa
x1 = 1 ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นไออิมตัว
h1 = 2,756.80 kJ/kg
จากนันหาสมบัติของอากาศ ทังนีการหาเอนธัลปี ของอากาศจะใช้วิธีการเปิ ดตาราง ผ.6
ภาวะที A: PA = 100 kPa, TA = 25oC
จากตาราง ผ.6 TA = 298.15 K จะได้ hA = 298.15 kJ/kg
ภาวะที B: PB = PA = 100 kPa, TB = 130oC
จากตาราง ผ.6 TB = 403.15 K จะได้ hB = 404.50 kJ/kg
96

ถึงแม้วา่ การเลือกปริ มาตรควบคุมตามทีแสดงในรู ปจะทําให้ทางเข้าและออกมีอย่างละสองทาง แต่เนืองจาก


นําและอากาศไม่ได้ผสมกัน ดังนันเราจึงสามารถแยกคิดสมการการอนุรักษ์มวลของสารแต่ละชนิดได้ และ
ถ้าหากพิจารณาเฉพาะด้านนําหรื ออากาศด้านใดด้านหนึง จะพบว่ามีทางเข้าและทางออกอย่างละหนึงทาง จึง
ทําให้เราสามารถเขียนสมการการอนุรักษ์มวลได้เป็ น
สมการการอนุรักษ์มวลด้านนํา
m& 1 = m& 2 = m& s = 2.0 kg / s
สมการการอนุรักษ์มวลด้านอากาศ
m& A = m& B = m& a = 24 kg / s
สําหรับกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุมนัน เนื องจากเราได้เลือกปริ มาตรควบคุม
เป็ นดังรู ปและอุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนมีฉนวนหุ ม้ จึงทําให้ Q& = 0 นอกจากนี W& = 0 เนืองจากไม่
ปรากฏงานใดๆ เกิดขึน และ ΔKE และ ΔPE มีค่าน้อยมาก ดังนัน

กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
Vi 2 Ve 2
0 = Q& − W& + ∑ ⎛
m& i ⎜ h i +
⎝ 2
+ gZ i ⎞⎟ −
⎠ ∑ ⎛
m& e ⎜ h e +
⎝ 2
+ gZ e ⎞⎟

0 = ∑ m& h − ∑
i i m& e h e
0 = (m& 1 h 1 + m& A h A ) − (m& 2 h 2 + m& B h B )
แทนค่า m& s และ m& a จากสมการการอนุรักษ์มวล จะได้เป็ น
0 = m& s (h 1 − h 2 ) + m& a (h A − h B )
kg ⎛ kJ ⎞ kg ⎛ kJ ⎞
0 = 2.0 ⎜ 2,756.80 − h 2 ⎟ + 24 ⎜ 298.62 − 404.50 ⎟
s⎝ kg ⎠ s⎝ kg ⎠
kJ
h 2 = 1,486.29
kg
ภาวะที 2: P2 = P1 = 600 kPa
h2 = 1,486.29 kJ/kg ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นของผสมสองสถานะ
สําหรับเอนธัลปี ของของผสมสองสถานะสามารถเขียนได้เป็ น
h 2 = (1 − x 2 ) h f + x 2 h g
kJ ⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
1,486.29 = (1 − x 2 )⎜ 670.54 ⎟ + (x 2 )⎜ 2,756.80 ⎟
kg ⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠
x2 = 0.3910 คําตอบ
97

หมายเหตุ
ข้อ สัง เกตหนึ งที ได้ก็คื อการเลื อ กปริ มาตรควบคุ มให้ครอบคลุ มอุ ปกรณ์ แ ลกเปลี ยนความร้ อ น
ทังหมดดังทีแสดงในรู ปตอนต้นของตัวอย่างนัน จะทําให้เราไม่สามารถคํานวณหาความร้อนทีถ่ายเทระหว่าง
ของไหลทังสองชนิด(ซึ งในทีนีก็คือนําและอากาศ)ได้เนื องจากความร้อนดังกล่าวอยูภ่ ายในปริ มาตรควบคุม
ซึงตามนิยามในบทที 4 เราจะไม่สามารถเรี ยกพลังงานรู ปนีได้ว่าเป็ นความร้อนอีกต่อไป แต่พลังงานรู ปนีจะ
รวมอยู่ในเอนธัลปี ของของไหลทีผ่านเข้าออกปริ มาตรควบคุมแทน ดังนันหากต้องการจะคํานวณหาความ
ร้อนทีถ่ายเทระหว่างของไหล จะต้องเปลียนปริ มาตรควบคุมเสี ยใหม่ให้ครอบคลุมเฉพาะของไหลชนิ ดใด
ชนิดหนึงดังรู ปด้านล่าง ซึงเป็ นการเลือกปริ มาตรควบคุมเฉพาะนําเพียงอย่างเดียว

CV อากาศ
A

1 Q& 2
ไอนํา
B

จะได้ว่า W& = 0, ΔKE และ ΔPE มีค่าน้อยมากเช่นเดิม แต่ Q& ไม่เป็ นศูนย์เนืองจากมีการถ่ายเทความร้อน
ระหว่างนํากับสิ งทีอยูภ่ ายนอกปริ มาตรควบคุม ดังนันกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์จะเขียนได้เป็ น
0 = Q& + m& i h i − m& e h e
kg ⎛ kJ ⎞
Q& = m& s (h 2 − h 1 ) = 2.0 ⎜ 1,486.29 − 2,756.80 ⎟
s⎝ kg ⎠
Q& = − 2,541 kW
จะเห็นว่า Q& มีเครื องหมายเป็ นลบนันคือไอนําถ่ายเทความร้อนออกไปสู่ อากาศจนทําให้ควบแน่ นไปเป็ น
ของเหลวบางส่ ว น ในขณะเดี ย วกันอากาศก็รับความร้ อนก็ทาํ ให้อุณ หภู มิมี ค่าสู ง ขึ น หากลองเปลี ยน
ปริ มาตรควบคุมให้ครอบคลุมเฉพาะอากาศเพียงอย่างเดียว ก็จะสามารถคํานวณค่า Q& ได้เท่ากับ 2,541 kW
เช่นเดียวกับด้านบนแต่เครื องหมายจะเป็ นตรงกันข้าม เพราะความร้อนถ่ายเทเข้าสู่อากาศ

ตัวอย่างที 6.3
ไอนําทีความดัน 2 MPa อุณหภูมิ 350oC ความเร็ ว 100 m/s ไหลเข้าสู่ กงั หันไอนําเพือใช้ในการผลิต
กระแสไฟฟ้ า จากนันไอนําไหลออกจากกังหันทีอุณหภูมิ 45oC คุณภาพสารสองสถานะ 0.92 ความเร็ ว 5 m/s
ตําแหน่งทีไอนําไหลเข้าสู่ กงั หันอยูส่ ู งกว่าตําแหน่งทีนําไหลออกอยู่ 4 m ถ้าไอนําไหลเข้ากังหันด้วยอัตรา
ไหลเชิงปริ มาตร 0.25 m3/s และความร้อนสู ญเสี ยออกจากกังหันมีค่าน้อยมาก จงหาว่ากําลังของเพลาทีออก
จากกังหันมีค่าเท่าไร
98

วิธีทาํ ไอนํา
ปริ มาตรควบคุม: กังหันไอนํา CV
1
กระบวนการ: แอเดียแบติก W&
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ของนํา z1−z2
ตัวแปรทีทราบค่า: P1, T1, V1, T2, x2, V2, Z1−Z2 , V&1
2
ตัวแปรทีต้องการ: W&
จากข้อมูลทีโจทย์กาํ หนด เริ มต้นทีการหาสมบัติของนําก่อน
ภาวะที 1: P1 = 2 MPa
T1 = 350oC ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นไอร้อนยวดยิง
v1 = 0.13857 m3/kg
h1 = 3,136.96 kJ/kg
ภาวะที 2: T2 = 45oC
x2 = 0.92 ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นของผสมสองสถานะ
⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
h 2 = (1 − x 2 ) h f + x 2 h g = ( 0.08 )⎜ 188.42 ⎟ + ( 0.92 )⎜ 2,583.19 ⎟
⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠
h2 = 2,391.61 kJ/kg

เนืองจากกังหันเป็ นอุปกรณ์การไหลเชิงเดียว จึงทําให้เขียนสมการการอนุรักษ์มวลได้เป็ น


สมการการอนุรักษ์มวล
m& 1 = m& 2 = m&
แต่เราทราบค่า V&1 ดังนันเราจึงสามารถหา m& ได้จาก
V&1 0.25 m 3 / s
m& = =
v1 0.13857 m 3 / kg
kg
m& = 1.8041
s
ในส่ วนของกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์ สําหรับปริ มาตรควบคุมนัน เนื องจากกังหันได้มีการหุ ้ม
ฉนวนดังนัน Q& = 0 อย่างไรก็ตามโจทย์ได้ระบุขอ้ มูลเกียวกับ V1 และ V2 รวมทัง Z1−Z2 ด้วย จึงทําให้
ΔKE และ ΔPE ยังละทิงไม่ได้ ดังนันจะได้วา่
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
Vi 2 Ve 2
0 = Q& − W& + ∑ ⎛
m& i ⎜ h i +
⎝ 2
+ gZ i ⎞⎟ −
⎠ ∑ ⎛
m& e ⎜ h e +
⎝ 2
+ gZ e ⎞⎟

99

V2 V2
W& = m& 1 ⎛⎜ h 1 + 1 + gZ1 ⎞⎟ − m& 2 ⎛⎜ h 2 + 2 + gZ 2 ⎞⎟
⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠
V − V2 ⎞
2 2
W& = m& (h 1 − h 2 ) + m& ⎛⎜ 1 ⎟ + m& g (Z1 − Z 2 )
⎝ 2 ⎠
⎡ ⎛ V1 2 − V2 2 ⎞ ⎤
W& = m& ⎢(h 1 − h 2 ) + ⎜ ⎟ + g (Z1 − Z 2 )⎥
⎣ ⎝ 2 ⎠ ⎦
kg ⎡⎛ kJ ⎞ ⎛ 100 2 − 52 kJ ⎞ ⎛ 9.81 ( 4 ) kJ ⎞⎤
W& = 1.8041 ⎢⎜ 3,136.96 − 2,391.61 ⎟ + ⎜ ⎟ +⎜ ⎟
s ⎣⎝ kg ⎠ ⎝ 2 ×1,000 kg ⎠ ⎝ 1,000 kg ⎠⎥⎦
kg ⎡⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞⎤
W& = 1.8041 ⎢⎜ 745.352 ⎟ + ⎜ 4.9875 ⎟ + ⎜ 0.03924 ⎟⎥
s ⎣⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠⎦
kg ⎡ kJ ⎤
W& = 1.8041 ⎢750.378 ⎥
s ⎣ kg ⎦
W& = 1,354 kW คําตอบ
หมายเหตุ
จากตัวอย่างข้างต้นนันจะเห็ นได้ว่าหากเปรี ยบเทียบพจน์จาํ นวนสามพจน์ทีอยู่ในวงเล็บสี เหลียม
กล่าวคือ h1−h2 = Δh, 0.5(V12−V22) = Δke และ g(Z1−Z2) = Δpe จะพบว่าค่าของ Δh จะมีค่ามากทีสุ ด
คือจะมีค่าประมาณร้อยละ 99.3 ของค่าทังหมดในวงเล็บสี เหลียม ในขณะที Δke จะคิดเป็ นประมาณร้อยละ
0.7 ส่ วน Δpe จะมีค่าน้อยมากจนแทบไม่มีผลกระทบใดๆ ดังนันจะเห็นเป็ นทีค่อนข้างชัดเจนว่าข้อ
สมมติฐานทีว่า Δpe ≈ 0 นันค่อนข้างทีจะถูกต้อง ส่ วนข้อสมมติฐานทีว่า Δke ≈ 0 นันจะเห็นได้ว่าก็ยงั ถือ
ว่าเป็ นข้อสมมติฐานทียอมรับได้ยกเว้นในกรณี ทีผลต่างของความเร็ วระหว่างทางเข้าและทางออกมีค่าสู ง
มากๆ เท่านัน ดังนันในทางปฏิบตั ิส่วนใหญ่ เราจะสนใจแต่ค่า Δh เพียงค่าเดียวเพือนําไปคํานวณหากําลัง
ของกังหัน คําตอบทีได้กจ็ ะมีความแม่นยําเพียงพอกับงานทางวิศวกรรม

ตัวอย่างที 6.4
จงพิสูจน์ว่ากระบวนการทีมีของไหลไหลผ่านธรอตทลิงวาล์วเป็ นกระบวนการทีทําให้เอนธัลปี ของ
ของไหลมีค่าคงที
วิธีทาํ CV
ปริ มาตรควบคุม: ธรอตทลิงวาล์ว 1 2
กระบวนการ: -
เนื องจากธรอตทลิงวาล์วมีทางเข้าและทางออกอย่างละหนึ งทาง จึงทําให้เขียนสมการการอนุ รักษ์
มวลได้เป็ น
100

สมการการอนุรักษ์มวล
m& 1 = m& 2 = m&
สําหรับกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุมนัน เนืองจากเวลาทีเกิดขึนในขณะทีของ
ไหลไหลผ่านธรอตทลิงวาล์วนันเป็ นเพียงช่วงเวลาทีสันมาก รวมทังมีพืนทีสําหรับการถ่ายเทความร้อนมี
ค่อนข้างน้อย ดังนันจึงสามารถตังสมมติฐานได้ว่า Q& = 0 สําหรับ W& นันมีค่าเป็ นศูนย์อย่างแน่นอนเพราะ
ไม่มีงานรู ปใดปรากฏ นอกจากนี ΔKE และ ΔPE ก็สามารถทีจะละทิงได้ ดังนันจะได้วา่
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
Vi 2 Ve 2
0 = Q& − W& + ∑ ⎛
m& i ⎜ h i +
⎝ 2
+ gZ i ⎞⎟ −
⎠ ∑ ⎛
m& e ⎜ h e +
⎝ 2
+ gZ e ⎞⎟

0 = ∑m& i (h i ) −∑ m& e (h e )
0 = m& (h 1 )− m& (h 2 )

จากสมการการอนุรักษ์มวล ทําให้ m& มีค่าคงที ดังนัน


h1 = h 2 คําตอบ
นันก็หมายความว่ากระบวนการทีของไหลไหลผ่านธรอตทลิงวาล์วจึงเทียบเท่ากับกระบวนการทีมีเอนธัลปี
คงที ซึงในหนังสื อบางเล่มจะเรี ยกกระบวนนีว่ากระบวนการไอเซนธัลปิ ก (isenthalpic process)
หมายเหตุ
จะเห็นได้ว่าถ้าของไหลทีไหลผ่านธรอตทลิงวาล์วเป็ นแก๊สอุดมคติ ผลทีได้ก็คือกระบวนการไหล
ผ่านธรอตทลิงวาล์วก็จะเป็ นกระบวนการไอโซเธอร์ มลั ไปโดยปริ ยาย ทังนี เนื องจากเอนธัลปี ขึนอยู่กับ
อุณหภูมิเพียงอย่างเดียวในแก๊สอุดมคติ ดังนันเมือเอนธัลปี คงที อุณหภูมิจึงคงทีตาม

6.5 กระบวนการชัวขณะ
กระบวนการชัวขณะ (transient process) เป็ นกระบวนการทีเกิดขึนเมือระบบไม่อยูใ่ นภาวะคงตัว ซึง
เราจะพบว่ามีการใช้งานหลายประเภทเป็ นกระบวนการชัวขณะตัวอย่างเช่น กระบวนการอัดแก๊สลงไปในถัง
กระบวนการปล่อยนําทิงจากอ่าง เป็ นต้น ดังนันเพือให้การพิจารณาปั ญหามีความซับซ้อนน้อยลง เราจึง
ตังสมมติฐานเกียวกับกระบวนการชัวขณะดังต่อไปนี
1) ปริ มาตรควบคุมสามารถทีจะเปลียนขนาดได้ซึงเป็ นผลมาจากงานขอบเขตเคลือนที
2) ภาวะของมวลในปริ มาตรควบคุมแปรเปลียนตามเวลาได้ แต่จะไม่แปรเปลียนตามตําแหน่ง
3) ภาวะของมวลทีไหลผ่านเข้าสู่ หรื อออกจากปริ มาตรควบคุมจะไม่แปรเปลียนตามเวลา ในขณะ
ทีอัตราไหลเชิงมวลสามารถแปรเปลียนตามเวลาได้
101

จากสมการการอนุรักษ์มวลหรื อสมการที 6.1 ทีเวลาใดๆ จะได้วา่


dm CV
dt
= m& i − ∑ m& e ∑
เมือทําการหาปริ พนั ธ์จาํ กัดเขตของสมการการอนุรักษ์มวลบนช่วงเวลา t ใดๆ จะได้วา่
t t t
dm CV

0
dt
dt =
∫ ∑ m& dt − ∫ ∑ m& dt
0
i
0
e

(m 2 −m 1 )CV = ∑m − ∑m i e (6.16)
ผลของสมการที 6.16 ทีได้ก็คือสมการการอนุรักษ์มวลทีใช้สาํ หรับกระบวนการชัวขณะในระหว่างช่วงเวลา
t ใดๆ นันเอง
ในส่ วนของกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุมนัน จากสมการที 6.9
dE CV
dt
= Q& − W& + ∑
m& i h total ,i − m& e h total ,e ∑
หากทําการหาปริ พนั ธ์จาํ กัดเขตของกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์บนช่วงเวลา t ใดๆ โดยพิจารณาไป
ทีละพจน์จะได้วา่
d (m e )CV
t t
dE CV

0
dt
dt =

dt
0
dt = (m 2 e 2 −m 1 e 1 )CV

t t

∫ Q& dt
0
= Q และ
∫ W& dt
0
= W

t t

∫ ∑m& h
0
i total , i dt = ∑m h i total , i และ
∫ ∑m& h
0
e total ,e dt = ∑m h
e total ,e

ดังนันเมือแทนผลจากการหาปริ พนั ธ์บนช่วงเวลา t ใดๆ ของแต่ละพจน์ลงในกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โม


ไดนามิกส์ จะได้วา่
(m 2 e 2 −m 1 e 1 )CV = Q − W + ∑ m i h total ,i − ∑ m e h total ,e
หรื ออาจจะเขียนอยูใ่ นรู ปเต็มได้คือ
⎛ ⎛ V2 2 ⎞ ⎛ V1 2 ⎞
⎜ m2 ⎜ u2 + + gZ 2 ⎟ −m ⎜ u 1 + + gZ1 ⎞⎟ ⎟ = Q − W
⎝ ⎝ 2 ⎠ 1⎝ 2 ⎠ ⎠ CV
(6.17)
Vi 2 Ve 2
+ ∑ ⎛
mi ⎜ hi +
⎝ 2

+ gZ i ⎟ −


me ⎜ he +
⎝ 2∑ + gZ e ⎞⎟

102

สมการที 6.17 ก็คือกฎข้อทีหนึ งของเธอร์ โมไดนามิกส์สําหรับปริ มาตรควบคุมทีใช้สําหรับกระบวนการ


ชัวขณะในระหว่างช่วงเวลา t ใดๆ

ตัวอย่างที 6.5
ถังหุ ้มฉนวนขนาด 200 L บรรจุนาอยู ํ ภ่ ายในทีความดัน 200 kPa คุณภาพสารสองสถานะ 0.7
นอกจากนี ถังได้เชือมต่อกับท่อส่ งไอนําทีภาวะไออิมตัวทีความดัน 400 kPa เมือเปิ ดวาล์วออกไอนําจาก
ท่อส่ งก็ไหลเข้าสู่ ภายในถังจนกระทังความดันภายในถังมีค่าเป็ น 300 kPa จากนันวาล์วจึงปิ ด จงหามวล
ของนําภายในถังหลังจากทีวาล์วปิ ด
วิธีทาํ
ปริ มาตรควบคุม: ถังและวาล์ว
กระบวนการ: แอเดียแบติก
ความสัมพันธ์ของสมบัติ: ตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ของนํา
ตัวแปรทีทราบค่า: V, P1, x1, Pi, xi, P2
ตัวแปรทีต้องการ: m2
ไอนําอิมตัว 400 kPa ไอนําอิมตัว 400 kPa
i i
วาล์วเริมเปด CV วาล์วเริมปด CV

ภาวะที 1 ภาวะที 2
P1=200 kPa, x1=0.7 P2=300 kPa

เนื องจากถังมีทางเข้าเพียงทางเดียวและมวลทีสะสมในถังมีปริ มาณเพิมขึนเรื อยๆ อันเป็ นผลมาจาก


ไอนําทีเข้าสู่ถงั ผ่านท่อส่ ง ดังนันกระบวนการทีเกิดขึนย่อมจะเป็ นกระบวนการชัวขณะอย่างแน่นอน เริ มต้น
จากการหาภาวะของนําทีจุดต่างๆ ก่อน
ภาวะที 1: P1 = 200 kPa
x1 = 0.7 ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นของผสมสองสถานะ
⎛ m3 ⎞ ⎛ m3 ⎞
v 1 = (1 − x 1 ) v f + x 1 v g = ( 0.3)⎜ 0.001061 ⎟ + ( 0.7 )⎜ 0.88573 ⎟
⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠
v 1 = 0.62033 m 3 / kg
103

⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
u 1 = (1 − x 1 ) u f + x 1 u g = ( 0.3)⎜ 504.47 ⎟ + ( 0.7 )⎜ 2,529.49 ⎟
⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠
u 1 = 1,921.98 kJ / kg
ดังนันเราจึงสามารถหา m1 ได้จาก
V 0.2 m 3
m1 = =
v1 0.62033 m 3 / kg
m 1 = 0.32241 kg
ภาวะที i: Pi = 400 kPa
xi = 1 ภาวะถูกกําหนดแล้วเป็ นไออิมตัว
hi = hg = 2,738.53 kJ/kg
เมือพิจารณามวลทีเกียวข้องกับระบบจะเห็นว่ามวลทีเข้าสู่ ถงั มีทางเดียว ในขณะทีมวลทีออกจากถังมีค่าเป็ น
ศูนย์หรื อ me = 0 ดังนันจะเขียนสมการการอนุรักษ์มวลได้เป็ น
สมการการอนุรักษ์มวล
(m 2 −m 1 )CV = ∑m − ∑mi e

m 2 −m 1 = m i

สําหรับกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์สาํ หรับปริ มาตรควบคุม จะพบว่า Q = 0 และ W = 0 เนืองจาก


ถังหุม้ ฉนวนและไม่มีปรากฏงานในรู ปแบบใดๆ ผ่านขอบเขตระบบ นอกจากนี ΔKE และ ΔPE ก็สามารถ
ทีจะละทิงได้ ดังนัน
กฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์
⎛ ⎛ V2 2 ⎞ − m ⎛ u + V1 2 + gZ ⎞ ⎞ = Q − W
m u
⎜ 2⎜ 2 + + gZ 2⎟ 1⎜ 1 1 ⎟⎟
⎝ ⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠ ⎠ CV
Vi 2 Ve 2
+ ∑ ⎛
mi ⎜ hi +
⎝ 2

+ gZ i ⎟ −
⎠ ∑⎛
me ⎜ he +
⎝ 2
+ gZ e ⎞⎟

m 2 u 2 − m1u1 = m i h i

นําผลของสมการการอนุรักษ์มวลมาแทนในสมการข้างต้นจะได้วา่
m 2 u 2 − m 1 u 1 = (m 2 − m 1 ) h i
m 1 (h i − u 1 ) = m 2 (h i − u 2 )
104

ในขณะเดียวกัน m2 ก็จะสามารถเขียนได้อยูใ่ นรู ปของ v2 ได้ กล่าวคือ


V 0. 2 m 3
m2 = =
v2 v2
นําไปแทนในกฎข้อทีหนึงของเธอร์โมไดนามิกส์ทีลดรู ปแล้ว จะได้วา่
⎛ kJ ⎞ 0.2 m 3 ⎛ kJ ⎞
0.32241 kg⎜ 2 ,738.53 − 1,921.98 ⎟ = ⎜ 2 ,738.53 − u 2 ⎟
⎝ kg ⎠ v2 ⎝ kg ⎠
kJ kJ
1,316.31 3 (v 2 ) = 2 ,738.53 − u 2
m kg
จากสมการด้านบนจะเห็นได้ว่าเราจะติดตัวแปรอยูส่ องค่า นันคือ v2 และ u2 เนืองจากเราทราบว่า P2 = 300
kPa หากเราสมมติค่า v2 ขึนมาค่าหนึง ดังนันจาก P2 และ v2 ทีสมมติขึน จะทําให้ภาวะถูกกําหนดตามกฎ
ของภาวะทางเธอร์ โมไดนามิกส์ หากไปเปิ ดตารางสมบัติเธอร์ โมไดนามิกส์ จะทําให้เราหาค่า u2 ได้ แต่
ทว่าหากนําทัง v2 ทีสมมติขึนและ u2 ทีได้จากตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์ไปแทนในสมการข้างต้น ผลที
ได้อาจจะทําให้ทงสองข้
ั างของสมการไม่เท่ากัน นันย่อมแสดงว่า v2 ทีสมมติขึนในตอนแรกนันเป็ นค่าทีไม่
ถูกต้องและต้องคํานวณใหม่ดว้ ยวิธีทาํ ซํา (iteration) ในความเป็ นจริ ง P2 ได้ถูกกําหนดไว้ที 300 kPa ดังนัน
จะต้องมีค่า v2 ทีถูกต้องเพียงค่าเดียวทีสามารถทําให้ได้ u2 สอดคล้องทังจากตารางสมบัติเธอร์โมไดนามิกส์
และจากสมการข้างต้น อย่างไรก็ตามหากลองสมมติว่าถ้าภาวะที 2 เป็ นภาวะอิมตัว นันคือเราสามารถหา
x2 ได้ เราจะสามารถเขียนทัง v2 และ u2 ให้อยูใ่ นรู ปของ x2 ได้ดงั นี

ภาวะที 2: P2 = 300 kPa


x2 ยังไม่ทราบค่า สมมติภาวะที 2 ให้เป็ นภาวะอิมตัว
⎛ m3 ⎞ ⎛ m3 ⎞
v 2 = (1 − x 2 ) v f + x 2 v g = (1 − x 2 ) ⎜ 0.001073 ⎟ + (x 2 ) ⎜ 0.60582 ⎟
⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠
m3
v 2 = 0.001073 + (0.604747 x 2 )
kg

⎛ kJ ⎞ ⎛ kJ ⎞
u 2 = (1 − x 2 ) u f + x 2 u g = (1 − x 2 ) ⎜ 561.13 ⎟ + (x 2 ) ⎜ 2,543.55 ⎟
⎝ kg ⎠ ⎝ kg ⎠
u 2 = 561.13 + (1,982.42 x 2 )
kJ
kg
เมือแทนค่า v2 และ u2 ทีอยูใ่ นรู ปของ x2 ลงในสมการทีแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง v2 และ u2 ผลทีได้คือ
m3
1,316.31 3 (0.001073 + (0.604747 x 2 )) = (2,738.53 − 561.13 − (1,982.42 x 2 ))
kJ kJ
m kg kg
105

แก้สมการเชิงเส้นทีได้เพือหาค่า x2 จะได้วา่
x2 = 0.78316
จะเห็นได้วา่ ได้ค่า 0 ≤ x2 ≤ 1 แสดงว่าการทีเราสมมติให้ภาวะที 2 เป็ นภาวะอิมตัวนันถูกต้อง จากนันแทน
ค่า x2 เพือหาค่า v2 และ m2 ตามลําดับ
m3 m3
v 2 = 0.001073 + (0.604747 × 0.78316 ) = 0.47469
kg kg
V 0.2 m 3
m2 = =
v2 0.47469 m 3 / kg
m 2 = 0.4213 kg คําตอบ
หมายเหตุ
1) อนึงถ้าภาวะที 2 เป็ นของเหลวอัดตัวหรื อไอร้อนยวดยิง ผลทีได้คือเราจะได้ค่า x2 < 0 หรื อ x2 > 1 หรื อ
ก็คือค่า x2 จะไม่มีการนิ ยาม นันแสดงว่าเราจะต้องกลับไปใช้วิธีทาํ ซําดังทีกล่าวมาข้างต้นเพือให้ได้ค่า v2
และ u2 ทีถูกต้อง

2) หากลองเปลียนปริ มาตรควบคุมไปเป็ นดังทีแสดงในรู ป


ไอนําอิมตัว 400 kPa ไอนําอิมตัว 400 kPa

วาล์วเริมเปด CV วาล์วเริมปด CV
i i

ภาวะที 1 ภาวะที 2
P=200 kPa, x=0.7 P=300 kPa

จะเห็นได้ว่าเราเลือกปริ มาตรควบคุมเฉพาะถังเพียงอย่างเดียวไม่รวมวาล์ว ถึงแม้วา่ ภาวะที i จะเปลียนไปก็


ตาม แต่การเลือกดังกล่าวไม่ส่งผลต่อการคํานวณแต่ประการใด ทังนีเนืองจากอัตราไหลเชิงมวลก่อนเข้าวาล์ว
และอัตราไหลเชิงมวลหลังออกจากวาล์วย่อมมีค่าเท่ากันสื บเนืองมาหลักการอนุรักษ์มวล นอกจากนีภาวะที i
ยังคงมีค่าเอนธัลปี จําเพาะเท่าเดิมกล่าวคือ hi = hsupply line = hg(400 kPa) = 2,738.53 kJ/kg ซึงเป็ นผลมาจาก
กระบวนการไอเซนธัลปิ กของการไหลผ่านวาล์วดังทีแสดงในตัวอย่างที 6.4 นันเอง
106

แบบฝึ กหัด
1) สารทําความเย็นอาร์-134เออยูใ่ นภาวะไออิมตัวที 5oC ไหลอยูใ่ นท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25 mm
ถ้าอัตราไหลเชิงมวลของอาร์-134เอมีค่าเท่ากับ 0.08 kg/s จงหาว่าความเร็ วของอาร์-134เอในท่อมีค่า
เป็ นเท่าไร
2) ขณะที เรายืนรดนําต้นไม้อยู่ทีบ้าน หากเรารู ้ สึกว่านํายังพุ่งไม่เร็ วพอ เราจะพบว่าเมื อเราใช้นิวอุ ด
ทางออกของสายยางประมาณครึ งหนึ งของพืนหน้าตัดของสายยาง นําก็จะพุ่งออกจากสายยางเร็ วขึน
ในทันที จงอธิบายว่าทําไมจึงเป็ นเช่นนัน
3) ถังผสมถังหนึ งทําหน้าทีผสมนําอุ่นจากนําเย็นและนําร้อนในการอุปโภค ตัวถังมีขนาด 2 m3 และมี
นําอุ่นบรรจุอยูเ่ ต็มถังในตอนเริ มต้น นําร้อนและนําเย็นทีเข้าสู่ ถงั มีอตั ราไหลเชิงมวลเท่ากับ 2.4 kg/s
และ 7.2 kg/s ตามลําดับ ในขณะทีอัตราการใช้นาอุ ํ ่นทีออกจากถังมีค่าเท่ากับ 12.8 kg/s ถ้าสมมติว่า
อัตราไหลทีระบุทงหมดเป็
ั นค่าคงตัว จงหาว่าจะต้องใช้เวลาเท่าไหร่ นาอุ ํ ่นถึงจะหมดถัง
o
4) ไอนํามีความเร็ วตํามากและมีความดัน 1.6 MPa อุณหภูมิ 400 C ไหลผ่านหัวฉี ดจนกระทังมีความเร็ ว
เพิมขึนเป็ น 420 m/s และความดัน 1 MPa ถ้ากระบวนการทีเกิดขึนรวดเร็ วมากจนถือว่าไม่มีการ
ถ่ายเทความร้อนเกิดขึน จงหาอุณหภูมิของไอนําทีออกจากหัวฉีด
5) เครื องอัดอากาศเครื องหนึงหุ ม้ ฉนวนอย่างดีมีอตั ราไหลเชิงปริ มาตรทีด้านดูดเท่ากับ 90 L/s อากาศที
เข้าสู่ เครื องอัดมีความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 300 K จะถูกอัดจนมีความดัน 500 kPa อุณหภูมิ 520 K จง
คํานวณหากําลังทีใช้ในการอัดอากาศ
6) อากาศทีมีความดันประมาณ 300 kPa ไหลผ่านธรอตทลิงวาล์วจนมีความดันเท่ากับความดันบรรยากาศ
ภายนอก (101.3 kPa) กระบวนการทีเกิดขึนทําให้อากาศมีอุณหภูมิเพิมขึน ลดลง หรื อเท่าเดิม จง
อธิบายโดยสังเขป
7) ถังหุ ม้ ฉนวนขนาด 200 L บรรจุอากาศอยูภ่ ายในทีความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 300 K ถังได้เชือมต่อ
กับท่อส่ งอากาศทีความดัน 600 kPa อุณหภูมิ 700 K เมือเปิ ดวาล์วออกอากาศจากท่อส่ งก็ไหลเข้าสู่
ภายในถังจนกระทังความดันภายในถังมีค่าเป็ น 250 kPa จากนันวาล์วจึงปิ ด จงหามวลของอากาศ
ภายในถังหลังจากทีวาล์วปิ ด

You might also like