You are on page 1of 13

วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

38 ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2560)

บทความวิจัย
การศึกษาแบบจ�ำลองพฤติกรรมการไหลของอากาศผ่านทรงกระบอกตันแบบ 2 มิติ
ด้วยเทคนิคพลศาสตร์ของไหลเชิงค�ำนวณ
A STUDY OF TWO-DIMENSIONAL MODELING OF BEHAVIOR
OF AIR FLOW THROUGH THE CYLINDER BY COMPUTATIONAL
FLUID DYNAMICS TECHNIQUE (CFD)

ธันยบูรณ์ ถาวรวรรณ์*
สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
Tanyaboon Tawonwan*

Department of Physics, Faculty of Science and Technology, Uttaradit Rajabhat University, Uttaradit 53000

*Email: Tawonwan@hotmail.com

บทคัดย่อ
เทคนิคพลศาสตร์ของไหลเชิงค�ำนวณ (Computational Fluid Dynamics, CFD) เป็นเทคนิคที่
ช่วยในการวิเคราะห์ปัญหาทางด้านพลศาสตร์ของไหล ซึ่งในงานวิจัยนี้ได้น�ำเอาหลักการและวิธีการสร้าง
แบบจ�ำลองทางคอมพิวเตอร์ ด้วยเทคนิคพลศาสตร์ของไหลเชิงค�ำนวณ (CFD) มาเป็นเครือ่ งมือ เพือ่ ศึกษา
พฤติกรรมการไหลของอากาศผ่านทรงกระบอกตันผิวเรียบในสองมิติ และจากผลงานวิจัยนี้จะได้มีการน�ำ
เอาข้อมูลไปใช้ประกอบการสร้างอุโมงค์ลมและออกแบบแท่งดูดความชืน้ ของระบบท�ำความเย็นแบบระเหย
ต่อไป โดยได้มีศึกษาพฤติกรรมการไหลของอากาศ คือ การกระจายตัวของความเร็วอากาศ สัมประสิทธิ์
การฉุด (Re ) และ เลขเรย์โนลด์ (Reynolds Number, Re ) ที่ค่าความเร็วอากาศเริ่มต้นที่ 0.01, 0.03,
d d

0.05, 0.1, 0.3, 0.5, 1, 3, 5, 10, 30 และ 50 m/s โดยมีเงื่อนไขเลขเรย์โนลด์ที่ Re ≤ 10 เป็นการไหล d


3

เป็นแบบราบเรียบและใช้แบบจ�ำลองความหนืด (Viscous Model) แบบ Laminar เงื่อนไขเลขเรย์โนลด์ที่


10 ≤ Re ≤ 10 การไหลเป็นแบบปั่นป่วนและใช้แบบจ�ำลองความหนืดแบบ k – epsilon และเงื่อนไขเลข
3
d
5

เรย์โนลด์ที่ Re > 10 การไหลเป็นแบบปั่นป่วนเต็มรูปแบบและใช้แบบจ�ำลองความหนืดแบบ k – epsilon


d
5

และสามารถเปรียบเทียบผลการทดลองจากการสร้างแบบจ�ำลองตามทฤษฎีชนั้ ขอบเขต ซึง่ มีผลทีไ่ ด้จากการ


ทดลองสร้างแบบจ�ำลองจะมีความสอดคล้องกัน ในช่วงค่าของเลขเรย์โนลด์ ที่ 103 ถึง 105 ค่าสัมประสิทธิ์
การฉุดเฉลี่ยโดยการทดลองสร้างแบบจ�ำลอง CFD จะมีค่า 1.62 และค่าสัมประสิทธิ์การฉุดเฉลี่ยโดยการ
ค�ำนวณตามทฤษฎี จะมีค่า 1.03 และค่าสัมประสิทธิ์การฉุดของอากาศที่ไหลผ่านทรงกระบอกตันผิวเรียบ
ที่ใช่จริงตามทฤษฎี จะมีค่าอยู่ที่ 1.20
ค�ำส�ำคัญ: พลศาสตร์ของไหลเชิงค�ำนวณ การไหลของอากาศผ่านทรงกระบอกตันผิวเรียบ
Phranakhon Rajabhat Research Journal (Science and Technology)
Vol.12 No.1 (January - June 2017) 39

ABSTRACT
Computational fluid dynamics technique (CFD) is a relatively new field of technology in
Thailand. This technique has been developed and used widely. CFD utilizes computer softwares
to solve problems such as aerospace engineering, heat transfer and fluid mechanics etc. This
research used the principles and methods of computer modeling with CFD as a tool by studying the
flow of air through the cylinder in two-dimensional plane, which is part of the evaporative cooling
model in low speed wind tunnel. The parameters studied in this study include the distribution
of air velocity, coefficient of drag (CD) and the Reynolds Number, (Red). The air velocity inlet of
0.01, 0.03, 0.05, 0.1, 0.3, 0.5, 1, 3, 5, 10, 30 and 50 m/s with Reynolds Number of Red ≤ 103, 103
≤ Red ≤ 105 and Red > 105 were used to study laminar flow, low turbulent flow, respectively. The
comparison of modeling for this research with boundary - layer theory, shows consistency of the
studied models. For the values of Reynolds Number between 103 and 105, the average value of
coefficient of drag coefficient by CFD is 1.62. The average value of coefficient of drag coefficient
from theoretical calculations is 1.03 whereas the real value of drag coefficient is 1.20.

Keywords: computational fluid dynamics (CFD), smooth cylinder cross flow

บทน�ำ
วิธที างพลศาสตร์ของไหลเชิงค�ำนวณ (Computational Fluid Dynamics, CFD) ซึง่ เป็นโปรแกรม
ที่ใช้วิเคราะห์พลศาสตร์ของไหลด้วยวิธีทางคณิตศาสตร์ ซึ่งอาศัยความสามารถของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
ช่วยในการค�ำนวณโดยใช้วิธีไฟไนต์อิลิเมนต์ (Finite Element Method) โดยมีกระบวนการตามรูปที่ 2 ใน
การท�ำการวิเคราะห์ปญ ั หาทางพลศาสตร์ของไหลได้ในระยะเวลาอันสัน้ เพียงไม่กชี่ วั่ โมง ท�ำให้กระบวนการ
ออกแบบมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับกระบวนการแบบเดิม ๆ เช่น ในการออกแบบ
อากาศยานที่เมื่อออกแบบและสร้างตัวต้นแบบแล้ว จะต้องท�ำการทดลองหาผลทางอากาศพลศาสตร์ใน
อุโมงค์ลม ซึ่งท�ำให้มีขั้นตอนในการศึกษาและวิจัยที่มีความยุ่งยาก แต่ปัจจุบันการใช้โปรแกรมค�ำนวณทาง
พลศาสตร์ของไหล ที่เริ่มมีการใช้กันโดยแพร่หลายและมากขึ้น เริ่มเข้ามามีบทบาทต่อการเรียนการศึกษา
ในปัจจุบัน ซึ่งพฤติกรรมการไหลของของไหลสามารถอธิบายโดยการใช้แบบจ�ำลองทางคอมพิวเตอร์และ
แบบจ�ำลองทางคณิตศาสตร์ โดยการจ�ำลองปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทางพลศาสตร์ของไหลจะค�ำนวณด้วยชุด
ของสมการอนุรักษ์ (Conservation Equations) และประกอบด้วยสมการอนุรักษ์มวล (Conservation of
mass Equations) หรือสมการความต่อเนือ ่ ง (Continuity Equations) สมการอนุรกั ษ์โมเมนตัม (Momentum
Equations) และสมการอนุรักษ์พลังงาน (Conservation of Energy Equations) ซึ่งวิธี CFD นั้นสามารถ

ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จา่ ย ในการออกแบบ พัฒนา ปรับปรุง และสามารถท�ำให้เห็นภาพของการไหล


ได้ชดั เจนขึน้ ผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ ทัง้ นีก้ ารวิเคราะห์ทางพลศาสตร์ของไหลจะมีปจั จัยและองค์ประกอบ
ใหญ่ ๆ 3 องค์ประกอบ คือ สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย (Partial Differential Equations) ที่อธิบายความเป็น
จริงของปัญหา เงือ่ นไขขอบเขต (Boundary Conditions) ของปัญหาทีท่ ำ� การศึกษานัน้ และลักษณะรูปร่าง
(Geometry) ของปัญหา โดยทัง้ 3 องค์ประกอบนีห ้ ากองค์ประกอบหนึง่ องค์ประกอบใดมีการเปลีย่ นแปลง
จะท�ำให้ผลลัพธ์มีการเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ตัวอย่างของการประยุกต์ใช้วิธี CFD ในการค�ำนวณด้าน
วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
40 ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2560)

ต่าง ๆ เช่น การน�ำ CFD มาช่วยในการออกแบบทางพลศาสตร์ของอากาศ การน�ำ CFD มาช่วยวิเคราะห์


ปัญหาการหมุนวนของอากาศ และการศึกษาผลกระทบเนือ่ งจากรูปแบบของครีบต่อการถ่ายเทความร้อน
เป็นต้น ซึง่ ในการศึกษาแบบจ�ำลองพฤติกรรมการไหลของอากาศผ่านทรงกระบอกตันใน 2 มิติ ด้วยเทคนิค
พลศาสตร์ของไหลเชิงค�ำนวณ ได้มีวัตถุประสงค์ในการการวิจัยอยู่ 3 ประการ คือ
1. เพื่อเป็นการศึกษาพฤติกรรมของการไหลอากาศที่เคลื่อนที่ผ่านทรงกระบอกตัน ด้วยวิธีการ
ทางพลศาสตร์ของไหลเชิงค�ำนวณ
2. ศึกษาผลกระทบของกระแสอากาศที่มีต่อทรงกระบอกตันกับแบบจ�ำลองอุโมงค์ลม
3. เพื่อน�ำข้อมูลที่ได้นี้ไปต่อยอดสร้างอุโมงค์ลม ในการศึกษาและวิจัยทางพลศาสตร์ของไหล
ดังนัน้ การศึกษาและวิเคราะห์รปู แบบพฤติกรรมของอากาศทีไ่ หลผ่านทรงกระบอกตันในเงือ่ นไข
แบบ 2 มิติ จากงานวิจัยนี้สามารถน�ำผลที่ได้จาการจ�ำลองไปใช้เป็นหลักการพื้นฐานส�ำหรับการท�ำนาย
พฤติกรรมการไหลของอากาศ เพื่อใช้ในการออกแบบสร้างอุโมงค์ลมและการวางแนวของแท่งกระบอกดูด
ความชื้นของงานวิจัยระบบการท�ำความเย็นแบบระเหยของอากาศ ทั้งนี้ยังสามารถช่วยให้เห็นผลกระทบ
จากการการออกแบบและน�ำไปปรับอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ของระบบอุโมงค์ลมของระบบท�ำความเย็นแบบระเหย
ได้ เพือ่ ท�ำให้อากาศไหลผ่านระบบท�ำความเย็นแบบระเหยและวัตถุทรงกระบอกดูดความชืน้ เป็นไปได้ดว้ ย
ความสะดวก และมีประสิทธิภาพของการท�ำความเย็นที่ดี
วิธีการ
ในงานวิจัยนี้ได้ท�ำการทดลองสร้างแบบจ�ำลอง CFD เพื่อศึกษาพฤติกรรมการไหลของอากาศ
ผ่านแบบจ�ำลองของวัตถุทรงกระบอกตันในอุโมงค์ลม แบบ 2 มิติ โดยมีเงื่อนไขขอบเขต (Bell & Mehta,
1989) ดังแสดงในรูปที่ 2 แล้วน�ำผลการค�ำนวณที่ได้มาวิเคราะห์ความเป็นไปได้กับทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ซึ่ง

ปริมาณที่ได้จากการทดลองสร้างแบบจ�ำลอง CFD และน�ำมาเปรียบเทียบกับทฤษฎี ได้แก่ สัมประสิทธิ์


การฉุด (C ) และเลขเรย์โนลด์ (Re ) ซึ่งเป็นปริมาณที่บ่งบอกถึงพฤติกรรมของของไหล ดังสมการที่ (4)
D d

ถึง (6) โดยได้ก�ำหนดค่าความเร็วลมที่ 0.01 ถึง 50 m/s และแบบจ�ำลองของวัตถุทรงกระบอกตันมีขนาด


เส้นผ่านศูนย์กลางของวัสดุทดสอบ (D) มีขนาด 0.025 m และแบบจ�ำลองอุโมงค์ลมมีขนาดความกว้าง H
หรือ 8D และมีความยาว 20D ซึ่งสามารถก�ำหนดเงื่อนไขเลขเรย์โนลด์ (Re ) ของแบบจ�ำลองความหนืด
d

(viscous Model) ที่ความเร็วของอากาศในอุโมงค์ลม (velocity inlet) ส�ำหรับการไหลท่วมทรงกระบอกตัน

และเป็นการไหลแบบเต็มท่อ ได้แก่ Re ≤ 10 ส�ำหรับการไหลเป็นแบบราบเรียบจะใช้แบบจ�ำลองความ


d
3

หนืดแบบ Laminar, 10 ≤ Re ≤ 10 ส�ำหรับการไหลเป็นแบบปั่นป่วนจะใช้แบบจ�ำลองความหนืดแบบ


3
d
5

k – epsilon และ Re > 10 ส�ำหรับการไหลเป็นแบบปั่นป่วนเต็มรูปแบบจะใช้แบบจ�ำลองความหนืดแบบ


d
5

k – epsilon
Phranakhon Rajabhat Research Journal (Science and Technology)
1.1.1.รูรูป1.ปรูแบบสมการในระบบการวิ
ปแบบสมการในระบบการวิ
รูแบบสมการในระบบการวิ
ปแบบสมการในระบบการวิ เเคราะห เคราะห
คราะห เคราะห ผผลทางพลศาสตร
ผลทางพลศาสตร
ลทางพลศาสตร
ผลทางพลศาสตร ขขVol.12
องไหลเชิ
ของไหลเชิ
องไหลเชิ
ของไหลเชิ No.1 งงคํคํงา(January
คํานวณ
าคํนวณ
งนวณ านวณ แบบแบบ แบบ - June แบบ 222มิมิ2017) ตมิต2ิ ติ มิิ ติ 41
การกํ
การกํ
การกํ 1.าาหนดคุ
การกํ ารูหนดคุ
ปาแบบสมการในระบบการวิ
หนดคุ หนดคุ ณณณลัลักลักณษณะของแบบจํ กษณะของแบบจํ
ลัษณะของแบบจํ
กษณะของแบบจํ าเลองทางกายภาพและการคํ
าาลองทางกายภาพและการคํ
ลองทางกายภาพและการคํ คราะห
าลองทางกายภาพและการคํ ผลทางพลศาสตรขาาองไหลเชิ นวณทาง
านวณทาง
นวณทาง านวณทาง งคํCFD CFD าCFD
นวณ CFD ไดไดไดแแบบ แกได แกกการกํแการกํ ก2 มิการกํ
การกํ าตาหนดรูิหนดรู
าหนดรู าหนดรู ปปแบบ ปแบบ แบบ
ปแบบ
1.
การกํรู ป แบบสมการในระบบการวิ เ คราะห ผ ลทางพลศาสตร ข องไหลเชิ ง คํ า นวณ แบบ 2 มิ ต ิ
สมการของการเคลื
สมการของการเคลื
สมการของการเคลื
สมการของการเคลื 1. รูป1.าแบบสมการในระบบการวิ
่อหนดคุ
่อรูนที ่อนที
ปนที ่อ่ข่ขนที ณ
แบบสมการในระบบการวิ ลั่ขกองของไหล,
องของไหล,
่ของของไหล,
องของไหล, ษณะของแบบจํ สมการเอนทาลปสมการเอนทาลป
สมการเอนทาลป สมการเอนทาลป
เคราะห าลองทางกายภาพและการคํ
เคราะห์ ผลทางพลศาสตร ผลทางพลศาสตร์ (Enthalpy)
(Enthalpy) (Enthalpy) (Enthalpy) ขและสมการอนุ าองไหลเชิ
และสมการอนุ
และสมการอนุ
องไหลเชิ นวณทาง
ขและสมการอนุ งคํานวณ งค�รรCFD ัำกักรนวณษักษแบบ รมษมักวล ได
มวล
ษวล แม2ซึกวล
แบบ ซึ่ งมิซึ่ งการกํ
โดยทั
่ตง2ซึโดยทั
โดยทั ิ ่ งมิโดยทั ตา่ ว่ิวหนดรู
ไปการ
่ไปการ
วไปการ ่ วไปการ ปแบบ
การกําหนดคุ การก�่อณำนที ลัก่ขษณะของแบบจํ าลองทางกายภาพและการคํ าและสมการอนุ
นวณทาง ตังวตัวCFD รไดักไดษแCFD ก วล าการกํ ่ งแาโดยทั หนดรู ปของ
แบบ
พิสมการของการเคลื
พิพิจพิจารณาสนามการไหลในของไหลแบบ
จารณาสนามการไหลในของไหลแบบ
ารณาสนามการไหลในของไหลแบบ
จารณาสนามการไหลในของไหลแบบ
การกําหนดคุ ณหนดคุ ลักองของไหล, ณลักษณะของแบบจ�
ษณะของแบบจํ Navier-Stokes
Navier-Stokes
Navier-Stokes สมการเอนทาลป
Navier-Stokes าลองทางกายภาพและการคํ ซึซึ่งซึ่งจะมี
ำลองทางกายภาพและการค� ่งซึจะมี
จะมี ่งจะมี ก(Enthalpy)
การวิ การวิ ารวิ กเารวิ เคราะห
เคราะห
คราะห เคราะห านวณทาง ผผลเชิ ผลเชิลเชิผงำลเชิงตันวณทาง เลขทางด
วCFD ตัเลขทางด
งเลขทางด วเลขทางด แมาากนพลศาสตร าได้ซึนพลศาสตร
นพลศาสตร
นพลศาสตร
การกํ าก่หนดรู การ ขข่ วอง ไปการ
ปองขแบบ
อง
สมการของการเคลื
พิสมการของการเคลื
ทีทีจ่ ทีจ่ ก�ารณาสนามการไหลในของไหลแบบ ่ อ นที ่ ข องของไหล, สมการเอนทาลป (Enthalpy)
ซึสมการเอนทาลปี
่ง(Enthalpy)จะมีการวิเคราะห และสมการอนุ ผกกลเชิ ๆกๆๆคืกคืงอๆคืตัออวสมการอนุ ร ั ก ษ ม วล ซึ ่ ง โดยทั ่ ว ไปการ
ไหล
ไหล ไหลไหล ะต ่จออะต
ำทีะต
หนดรู
่จะต งให
องให อปคงให
งให วามสํ
คแบบสมการของการเคลื
ความสํ
วามสํ
ความสํ าา่อคัคัานที ญคัญาญคั่ขโดยมีญ โดยมี
โดยมี
องของไหล,โดยมีสสมการควบคุ
สมการควบคุ
มการควบคุ
สมการควบคุ ่อนที ่ของของไหล
Navier-Stokes
สมการเอนทาลป มมสนามการไหลของของไหลหลั
มสนามการไหลของของไหลหลั
สนามการไหลของของไหลหลั
มสนามการไหลของของไหลหลั และสมการอนุ (Enthalpy)
รเลขทางด
และสมการอนุ
อัสมการอนุ
คืสมการอนุ
กษสมการอนุ มวล ารซึรนพลศาสตร ัก่ังกรษโดยทั
ักษรมษมักรวลหรื
ักษวลหรื
มวลหรื ษ์่มวไปการ ของ
วลหรื
พิไหล
จารณาสนามการไหลในของไหลแบบ
ที่จซึะต่งโดยทั
ออเนืงให องคไปการพิ
วามสํ าคัจญารณาสนามการไหลในของไหลแบบ
โดยมี สและสมการโมเมนตั
มการควบคุ Navier-Stokes มสนามการไหลของของไหลหลั มมซึม่งซึซึจะมี ่งซึไดแกแ่งกNavier-Stokes
ารวิ เคราะหผลเชิ่ ่ซึ(1) ง่ง(1)กงตัจะมี วถึเลขทางด านพลศาสตร ของ
อสมการความต
พิจมวล
อสมการความต
อสมการความต
อสมการความต อเนื
ารณาสนามการไหลในของไหลแบบ เนื่อ่อ่วงเนื งสมการพลั
่อสมการพลั
สมการพลั ง สมการพลั งงงาน
งงาน
งาน งงาน และสมการโมเมนตั
และสมการโมเมนตั และสมการโมเมนตั
Navier-Stokes ซึ่งม
่งซึจะมี
่งได ได สดงในสมการที
แสดงในสมการที
ได สดงในสมการที
ารวิ เคราะหผลเชิ(1)
แสดงในสมการที ตั่ ๆถึ(1) คืกง(3)
วงถึงเลขทางดอ(3)
ถึารวิงสมการอนุ
(3) เปราโมทย
(3) คราะห์
ปราโมทย
ปราโมทย าปราโมทย
นพลศาสตร ผรลเชิ ักเดชะ ษเดชะ
เดชะ งมวลหรื
เดชะ
ของ
อํอําอําไพไหล
อสมการความต
าอํไพ
ไพ ตั ที
ว ่ จ ะต
เลขทางด้ อ งให า อ ค
นพลศาสตร์ วามสํ
เนื ่ อ ง า คั
สมการพลั ญ ข โดยมี
องไหล ง ส
งาน มการควบคุ
ที จ
่ และสมการโมเมนตั
ะต้ อ งให้ ค ม วามส� สนามการไหลของของไหลหลั ำ คั ญ ม โดยมี ซึ ่ ง ไดส แ สดงในสมการที
มการควบคุ ม ก ๆ
สนามการไหลของของไหล ่ คื
(1) อ ถึสมการอนุ
ง (3) ปราโมทย ร ั ก ษ ม วลหรื
เดชะ
า(Techaampao,
ไหล ไพ(Techaampao,
(Techaampao,
่จะตองใหค2010)
ที(Techaampao, 2010)
วามสํ 2010) 2010) และ
าและ คัและ
ญและH.H.H.
โดยมี K.K. H. K.Versteeg
สVersteeg
Versteeg
K. มการควบคุVersteeg and
and and andW. W.Malalasekera
มW.สนามการไหลของของไหลหลั
Malalasekera
W. Malalasekera Malalasekera (Versteeg
(Versteeg
(Versteeg (Versteeg and
and and
กand ๆMalalasekera,Malalasekera,
Malalasekera,
คือMalalasekera,สมการอนุ1995) ร1995)
1995)
ักษ1995) มวลหรื
อสมการความต
อํอสมการความต
าไพ หลัก(Techaampao, ๆ คือ1.1 อ
สมการอนุ เนื
สมการอนุ ่ อ ง สมการพลั
ร ก
ั ษ์ ม วลหรื ง
รรักักรษักษรมษมักวลหรื งาน อ สมการความต่ และสมการโมเมนตั
ออสมการความต อ เนื ออเนื อ
่ ง
อเนืเนื่อ่องเนื ม
สมการพลั ซึ ่
่องมง(ของไหลที ง ได แ สดงในสมการที
ง งาน และสมการโมเมนตั
บ่ บ่ ีบ่ ีบอัีบอับ่ ดอัดีบตัดตัอัวตัวดได ่
วตัได))ว่ ใน (1) ถึ ง
ในใน)22ถึใน2งมิมิตมิ(3) (3) ม ซึ ปราโมทย

่ ได้ แ สดง เดชะ
1.1 1.1อ1.1 เนืสมการอนุ
สมการอนุ 2010)
่อสมการอนุ
ง สมการพลั และ มวลหรื ษงวลหรื
H.
มวลหรื
งาน K. อสมการความต
Versteeg
และสมการโมเมนตั สมการความต
อสมการความต and W. Malalasekera
่อซึ(ของไหลที
(ของไหลที
ง่ ได(ของไหลที แ สดงในสมการที (Versteeg ได and)(1)
ได Malalasekera,
2ติ ติ มิิ ตปราโมทย ิ 1995)
เดชะ
อําไพในสมการที (Techaampao, ่ (1)1.1ถึงสมการอนุ 2010)
(3) (Techaampai, และรH. K. Versteeg and W. Malalasekera (Versteeg and Malalasekera, 1995)
อําไพ (Techaampao, 2010) และักH.ษมK.วลหรื อ+สมการความต 0อ0= เนื
0 ่อ0ง (ของไหลที บ่ ีบอัดตัวได) ใน 2 มิติ
𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕
𝜕𝜕𝜕𝜕 2013; ��∇ �⃑⃑�∇∙⃑∙ �𝜌𝜌𝑉𝑉 Versteeg �⃑ ��⃑� �= & Malalasekera,1995)
+ ∇ ∙�⃑�𝜌𝜌𝑉𝑉
𝜕𝜕𝜕𝜕 ∙�⃑�𝜌𝜌𝑉𝑉
𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕Versteeg +
𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕 + ∇and
�𝜌𝜌𝑉𝑉 W. �⃑=
= �Malalasekera (Versteeg and Malalasekera, 1995)
1.1 สมการอนุรักษมวลหรือสมการความต 𝜕𝜕𝜕𝜕
+∇ �⃑ ∙ �𝜌𝜌𝑉𝑉 �⃑ออ�เนื ่อง (ของไหลทีบ่ ีบอัดตัวได) ใน 2 มิติ
=่อ0
1.1 1.1สมการอนุ สมการอนุรรักักษ์ษมมวลหรื วลหรือ𝜕𝜕𝜕𝜕 สมการความต่
อ𝜕𝜕𝜕𝜕 สมการความต อ เนืเนื ่องง (ของไหลที (ของไหลที่บบ่ ีบีบอัอัดดตัตัววได้ได)) ในใน22มิมิตติ ิ
𝜕𝜕𝜕𝜕
𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕 +𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕
𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕 �𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕
∇ ⃑ ∙ 𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕 �𝜌𝜌𝑉𝑉𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕 �⃑𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕� = 0
หรื
หรืหรืออหรื ออ 𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕
+ + + ++
𝜕𝜕𝜕𝜕
𝜕𝜕𝜕𝜕
𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕
+ �+
∇ ⃑+∙𝜕𝜕𝜕𝜕 +𝜕𝜕𝜕𝜕�⃑
�𝜌𝜌𝑉𝑉
𝜕𝜕𝜕𝜕
= =�=00= =0 00 (1)
(1)(1)(1)
𝜕𝜕𝜕𝜕
𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕
𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕
หรือ 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕
+ 𝜕𝜕𝜕𝜕 + 𝜕𝜕𝜕𝜕 = 0 (1)
𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕
เมืเมืเมื่อ่อหรื ่อเมืหรื่ออหรื อ
อ𝜌𝜌𝜌𝜌𝜌𝜌 𝜌𝜌 คืคือคืออความหนาแน ความหนาแน
คืความหนาแน
𝜕𝜕𝜕𝜕
𝜕𝜕𝜕𝜕
+ 𝜕𝜕𝜕𝜕
อ ความหนาแน +
𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕 น
+ 𝜕𝜕𝜕𝜕
+
ของของไหล
นของของไหล
น𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕 ของของไหล=0
นของของไหล
= 0
[kg/m
[kg/m [kg/m [kg/m
33 3 3
]] ] ] (1) (1)
(1)
𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕 3
เมื่อเมื𝑡𝑡𝑡𝑡่อ𝑡𝑡 𝑡𝑡ρ𝜌𝜌 คือคืคืความหนาแน่ อคืออเวลา คืเวลา
คืเวลา ออ เวลา ความหนาแน
[s]
[s][s][s] นของของไหล นของของไหล [kg/m ] [kg/m ]
3
3
เมื่อ 𝑢𝑢𝑢𝑢𝑢𝑢และ และ 𝜌𝜌t𝑡𝑡 𝑣𝑣
และ 𝑣𝑣𝑣𝑣 คื อ คืคื เวลา อ คื
อ อ คืความเร็
คื
ความเร็อความเร็อ
[s] ความหนาแน
เวลา ว
ว ย ว
ย อ [s]
ย
อ ยในทิอ
ยในทิ ยในทิ นศศของของไหล
แกน
ศแกน แกน xx และ
x และ และ [kg/m
y y y[m/s]
[m/s] [m/s] ]3
เมื่อ 𝑢𝑢𝜌𝜌 และ 𝑣𝑣 คืคืออความเร็ ความหนาแน วยอยในทิ นของของไหล ศแกน x และ [kg/m y [m/s] ]
𝑉𝑉�⃑𝑉𝑉�⃑𝑉𝑉�⃑ 𝑡𝑡𝑉𝑉u�⃑𝑢𝑢และ และ v𝑣𝑣 คือคืคืความเร็ อ คื อ
อ คืความเร็ คืคื
ความเร็อความเร็อ เวลา ว ย่
ความเร็ อ
ว ยในทิ [s]
ของของไหล
ว ของของไหล ว ย ศ อ แกน
ยในทิ x ศ
[m/s]และแกน
[m/s] y x และ y [m/s]
เวลาวของของไหล [m/s] [m/s]
𝑡𝑡 คืออความเร็ [s]วของของไหล [m/s]
𝑉𝑉�⃑ 𝑢𝑢 และ 𝑣𝑣 คือ ความเร็ คื อ
คืคืออ วความเร็ ความเร็ ของของไหล ว ย
ววของของไหล อ ยในทิ [m/s] [m/s] ศ แกน x และ y [m/s]
�⃑ 𝑢𝑢 และ 𝑣𝑣 ความเร็ ย อ ยในทิ ศ แกน x และ y [m/s]
1.2 1.21.2 สมการอนุ สมการอนุ 𝑉𝑉 ร ก
ั ษ โ มเมนตั ม ในแนวแกน คื อ ความเร็ x ว และ ของของไหล y [m/s]
1.2 1.2 สมการอนุ สมการอนุ �⃑รักรักษรษโักมเมนตั
𝑉𝑉 โษษ์มเมนตั โมเมนตั มมในแนวแกน ในแนวแกน
มคืในแนวแกน อ ความเร็x xวและ และ
xx และ
ของของไหล yy yy [m/s]
x-component:
x-component:
x-component: 1.2
xx-component:
สมการอนุ𝜕𝜕(𝜌𝜌𝜌𝜌) ร𝜕𝜕(𝜌𝜌𝜌𝜌)
𝜕𝜕(𝜌𝜌𝜌𝜌) ักษ𝜕𝜕(𝜌𝜌𝜌𝜌) โมเมนตั++ + ��∇
∇ �⃑⃑+ ∇ ม�𝜌𝜌𝜌𝜌𝑉𝑉
�∙⃑∙ �𝜌𝜌𝜌𝜌𝑉𝑉


∇ ⃑ ในแนวแกน
�𝜌𝜌𝜌𝜌𝑉𝑉

�⃑�⃑��⃑� �=
�𝜌𝜌𝜌𝜌𝑉𝑉 =
�⃑ = � − − =−
𝜕𝜕𝜕𝜕x𝜕𝜕𝜕𝜕−𝜕𝜕𝜕𝜕 และ ++ 𝜕𝜕𝜕𝜕+
𝜕𝜕𝜎𝜎y+𝜕𝜕𝜎𝜎
𝜕𝜕𝜎𝜎 𝑥𝑥 𝑥𝑥𝜕𝜕𝜏𝜏
𝑥𝑥𝑥𝑥 𝜕𝜕𝜎𝜎
++ +
𝜕𝜕𝜏𝜏𝜕𝜕𝜏𝜏
+
𝑦𝑦𝑦𝑦 𝜕𝜕𝜏𝜏
𝑦𝑦𝑦𝑦𝑦𝑦𝑦𝑦
+ +𝑦𝑦𝑦𝑦 +𝜌𝜌𝜌𝜌𝜌𝜌𝜌𝜌 𝜌𝜌𝜌𝜌
-component: 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕 +𝑥𝑥𝜌𝜌𝜌𝜌
𝜕𝜕𝜕𝜕 𝑥𝑥 𝑥𝑥
𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝑥𝑥
1.2 x-component: สมการอนุ ร ก
ั ษ โ มเมนตั
𝜕𝜕(𝜌𝜌𝜌𝜌)
+
ม ในแนวแกน

∇ ⃑ ∙ �𝜌𝜌𝜌𝜌𝑉𝑉 �⃑ �
x
=
และ −
𝜕𝜕𝜕𝜕 y +
𝜕𝜕𝜎𝜎𝑥𝑥
+
𝜕𝜕𝜏𝜏𝑦𝑦𝑦𝑦
+ 𝜌𝜌𝜌𝜌
1.2 สมการอนุรักษ𝜕𝜕(𝜌𝜌𝜌𝜌) โมเมนตั𝜕𝜕𝜕𝜕

ม⃑ในแนวแกน �⃑
x และ 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕y 𝜕𝜕𝜎𝜎 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜏𝜏𝜕𝜕𝜕𝜕
𝑥𝑥
(2)
y-component: x-component: 𝜕𝜕(𝜌𝜌𝜌𝜌) 𝜕𝜕(𝜌𝜌𝜌𝜌)
𝜕𝜕(𝜌𝜌𝜌𝜌) �� ⃑
�⃑+
+
�∇+

∙⃑∙ �𝜌𝜌𝜌𝜌𝑉𝑉
∙ �𝜌𝜌𝜌𝜌𝑉𝑉
�⃑
�⃑��⃑� �=
� = 𝜕𝜕𝜕𝜕 −𝜕𝜕𝜕𝜕
𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜏𝜏+
𝜕𝜕𝜏𝜏𝜕𝜕𝜏𝜏
𝑥𝑥𝑥𝑥
𝑥𝑥
+
𝜕𝜕𝜎𝜎
𝜕𝜕𝜎𝜎𝜕𝜕𝜎𝜎
𝑦𝑦
𝑦𝑦𝑦𝑦
+ 𝜌𝜌𝜌𝜌 𝑥𝑥
(2)
y-component:
y-component:yy-component:
x-component:
-component: 𝜕𝜕𝜕𝜕
𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕
𝜕𝜕(𝜌𝜌𝜌𝜌)
𝜕𝜕(𝜌𝜌𝜌𝜌) +
𝜕𝜕𝜕𝜕++∇∇ ∙�∇⃑∇��𝜌𝜌𝜌𝜌𝑉𝑉
�𝜌𝜌𝜌𝜌𝑉𝑉 ⃑∙ ∙�𝜌𝜌𝜌𝜌𝑉𝑉 �𝜌𝜌𝜌𝜌𝑉𝑉 �⃑�⃑=
= �− �−= − = 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕 −𝜕𝜕𝜕𝜕−+ ++𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕
++
𝜕𝜕𝜏𝜏
𝑥𝑥𝑥𝑥𝑥𝑥𝑥𝑥
+
𝜕𝜕𝜎𝜎
𝜕𝜕𝜕𝜕
𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕
+𝑥𝑥𝑥𝑥+ 𝑥𝑥
+𝜕𝜕𝜕𝜕+
𝜕𝜕𝜕𝜕
𝑦𝑦 𝜕𝜕𝜎𝜎
𝑦𝑦
𝜕𝜕𝜏𝜏
𝜕𝜕𝜕𝜕 ++ 𝑦𝑦𝜌𝜌𝜌𝜌
𝑦𝑦𝑦𝑦𝜌𝜌𝜌𝜌+𝜌𝜌𝜌𝜌
+ 𝑦𝑦𝑦𝑦𝜌𝜌𝜌𝜌 𝑦𝑦𝜌𝜌𝜌𝜌 𝑦𝑦𝑥𝑥
(2)(2)(2)
𝜕𝜕(𝜌𝜌𝜌𝜌) 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕
𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜏𝜏𝜕𝜕𝜕𝜕𝑥𝑥𝑥𝑥𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕
𝜕𝜕𝜕𝜕𝑦𝑦
𝜕𝜕𝜎𝜎
y-component: 𝜕𝜕𝜕𝜕 + �∇⃑ ∙ �𝜌𝜌𝜌𝜌𝑉𝑉�⃑� = − 𝜕𝜕𝜕𝜕 + 𝜕𝜕𝜕𝜕 + 𝜕𝜕𝜕𝜕 + 𝜌𝜌𝜌𝜌𝑦𝑦 (2)
𝜕𝜕(𝜌𝜌𝜌𝜌) 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜏𝜏𝑥𝑥𝑥𝑥 𝜕𝜕𝜎𝜎𝑦𝑦
� ⃑ �⃑
เมืเมืเมื่อ่อเมืy-component:
่อ่อ 𝑝𝑝𝑝𝑝𝑝𝑝 𝑝𝑝คือคืคืแรงอั
่อเมืy-component: อคืออแรงอั แรงอั
คืแรงอั
อ𝜕𝜕𝜕𝜕
𝜕𝜕(𝜌𝜌𝜌𝜌)นเนื แรงอั นน่อเนื + ่อ∇งมาจากความดั
นเนืงมาจากความดั
+ เนืน่อ�∇เนื ∙ �𝜌𝜌𝜌𝜌𝑉𝑉 � = −น 𝜕𝜕𝜕𝜕
่องมาจากความดั
⃑ งมาจากความดั
∙ ่อ�𝜌𝜌𝜌𝜌𝑉𝑉
งมาจากความดั �⃑ � น = [N] นน[N]
− [N]
𝜕𝜕𝜕𝜕
+ 𝜕𝜕𝜕𝜕 + 𝜕𝜕𝜕𝜕
น[N]+[N]𝜕𝜕𝜏𝜏 𝑥𝑥𝑥𝑥
+
𝜕𝜕𝜎𝜎𝑦𝑦
+ 𝜌𝜌𝜌𝜌𝑦𝑦
+ 𝜌𝜌𝜌𝜌
(2)
(2)
𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝑦𝑦
𝜎𝜎𝑥𝑥𝜎𝜎𝑥𝑥 𝑥𝑥𝜎𝜎𝑥𝑥คือ คืความเค้ เมื อ
่ 𝜎𝜎 𝑝𝑝 คื อคืออคืความเค คื
ความเค ความเค อ
อ ความเค แรงอั
นตั้งนฉากกั น ตั น ง

นตัตั้งนฉากกั เนื
ฉากกั อ

้งตัฉากกั งมาจากความดั
บ้งฉากกั แกน บ บบแกน แกน แกน บy แกน y
(normal yy(normal(normal (normal
y (normalน [N]
stress) stress)
stress)stress)ทีstress)
่กระท� ที ก
่ ระทํ
ทีที่กำ่กระทํ ทีในแนวแกน
ระทํ ่กระทํ า ในแนวแกน
าในแนวแกน
าในแนวแกน าในแนวแกน x xx x x
เมื อ
่ 𝑝𝑝 คื อ
คืคืแรงอั แรงอั น เนื อ
่ งมาจากความดั น [N]
เมื่อ𝜌𝜌𝜌𝜌 𝜌𝜌𝜌𝜌 𝜌𝜌𝜌𝜌
𝑥𝑥𝑥𝑥𝜌𝜌𝜌𝜌𝑥𝑥𝑝𝑝คื𝑥𝑥𝑥𝑥อคื
𝜎𝜎 คืแรงอั อคืออแรงอั อนออเนื
คืแรงอั แรงอัความเค
นน่อเนื
แรงอั เนื่อน่อนงมาจากน้
นเนืงมาจากน� น่อ่อตังมาจากน้
่องมาจากน้
เนื เนืงมาจากน้ ้งฉากกั้ำหนัําําหนั
งมาจากความดั กําบหนั
หนั ของตั แกน
ํากกหนั ของตั
กของตั กวyเองในแนวแกน
ของตั น(normal
ของตัววเองในแนวแกน
วเองในแนวแกน
เองในแนวแกน
[N] วเองในแนวแกน stress) x xxทีx่กระทํ x าในแนวแกน x
𝜏𝜏𝜏𝜏𝑦𝑦𝑦𝑦 𝜏𝜏𝑦𝑦𝑦𝑦
𝜎𝜎𝜌𝜌𝜌𝜌
𝑥𝑥คือคืความเค้
𝑥𝑥 คือ คืออความเค คืความเค
คืคือความเค
ออความเค แรงอั
นความเค เฉืนนอเฉื นนในแนวแกน
นเฉื นอนในแนวแกน
เฉือเนื ตัอนในแนวแกน
่อตั้งนในแนวแกน
ฉากกับแกน
งมาจากน้ xํา(shear xxyx(shear
หนั กy(normal
ของตั
(shear
(shear stress) วstress) stress)
เองในแนวแกน
stress) stress) (ส�stress)ำหรั (สํ(สํ(สําบาหรั ทีหรั ่กวบบห้ระทํ
าตั(สํทีหรั หาหวตัาในแนวแกน
ตับตัอxวตัวยแรก อหอในแนวแกน
ยแรก
อยแรก ในที
ยแรก ่นี้คือxyx
𝑦𝑦𝑦𝑦 𝜏𝜏𝜎𝜎𝑦𝑦𝑦𝑦
𝑥𝑥
คื อ ความเค น น เฉื อง
้ นในแนวแกน
ฉากกั บ แกน x (normal(shear stress) า

่ หรั
ระทํ บ ว ห อ ยแรก
𝜌𝜌𝜌𝜌 𝑥𝑥 ด้าคื คือี้ค่นี้คอือี้คือ่แรงอัความเค นระบุ เนืดบดน่อาดาแกน งมาจากน้
เฉื อ นในแนวแกน ํามีหนั กแกน ของตัx (shear วซึเฉืเองในแนวแกน stress) (สํ า xหรั ส่อ้กบ้กวนนี
ตั้กระทํวระทํ
𝜏𝜏ระบุ
𝑦𝑦𝑦𝑦ในที
𝜌𝜌𝜌𝜌𝑥𝑥 ในที ในที น
่ นที


ในที ต น
่ ้ ั ง
yค
้ ี y ฉากกั
คือ แรงอันเนื่องมาจากน้ําหนักของตัวเองในแนวแกน อนนี

ื y

ื ระบุระบุ y ระบุ นที า

นที นที
ด า
 ต
่ ต
่ นที ง
้ ั ต
่ yั้งฉากกั ง
้ ั
ฉากกั ต
่ ซึ
ฉากกัง
้ ั ่ ง ฉากกั บ ค
บ วามเค้
แกน

แกน บ แกน yy น yซึ ง
่ ซึ

่ y มี


มีอ ค นนี
มี

ซึ วามเค

่ ค
วามเค
มี ้ ก
วามเค
ค ระท�
วามเค น น ำ
เฉื

เฉื อยู
เฉืออ
น นนีเฉืx่ นนี นตั
ระทํ ้กหวระทํ
าอาห้อยู ายแรก
อยู ออยูายหลั
 อยู ง
𝜏𝜏𝑦𝑦𝑦𝑦ในทีส่นวนตั
𝜏𝜏𝑦𝑦𝑦𝑦 สสวนตั
ี้ควคืสือนตั อ หหวความเค
ในที
คืวววอxนตั อระบุ
ห่นอวยหลั
ความเค อี้คยหลั
หยหลัืออทยหลั yงิศงนทางของความเค้
เฉื
นระบุ
งในที
ในที เฉืในที
อนในแนวแกน
ง อด่นในที าี้ค่นี้คนที
่นนในแนวแกน ือี้คือ่นือxี้ค่ตx xือั้งระบุ ระบุฉากกัx นระบุ
ระบุ ททเฉืิศทิศxบxทางของความเค
(shear
อิศทางของความเค
ทนที
แกน
ทางของความเค่กyระท�
ิศทางของความเค
(shear ซึstress)
่งำมี)ความเค
stress) นน(สํเฉื เฉืาเฉือนาอหรั
น(สํ นนที บอ่กตั่กนนี
เฉืเฉืนที
อนที
หรั อบนที ่กวระทํ
ตัระทํ
ห้กอาระทํ
วระทํ
ยแรก
อา)ยแรก
ห่กระทํ )า) าา)อยู
ในที สในที วนตั ่นี้ควือหyอยหลั ระบุดานที่น่ตั้งี้คฉากกั บแกน y ซึ่งมีความเคนนเฉืเฉืออนนี นที้ก้ก่กระทํ ระทําาอยู )
่นี้คือ y ระบุงดในที านที่ตั้งือฉากกั x ระบุ บแกน ทิศทางของความเค y ซึ่งมีความเคนเฉือนนี ระทํ าอยู
1.3
1.3 1.31.3 สมการอนุ
สมการอนุ
สมการอนุ สมการอนุ รรักักรษักษรพษพักลัพลัษสงลังสวพงานใน งวนตั
งานใน ลังานใน
นตั งงานใน
วหอ22ยหลั
ว ห อ มิมิตมิต2ิ ติงมิงิ ในที
2ยหลั ตในที
่นี้คือ x ระบุทิศทางของความเคนเฉือนที่กระทํา)
ิ ่นี้คือ x ระบุทิศทางของความเคนเฉือนที่กระทํา)
𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕 1.3 สมการอนุ 𝑉𝑉𝑉𝑉2𝑉𝑉 ร ก
ั 22 2
⃑⃑ษ∇ พ ลั ง งานใน 𝑉𝑉𝑉𝑉2 𝑉𝑉 มิ𝑉𝑉�⃑ ต�⃑2𝑉𝑉��⃑ิ � �==�⃑=𝜌𝜌𝑄𝑄
22 2
�𝜌𝜌
�𝜌𝜌 𝜕𝜕�𝑒𝑒�𝑒𝑒
�𝜌𝜌 �𝑒𝑒 + + + ��
�� 𝑉𝑉
��+ + + �∇�∇
� � ∙ ⃑ ∙ �𝜌𝜌

�𝜌𝜌
�⃑ �𝜌𝜌 �𝑒𝑒 �𝑒𝑒 �𝑒𝑒 + + + ���𝑉𝑉𝑉𝑉 𝜌𝜌𝑄𝑄 �� �+
𝜌𝜌𝑄𝑄 ++ �∇��∇
�⃑⃑�∇∙⃑∙ �𝑘𝑘∇ ∙�⃑�𝑘𝑘∇
�𝑘𝑘∇ ���⃑⃑𝑇𝑇�
�𝑇𝑇�
⃑𝑇𝑇� �⃑− −−𝑝𝑝𝑝𝑝𝑝𝑝∙∙ ∇ ��∇
∙�⃑⃑𝑉𝑉 ��⃑𝑉𝑉
∇ ⃑𝑉𝑉
�⃑ �⃑�⃑ �⃑
𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕 �𝜌𝜌 �𝑒𝑒22+
𝜕𝜕𝜕𝜕 2 2 2�� + ∇ ∙ �𝜌𝜌 �𝑒𝑒22+ 2 2 2� 𝑉𝑉 � = 𝜌𝜌𝑄𝑄 + ∇ ∙ �𝑘𝑘∇𝑇𝑇� − 𝑝𝑝 ∙ ∇𝑉𝑉
1.3 𝜕𝜕 สมการอนุ 𝑉𝑉รักษพลังงานใน 2 มิต𝑉𝑉ิ
+ �∇⃑ ∙ �𝜌𝜌 �𝑒𝑒 + ต22ิ � 𝑉𝑉 �⃑ � = 𝜌𝜌𝑄𝑄� + ∇ �⃑ ∙ �𝑘𝑘∇ �⃑𝑇𝑇� − 𝑝𝑝 ∙ �∇⃑𝑉𝑉 �⃑
1.3�𝜌𝜌สมการอนุ
𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕
�𝑒𝑒 + 22 ร��
𝑉𝑉 ักษพลังงานใน 2 มิ 𝑉𝑉
�⃑ � = 𝜌𝜌𝑄𝑄� + ∇
�𝜌𝜌 �𝑒𝑒 + 2𝑉𝑉 2�� + �∇⃑ ∙ �𝜌𝜌 �𝑒𝑒 + 2𝑉𝑉 2� 𝑉𝑉 �⃑ ∙ �𝑘𝑘∇
�⃑𝑇𝑇� − 𝑝𝑝 ∙ �∇⃑𝑉𝑉
�⃑
𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕𝜕 �⃑ �⃑ � �⃑ �⃑ �⃑ �⃑
𝜕𝜕𝜕𝜕
�𝜌𝜌 �𝑒𝑒 + 2 �� + ∇ ∙ �𝜌𝜌 �𝑒𝑒 + 2 � 𝑉𝑉 � = 𝜌𝜌𝑄𝑄 + ∇ ∙ �𝑘𝑘∇𝑇𝑇� − 𝑝𝑝 ∙ ∇𝑉𝑉
คือ แรงอันเนื่องมาจากน้ําหนักของตัวเองในแนวแกน x
𝜌𝜌𝜌𝜌𝑥𝑥
𝜏𝜏𝑦𝑦𝑦𝑦 คือ ความเคนเฉือนในแนวแกน x (shear stress) (สําหรับตัวหอยแรก
วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร ในที่นสาขาวิ ี้คือ yทระบุ ยาศาสตร์ ดานทีและเทคโนโลยี
่ตั้งฉากกับแกน y ซึ่งมีความเคนเฉือนนี้กระทําอยู
42 ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิ สวนตัถวุนหายน อยหลั2560) ง ในที่นี้คือ x ระบุทิศทางของความเคนเฉือนที่กระทํา)
𝜕𝜕𝜕𝜕𝜎𝜎 𝜕𝜕𝜕𝜕𝜏𝜏𝑦𝑦𝑦𝑦 𝜕𝜕𝜏𝜏𝑥𝑥𝑥𝑥 𝜕𝜕𝜎𝜎𝑦𝑦
� 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝑥𝑥 + 𝜕𝜕𝜕𝜕 + 𝜕𝜕𝜕𝜕 + 𝜕𝜕𝜕𝜕 � + 𝜌𝜌𝑓𝑓⃑ ∙ 𝑉𝑉 �⃑ (3)
𝜕𝜕𝜕𝜕𝜏𝜏𝑦𝑦𝑦𝑦 𝜕𝜕𝜏𝜏𝑥𝑥𝑥𝑥 𝜕𝜕𝜎𝜎𝑦𝑦
1.3 สมการอนุ ร ก

1.3 สมการอนุรักษพลังงานใน 2 มิ� ต�𝜕𝜕𝜕𝜕 ษ์ พ ลั ง งานใน 2 มิ ต ิ
𝜕𝜕𝜕𝜕𝜎𝜎𝑥𝑥
ิ 𝑥𝑥++ 𝜕𝜕𝜕𝜕𝜏𝜏
𝜕𝜕𝜕𝜕𝜎𝜎 + 𝜕𝜕𝜏𝜏 + 𝜕𝜕𝜎𝜎� + 𝜌𝜌𝑓𝑓 ∙ 𝑉𝑉
𝜕𝜕𝜕𝜕 𝑦𝑦𝑦𝑦 + 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝑥𝑥𝑥𝑥 +𝜕𝜕𝜕𝜕 𝑦𝑦 � + 𝜌𝜌𝑓𝑓⃑ ∙ 𝑉𝑉
⃑ �⃑ (3)
�⃑ (3)
𝜕𝜕 𝑉𝑉 2 𝑉𝑉 2 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕
เมื่อ 𝜕𝜕𝜕𝜕 �𝜌𝜌𝑒𝑒�𝑒𝑒 + 2คือ��พลั +ง∇ �งานภายใน
⃑ ∙ �𝜌𝜌 �𝑒𝑒 +[J] � 𝑉𝑉 �⃑ � = 𝜌𝜌𝑄𝑄� + �∇⃑ ∙ �𝑘𝑘∇ �⃑𝑇𝑇� − 𝑝𝑝 ∙ ∇ �⃑𝑉𝑉
�⃑
2 𝜕𝜕𝜕𝜕𝜎𝜎 𝜕𝜕𝜕𝜕𝜏𝜏
𝜕𝜕𝜕𝜕𝜏𝜏𝑦𝑦𝑦𝑦 𝜕𝜕𝜏𝜏
𝜕𝜕𝜏𝜏𝑥𝑥𝑥𝑥 𝜕𝜕𝜎𝜎
𝜕𝜕𝜎𝜎𝑦𝑦
𝜌𝜌𝑓𝑓⃑⃑ ∙∙ 𝑉𝑉
𝜕𝜕𝜕𝜕𝜎𝜎𝑥𝑥 �⃑
เมื่อ 𝑉𝑉𝑒𝑒 2
คือ พลั𝜕𝜕𝜕𝜕𝜎𝜎 งงงานภายใน [J] 𝜕𝜕𝜏𝜏�� 𝑥𝑥𝑥𝑥𝜕𝜕𝜕𝜕
𝜕𝜕𝜕𝜕𝜎𝜎
[J]+
𝑥𝑥
𝑥𝑥
+
𝜕𝜕𝜕𝜕𝜏𝜏 𝑦𝑦𝑦𝑦
𝑦𝑦𝑦𝑦
+
+่⃑ด𝜕𝜕𝜕𝜕
𝜕𝜕𝜏𝜏 𝑥𝑥𝑥𝑥
𝑥𝑥𝑥𝑥
+ 𝜕𝜕𝜎𝜎
+ 𝜕𝜕𝜕𝜕
𝑦𝑦
𝑦𝑦
�� ++ 𝜌𝜌𝑓𝑓 �⃑
𝑉𝑉 (3)
เมื่อ 𝑉𝑉22𝑒𝑒 คือคือพลั �พลั งานจลน
ง งานภายใน
𝑥𝑥
+
𝜕𝜕𝜕𝜕𝜏𝜏ของของไหล
𝑦𝑦𝑦𝑦
+ [J] 𝜕𝜕𝜕𝜕+
𝜕𝜕𝜕𝜕 ที𝑦𝑦่เคลื
𝜕𝜕𝜎𝜎 𝜕𝜕𝜕𝜕
�𝜕𝜕𝜕𝜕
𝜕𝜕𝜕𝜕 + ่อนที 𝜌𝜌𝑓𝑓 ∙ว𝜕𝜕𝜕𝜕𝑉𝑉�⃑ยความเร็
𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕ว(3)
𝜕𝜕𝜕𝜕 V [m/s] (3)
𝑝𝑝2𝑉𝑉 2 พลัง𝜕𝜕𝜕𝜕งานจลน
คืคืออคือความดั นของของไหล
𝜕𝜕𝜕𝜕
ของของไหล 𝜕𝜕𝜕𝜕 𝜕𝜕𝜕𝜕
[Pa][J][J]ทีที่เคลื ่อนที่ดวยความเร็ว V [m/s]
พลั ง งานจลน ข องของไหล เ
่ คลื ่อนที่ดวยความเร็ว V [m/s]
เมื่อเมื𝑝𝑝𝑘𝑘่อ2 𝑒𝑒𝑒𝑒 คืคืคือออ ความดั พลัคื อ ง พลั ง
งานภายใน
น งานภายใน
ของของไหล [J] [J]
[Pa]
เมื่อ 𝑒𝑒 คือ พลัง𝑝𝑝งานภายใน 𝑉𝑉22
𝑉𝑉 2 คือสั[J] มความดั
ประสินทของของไหล ธิ์การนําความร [Pa]อน (thermal conductivity) [W/(m·K)]
𝑇𝑇𝑘𝑘 222 คื คืคืออคืขออองของไหล
สัอุพลั
คืมณอประสิ พลั มงิขทงานจลน
ธิ์การนํ าขความร [K]่ดอว[J]
องของไหล น (thermal [J]่เคลืที่อเ่ คลื นที่อconductivity)
่ดนที ่ดวยความเร็ ว V [W/(m·K)]
ว[m/s]V [m/s]
𝑘𝑘 𝑉𝑉
𝑉𝑉 2 งประสิ
สัมหภู งานจลน์ ท[J]ธิ์กขทีารนํ
องของไหล องของไหล า่อความร นที(thermal
อยความเร็ ้วยความเร็
conductivity) [W/(m·K)]
คื อ พลั ง งานจลน เ
่ คลื นที ว V [m/s]
𝑝𝑝 คื คืคืออคืออปริ
อุความดั
คืณอมหภู ความดัมนิขของของไหล
องของไหล ความรอ[K]
นซของของไหล [Pa]
2 𝑇𝑇 2
𝑄𝑄�𝑇𝑇 𝑝𝑝 อุณาณฟลั หภู[Pa] มิขกองของไหล นทั
[K]้งหมดที่เกิดขึ้นในของไหล [W/m2]
[Pa]
𝑝𝑝 คือ ความดั น ของของไหล
𝑄𝑄� 𝑘𝑘 𝑘𝑘 คืออ ปริ คืมอมประสิ าณฟลั
𝑘𝑘 คือ สัมประสิ 𝑄𝑄� ทธิ์กคืคืารนํ อสัปริ าความร
สัมประสิ
มาณฟลั ทอกธิน์กซทารน�
คธิวามร์การนํ
ซ(thermal
ความร
อานทั
ำความร้ อนทั
้งอหมดที
ความร
้งนหมดที
conductivity)
อน่เกิ(thermal
(thermal
ดขึ้นในของไหล
่เกิดขึconductivity)
้น[W/(m·K)]
ในของไหล [W/m
[W/m
conductivity) [W/(m·K)]
]2 [W/(m·K)]
]
2. 𝑇𝑇การวิเคราะห 𝑇𝑇 คื อ อุ ณ หภู ม ข
ิ องของไหล [K]
คือ อุพณฤติ หภูกมรรมของของไหล
𝑇𝑇 คือ อุณหภูมิของของไหล [K]
ิของของไหล [K] 22
2.
การวิ
การวิ
เ เคราะห
คราะห พ พฤติ
ฤติ ก กรรมของของไหล
𝑄𝑄�� คือ ปริ
𝑄𝑄
รรมของของไหลสามารถวิ คือมปริ าณฟลั มาณฟลั ก ซ์ ค กวามร้ซคราะห
เ ความรอ นทั ไอด้งนทั ดั
หมดที ง ้งสมการที
หมดที เ
่ กิ ด ่เกิ้นด่ ในของไหล
ขึ ขึ2้นในของไหล
(4) ถึ ง (6) [W/m [W/m
ซึ ่ ง]เป น ]
สมการที ่ใช
2.𝑄𝑄�การวิเคราะห คือ ปริพมฤติ กรรมของของไหล
าณฟลั กซความรอนทั้งหมดที่เกิดขึ้นในของไหล [W/m ]
2

วิเคราะหการวิ สการวิ เคราะห


ัมประสิ ธิ์ กพารฉุ
2.ทการวิ
เคราะห
ฤติกดรรมของของไหลสามารถวิ
พฤติ
เคราะห์ กสํรรมของของไหลสามารถวิ
าหรัพฤติ บ การไหลท
กรรมของของไหล วมทรงกระบอกตั เคราะหไดนดั(งCสมการที
เคราะหได ดังDสมการที ) และสมการการวิ ่ (4) ถึง (6)เคราะห
่ (4) ถึง (6) ซึ่งเปเลขเรย
ซึ่งเปนสมการที
นสมการที โนลด่ใช
่ใช
วิสํเาคราะห
หรั ส ั
บการไหลทม ประสิ
2. การวิ ท ธิเ์
วมทรงกระบอกตัก ารฉุ
คราะห ด สํ
พ า
ฤติ หรั
ก บ การไหลท
รรมของของไหล ว มทรงกระบอกตั น ( C ) และสมการการวิ เ คราะห เ ลขเรย โ นลด
2. การวิวิเคราะห
เคราะห พสฤติัมกประสิ ทการวิ
รรมของของไหล ธิ์ การฉุ
เคราะห์ ด สําพนหรัฤติ(บRe d)
กการไหลท
รรมของของไหลสามารถวิ วมทรงกระบอกตั เคราะห์น (CD Dไ)ด้ และสมการการวิ ดังสมการที่ (4) ถึงเคราะห (6) ซึง่ เป็เลขเรย
นสมการโนลด
สําหรับการไหลท การวิ ว2.1มทรงกระบอกตั
เคราะห สมการสั พฤติมกประสิ น (Reทd)ธิ์ ก ารฉุ ด สํ า หรั บ การไหลท
รรมของของไหลสามารถวิ เคราะหไดว มทรงกระบอกตั ดังสมการที่ (4) นถึงH.(6) ซึSchlichting ่งเปนสมการที่ใช
การวิเคราะหสําหรับพทีการไหลท
ฤติ วมทรงกระบอกตั
่ใช้วกิเรรมของของไหลสามารถวิ
คราะห์ สัมประสิทธิ์การฉุ น ด(Re ส�เำคราะห
dหรั ) บการไหลท่ ได ดังสมการที วมทรงกระบอกตั ่ (4) ถึง น(6)(C ซึ)่งเป และสมการการวิ
นสมการที่ใช เคราะห์เลข
ัม2.1 สมการสั มอดประสิ าหรัทบธิการไหลท ์ ก ารฉุ ด สํวามทรงกระบอกตั หรั บ การไหลท วนอมทรงกระบอกตั น H. เคราะห Schlichting
D
วิเคราะหส1979)
(Schlichting, ประสิโดยที ทธิ์ ก่ Lารฉุ คื สํความยาวของทรงกระบอก [m], d คื CDDน) ผและสมการการวิ
(เส
C า นศู น ยกลางทรงกระบอก เลขเรย
[m], Vโนลด
ะหสัมประสิทธิ์ กเรย์ ารฉุโนลด์ด สําสหรั�ำ2.1
หรับบการไหลท
การไหลท่วมวมทรงกระบอกตั
สมการสั มทรงกระบอกตั
ประสิ ท ธิ์ ก ารฉุนด สํ(Re (าCหรั บ การไหลท ว มทรงกระบอกตั
)D )และสมการการวิ
d เคราะหเลขเรย นโนลด
H. Schlichting
(Schlichting, 1979) วโดยที
สําหรับวการไหลท มทรงกระบอกตั่ L คือและ ความยาวของทรงกระบอก
DนT ท คื(Re dd) ดรวม [N] [m], d คือ เสนผานศูนยกลางทรงกระบอก [m], V
บการไหลทคือ(Schlichting,
ความเร็ ของของไหล [m/s] ธิอ์กแรงฉุ
Re
วมทรงกระบอกตั 1979) น 2.1(Re สมการสั
d) ่ L คืมอประสิ
โดยที ความยาวของทรงกระบอก ารฉุดส�ำหรับการไหลท่ [m], วdมทรงกระบอกตั คือ เสนผานศูนนยก(Schlichting, ลางทรงกระบอก 1979)[m], V
คือ ความเร็วของของไหล 2.1 [m/s]สมการสั และมDประสิ T คือ ทแรงฉุ ธิ ์ ก ดรวมด สํ[N]
ารฉุ า หรั บ การไหลท ว มทรงกระบอกตั น H. Schlichting
คื2.1 โดยทีว่ Lของของไหล
อ ความเร็
สมการสั คืมอประสิ
ความยาวของทรงกระบอก
ท ธิ[m/s] ์ ก ารฉุ และ ด สํ า หรั DT บคืการไหลท อ แรงฉุ [m], ดdรวม คืวอมทรงกระบอกตั
เส้นผ่านศูนย์กลางทรงกระบอก
[N] น H. [m], V คือ ความเร็ว
Schlichting
(Schlichting, 1979) โดยที
[m/s] และ DL คือ แรงฉุดรวม
่ L คื อ ความยาวของทรงกระบอก DT [m], d คือ เสนผานศูนยกลางทรงกระบอก [m], V
d (4) V
chting, 1979) โดยที ของของไหล
่ L คือ ความยาวของทรงกระบอก T [m],[N]CdDคือ=เส12ρV นDผ2TาLdนศูนยกลางทรงกระบอก [m], V
คือ ความเร็วของของไหล [m/s] และ DDT คือ แรงฉุ CDด= รวม1 [N]2DT (4)
วามเร็วของของไหล [m/s] และ DT คือ แรงฉุดรวม [N]T CD =2ρV 1
ρV2 Ld
Ld (4) (4)
2
2.2 สมการสัมประสิทธิ์การฉุดในพจนของเลขเรยโDDDนลด (Red) สําหรับการไหลทวมทรงกระบอก
ตัน มนตรี พิรุณเกษตร 2.2
2.2 สมการสั สมการสั ม ประสิ
มประสิCท2004) ท ธิ ก

ธิ์การฉุดDในพจน ารฉุ ด ในพจน์ ขC
ของเลขเรย
C D
D
D
=
องเลขเรย์
= 1
11ρV โ
โนลด
T
T
นลด์
T
((Re Red)) ส�สํำาหรั หรับบการไหลท่
การไหลท วมทรงกระบอก
วมทรงกระบอก (4)
(Piroonkaset, T ρV222Ld (4)
2.2 สมการสั มประสิDทธิ=์การฉุ 1 ด2ในพจนของเลขเรย 22 โนลด (Red) สําหรับการไหลท
2 ρV Ld
Ld d
ว มทรงกระบอก
ตัน มนตรี ตันพิ(Piroonkaset,
รุณเกษตร (Piroonkaset, 2004) 2004) 2
ρV Ld
CD = 1 + 2⁄3
10
(5)
ตัน มนตรี พิรุณเกษตร (Piroonkaset, 2004) Re10
2.2 สมการสั ม(Reynolds
ประสิทธิ์การฉุ ดCในพจน D = 1ของเลขเรย + 210 d
⁄3 โนลด (Re ) สําหรับการไหลท
Reวddมทรงกระบอกตั (5)(5)
วมทรงกระบอก
2.2 สมการสัมประสิ 2.3 เลขเรย ทธิ์การฉุ โนลด
ดในพจน ของเลขเรย Number, โนลด CD Re =(Red1)d+ )สํReสําRe
หรั
าdหรั บการไหลท
2⁄3บการไหลทวมทรงกระบอก
น มนตรี (5)พิรุณ
ตัน มนตรี พิ2.3 รุณเกษตรเลขเรย โนลด
(Piroonkaset,
(Piroonkaset,
(Piroonkaset, 2004)
2004) Number, Red) สําหรับการไหลทวมทรงกระบอกตัน มนตรี พิรุณ
คื2004)
d
(Reynolds
นตรี พิรุณเกษตร
เกษตร (Piroonkaset,
(Piroonkaset, 2.32.32004) เลขเรย์
เลขเรย
2004) โโดยที
นลด โ นลด์ ่ (Reynolds
u∞(Reynolds อ ความเร็ Number, วNumber,
ของของไหลทีRed) Re สําหรั่)ฟรี10 ส�สการไหลท
บ10 ำตรี หรัมบ[m/s], การไหลท่ ρ คืว มทรงกระบอกตั
วมทรงกระบอกตั อ ความหนาแน น มนตรีนของ นพิ รุณ
เกษตร (Piroonkaset,3 2004) โดยที่ u∞ คือ ความเร็ 10 วของของไหลที C
C D =
= 1
1 +
+
d
่ฟRe
10
รีส2d2dสตรี
⁄⁄ตรี 33 ม [m/s], ρ คือ ความหนาแนนของ
(5)
µ2004) D
D 2 ⁄ 3
ของไหล [kg/m
เกษตร(Piroonkaset,
(Piroonkaset,], และ2004) คือ โดยที สัโดยที
มประสิ ่ uC่ ∞uDท∞ธิคื=์คอคืวามหนื
1อความเร็
+ความเร็
Red
ด ⁄ว3ของของไหลที
2พลศาสตรว ของของไหลที [kg/(m·s)] ฟ
่ รี
Re
Re
่ ฟ dรีสตรี ม ม [m/s], [m/s], ρ คืρอ(5) ความหนาแน่
คื อ ความหนาแน น ของ น ของ
ของไหล [kg/mโนลด
ของไหล
3
],3 และ 2.3 เลขเรย
µและ คือ สัมคืประสิ โ นลด (Reynolds
สัมทประสิ ธิ์ความหนื
(Reynolds
(Reynolds Number,
ดพลศาสตร
Number,
Number, Re
Re
Re )
[kg/(m·s)]
)) สํ า หรั บ การไหลท ว มทรงกระบอกตั น มนตรี พิรุณ
สัมอประสิ ทธิ์ความหนื ดพลศาสตร์ d
dd
2.3 เลขเรย
ของไหล [kg/m[kg/m3], ], และ
(Reynolds µ คือµNumber, ทRe ธิ์ความหนื d) สําหรั ดบพลศาสตรการไหลท วมทรงกระบอกตั
[kg/(m·s)] [kg/(m·s)] น มนตรี พิรุณ
เกษตร (Piroonkaset,
(Piroonkaset, 2004)
(Piroonkaset, 2004) โดยที่ u∞
2004) ∞ คือ ความเร็ วของของไหลที
ρu∞ d ่ฟรีสตรีม [m/s], ρ คือ ความหนาแน (6)(6) นของ
ร (Piroonkaset, 2004) โดยที33่ u∞ คือ ความเร็วของของไหลที Re ่ฟdรีส=ตรีρu มµ∞[m/s], ρ คื อ ความหนาแน น ของ
3 ของไหล [kg/m ], และ µ คือ สัมประสิทธิ์ความหนื
d
Redดพลศาสตร = ρu d [kg/(m·s)] (6)
หล [kg/m ], และ µ คือ สัมประสิทธิ์ความหนืดพลศาสตร [kg/(m·s)] Red = µ µ ∞
(6)
ρu∞ d ρu d
ρu∞ d Re
Reddd =
ρu
= µµ∞
∞d
(6)
Red = µ
µ (6)
Phranakhon Rajabhat Research Journal (Science and Technology)
Vol.12 No.1 (January - June 2017) 43

รูปที่ 1 ผังงานแสดงกระบวนการทางพลศาสตร์ของไหลเชิงค�ำนวณ ที่มีการหาผลเฉลยด้วยวิธีการทาง


ระเบียบวิธีทางตัวเลขแบบซิมเปิล (SIMPLE algorithm)(Tawonwan, 2007)
3. ขั้นตอนการด�ำเนินการวิจัย
ขั้นตอนของการด�ำเนินการวิจัยนี้ ผู้วิจัยก�ำหนดขั้นตอนในการวิจัยไว้ 7 ขั้นตอนดังนี้
3.1 สร้างแบบจ�ำลอง CFD แบบ 2 มิติ เพื่อท�ำนายพฤติกรรมการไหลของอากาศผ่านแบบ
จ�ำลองของวัตถุทรงกระบอกตัน
3.2 สร้างเงือ่ นไขขอบเขตของแบบจ�ำลองทรงกระบอกและแบบจ�ำลองอุโมงค์ลม โดยมีขอ้ มูล
ดังแสดงในรูปที่ 2
3.3 แบบจ�ำลองการไหลที่ใช้ในการวิจัยนี้จะใช้เป็นแบบปั่นป่วน หรือ k – epsilon และก�ำหนด
ให้การจ�ำลองนี้เป็นการจ�ำลองแบบคงตัว (Steady State)
3.4 ศึกษาปริมาณทีไ่ ด้จากการสร้างแบบจ�ำลอง CFD ได้แก่ สัมประสิทธิก์ ารฉุด (C ) เลขเรย์โนลด์
D

(Re ) ซึ่งเป็นปริมาณที่บ่งบอกถึงพฤติกรรมของของไหล โดยสามารถค�ำนวณได้จากสมการที่ (4) ถึง (6)


d
วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
44 ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2560)

3.5 ค่าความเร็วลมขาเข้าอุโมงค์ลมที่ใช้ในการจ�ำลอง คือ 0.01, 0.03, 0.05, 0.1, 0.3, 0.5,


1, 3, 5, 10, 30 และ 50 m/s
3.6 เปรียบเทียบผลการจ�ำลองกับการค�ำนวณทางทฤษฏีและผลการทดลองทีไ่ ด้รบั การยอมรับ
ดังแสดงในรูปที่ 3
3.7 สรุปผลและอภิปรายผลการวิจัยในผลของพฤติกรรมการเคลื่อนที่ของอากาศผ่านแบบ
จ�ำลองทรงกระบอกตัน

รูปที่ 2 เงื่อนไขขอบเขตของการวิเคราะห์ทางพลศาสตร์ของไหลเชิงค�ำนวณ (CFD)


ของแบบจ�ำลองทรงกระบอกตันในแบบจ�ำลองอุโมงค์ลม แบบ 2 มิติ

4. การวิเคราะห์ข้อมูล
การเปรียบเทียบผลการทดลองในการสร้างแบบจ�ำลองตามเงื่อนไขขอบเขต ดังรูปที่ 1 และ
ในหัวข้อวิธีด�ำเนินการวิจัยและระเบียบวิธีวิจัย ซึ่งจะมีทฤษฎีชั้นขอบเขต ใช้เป็นทฤษฎีอ้างอิงส�ำหรับการ
สร้างแบบจ�ำลองนี้ เพื่อศึกษาพฤติกรรมของการไหลของอากาศโดยมีปริมาณในสมการที่ (4) ถึง (6) เป็น
สมการหลักในการใช้อา้ งอิง โดยการทดลองศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสัมประสิทธิก์ ารฉุด กับ เลข
เรย์โนลด์ ดังแสดงในรูปที่ 3 ซึ่งเป็นกราฟความสัมพันธ์ระหว่างสัมประสิทธิ์การฉุด กับ เลขเรย์โนลด์ของ
การทดลองศึกษาพฤติกรรมของการไหลของอากาศผ่านทรงกระบอกตันในอุโมงค์ลม ทีม่ เี ส้นผ่านศูนย์กลาง
ขนาดต่าง ๆ และใช้เปรียบเทียบกับการทดลองสร้างแบบจ�ำลอง และจากการทดลองสร้างแบบจ�ำลอง CFD
เพื่อศึกษาพฤติกรรมการไหลของอากาศผ่านทรงกระบอกกลม ที่มีเงื่อนไขเป็นแบบจ�ำลอง 2 มิติ พบว่าผล
ของการสร้างแบบจ�ำลอง ผลของการค�ำนวณตามทฤษฏี และผลของการทดลองทฤษฎีชน้ั ขอบเขต มีความ
สอดคล้องและเป็นไปในทางที่ใกล้เคียงกัน ดังแสดงในรูปที่ 4 ซึ่งในการทดลองสร้างแบบจ�ำลองได้ก�ำหนด
ช่วงค่าของเลขเรย์โนลด์ อยู่ที่ 101 ถึง 105 และก�ำหนดค่าความเร็วลมที่ทางเข้าของอุโมงค์ลม (Velocity
Phranakhon Rajabhat Research Journal (Science and Technology)
Vol.12 No.1 (January - June 2017) 45

inlet) เป็น 0.01, 0.03, 0.05, 0.1, 0.3, 0.5, 1, 3, 5, 10, 30 และ 50 m/s และส�ำหรับการใช้งานจริงของ
ค่าสัมประสิทธิ์การฉุดของอากาศที่ไหลผ่านทรงกระบอกตันผิวเรียบ จะมีค่าอยู่ที่ 1.2 และ เลขเรย์โนลด์
อยู่ที่ 105 (Bertin, 2002) และได้แสดงตัวอย่างผลการจ�ำลองในรูปแบบภาพกราฟิกในรูปที่ 5 และ 6 ซึ่ง
เป็นการแสดงรูปแบบการกระจายตัวของความเร็วอากาศ การกระจายตัวของเวคเตอร์ความเร็วของอากาศ
และการกระจายตัวของความดันที่เกิดขึ้น ณ ค่าความเร็วของอากาศที่ทางเข้าต่าง ๆ กัน
ตารางที่ 1 เปรียบเทียบตัวเลขเรย์โนลด์ (Re ) และสัมประสิทธิก์ ารฉุดทีค่ ำ� นวณในทางทฤษฎี (C Theory)
d D

กับสัมประสิทธิก์ ารฉุดจากผลของแบบจ�ำลอง CFD (C CFD) ทีค่ วามเร็วของอากาศต่าง ๆ ณ ทางเข้าของ


D

แบบจ�ำลองอุโมงค์ลม
velocity inlet (m/s) Red CD Theory CD CFD

0.01 1.57E+01 2.59 3.88


0.03 4.72E+01 1.77 3.15
0.05 7.87E+01 1.54 2.86
0.1 1.57E+02 1.34 2.70
0.3 4.72E+02 1.16 2.41
0.5 7.87E+02 1.12 2.47
1 1.57E+03 1.07 2.12
3 4.72E+03 1.04 1.41
5 7.87E+03 1.03 1.05
10 1.57E+04 1.02 1.75
30 4.72E+04 1.01 1.76
50 7.87E+04 1.01 1.68

ผลการทดลอง
จากการสร้างแบบจ�ำลอง CFD เพื่อศึกษาพฤติกรรมการไหลของอากาศผ่านทรงกระบอกกลม
ที่มีเงื่อนไขเป็นแบบจ�ำลอง 2 มิติ พบว่าผลของการสร้างแบบจ�ำลอง ผลของการค�ำนวณตามทฤษฏี และ
ผลของการทดลองทฤษฎีชั้นขอบเขต มีความสอดคล้องและเป็นไปในทางที่ใกล้เคียงกัน ดังแสดงในรูปที่
3 และรูปที่ 4 และสามารถเปรียบเทียบผลการทดลองได้ดังตารางที่ 1 ซึ่งในการทดลองจะเพิ่มความเร็ว
อากาศที่ทางเข้ามากขึ้น คือ 0.01, 0.03, 0.05, 0.1, 0.3, 0.5, 1, 3, 5, 10, 30 และ 50 m/s จะเห็นได้ว่าที่
ความเร็วอากาศขาเข้าที่ 0.1 m/s และ 1 m/s รูปแบบการไหลของอากาศ และรูปแบบของเวคเตอร์การ
ไหลของอากาศจะมีลกั ษณะหมุนวน (Vortex) เนือ่ งจากเงือ่ นไขค่าของเลขเรย์โนลด์ ของการไหลของอากาศ
ที่อยู่ในช่วงของการเริ่มเปลี่ยนแปลงจากการไหลแบบราบเรียบไปเป็นการไหลแบบปั่นป่วน สอดคล้องกับ
ตัวอย่างในรูปที่ 7 ซึ่งเป็นรูปแบบการกระจายตัวของความดันที่ความเร็วอากาศขาเข้าที่ 0.1 m/s และ
วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
46 ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2560)

1 m/s ในบริเวณอากาศหมุนวนจะมีค่าความดันที่ต�่าเมื่อเทียบกับบริเวณข้างเคียง โดยในการทดลองสร้าง


แบบจ�าลองได้ก�าหนดช่วงค่าของเลขเรย์โนลด์ อยู่ที่ 101 ถึง 105 และค่าสัมประสิทธิ์การฉุด ของอากาศที่
ไหลผ่านทรงกระบอกตันผิวเรียบ ที่ได้จากการทดลองสร้างแบบจ�าลอง CFD จะมีค่าอยู่ในช่วง 1.68 ถึง
3.88 และค่าสัมประสิทธิ์การฉุด เฉลี่ยโดยการทดลองสร้างแบบจ�าลอง CFD ในช่วงค่าของเลขเรย์โนลด์ ที่
103 ถึง 105 จะมีค่า 1.62 และค่าสัมประสิทธิ์การฉุด เฉลี่ยโดยการค�านวณตามทฤษฎี ในช่วงค่าของเลข
เรย์โนลด์ ที่ 103 ถึง 105 จะมีค่า 1.03 และส�าหรับการใช้งานจริงของค่าสัมประสิทธิ์การฉุด ของอากาศที่
ไหลผ่านทรงกระบอกตันผิวเรียบ จะมีค่าอยู่ที่ 1.2 และ เลขเรย์โนลด์ อยู่ที่ 105 (Bertin, 2002)

รูปที่ 3 ผลการทดลองของการไหลของอากาศผ่านทรงกระบอกตันจากทฤษฎีชั้นขอบเขต (Boundary –


Layer Theory) กับสัมประสิทธิ์การฉุด (C ) และตัวเลขเรย์โนลด์ (Re ) ต่าง ๆ (Schlichting, 1979)
D d

รูปที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างสัมประสิทธิ์การฉุด (C ) ของอากาศที่ไหลผ่านทรงกระบอกตันเปรียบเทียบ


D

กับเลขเรย์โนลด์ (Re ) ที่ได้จากแบบจ�าลอง CFD ที่เปรียบเทียบกับผลการทดลองของทฤษฎีชั้นขอบเขต


d

(Boundary – Layer Theory) และทฤษฎีการไหลท่วมวัตถุทรงกระบอกตัน ในสมการที่ 4 ถึง 6 โดยที่


คือผลของเลขเรย์โนลด์ จากการทดลองตามทฤษฎีชั้นขอบเขต (Boundary–Layer Theory) (Schlichting,
1979), คือผลของเลขเรย์โนลด์ จากการทดลองจากทฤษฎีการไหลท่วมวัตถุทรงกระบอกตัน และ คือ
ผลของเลขเรย์โนลด์ จากแบบจ�าลอง CFD ของอากาศที่ไหลผ่านทรงกระบอกตัน
Phranakhon Rajabhat Research Journal (Science and Technology)
Vol.12 No.1 (January - June 2017) 47

สรุปและวิจารณ์ผล
ในงานวิจยั นีจ้ ะมีการสร้างแบบจ�ำลองทางพลศาสตร์ของไหลเชิงค�ำนวณแบบ 2 มิติ เพือ่ ท�ำนาย
พฤติกรรมการไหลของอากาศผ่านแบบจ�ำลองของวัตถุทรงกระบอกตัน โดยมีการสร้างเงือ่ นไขขอบเขตของ
แบบจ�ำลองทรงกระบอกและแบบจ�ำลองอุโมงค์ลมซึง่ แสดงข้อมูลในรูปที่ 2 และได้กำ� หนดรูปแบบของแบบ
จ�ำลองการไหล (Flow model) เป็นแบบปั่นป่วน (k – epsilon) และมีเงื่อนไขสถานการณ์จ�ำลองของการ
ค�ำนวณทางพลศาสตร์ของไหลเป็นการจ�ำลองแบบคงตัว (Steady State) โดยผลของพฤติกรรมการไหลของ
อากาศผ่านทรงกระบอกตัน แบบ 2 มิติ ด้วยวิธีการทางพลศาสตร์ของไหลเชิงค�ำนวณได้แสดงผลของการ
ทดลองในตารางที่ 1 และในรูปที่ 4 ในส่วนของค่าสัมประสิทธิ์การฉุดที่ค�ำนวณในทางทฤษฎี (C Theory) D

กับสัมประสิทธิก์ ารฉุดจากผลของแบบจ�ำลอง CFD (C CFD) ทีค่ วามเร็วลมทีท่ างเข้าอุโมงค์ลมขนาดต่าง ๆ


D

ปรากฏว่าในค่าสัมประสิทธิ์การฉุด (C ) เหล่านั้น มีค่าที่ใกล้เคียงกับที่ตัวเลขเรย์โนลด์ (Re ) ประมาณ


D d

ระหว่าง 4.00 × 103 ถึง 7.00 × 103 ซึ่งอยู่ในช่วงของความเร็วกระแสลมขาเข้าอุโมงค์ลมระหว่าง 3 ถึง 5


m/s โดยมีลักษณะของพฤติกรรมการไหลของอากาศอยู่ในช่วงขอบเขตการไหลแบบปั่นป่วน (Turbulent

flow) และเป็นการไหลแบบปั่นป่วนที่ไม่สูงมาก ดังนั้น จากผลการวิเคราะห์แบบจ�ำลองนี้จึงสามารถน�ำ

ข้อมูลที่ได้นี้ไปใช้วิเคราะห์เพื่อก�ำหนดค่าความเร็วและอัตราการไหลของอากาศ ณ ต�ำแหน่งขาเข้าอุโมงค์
ลมของเครื่องท�ำความเย็นแบบระเหย (Evaporative cooling) ซึ่งจะถูกน�ำไปใช้ในงานวิจัยต่อไป เพื่อที่จะ
ได้ศึกษาประสิทธิภาพของระบบการท�ำความเย็นแบบระเหยโดยใช้น�้ำ และศึกษาผลของสมรรถนะของ
การดูดความชื้นของแท่งดูดความชื้นที่มีลักษณะรูปร่างเป็นทรงกระบอกตันเช่นเดียวกับตัวงานในงานวิจัย
นี้ต่อไป
จากประสบการณ์การทดลองและวิจยั ทางด้านพลศาสตร์ของไหลเชิงค�ำนวณ ซึง่ ผูว้ จิ ยั จะขอแสดง
ความคิดเห็นว่า ในวิจัยค้นคว้าด้วยการสร้างแบบจ�ำลองทางพลศาสตร์ของไหลเชิงค�ำนวณ เพื่อการวิจัย
ค้นหาผลเฉลยหรือค�ำตอบของปริมาณทางฟิสกิ ส์ตา่ ง ๆ และการศึกษาพฤติกรรมของของไหลภายใต้เงือ่ นไข
ขอบเขตใด ๆ ของการแก้ปญ ั หาทางพลศาสตร์ของไหลเชิงค�ำนวณ ทีม่ กั จะต้องอาศัยวิธกี ารทางระเบียบวิธี
เชิงตัวเลขผสมผสานกับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อการหาผลเฉลยนั้น ผู้วิจัยจะต้องทราบว่าผลเฉลยที่ได้นั้น
จะเป็นค่าโดยประมาณ โดยสามารถตรวจสอบผลเฉลยหรือค�ำตอบที่ได้จากกระบวนการทางพลศาสตร์
ของไหลเชิงค�ำนวณด้วยการเปรียบเทียบความสอดคล้องระหว่างผลเฉลยหรือค่าของค�ำตอบที่ได้ ซึ่งจะ
มีความใกล้เคียงหรือแตกต่างกันทางพฤติกรรมและปริมาณทางฟิสิกส์ต่าง ๆ ด้วยผลเฉลยที่ได้จากการ
ค�ำนวณตามทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้องหรือจากผลการทดลองจริงในสภาวะเงือ่ นไขขอบเขตเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน
มากทีส่ ดุ และนอกจากนัน้ ผูท้ ที่ ำ� การวิเคราะห์จำ� เป็นต้องมีองค์ความรูค้ วามเข้าใจในวิทยาศาสตร์กายภาพ
ในหลายสาขา มีความเข้าใจในระบบเชิงอุพันธ์ย่อย มีความรู้กระบวนการของระเบียบวิธีเชิงตัวเลขและ
ระเบียบวิธไี ฟไนต์อลิ เิ มนต์ มีความเข้าใจในระบบการท�ำงานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสุดท้ายจะต้องมี
วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
48 ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2560)

ประสบการณ์การท�ำงานวิจยั ทางพลศาสตร์ของไหลเชิงการค�ำนวณ หรือ CFD อันพอสมควร (Techaampai,


2013) เหล่านี้จะช่วยในการวิเคราะห์และสามารถค้นหาค�ำตอบของปัญหาได้รวดเร็วและแม่นย�ำยิ่งขึ้น

(a) (b)

Velocity inlet [m/s] Velocity inlet [m/s]


(c) (d)

Velocity inlet [m/s] Velocity inlet [m/s]


(e) (f)

Velocity inlet [m/s] Velocity inlet [m/s]


รูปที่ 5 รูปแบบการกระจายตัวของความเร็วลมของผลการสร้างแบบจ�ำลอง CFD ที่ความเร็วลมที่ทาง
เข้าอุโมงค์ลมต่าง ๆ กัน (a) ที่ความเร็วลมที่ทางเข้าอุโมงค์ลม 0.01 m/s, (b) ที่ความเร็วลมที่ทางเข้า
อุโมงค์ลม 0.1 m/s, (c) ที่ความเร็วลมที่ทางเข้าอุโมงค์ลม 1 m/s, (d) ที่ความเร็วลมที่ทางเข้าอุโมงค์ลม
10 m/s, (e) ที่ความเร็วลมที่ทางเข้าอุโมงค์ลม 30 m/s และ (f) ที่ความเร็วลมที่ทางเข้าอุโมงค์ลม 50 m/s
Phranakhon Rajabhat Research Journal (Science and Technology)
Vol.12 No.1 (January - June 2017) 49

(a) (b)

Static pressure [Pa] Static pressure [Pa]


(c) (d)

Static pressure [Pa] Static pressure [Pa]


(e) (f)

Static pressure [Pa] Static pressure [Pa]

รูปที่ 6 รูปแบบการกระจายตัวของความดันของผลการสร้างแบบจ�ำลอง CFD ที่ความเร็วลมที่ทางเข้า


อุโมงค์ลมต่าง ๆ กัน (a) ที่ความเร็วลมที่ทางเข้าอุโมงค์ลม 0.01 m/s, (b) ที่ความเร็วลมที่ทางเข้าอุโมงค์
ลม 0.1 m/s, (c) ที่ความเร็วลมที่ทางเข้าอุโมงค์ลม 1 m/s, (d) ที่ความเร็วลมที่ทางเข้าอุโมงค์ลม 10 m/s,
(e) ที่ความเร็วลมที่ทางเข้าอุโมงค์ลม 30 m/s และ (f) ที่ความเร็วลมที่ทางเข้าอุโมงค์ลม 50 m/s
กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบคุณ คณะพลังงานสิง่ แวดล้อมและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทีใ่ ห้
ความอนุเคราะห์โปรแกรมสร้างแบบจ�ำลองพลศาสตร์ของไหลเชิงค�ำนวณ (CFD) และมหาวิทยาลัยราชภัฏ
อุตรดิตถ์ที่เอื้อเฟื้อสถานที่ในการวิจัย
วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
50 ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2560)

REFERENCES
Bell, J.H. & Mehta, R.D. (1989). Boundary-Layer Predictions for Small Low-Speed Contractions.
AIAA Joural, 27(3), 372-374.
Benitz, M.A., Carlson, D.W., Seyed-Aghazadeh, B., Modarres-Sadeghi, Y., Lackner, M.A. &
Schmidt, D.P. (2016). CFD simulations and experimental measurements of flow past
free-surface piercing, finite length cylinders with varying aspect ratios. Computers and
Fluids, 136, 247–259.
Bertin, J.J. (2002). Aerodynamics for Engineers. 4th Edition.. Department of Aerodynamics.
New Jersey: United States Air Force Academy Prentice Hall.
Kumar, A., Joshi, J.B., Nayak, A.K. & Vijayan, P.K. (2014). 3D CFD simulation of air cooled
condenser-I: Natural convection over a circular cylinder. International Journal of Heat
and Mass Transfer, 78. 1265–1283.
Piroonkaset, M. (2004). Fluid Dynamics. 2nd Edition. Bangkok: Vitayapat Company Limited. (In
Thai)
Schlichting, H. (1979). Boundary–Layer Theory. Germany: Engineering University of Braunschweig.
Sen, U., Mukhopadhyay, A. & Sen, S. (2017). Effects of fluid injection on dynamics of flow past a
circular cylinder. European Journal of Mechanics B/Fluids, 61. 187–199
Tawonwan, T. (2007). A Study of Air Flow Behavior Through the Solar Chimney by Computational
Fluid Dynamics (CFD) Technique. (Master’s Thesis). King Mongkut’s University of
Technology Thonburi. Bangkok, Thailand. (In Thai)
Tawonwan, T. & Wansao, C. (2016). A Study and Comparison of Dehumidification of Air with
Silica Gel and Charcoal in Evaporative Cooling System. 12th Conference on Energy
Network of Thailand (E-nett12th), (1298-1306) Phitsanulok, Thailand. (In Thai)
Tawonwan, T. & Wansao, C. (2016). A Study of Behavior of Air Flow through Circular Cylinder
Rows in Low speed Wind Tunnel with Computational Fluid Dynamics technique. Rmutsb
Academic Journal, 4(1), 35-45. (In Thai)
Techaampai, P. (2013). Computational Fluid Dynamics by Finite Element and Finite Volume
Methods. 2nd Edition. Bangkok: Chula Press. (In Thai)
Versteeg, H. K. & Malalasekera, W. (1995). An introduction to Computational Fluid Dynamics the
finite volume method. Malaysia: Pearson Prentice Hall.
Witte, A. & Polifke, W. (2017). Dynamics of unsteady heat transfer in pulsating flow across
a cylinder. International Journal of Heat and Mass Transfer, 109. 1111–1131.

You might also like