You are on page 1of 5

การสังเคราะห์ อุปกรณ์ แพสซีฟอันดับย่ อยโดยใช้ โอทีเอ-ซี

Realization of Fractance Device based on OTA-C


พีรดนย์ เพียรพิชยพงศ์ และ พิพฒ
ั น์ พรหมมี
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
60601064@kmitl.ac.th, pipat.pr@kmitl.ac.th
บทคัดย่ อ มาก โดยส่ วนใหญ่จะนิยมใช้อนุพนั ธ์อนั ดับย่อย (Fractional Derivative)
บทความนี้ จะนำเสนอการสังเคราะห์อุปกรณ์อนั ดับย่อย จากฟังก์ชนั ของ Caputo [6] ซึ่ งเขียนเป็ นสมการได้ดงั ต่อไปนี้
การประมาณค่าการกระจายเศษส่ วนต่อเนื่อง ซึ่ งทำให้สามารถประมาณ 1 d t

ค่าอุปกรณ์อนั ดับย่อยได้ดว้ ยโครงข่ายแพสซี ฟ RC ซึ่ งมีเฟสคงที่เสมือน aDta f (t ) =


G(1 - a ) dt ò a
(t - t )f ( t )d t
(1)
กับเป็ นอุปกรณ์แพสซี ฟตัวหนึ่ง แต่เนื่องจากโครงข่ายแพสซี ฟต้นแบบดัง
กล่าว มีขอ้ จำกัดในด้านการใช้งานและการปรับค่าความถี่ที่ใช้งาน ใน โดยที่ คือตัวที่แสดงคุณสมบัติของปริ มาตรที่เป็ นเศษส่ วน จะมีคา่ อยูใ่ น
α

บทความวิจยั นี้ จึงได้นำ เสนอการสังเคราะห์อุปกรณ์อนั ดับย่อย โดยใช้ ช่วง -1 < < 1 ส่ วน a และ t นั้นเป็ นตัวที่แสดงขอบเขตของสมการ และ
α

โครงข่า ย RC ต้น แบบ โดยการประมาณค่าอยูใ่ นรู ปฟังก์ช นั ถ่ายโอน Г(.) เป็ นฟั งก์ชน
ั แกมมาของออยเลอร์ที่เป็ นลักษณะทัว่ ไปของแฟกทอเรี
และ แปลงกลับเป็ นอุปกรณ์อนั ดับย่อย โดยยกตัวอย่างการสังเคราะห์ ยลฟังก์ชนั (Factorial Function) และ D คือฟังก์ชนั อนุพนั ธ์อนั ดับย่อย
(Fractional Derivative)
ฟังก์ชนั อันดับย่อยเป็ น 0.507 และ 0.766 โดยวงจรที่ออกแบบนั้นจะใช้
ในการสร้างแบบจำลองทางชีวภาพนั้น บทความส่ วนใหญ่จะมุ่งเน้น
เพียงโอทีเอเป็ นอุปกรณ์แอกทีฟ และ ตัวเก็บประจุเท่านั้น ซึ่งอุปกรณ์
ไปที่การใช้การประมาณค่าในรู ปแบบต่างๆ เช่น Oustaloup [7] วิธีนิว
อันดับย่อยที่สงั เคราะห์ข้ึนนั้น สามารถปรับย่านความถี่ที่ใช้งานได้ทาง
ต นั (Newton Method) [8] วิธ ีก ารขยายแบบทศนิย มอย า่ งต่อ เนื่อ ง
อิเล็กทรอนิกส์ ผลการจำลองการทำงาน และ ประสิ ทธิภาพของวงจรที่
(Continued Fraction Expansion: CFE) [9] มาสร้า งอุป กรณ์ที่มีเ ฟสคงที่
นำเสนอโดยใช้ PSpice พบว่าสามารถทำงานได้สอดคล้องกับทฤษฎีเป็ น
(Constant Phase Element: CPE) โดยสร้า งจากโครงข่า ยแพสซี ฟ RC
อย่างดี และ สามารถปรับย่านความความถี่ได้ทางอิเล็กทรอนิกส์
โดยอุปกรณ์ที่สร้างขึ้นนั้นจะมีเฟสคงที่เสมือนกับเป็ นอุปกรณ์แพสซี ฟตัว
คำสำคัญ: อุปกรณ์อนั ดับย่อย กระจายเศษส่ วนต่อเนื่อง โครงข่ายแพสซี ฟ หนึ่ง แต่มีข อ้ จำกัด ด้า นการใช้ง านและการปรับ ค่า ความถี่ หรื อ บาง
โอทีเอ ปรับค่าได้ทางอิเล็กทรอนิกส์ บทความมีการใช้วงจรโครงข่ายแพสซีฟ RC มาต่อร่ วมกับอุปกรณ์แอก
ทีฟ [10] แต่ไม่ได้สามารถปรับ ค่าอุปกรณ์ CPE หรื อ ย่านความถี่ การ
Abstract
This article presents a synthesis of a fractance device using the ทำงานได้
continue fraction expansion method. The approximation is resulting in บทความนี้ จ ะนำเสนอการสัง เคราะห์อุป กรณ์อนั ดับย่อยเฟสคงที่
a RC passive network with as a constant phase passive element. โดยใช้คณิ ตศาสตร์ การประมาณค่าการกระจายเศษส่ วนต่อเนื่อง (CFE)
Regarding the limitation of RC prototype, it cannot adjust the operation และ ใช้โอทีเอเป็ นอุปกรณ์แอกทีฟ และ ตัวเก็บประจุ (C) แบบต่อกราว
frequency. This paper therefore proposed a synthesis of fractional ด์ ในการสังเคราะห์วงจร เพื่อให้วงจรที่ออกแบบสามารถปรับค่าอุปกรณ์
transfer function based on continue fraction expansion method and RC (CPE) และ ย่านความถี่ในการทำงานได้ทางอิเล็กทรอนิ กส์

prototype. The fractional device order of 0.507 and 0.766 are given for
2. ทฤษฎีทเี่ กีย
่ วข้อง
providing the circuit. The OTAs and capacitors are deployed in the
การสร้างองค์ประกอบอันดับย่อย (Fractional order Element, FOE)
circuit realization with electronic tunability feature. The agreeable
จะสร้างโดยใช้สมการที่ (1) มาแปลงให้อยูใ่ นรู ปของลาปาซ (Laplace
results of proposed circuit are confirmed and compared with the theory
Transform) ได้เป็ น
by using PSpice.
L {aD a f (t )} = S a F (s ) (2)
Keywords: Fractance Device, Continue fraction expansion, Passive ได้เป็ น
network, OTA, Electronic tunability 1
F (s ) = (3)
sa
1. บทนำ แต่รูปแบบของสมการที่ (3) นั้นไม่สามารถสร้า งจริ ง ได้ จึงต้อ ง
การคำนวณอันดับที่เป็ นทศนิยม (Fractional order Mathematic) คือ ใช้.หลักการขยายแบบทศนิยมอย่างต่อเนื่อง (CFE) ในการประมาณค่า
ทฤษฎีแคลคูลสั ที่ถูกคนพบมานานกว่า 300 ปี เพื่อใช้ในการหาอนุพนั ธ์ s a จะใช้ขยายฟังก์ชนั (1 - x ) โดยวิธีการขยายแบบทศนิยมอย่าง
a

(Differentiations) และ การหาปริ พ น ั ธ์ (Integrations) ที่อ นั ดับ (order) ต่อเนื่องดังนี้


ไม่เป็ นจำนวนเต็ม โดยแนวคิดนี้ ได้รับความสนใจจากนักคณิ ตศาสตร์ (1  x ) 
1
nx
1
อย่างมาก แต่กย็ งั ไม่สามารถใช้งานได้อย่างเป็ นรู ปธรรม และ ตั้งแต่ป ี 1
(1  n)
12
(1  n)
1990 จนถึงปั จจุบน ั การคำนวณอันดับที่เป็ นทศนิ ยมกลายเป็ นสาขาที่เกิด 23
1
2(2  n) (4)
ขึ้นใหม่ และ ถูกนำไปใช้อย่างแพร่ หลาย เช่น ตัวควบคุม (Controllers) 1 34
2(2  n)
[1] การจำลองแบบจำลองเนื้ อ เยือ ่ ทางชีวภาพ (Accurate Modeling of 1 45
3(3  n)
็ ประจุอ นั ด บั ย อ่ ย (Fractional order
Biological Tissues) [2] ต วั เก บ 1 56
1  ...
Capacitors) [3] ตัวกรองความถี่ อน ั ดับย่อย (Fractional Filters) [4] วงจร แทนสมการ x = s - 1 ลงในสมการ (4) โดยใช้ค ่า = 0.507 จะได้
กำเนิด สัญญาณอัน ดับ ย่อ ย (Fractional Oscillators) [5] และ อื่น ๆ อีก สมการที่มีความสัมพันธ์ดงั นี้
มากมาย
แบบจำลองทางชีวภาพ จัด ว่า เป็ น เรื่ อ งที่มีความท้า ทายเรื่ อ งหนึ่ง
ทำให้มีบทความวิจยั เกี่ยวกับ การสร้างแบบจำลองทางชีวภาพเป็ นจำนวน
æs 5 + 55.83s 4 + 337.19s 3 + ö÷ Rn () Cn ( F ) Rn () Cn ( F )
çç ÷
ç474.31s 2 + 170.21s + 11.42÷ ÷
1 çè ø÷ 0 0.087566 - 0.017473 -
= (5)
s 0.507 æ11.42s 5 + 170.21s 4 + 474.31s 3 ö÷ 1 0.19446 0.4464 0.076229 1.4493
çç ÷
çç+ 337.19s 2 + 55.839s + 1 ÷
÷ 2 0.25726 1.6129 0.15038 3.2258
çè ø÷
3 0.42667 3.1250 0.35297 4.3478
นำสมการ (5) มาจัดรู ปโดยใช้การกระจายเศษส่ วนย่อยจะได้ 4 1.0486 4.5455 1.3891 4.3478
5 9.4999 5.2632 55.233 2.0833
1 1 2.24 0.62
» + +
s 0.507 11.42 s + 11.52 s + 2.41
0.32 0.22 0.19
(6) ค่าความต้านทาน และค่าตัวเก็บประจุ ในตารางที่ 1 สมมารถนำไปใช้
+ + +
s + 0.75 s + 0.21 s + 0.02 ออกแบบเป็ นอุปกรณ์อนั ดับย่อย แบบแพสซี ฟได้
สำหรับการออกแบบวงจรอัน ดับ ย่อ ย แบบแอคทีฟ นั้น จะใช้
ทำในรู ปแบบเดียวกันกับ α = 0.766 จะได้สมการดังนี้ :
OTA กับตัวเก็บประจุต่อลงกราว การออกแบบจะทำการออกแบบวงจร
æs 5 + 123.17s 4 + 951.66s 3 ö ในโหมดกระแส แสดงในรู ปที่ 2 และมีฟังก์ชนั การถ่ายโอนแสดงดังนี้
çç ÷
÷
çç+ 1604.22s 2 + 686.06s + 57.23÷ æg g ö ÷ æ ö÷
çè ÷
÷ çç m 2 m 3 ÷ çç gm 4gm 5 ÷
1 ø æg ö çç g C ÷ ÷ çç g C ÷ ÷
= (7) ÷ mA 2 ÷
s 0.766 æ57.23s 5 + 686.06s 4 + 1604.22s 3 ö
çç ÷ H (s ) = ççç m 1 ÷÷
÷+ çç m A 1 ÷ ÷+ ççç ÷
÷
çç+ 951.66s 2 + 123.17s + 1
÷
÷ èçgm A ÷
ø ÷
çççs + gm 2 ÷
÷ ç gm 4 ÷÷
÷
çè ÷
÷ çèç ÷ ç ç s + ÷
ø ÷
C 1 ø èç C 2 ø÷
æg g ÷ ö æg g ö æ (10)
çç m 6 m 7 ÷ çç m 8 m 9 ÷ g g ö
÷ ç ÷ çç m 10 m 11 ÷
÷ ÷
÷
นำสมการ (7) มาจัดรู ปโดยใช้การกระจายเศษส่ วนย่อยจะได้ ççç gm AC 3 ÷ ç g C
÷ ç mA 4 ÷
÷
÷ ç
÷+ ç m AC 5 ÷
ç g ÷
÷
+ç ÷+ç ÷ ç ÷
çç g ÷ ÷ ç ÷ ç ÷
ççs + m 6 ÷ çs + gm 8 ÷
ç ÷ çs + gm 10 ÷
ç ÷
÷ ç
÷ ÷ ç
÷ ÷
÷
1 1 0.69 0.31 èç C 3 ø çè C 4 ø èç C5 ø
» + + gm1
s 0.766 57.23 s + 9.11 s + 2.06 (8)
0.23 0.23 0.48
+ + +
s + 0.64 s + 0.17 s + 0.0087
gm2
gm3

สมการที่ (6) และ (8) เป็ นฟัง ก์ ชัน ค่ า ประมาณที่ส ามารถนำ ไปใช้
ออกแบบเป็ นอุปกรณ์ อนั ดับย่ อยแบบแอกทีฟ หรือแพสซีฟก็ได้ บทความ Iin gmA
C1
gm4
นีจ้ ะนำเสนอการออกแบบอุปกรณ์อนั ดับย่อย แบบแพสซี ฟ ในรู ปที่ 1 จะ gm5 Iout

มีสมการความต้านทานดังนี้ C2
1 C1 1 C2 1 C5 gm6
Z (s ) = R 0 + + + ... + gm7
1 1 1 (9)
s+ s+ s+
R 1C 1 R 2C 2 R 5C 5
C3
gm8
gm9
R1 R2 R3 R4 R5
R0
C4
gm10
gm11
C1 C2 C3 C4 C5

C5
CPE

รู ปที่ 2 ฟังก์ชนั ถ่ายโอนอันดับย่อยแบบแอกทีฟที่สร้างจากโอทีเอ


รู ปที่ 1 โครงข่ายแพสซีฟ RC ที่เป็ นอันดับที่ 5 ประมาณเป็ นอุปกรณ์อนั ดับย่อย
เฟสคงที่ (CPE) เทคนิคการปรับค่า (Scaling) ถูกนำมาใช้กบั วงจรเพื่อให้ได้ค่า
และ จะสังเคราะห์อุปกรณ์แพสซี ฟอันดับย่อยโดยใช้โอทีเอ-ซี โดยจะนำ ความนำถ่ายโอน (Transconductance: g ) และค่าตัวเก็บประจุ ที่เหมาะ
m

เสนอในหัวข้อถัดไป สมในการออกแบบในความถี่ที่เลือก โดยใช้สมการต่อไปนี้


g m ( old ) Cold
  km (11)
g m ( new) Cnew
3. การสั งเคราะห์ อุปกรณ์ อนั ดับย่ อยด้ วย OTA-C
Cnew
จากที่กล่าวไปในหัวข้อที่ 2 อุปกรณ์อนั ดับย่อยเฟสคงที่ (CPE) Cn  (12)
kf
สามารถสังเคราะห์ได้โดยใช้การประมาณค่า โดยนำสมการที่ (6) กับ (9)
นำมาหาค่าประมาณของตัวต้านทานและตัวเก็บประจุ ที่อนั ดับเท่ากับ โดยที่
α =0.507 และ =0.766 แสดงในดังตารางที่ 1
1 α2
gm (new ) ,C new คือ ค่าความนำถ่ายโอน ค่าตัวเก็บประจุที่ถกู ปรับค่าไป
ตารางที่ 1. ค่าตัวต้านทาน และ ค่าตัวเก็บประจุของอุปกรณ์ที่มีฟังก์ชนั เป็ น
และ gm (old ),C old คือ ค่าความนำถ่ายโอน ค่าตัวเก็บประจุเริ่ มต้น
g m ( old ) Cold
เศษส่ วน (CPE) แบบ Normalized km   คือตัวประกอบในการปรับแมกนิจูด
n CPE(0.507) CPE(0.766) g m ( new) Cnew
kf 
Cnew ในการจำลองการทำงานจะใช้ CMOS OTA อย่างง่าย [11] โดยใช้
คือ ตัวประกอบการในปรับความถี่
Cn ไฟเลี้ยง  1V และ ถูก ออกแบบให้ทำ งานในช่วง 10kHz ดังแสดงใน
สำหรับฟังก์ชนั การถ่ายโอนใหม่ที่ผา่ นการปรับค่า โดยใช้ค่า ตารางที่ 1 และ 2 เนื่องด้วยโอทีเอแต่ละตัวจะทำหน้าที่แตกต่างกัน โดย
km = 4.961 ´ 10- 6แ ล ะ k f = 10 ´ 103 ที่ wnew = 2p ´ 104 ข อ ง โอทีเอบางตัวจะถูกกำหนดให้เป็ นค่าคงที่ ซึ่ งกระแสไบอัสของโอทีเอตัว
= 0.507 และ = 0.766 ฟังก์ชนั การถ่ายโอนโดยประมาณใหม่เขียนได้
α
ที่ A, 1, 3, 5, 7, 9 และ 11 มีค ่า เป็ น I =1A, I = 1A, I =2A,
BA B1 B3

ดังนี้ I =3A I =5A I =12A และ I =107A ตามลำ ดับ เพื่อ ความ
B5 B7 B9 B11

กระชับในหัวข้อนี้ จะแสดงผลการทำงานของฟังก์ชนั อันดับย่อยแบบแอก


H (s a ) =
1
+
1.41 ´ 105
+
3.89 ´ 104 ทีฟ โดยเทียบกับการประมาณค่าฟังก์ชนั และ ผลทางทฤษฎี ที่อนั ดับ
11.42 s + (7.23 ´ 10 ) s + (1.51 ´ 105 )
5
(13) เท่ากับ 0.507 เท่านั้น
2.01 ´ 104 1.38 ´ 104 1.19 ´ 104
+ 4
+ 4
+
s + (4.71 ´ 10 ) s + (1.32 ´ 10 ) s + (1.26 ´ 103 )
เมื่อนำการจำลองการทำงานของวงจรพบว่าผลทางแมกนิจูด และ
1 4.33 ´ 104 1.95 ´ 105 เฟสของ 0.507 ได้ผ ลดัง แสดงในรู ป 4 และ 5 พบว่า ว่า ผลที่ไ ด้จ าก
H (s a ) = + +
57.23 s + (5.72 ´ 105 ) s + (1.29 ´ 105 )
(14) ฟังก์ชนั อันดับย่อยแบบแอกทีฟ ใกล้เคียงกับการประมาณค่าฟังก์ชนั ซึ่ง
1.44 ´ 105 1.44 ´ 104 3.01 ´ 104
+ + +
s + (4.02 ´ 104 ) s + (1.07 ´ 10 4 ) s + (5.43 ´ 102 )
มีความชันทางขนาดประมาณ -10dB/decade และ เฟสเท่ากับ -45 องศา
สอดคล้อ งกับ ผลทางทฤษฎี แต่อ ย่า งไรก็ต ามอาจมีบ างส่ ว นที่ค ลาด
นำสมการที่ (12) และ (13) มาเทียบกับสมการที่ (9) เพื่อหา เคลื่อนเล็กน้อย เนื่องจากค่าความนำของโอทีเอนั้นมีความจำกัดในการ
ค่าความนำถ่ายโอน และค่าตัวเก็บประจุ ที่ความถี่ที่เลือกไว้ คือ 10 ปรับค่า แต่โดยรวมแล้วผลที่ได้น้ นั ยังสามารถใช้งานได้ และ พบว่าวงจร
kHz จะได้ค่าความนำถ่ายโอนแสดงในตารางที่ 2. และ ค่าตัวเก็บประจุ ที่นำ เสนอนั้น สามารถทำงานเชิง ขนาดได้ในช่วงความถี่ 1Hz-10kHz
แสดงในตารางที่ 3. และ มีเฟสคงที่ต้ งั แต่ช่วง 10Hz-1kHz
40

Theory
ตารางที่ 2 ค่าความนำในวงจรแอกทีฟที่สร้างจากโอทีเอที่ความถี่ 10 kHz 20 Approx.
Magnitude

ค่าความนำถ่ายโอนของโอทีเอที่ใช้ในสังเคราะห์ g (s) m OTA-C

gm(n) =0.507 =0.766 gm(n) =0.507 =0.766 0


gm(A) 57.61 86.23 gm(6) 1491 1491
gm(1) 4.961 1.512 gm(7) 24.59 30.92
-20
gm(2) 1491 1491 gm(8) 1491 1491
gm(3) 11.19 6.556 gm(9) 60.47 116.65
gm(4) 1491 1491 gm(10) 1491 1491 -40
100mHz 1.0Hz 10Hz 100Hz 1.0KHz 10KHz 100KHz
gm(5) 17.39 12.92 gm(11) 547.5 4787.1
Frequency
รู ปที่ 4 การเปรี ยบเทียบแมกนิจูดของของฟังก์ชนั อันดับย่อยแบบแอกทีฟ การ
ตารางที่ 3 ค่าตัวเก็บประจุในวงจรแอกทีฟที่สร้างจากโอทีเอที่ความถี่ 10 kHz
ประมาณค่า และ ผลทางทฤษฎี ของ 0.507
ค่าตัวเก็บประจุที่ใช้ในการสังเคราะห์ C (nF) n 0d

n α = 0.507 α = 0.766
1 2.0632 2.5345 Theory
2 9.8775 11.208 Approx.
Phase

3 31.667 36.077 -20d

OTA-C
4 113.20 135.82
5 1187.5 2670.9
-40d

โดยค่าความนำถ่ายโอน (g ) และ ค่าตัวเก็บประจุจากตารางที่ 1


m

และ 2 ใช้สำหรับสร้างฟังก์ชนั ถ่ายโอนอันดับย่อยแบบแอกทีฟในรู ปที่ 1


-50d
100mHz 1.0Hz 10Hz 100Hz 1.0KHz 10KHz 100KHz

โดยเงื่อ นไขในการปรับ ค่า ความนำ ถ่า ยโอนแสดงดัง ในตารางที่ 1 Frequency

อุปกรณ์อนั ดับย่อยเฟสคงที่ (CPE) สามารถสร้างได้ไม่ยากโดยนำวงจร รู ปที่ 5 การเปรี ยบเทียบเฟสของฟังก์ชนั อันดับย่อยแบบแอกทีฟ การประมาณค่า


และ ผลทางทฤษฎี ของ 0.507
แปลงแรงดันเป็ นกระแสมาต่อกับวงจรรู ปที่ 2 ดังแสดงในรู ปที่ 3 [11]
I (s )
 V (s ) -
I (s )
รู ปที่ 6 และ 7 แสดงการปรับย่านความถี่ใช้งานของอุปกรณ์อนั ดับ
CP E ย่อยแบบแอกทีฟ ทำได้โดยปรับค่ากระแสไบอัส โอทีเอตัวที่ 2, 4, 6, 8
gm I (s )
Z (s ) 
1
I (s ) และ 10 ซึ่งทำหน้าที่เป็ นตัวควบคุมย่านความถี่ในการทำงาน ด้วยกระแส
gmH(s )
ไบอัสทุกตัวเท่ากับ 1A, 10A และ 100A จะพบว่าวงจรจะทำงานเป็ น
V (s )
H (s )   -
ฟัง ก์ช นั อัน ดับ ย่อ ย ได้ใ นช่วงความถี่ 100Hz, 1kHz และ 10kHz ตาม
ลำดับ และ พบว่ายังคงสภาพเป็ นการประมาณค่า ฟัง ก์ช นั อัน ดับ ย่อ ย
รู ปที่ 3 อุปกรณ์อนั ดับย่อยแบบแอกทีฟที่สร้างจากโอทีเอ สอดคล้องกับทฤษฎีได้เป็ นอย่างดี

4. ผลการจำลองการทำงาน
40 Approximation” Proc. of International Conference on Electronics,
Materials Engineering and Nano-Technology, 28-29 April 2017.
20 [10] B. Krishna and K. Reddy, “Active and passive realization of
fractance device of order 1/2,” Act. Passive Electron. Compon.,
Magnitude

0 Article ID 369421, 2008.


IB=1uA [11] E. Saising and P. Prommee, "Fully Tunable all-pass filter using
IB=10uA OTA and its application,” Proc. of 39th International Conference
-20 IB=100uA on Telecommunications and Signal Processing (TSP2016),
Vienna, Austria, 27-29 June, 2016
-40
100mHz 1.0Hz 10Hz 100Hz 1.0KHz 10KHz 100KHz

Frequency
รู ปที่ 6 แมกนิจูดของฟังก์ชนั อันดับย่อยแบบแอกทีฟเมื่อปรับกระแสไบอัส
0d
IB=1uA
-10d IB=10uA
IB=100uA
Phase

-20d

-30d

-40d

-50d
100mHz 1.0Hz 10Hz 100Hz 1.0KHz 10KHz 100KHz

Frequency
รู ปที่ 7 เฟสของฟังก์ชนั อันดับย่อยแบบแอกทีฟเมื่อปรับกระแสไบอัส
5. สรุป
อุปกรณ์อนั ดับย่อยเฟสคงที่ (CPE) สามารถสังเคราะห์ได้โดยใช้การ
ประมาณค่าฟังก์ชนั ซึ่ งด้วยหลักการดังกล่าวสามารถนำมาออกแบบด้วย
โครงข่าย RC แต่ยงั มีขอ้ เสี ยคือ ไม่สามารถปรับแต่งเงื่อนไขใดได้เลย
บทความนี้จึงได้นำเสนอการสังเคราะห์อุปกรณ์อนั ดับย่อยเฟสคงที่
(CPE) ด้วย OTA-C ทำให้ CPE ที่สงั เคราะห์ข้ ึนนั้น สามารถปรับค่าองค์
ประกอบต่างๆ เช่น ความถี่ และ อันดับได้ทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ งจากการ
จำลองการทำงานพบว่า ค่าแมกนิจูดและเฟสนั้นมีความสอดคล้องกับผล
ของการประมาณฟังก์ชนั และ ค่าทางทฤษฎี สามารถปรับย่านการทำงาน
ได้ในช่วง 100Hz ถึง 10kHz
เอกสารอ้างอิง
[1] S. Ghasemi, A. Tabesh, and J. Askari-Marnani, “Application of
Fractional Calculus Theory to Robust Controller Design for Wind
Turbine Generators”, IEEE Trans. Energy Conversion, Vol.29,
Issue 3, pp. 1-8, 2014.
[2] T. J. Freeborn.: A Survey of Fractional-Order Circuit Models for
Biology and Biomedicine in: IEEE Journal on Emerging and
selected topics in Circuits and Systems, Vol.3, No.3, Sep. 2013.
[3] G. Tsirimokou, C. Psychalinos, A.S. Elwakil, and K.N. Salama,
“Experimental verification of on Chip CMOS Fractional-Order
Capacitor Emulators,” Electron. Lett., Vol.52, Issue:15, pp.1298–
1300, July 2016.
[4] I. Dimeas, G. Tsirimokou, C. Psychalinos, and A.S. Elwakil,
“Experimental Veri¯cation of Fractional-Order Filters Using a
Reconfigurable Fractional-Order Impedance Emulator,” Journal of
Circuits, Systems, and Computers, vol. 26, no. 9, 2017.
[5] A.G. Radwan, A.S. Elwakil, and A.M. Soliman, “Fractional –
Order Sinusoidal Oscillators: Design Procedure and Practical
Examples,” IEEE Trans. Circuits Syst. I, Vol.55, Aug., 2008.
[6] I. Podlubny, “Fractional Differential Equations,” San Diego, CA:
Academic, 1999.
[7] I. Podlubny, I. Petrra︠sﬞ,B. M. Vinagre, P. O’leary, and L. Dorcﬞa‫ؘ‬k,
“Analogue realizations of fractional-order controllers,” Nonlinear
Dynamics, vol. 29, no. 1–4, pp. 281–296, 2002.
[8] G. E. Carlson and C. A. Halijak, “Approximation of fractional
capacitors (1/s) (1/n) by a regular Newton process,” IEEE Trans.
Circuit Theory, vol.11, no. 2, pp. 210–213, 1964.
[9] R. Kumar, S. Perumalla, J. Vista, A. Ranjan, “Realization of
Single and Double Cole Tissue Models using Higher Order

You might also like