You are on page 1of 72

w

M ww
od .p
er lcs
n a
el no
ec o
tri k.c
c o
an m

พิ ศ นุ รั ต น์ เ ข จ ร
d
au
to
m
at
io
n
PLC
กับการควบคุมแบบซีเควนซ์
PLC กับกำรควบคุมแบบซีเควนซ์
จัดพิมพ์และจัดจำหน่ำยโดย
พิศนุรัตน์ เขจร
177/11 ต.เชียงแรง อ.ภูซาง จ. พะเยา รหัสไปรษณีย์ 56110
โทรศัพท์ : 06 2802 2647 Email : fostmex@gmail.com

n
io
เกี่ยวกับผู้เขียน

at
พิศนุรัตน์ เขจร

m
ประวัติการศึกษา

to
วิศวกรรมศาสตร์ บณ
ั ฑิต(วศบ.) สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
an m
au
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
c o
tri k.c
d
ข้ อมูลทางบรรณานุกรมของสานักหอสมุดแห่ งชาติ
ec o

พิศนุรัตน์ เขจร
el no

PLC กับการควบคุมแบบซีเควนซ์
n a

พิมพ์ครัง้ ที่ 4
er lcs

576 หน้ า
od .p

กุมภาพันธ์ พ.ศ.2562
M ww

ISBN 978-616-321-457-7
การติดต่อสัง่ ซื ้อหนังสือ
w

ID line: @ecy6822d
โทรศัพท์ : 06 2802 2647
Email : fostmex@gmail.com

@ecy6822d
Plcsanook.com
คำนำ

เนื ้อหาของหนังสือPLC กับการควบคุมแบบซีเควนซ์จะกล่าวถึงPLC MELSEC FX series ซึง่


เป็ นPLC แบบcompact ของMitsubishi electric PLC MELSECในปั จจุบนั คือPLCยุคที่3 ซึง่
มีความแตกต่างเป็ นอย่างมากกับPLCเมื่อหลายปี ก่อน PLCยุคที่3 มีประสิทธิ ภาพสูงมาก ใช้
พลังงานน้ อยลง มีขนาดเล็กลง มีความเร็ วในการประมวลผลสูง และมีความสามารถในการ
ใช้ งานได้ หลากหลาย การเปลี่ยนแปลงประสิทธิภาพนี ้เป็ นไปตามเทคโนโลยีที่ก้าวหน้ ามาก

n
ขึ ้นเพื่อให้ การใช้ ทรัพยากรมีประสิทธิภาพมากที่สดุ

io
ในการพิมพ์ครัง้ ที่สามนี ้ เนือ้ หาถูกปรับปรุ งให้ ทนั สมัยมากขึ ้นกว่ าเดิม โดยการเพิ่ม

at
จานวนหน้ า อธิ บายการใช้ คาสั่งต่างๆอย่างละเอียด ใช้ รูปภาพประกอบที่เข้ าใจง่าย เพิ่ม

m
ตัวอย่างการเขียนโปรแกรม การประยุกต์ใช้ งานโปรแกรม รวมทังอธิ ้ บายการทางานของPLC

to
อย่างละเอียด เช่นพื ้นฐานการทางาน การประมวลผล อธิบายข้ อมูลจาเพาะของPLCแต่ละ
an m
au
รุ่น และก็มีรายละเอียดทางด้ านเทคนิคต่างๆ ซึง่ จะทาให้ ผ้ ใู ช้ งานสามารถใช้ เป็ นคู่มืออ้ างอิง
c o
tri k.c

ได้ อย่างสะดวก นอกจากนัน้ ก็เพิ่มเนือ้ หาเกี่ยวกับอุปกรณ์ ต่างๆที่ใช้ งานกับPLC เช่นโมดูล


d

ขยาย อแดปเตอร์ ขยาย อแดปเตอร์ บอร์ ด เป็ นต้ น หนังสือ PLC กับการควบคุมแบบซีเควนซ์
ec o

เหมาะกับผู้ใช้ งานทุกระดับ เช่นผู้เริ่ มต้ นใช้ งาน ท่านที่ใช้ งานในระดับสู งแต่ต้องการคู่มือ


el no

อ้ างอิง นักเรียน นักศึกษาในสายช่างไฟฟ้าและวิศวกรรมไฟฟ้า รวมทังผู ้ ้ สนใจเกี่ยวกับPLC


n a
er lcs
od .p
M ww

พิศนุรัตน์ เขจร
w
ส ำ ร บั ญ
บทที่ 1 ฮำร์ดแวร์ PLC
1.1 ความหมายของ PLC 9
1.2 หลักการทางานเบื ้องต้ นของPLC 10
1.3 PLC MELSEC 11
1.4 Input และ output 21
1.5 Power supply terminal 23
1.6 หลอดไฟแสดงสถานะต่างๆของPLC 24
1.7 อินพุทเทอร์ มินอล (Input terminal) 29

n
1.8 เอาท์พทุ เทอร์ มินอล (Output terminal) 37

io
1.9 ส่วนประกอบของ CPU module FX3UC, FX3GC 46

at
1.10 การต่อวงจรอินพุทและเอาท์พทุ ของ PLC FX3UC, FX3GC 48

m
1.11 ส่วนประกอบของ CPU module FX5U, FX5UC 51

to
1.12 Expansion module FX series 53
an m
1.13
au
Expansion module FX5 58
c o
tri k.c

1.14 การใช้ ไฟของPLC 61


d
1.15 การเรี ยงตาแหน่ง Input Output ของระบบ PLC 66
ec o

1.16 Expansion board (บอร์ ดขยาย) 69


el no

1.17 Expansion adapter (ตัวแปลงขยาย) 70


n a

1.18 Expansion board และ Expansion adapter FX5 71


er lcs

บทที่ 2 คำสั่งพื้นฐำนและอุปกรณ์
od .p

2.1 ซอฟต์แวร์ (software)และโปรแกรม (program) 85


M ww

2.2 ส่วนประกอบของ sequence program 90


2.3 คาสัง่ อินพุท(input instruction) 103
w

2.4 Output instructions 107


2.5 Sequence programming และList programming 112
2.6 รี เลย์ช่วยแบบทัว่ ไปและแบบจาค่าได้ 118
2.7 การทางานของ PLC 124
2.8 END instruction 132
2.9 NOP instruction 140
2.10 คาสัง่ WDT, WDTP (Watchdog timer refresh) 143
2.11 คาสัง่ INV (invert the result of operations) 145
บทที่ 2 คำสั่งพื้นฐำนและอุปกรณ์
2.12 คาสัง่ MC, MCR 146
2.13 คาสัง่ SET , RST 147
2.14 คาสัง่ PLS , PLF 153
2.15 บิต ดิจิต ไบต์ และ เวิร์ด 158
2.16 Data register และ File register 160
2.17 Extension registers (R)/ Extension file registers (ER) 175
2.18 Index registers (V,Z) 178
2.19 โครงสร้ างหน่วยความจา 181
2.20 ไทม์เมอร์ (T) 187

n
io
2.21 เคาน์เตอร์ (C) 200

at
2.22 เคาน์เตอร์ ความเร็ วสูง (High speed counter) 207

m
บทที่ 3 คำสั่งประยุกต์

to
3.1 คาสัง่ SRET (Subroutine Return) 227
an m
au
3.2 คาสัง่ CJ , CJP 227
c o
tri k.c

3.3 คาสัง่ FEND (Main Routine Program End) 230


d
3.4 คาสัง่ CALL, CALLP 231
ec o

3.5 Input interrupt (อินพุทแทรก) 236


el no

3.6 คาสัง่ EI (Enable Interrupt ) 239


n a

3.7 คาสัง่ IRET (Interrupt Return) 239


er lcs

3.8 คาสัง่ DI (Disable Interrupt ) 239


od .p

3.9 Timer interrupt (ไทม์เมอร์ แทรก) 241


3.10 Counter interrupt (เคาน์เตอร์ แทรก) 244
M ww

3.11 Pulse catch function (M8170 to M8177) 245


w

3.12 Pulse width/pulse period measurement function (M875 to M8079,


D8074 to D8097) 247
3.13 คาสัง่ ZRST , ZRSTP 251
3.14 คาสัง่ ALT , ALTP 254
3.15 คาสัง่ INC , INCP , DINC , DINCP 257
3.16 คาสัง่ DEC , DECP , DDEC , DDECP 259
3.17 คาสัง่ MOV , MOVP, DMOV , DMOVP 260
3.18 คาสัง่ BMOV , BMOVP 269
3.19 คาสัง่ FMOV , FMOVP , DFMOV , DFMOVP 272
3.20 รหัสแอสกี ( ASCII CODE) 274
3.21 คาสัง่ ASCI , ASCIP 279
3.22 คาสัง่ HEX , HEXP 283
3.23 คาสัง่ SMOV , SMOVP (Shift Move) 286
3.24 คาสัง่ CML , CMLP, DCML , DCMLP (Complement) 290
3.25 คาสัง่ DECO , DECOP (Decode) 291
3.26 คาสัง่ ENCO , ENCOP (Encode) 294
3.27 คาสัง่ XCH , XCHP , DXCH , DXCHP 296
3.28 คาสัง่ BIN, DBIN, BINP, DBINP (Conversion to binary) 298

n
3.29 คาสัง่ BCD ,DBCD , BCDP, DBCDP 306

io
3.30 คาสัง่ ADD, ADDP, DADD, DADDP (BIN 16bit & 32bit addition) 311

at
3.31 คาสัง่ SUB , SUBP , DSUB , DSUBP 314

m
3.32 คาสัง่ MUL , MULP , DMUL , DMULP 316

to
3.33 คาสัง่ DIV , DIVP , DDIV , DDIVP 319
an m
3.34 au
คาสัง่ เปรี ยบเทียบข้ อมูล (Data comparison) 321
c o

3.35 คาสัง่ BON , BONP , DBON , DBONP 324


tri k.c
d
3.36 คาสัง่ NEG , NEGP , DNEG , DNEGP 326
3.37 คาสัง่ PLSY , DPLSY 328
ec o
el no

3.38 คาสัง่ PWM 331


3.39 คาสัง่ SUM , SUMP , DSUM , DSUMP 333
n a
er lcs

3.40 คาสัง่ FORM , FORMP , DFORM , DFORMP 335


3.41 คาสัง่ TO , TOP , DTO , DTOP 337
od .p

3.42 คาสัง่ RS (Serial Communication) 340


M ww

3.43 คาสัง่ RS2 (Serial Communication 2) 344


บทที่ 4 Analog Control
w

4.1 Analog expansion module 368


4.2 FX3U-4AD , FX3UC-4AD (4 channel analog input) 370
4.3 FX2N-4AD (4 channel analog input) 380
4.4 Analog input block FX2N-2AD 387
4.5 Analog output block FX2N-2DA 394
4.6 Analog output block FX3U-4DA 400
4.7 Analog output block FX2N-4DA 405
4.8 Built-in analog inputs (FX3S) 412
4.9 Analog input expansion board (FX3G-2AD-BD) 413
4.10 Analog input expansion adapter (FX3U-4AD-ADP) 417
4.11 Analog output expansion adapter (FX3U-4DA-ADP) 419
4.12 Analog output expansion board (FX3G-1DA-BD) 421
บทที่ 5 FX communication
5.1 มาตรฐานการส่งผ่าน (Transmission standard) 425
5.2 PLC FX series Communication port channel 429
5.3 Parallel link 435
5.4 N : N network 444

n
5.5 MODBUS Communication (RTU or ASCII protocol ) 453

io
5.6 คาสัง่ ADPRW (MODBUS Read/Write instruction) 455

at
5.7 Computer Link (Dedicated protocol ) 461

m
5.8 Inverter communication 463

to
5.9 Remote maintenance 464
an m
au
5.10 Programming communication 465
c o

5.11 การเลือกใช้ สายโหลดโปรแกรม 469


tri k.c
d
5.12 Network 472
ec o

บทที่ 6 กำรใช้ GX works2


el no

6.1 การเช็ค port ของสายโหลด 489


n a
er lcs

6.2 การโหลดโปรแกรมจาก PLC 490


6.3 การบันทึกโปรแกรม 493
od .p

6.4 การเขียนวงจรแลดเดอร์ โดยใช้ GX works2 494


M ww

6.5 การเช็คการ ON OFF ของรี เลย์อินพุท 503


6.6 การตรวจสอบอุปกรณ์ที่ถกู ใช้ และยังไม่ใช้ 504
w

6.7 การ clear หน่วยความจา PLC 505


6.8 การแก้ ไขโปรแกรมแบบ online 506
6.9 การค้ นหาอุปกรณ์ในวงจร 508
6.10 การเช็คความผิดปกติของโปรแกรม 509
6.11 PLC Diagnostic 510
6.12 การใช้ งาน modify Value 511
6.13 การเขียน Comment 512
6.14 การจาลองการทางานของวงจรแลดเดอร์ 514
บทที่ 7 กำรเขียนวงจร SFC
7.1 การทางานของวงจร SFC 522
7.2 วงจรภายใน (Internal circuit ) 523
7.3 ตัวอย่างการเขียนวงจร SFC 530
7.4 ตัวอย่างการเขียนวงจร SFC โดยใช้ GX works 2 532
ภำคผนวก
A1 เลขฐาน 550
A2 MELSEC FX series data, MELSEC iQ-F series data 560

n
A3 Model name 564

io
A4 การต่อ PLC FX series กับ Touchscreen 568

at
A5 รี เลย์ช่วยพิเศษ (Special auxiliary relay) PLC FX series 570

m
A6 Terminal layout CPU module (AC power) 575

to
an m
au
c o
tri k.c
d
ec o
el no
n a
er lcs
od .p
M ww
w
ฮาร์ ดแวร์ PLC 9

บทที่ 1 ฮาร์ ด แวร์ PLC


1.1 ควำมหมำยของ PLC
PLCย่อมาจาก Programmable Logic Controllerเป็ นอุปกรณ์ควบคุมแบบลอจิกที่สามารถ
เขี ย นโปรแกรมลงไปได้ PLCบางครั ง้ ก็ เ รี ย กสั น้ ๆว่ า PC ซึ่ ง ย่ อ มาจากProgrammable
Controller หรื อบางครัง้ ก็เรี ยกว่าSequence Controllerแปลว่าอุปกรณ์ ควบคุมแบบลาดับ
ตัวย่อPCจะซ ้ากับการเรียกคอมพิวเตอร์ ตงโต๊
ั ้ ะซึง่ ย่อมาจาก Personal Computer
PLC ใช้ CPUในการประมวลผลเช่ น เดี ย วกั บ คอมพิ ว เตอร์ ดั ง นัน้ PLC ก็ คื อ

n
คอมพิวเตอร์ แบบย่อส่วน แต่เป็ นคอมพิวเตอร์ เฉพาะทางที่ใช้ สาหรับประมวลผลโปรแกรม

io
เพื่อควบคุมเครื่ องจักร PLCมีหลายแบรนด์เช่น Mitsubishi, SIEMENS, Omron, Keyence,

at
Panasonic ,Sharp, Fuji, Hitachi ,Yaskawa เป็ นต้ น สาหรับบริ ษัท Mitsubishi Electric แบ

m
รนด์ของPLCจะใช้ ชื่อว่า MELSEC ย่อมาจาก Mitsubishi Electric Sequence Controller

to
an m
Electrical system
au Mechanical system
c o

signal
tri k.c
d
ec o

Input สวิตช์,เซ็นเซอร์
el no
n a

PLC
er lcs

หลอดไฟ,รีเลย์,คอน
od .p

Output
แทคเตอร์ signal
M ww

Machine
w

รู ป 1.1
การทางานของเครื่ องจักรแบ่งออกเป็ นสองส่วนใหญ่ๆคือระบบไฟฟ้าและระบบทางกล รู ปที่
1.1 เป็ น ระบบไฟฟ้ า ที่ ใ ช้ PLCเป็ น ตัว หลัก ในการควบคุม เครื่ อ งจัก ร โดยPLCจะรั บ
สัญญาณไฟฟ้าจากอุปกรณ์เช่นสวิตช์,เซ็นเซอร์ ,หน้ าสัมผัสของรีเลย์ เป็ นต้ น ซึง่ อุปกรณ์ไฟฟ้า
เหล่านีจ้ ะON-OFFตามการทางานของเครื่ องจักร โดยสัญญาณไฟฟ้าจะถูกจ่ายไปที่ อินพุท
ของPLC และPLCก็ จ ะน าสัญ ญาณอิ น พุท ไปประมวลผลโปรแกรม จากนัน้ ผลลัพ ธ์ ของ
โปรแกรมจะถูกจ่ายออกมาที่เอาท์ พุทของPLC, PLCก็จะจ่ายสัญญาณไฟฟ้าไปสั่งงาน
อุปกรณ์ต่างๆเช่นโซลินอยล์วาล์ว,แมกเนติกคอนแท็กเตอร์ ,รีเลย์ เพื่อควบคุมเครื่องจักรต่อไป
ฮาร์ ดแวร์ PLC 10

1.2 หลักกำรทำงำนเบื้องต้นของPLC
Low frequency Analog input
Digital input Flow sensor, pressure
สวิตช์,เซ็นเซอร์ sensor ,temperature sensor
สัญญาณอนาล็อก
(แรงดัน,กระแส)
สัญญาณดิจติ อล (เลขฐาน2)
high frequency
input

n
sensor , encoder

io
at
รูป 1.2

m
to
output
an m
au
Digital output Analog output
c o
tri k.c
d
ON,OFF
ec o

หลอดไฟ,รีเลย์,คอนแทคเตอร์ แรงดัน และกระแส


el no

PLC จะรับสัญญาณอินพุทจากอุปกรณ์ที่ต่อกับเทอร์ มินอลอินพุทของPLC สัญญาณที่PLC


n a

รับมี2แบบคือสัญญาณดิจิตอลและสัญญาณอนาล็อก สัญญาณดิจิตอลก็คือสั ญญาณที่มี


er lcs

การON,OFF โดยแบ่งออกเป็ น2แบบคือสัญญาณที่มีความถี่ต่า เช่นการON-OFFของสวิตช์


od .p

และสัญญาณที่มีความถี่สงู เช่นสัญญาณจากโฟโตเซ็นเซอร์ ,เลเซอร์ เซ็นเซอร์ ,encoderเป็ นต้ น


M ww

ในการรับสัญญาณความถี่สูง รี เลย์อินพุทของPLCจะต้ องมีความไวในการตอบสนองให้ ทัน


กับสัญญาณด้ วย โดยผู้ผลิตก็ไ ด้ อ อกแบบให้ รีเลย์ อิ นพุทของPLCมี2แบบคือ แบบที่ใช้ รั บ
w

ความถี่ต่าและแบบที่ใช้ รับความถี่สงู ได้ อินพุทแบบที่รับความถี่ต่าจะไม่สามารถรับสัญญาณ


ความถี่สงู ได้ ส่วนอินพุทที่ใช้ รับความถี่สงู จะสามารถใช้ รับสัญญาณความถี่ต่าได้
สาหรับสัญญาณแบบอนาล็อกก็คือแรงดันและกระแสไฟฟ้า ซึง่ ป้อนเข้ า PLC โดยใช้
อุปกรณ์เช่นFlow sensor, pressure sensor, temperature sensor เป็ นต้ น เมื่อPLCรับ
สัญญาณแล้ วก็จะนาสัญญาณนัน้ ไปแปลงเป็ นข้ อมูลดิจิตอล และนาไปใช้ ในโปรแกรมPLC
ส่วนผลลัพธ์ การประมวลผลโปรแกรม ก็จะส่งมาที่เอาท์พทุ ของPLC โดยเอาท์พุทPLCแบบ
ดิจิตอลจะจ่ายสัญญาณดิจิตอลเพื่อ สั่งงานอุปกรณ์ ที่ต่อกับ PLC เช่นหลอดไฟ,โซลิ นอยล์
วาล์ ว ,คอนแท็ ก เตอร์ เป็ น ต้ น ส่ ว นเอาท์ พุท ของPLCแบบอนาล็ อ กก็ จ ะจ่ า ยแรงดัน และ
กระแสไฟฟ้าออกมาได้
ฮาร์ ดแวร์ PLC 11
1.3 PLC MELSEC
PLC MELSEC มีหลายแบบ การแบ่งประเภทของPLC MELSEC แบ่งได้ 3ลักษณะคือ
1. แบ่ งตามซีรีส์(series) ซึ่งแต่ละซีรีส์ก็จะมีรุ่นย่อยๆอีกที PLC MELSECเริ่ มผลิตเมื่อ ปี
ค.ศ.1973คือMELSEC-310 ต่อมาปี ค.ศ.1980 ผลิตPLC MELSEC-K series ปี ค.ศ.1985
ผลิตPLC MELSEC-A series เป็ นต้ น และมีการผลิตขึ ้นอีกหลายซีรีส์เนื่องจากมีการพัฒนา
เทคโนโลยีที่ทนั สมัยขึ ้น ในปั จจุบนั มีการยกเลิกการผลิตแล้ วหลายซี รีส์ โดยซีรีส์ในปั จจุบนั ที่
ยังผลิตอยู่มีดงั รูป1.3
PLC

n
MELSEC MELSEC-Q MELSEC-L MELSEC MELSEC-F

io
iQ-R series series series iQ-F series series

at
PLC ขนาดใหญ่ PLC ขนาดกลาง PLC ขนาดเล็ก

m
Modular Type Baseless type Compact type

to
an m
au รู ป 1.3
c o
tri k.c

2. แบ่ งตามโครงสร้ างทางฮาร์ ดแวร์ แบ่งได้ เป็ น3ประเภทคือ


d

2.1 Compact type คือ PLCที่รวมทุกฮาร์ ดแวร์ ทุกอย่างที่จาเป็ น ให้ อยู่ในโมดูล


ec o

เดียวกัน เช่นCPU, input , output ,power supply เป็ นต้ น โดยผลิตและประกอบเป็ นโมดูล
el no

เดียวกัน เราจึงเรียกว่าstand alone คือสามารถทางานได้ ในระดับหนึง่ โดยใช้ แค่โมดูลเดียว


n a

จากรูป1.2 compact PLCคือ MELSEC iQ-F series และ MELSEC-F series


er lcs

2.2 Modular type คือPLCแบบแยกส่วน ก็คือฮาร์ ดแวร์ แต่ละส่วนจะแยกออกจาก


od .p

กัน โดยเรี ยกแต่ละส่วนว่าโมดูล (module) เช่นPower supply module, input module


M ww

,output module การใช้ งานจะต้ องนาโมดูลมาประกอบกันเพื่อเป็ นระบบเดียวกัน


2.3 Baseless type คือPLCแบบแยกส่วนเช่นเดียวกับ modular type แต่ Baseless
w

type จะไม่มีBase unit โมดูลแต่ละตัวจะประกอบกันได้ เลย การติดตังPLCจะต้


้ องใช้ ราง(DIN
Track)
3. แบ่ งตามขนาดของระบบPLC แบ่งได้ เป็ น3ประเภทคือ
3.1 PLCสาหรับระบบขนาดใหญ่ และขนาดกลาง คือ MELSEC iQ-R series,
MELSEC-Q series
3.2 PLCสาหรับระบบขนาดกลางและเล็ก คือ MELSEC- L series หรื อรุ่ นเก่าคือ
MELSEC-AnS series(PLCรุ่นรองที่แยกออกจาก MELSEC-A series) และMELSEC-QnAS
series(PLCรุ่นรองของ MELSEC-QnA series)
3.3 PLC สาหรับระบบขนาดเล็กคือ MELSEC-F series, MELSEC iQ-F series
ฮาร์ ดแวร์ PLC 12

รูปที่1.4 แสดงPLC MELSEC ซีรีส์ต่างๆ ที่ใช้ ในช่วงเวลาต่างๆ


เหมาะสาหรั บระบบขนาดกลางและใหญ่
ยกเลิกการผลิต
Modular PLC
1980 1985 1995 1999 2015
NEW

MELSEC-K MELSEC-A MELSEC-QnA MELSEC-Q MELSEC iQ-R


series series series series series

n
io
AnS series คือรุ่นเล็ก เหมาะสาหรั บระบบขนาดกลาง

at
ของ A series 1991 1996 2009

m
to
an m
au
c o

MELSEC-AnS series MELSEC-QnAS series MELSEC-L series


tri k.c
d
ยกเลิกการผลิต ยกเลิกการผลิต
Modular PLC Baseless PLC
ec o
el no

เหมาะสาหรั บระบบขนาดเล็ก(stand alone)


n a

Compact type
er lcs

ยกเลิกการผลิต ยกเลิกการผลิต
1981 1989 2004 2015 NEW
od .p
M ww

F series FX series FX3 series FX5


w

MELSEC-F series MELSEC iQ-F series


รูป 1.4
รู ปที่1.5 แสดงระดับความสามารถของPLC MELSEC , MELSEC iQ-R จะมีความสามารถ
สูงกว่า MELSEC-Q และ MELSEC iQ-F มีความสามารถสูงกว่า MELSEC-F
รู ป 1.5
MELSEC iQ-R MELSEC-L MELSEC iQ-F
MELSEC-Q MELSEC-F
ฮาร์ ดแวร์ PLC 14
PLC MELSEC-F series generation
MELSEC-F series หรือบางครัง้ ก็เรียกว่า MELSEC-F Family คือการเรียกPLCทังหมดที ้ ่เป็ น
ซีรีส์ F , MELSEC - F series ทังรุ้ ่นเก่าและรุ่นปั จจุบนั มีทงหมด3ยุ
ั้ คดังรูป 1.8

MELSEC -F series
1 st generation 2 nd generation 3 rd generation
F, F1, F2 series FX0, FX1, FX2 series FX3 series
F,F1,F1J,F2 FX0,FX0N,FX0S,FX1,FX2,FX2c, FX3U,FX3UC,FX3S,

n
FX1S,FX1N,FX1NC,FX2N,FX2NC FX3G,FX3GC,FX3GE

io
ยกเลิกการผลิต ยกเลิกการผลิต Micro PLC ยุคที่3

at
m
to
an m
2015
au
MELSEC iQ-F series
c o

AC power DC power
tri k.c
d
New generation
ec o

FX5 series
el no

FX5U,FX5UC
n a

Engineering Tool FX5U FX5UC


er lcs

GX Works 3 รุ่นทัว่ ไป รุ่นประหยัดพื ้นที่


od .p
M ww

รูป1.8 แสดงPLC MELSEC - F series และ MELSEC iQ-F series รุ่นต่างๆ


w

F,F1และF2 คือPLCยุคที่1 ,FX0,FX1,FX2 คือPLCยุคที่2 และFX3คือPLCยุคที่3 (ยุคปั จจุบนั )


PLCยุคที่2และ3 จะเรียกรวมกันว่า MELSEC FX series, MELSEC FX Family หรื อ FXCPU
ความแตกต่างระหว่างซีรีส์ต่างๆ เช่นความเร็ วในการประมวลผล จานวนคาสัง่ ที่มีให้
ใช้ งาน จานวนพื ้นที่หน่วยความจาที่มีให้ ลักษณะทางกายภาพ อุปกรณ์ต่อ ขยายต่างๆที่มีให้
เป็ นต้ น PLCยุคที่1และ2 ยกเลิกการผลิตแล้ ว เช่นPLCยุคที่2 รุ่ นFX1N,FX1NC,FX1S ยกเลิก
การผลิตทุกรุ่นในปี 2015 FX2N,FX2NC ยกเลิกการผลิตทุกรุ่นในปี 2012
MELSEC iQ-F series คือ new generation ที่เพิ่มเทคโนโลยีให้ ทนั สมัยมากขึน้ เช่น
ความเร็วการประมวลผลที่มากขึ ้น ,สามารถใช้ SD cardสาหรับเก็บข้ อมูลได้ , มีพอร์ ตสื่อสาร
RS-485และEthernet แบบbuilt-In เป็ นต้ น
ฮาร์ ดแวร์ PLC 17

กำรเลือกใช้งำน PLC MELSEC FX series ยุคที่3


PLC FX series ยุคที่3 แบ่งออกเป็ นหลายรุ่ น เพื่อให้ มีความเหมาะสมกับงานที่ แตกต่างกัน
ซึง่ แบ่งระดับการใช้ งานเป็ นสามระดับคือ High end, standard และ entry level

High end

รูป 1.13
FX3U FX3UC

n
io
PLC ระดับ High end คือPLC FX3U,FX3UC รองรับกับงานระดับสูงเช่น high speed

at
control, network support ,data logging เป็ นต้ น

m
New

to
an m
au
c o

Standard
tri k.c
d
ec o

รู ป 1.14
el no

FX3G FX3GC FX3GE


n a

PLC ระดับ standard คือPLC FX3G,FX3GCและFX3GE รองรับกับงานระดับมาตรฐานเช่น


er lcs

งานautomation,งานnetwork เป็ นต้ น FX3GE เป็ นPLC รุ่นใหม่กว่าFX3GและFX3GC


od .p

New
M ww

Entry level
w

รู ป 1.15
FX3S
PLC ระดับ Entry levelคือ PLC FX3S เป็ นPLCยุคที่3 รุ่ นใหม่ที่ผลิตทีหลังFX3U(C)และ
FX3G(C) ,FX3Sเหมาะกับงานอัตโนมัติแบบพื ้นฐาน
ถ้ าใช้ PLC แบบ high end กับงานที่ไม่ต้องการประสิทธิภาพสูงก็จะเป็ นการสิ ้นเปลือง
ทรั พยากร เนื่อ งจากประสิ ทธิ ภาพของPLC ไม่ ได้ ถูก ใช้ ง านเต็ มที่ และเป็ นการสิ น้ เปลือ ง
งบประมาณ เนื่องจากราคาของ PLC high end จะสูงกว่าentry level
ฮาร์ ดแวร์ PLC 30

กำรต่อวงจรอินพุทแบบใช้ไฟ24VDC
การทาให้ รีเลย์อินพุททางานจะต้ องจ่ายไฟ24Vให้ ครบวงจร โดยการใช้ สวิตช์หรื อเซ็นเซอร์ ต่อ
กับอินพุทเทอร์ มินอล วงจรอินพุทต่อได้ 2แบบคือ แบบsinkหรื อแบบคอมมอนลบ(negative
common)และแบบsourceหรื อเรี ยกว่าคอมมอนบวก(positive common) PLCบางรุ่ นต่อได้
เฉพาะแบบsink บางรุ่นต่อได้ ทงแบบsinkและsource
ั้ ดูรุ่นPLCได้ ที่ภาคผนวกA3
external switch S1 S2 S3 C Volt meter
100VAC

+
X0 X1 X2 X3 X4

n
L N 24V 0V S/S

io
+
รีเลย์อนิ พุท

at

sink

m
Service power supply Photo coupler

to
an m
au
Input indicator
Input circuit
c o

signal
tri k.c
d
S/S
Internal +
ec o

current 24V
el no

circuits ‒
n a

X0 S1 ON
รู ป 1.36
er lcs
od .p

ถ้ า input terminal ของPLC มีสญ ั ลักษณ์ S/S แสดงว่าเป็ นPLCที่สามารถต่อวงจรได้ ทัง้ แบบ
M ww

sinkและsource รู ป ที่ 1.36 เป็ นการต่ อ วงจรแบบsink แรงดั น ที่ จ่ า ยให้ วงจรอิ น พุ ท ใช้
แหล่งจ่ายไฟ24Vจากservice power supplyส่วนสวิตช์S1,S2และS3 ต่อกับX0,X1และX2
w

ตามลาดับ อันดับแรกคือต่อขัว้ +(24V) ไปยังจุดS/Sเพื่อให้ ไฟไหลไปยังคอมมอนของรี เลย์


อินพุท และขัว0Vต่
้ อกับขาของสวิตช์แต่ละตัว เนื่องจาก0Vคือจุดต่อรวมของสวิตช์ภายนอก
เราจึงเรียกการต่อแบบนี ้ว่า คอมมอนลบหรื อคอมมอนศูนย์ สายคอมมอนนิยมใช้ สั ญลักษณ์
Cหรื อCOM ขณะที่สวิตช์แบบN/Oยังไม่ถูกกด เมื่อเรานาโวลท์มิเตอร์ มาวัดแรงดันตกคร่ อม
ระหว่างขัว้ ของสวิตช์จะวัดแรงดันได้ เท่ากับ 24V โดยเทอร์ มินอลXจะเป็ นขัวบวก
้ การทางาน
ของวงจรคือเมื่อกดสวิตช์ S1ก็จะทาให้ กระแสไหลครบวงจร ทาให้ รีเลย์อินพุท X0ทางาน การ
ทางานของรีเลย์X0จะถูกตรวจจับโดย input processing และสถานะการทางานก็จะถูกส่งไป
program processingต่อไป ส่วนสวิตช์S2เป็ นแบบปกติปิด(NC) ดังนันเมื ้ ่อไม่มีการกดสวิตช์
จะทาให้ รีเลย์X1ทางานอยู่ตลอดเวลา เมื่อกดสวิตช์S2จะทาให้ รีเลย์อินพุทX1หยุดทางาน
ฮาร์ ดแวร์ PLC 31

Input signal (สัญญำณอินพุท)


Photo coupler
S/S
Internal +
24V
circuits ‒

X0
รูปคลื่นกระแสที่มีชว่ งเวลาON output
2us sensor
น้ อย เรียกว่า short pulse รู ป 1.37

n
io
จากรูป1.37 เซ็นเซอร์ แบบNPNต่อกับรีเลย์อินพุทX0 เมื่อเซ็นเซอร์ ON เอาท์พทุ ของเซ็นเซอร์ ก็

at
จะจ่ายกระแสไฟฟ้าให้ กบั วงจรอินพุทของPLC เราเรี ยกกระแสไฟฟ้าที่จ่ายให้ อินพุทPLCว่า

m
สัญญาณ(signal) เมื่อ มีกระแสไหลผ่า นครบวงจร จะทาให้ photo couplerทางาน หรื อ

to
an m
เรียกว่ารีเลย์อินพุทX0ทางาน(X0 ON)
au
c o
tri k.c

short pulse
d
ช่วงเวลา ON ช่วงเวลา OFF
ec o

signal ON ON ON
el no

OFF OFF
n a

Input X0 ON OFF ON OFF ON


er lcs

รู ป 1.38
od .p
M ww

รู ปที่1.38 เป็ นTiming diagram แสดงการON-OFFของรี เลย์อินพุท เมื่อมีกระแสไฟฟ้ าจ่าย


ให้ กบั วงจรอินพุทจะทาให้ รีเลย์X0 ON เมื่อไม่มีกระแสไฟฟ้าจ่ายให้ วงจร รี เลย์อินพุทX0 ก็
w

OFF ดังนันรี ้ เลย์X0จึงทางานON-OFF ตามการ ON-OFFของสัญญาณ ส่วนสัญญาณที่มี


ช่ ว งเวลาON-OFF น้ อ ย เรี ย กว่ า short pulse หรื อ ก็ คื อ สัญ ญาณที่ มี ค วามถี่ สูง (high
frequency)
เวลำตอบสนองทำงด้ำนอินพุท (input response time)
Input response time คือเวลาตอบสนองทางด้ านอินพุท หมายถึงเวลาที่ input image
memory ใช้ ในการอ่านสถานะการทางานของ photo coupler ในช่วงที่มีการประมวลผล
ทางด้ านอินพุท(input processing) ตัวอย่างเช่น PLC FX3U มีInput response time
ประมาณ 10ms
ฮาร์ ดแวร์ PLC 37

1.8 เอำท์พุทเทอร์มนิ อล (Output terminal)


[ • ] เทอร์มนิ อล
FX3U-32MR-ES/UL ว่าง(ไม่ได้ใช้งาน)
Y0 Y2 Y4 Y6 Y10 Y12 Y14 Y16
COM0 Y1 Y3 COM1 Y5 Y7 COM2 Y11 Y13 COM3 Y15 Y17

common terminal output terminal รู ป 1.47

n
เอาท์พทุ เทอร์ มินอลคือจุดต่อที่ใช้ จ่ายไฟให้ กบั โหลด เช่นหลอดไฟ รี เลย์ โซลิ นอยล์วาวล์ เป็ น

io
ต้ น เอาท์ พุทเทอร์ มินอลแต่ละจุดใช้ อักษรY ส่วนหมายเลขเอาท์ พุทใช้ เลขฐาน8 จานวน

at
เอาท์พุทที่มีให้ จะมีมากหรื อน้ อ ยขึน้ อยู่กับขนาดของPLC เช่นจากรู ป1.47 PLCรุ่ นFX3U-

m
32MR-ES/UL จะมีเอาท์พทุ จานวน12จุดคือY0ถึงY17 เอาท์พทุ เทอร์ มินอลแต่ละจุดจะต่อ

to
ออกมาจากอุปกรณ์เอาท์พทุ ของPLC อุปกรณ์เอาท์พทุ คืออุปกรณ์ฮาร์ ดแวร์ ที่ใช้ ตดั ต่อกระแส
an m
au
ไฟฟ้าซึง่ ติดตังอยู
้ ่ภายในPLC อุปกรณ์เอาท์พทุ จะทางานเมื่อมีการสัง่ งานจากวงจรทางด้ าน
c o

เอาท์ พุท ซึ่งอุปกรณ์ เอาท์ พุทมี 3แบบคือ รี เลย์ , ทรานซิส เตอร์ และไตรแอก (ยกเว้ น PLC
tri k.c
d
FX3UCและFX3GC ซึง่ มีเอาท์พทุ สองแบบคือรีเลย์และทรานซิสเตอร์)
ec o
el no

Output device
PLC อุปกรณ์เอาท์พุท
n a
er lcs

Relay Transistor Triac (SSR)


od .p
M ww

COM0 Y0 Y1 Y2 Y3 DC,AC DC AC
จ่ายกระแส เอาท์พทุ แบบรีเลย์สามารถใช้ ได้ ทงไฟกระแสตรง
ั้
w

ไฟฟ้ า และกระแสสลับ เอาท์พทุ ทรานซิสเตอร์ ใช้ ได้ กบั ไฟ


กระแสตรง(DC)เท่านัน้ และเอาท์พทุ ไตรแอกใช้ ได้
โหลด เฉพาะไฟกระแสสลับ(AC)
รู ป 1.48

อุป กรณ์ เ อาท์ พุท แบบรี เ ลย์ ใ ช้ ห น้ า สัม ผัส ในการตัด ต่ อ กระแสไฟฟ้ า ซึ่ง เป็ น ก ารตัด ต่ อ
กระแสไฟฟ้าแบบทางกล ส่วนทรานซิสเตอร์ และไตรแอกใช้ สารกึ่งตัวนาในการจ่ายกระแส
ไม่ได้ ใช้ หน้ าสัมผัสในการตัดต่อแบบรีเลย์ ทาให้ มีอายุในการใช้ งานนานกว่า รี เลย์ มีความเร็ ว
ในการทางานสูง จึงสามารถใช้ กับการON-OFFที่มีความถี่สงู ๆได้ เช่นใช้ จ่ายสัญญาณพัลล์
สาหรับควบคุมsolid state relay หรือเซอร์ โวแอมพลิฟาย เป็ นต้ น
ฮาร์ ดแวร์ PLC 38

เอำท์พุทรีเลย์ (Relay output)


LED indicator
วงจรทางด้ านเอาท์พทุ
รีเลย์เอาท์พุท ขาของรีเลย์จะเชื่อมต่อกับเทอร์ มินอลสาหรับ
Y0 เป็ นจุดต่อให้ ใช้ งานกับอุปกรณ์ภายนอก
Internal
circuits C0M0 รีเลย์แต่ละวงจรจะมีหน้ าสัมผัสหนึง่ ตัวและเป็ น
หน้ าสัมผัสแบบปกติเปิ ด(N/O)เท่านัน้

n
Common Common

io
at
m
รู ป 1.49
COM0 Y0 Y1 Y2 Y3 COM1 Y4 Y5 Y6 Y7

to
an m
au
output terminal แต่ละจุดจะเชื่อมต่อกับวงจรทางด้ านเอาท์พทุ ของPLC จากรู ป1.49 เป็ น
c o
tri k.c

วงจรเอาท์พทุ ของY0 ภายในวงจรจะใช้ รีเลย์เป็ นอุปกรณ์เอาท์พทุ เพื่อสัง่ งานโหลดภายนอก


d

โดยรีเลย์1ตัวก็จะต่อสายออกมาที่ output terminal 1 จุด


ec o
el no

Common output relays ชุดแรก Common


n a

output relays ชุดทีส่ อง


er lcs
od .p

COM0 Y0 Y1 Y2 Y3 COM1 Y4 Y5 Y6 Y7
M ww

Output terminal
common terminal [ใช้ เอาท์พทุ 4จุด
w

ต่อคอมมอน (4point/common ) ] รู ป 1.50

เอาท์พุทเทอร์ มินอลจะแบ่งออกเป็ นส่วนๆ ตัวอย่างเช่นจากรู ป 1.50 Y0ถึงY3 ใช้ คอมมอน


เดียวกันคือCOM0 หน้ าสัมผัสของรี เลย์ Y0ถึงY3จะถูกต่อด้ วยกัน ซึ่งเรี ยกว่ าจุดคอมมอน
(common) สายคอมมอนจะต่อออกมายัง COM0 ส่วนขาที่เหลือของรี เลย์ แต่ละตัวจะต่ อ
ออกมายังจุดY0ถึงY3 ส่วนY4ถึงY7 ใช้ คอมมอนเดียวกันคือCOM1 การที่ต้องแบ่งรี เลย์
เอาท์พทุ ออกเป็ นชุดๆเนื่องจากในบางกรณี โหลดที่นามาใช้ งาน จะใช้ แรงดันไม่ เท่ากันเช่น
โหลดDC24VกับAC220V ซึง่ จะต้ องต่อโหลดทังสองแยกออกจากกั
้ น หรือบางครัง้ เราต้ องการ
นาหน้ าสัมผัสเปล่าๆไปใช้ สงั่ งานอุปกรณ์ เช่นสาหรับสัง่ งาน inverterเป็ นต้ น
ฮาร์ ดแวร์ PLC 39

กำรต่อเอำท์พุทเทอร์มินอลและกำรทำงำนของอุปกรณ์เอำท์พุท
Output relays
เมื่อหน้ าสัมผัสY0ทางาน ไฟฟ้า
จะวิ่งจากสาย L ผ่านหน้ าสัมผัส
ของY0 วิ่งไปยังหลอดไฟL1และ
COM0 Y0 Y1 Y2 Y3 กลับไปยังสายN ครบวงจร
L
Lamp Output terminal
N 100VAC
รู ป 1.51

n
L1 L2

io
at
รูป1.51 เป็ นการต่อรีเลย์เอาท์พทุ กับหลอดไฟขนาด100โวลต์2หลอด โดยเอาท์พทุ Y0 ต่อกับ

m
L1 และเอาท์พทุ Y1ต่อกับหลอดไฟL2 อันดับแรกนาสายL(Line)ต่อกับCOM0 จากนันต่ ้ อ

to
สายไฟจากY0เข้ าที่หลอดไฟL1 ส่วนสายอีกด้ านของหลอดไฟL1ต่อกับสายN(neutron) ของ
an m
au
แหล่งจ่าย ส่วนการต่อหลอดไฟL2 ทาได้ โดยนาสายไฟต่อกับY1และสายไฟอีกเส้ นต่อกับสาย
c o

N สายLเป็ นสายคอมมอนของหน้ าสัมผัส Y0ถึงY3 ส่วนสายNเป็ นสายคอมมอนของโหลด


tri k.c
d
เราจะเห็นว่ากระแสไฟจากสายLจะผ่านเทอร์ มินอลCOM0และเข้ าไปรอที่หน้ าสัมผัส
ec o

ของรีเลย์เอาท์พทุ แต่ละตัว เมื่อหน้ าสัมผัสรี เลย์ตวั ใดตัวหนึ่งทางานก็จ ะทาให้ กระแสไฟวิ่งไป


el no

ยังหลอดไฟแต่ละหลอด การต่อแหล่งจ่ายไฟ100VACเข้ ากับCOM0 สามารถสลับสายได้ เช่น


n a

เมื่อต่อสายNเข้ าCOM0 สายLจะเป็ นคอมมอนของโหลดแทน


er lcs
od .p

output processing LED indicator


M ww

รีเลย์เอาท์พุท
program L1
Output Read out Y0
processing
w

latch Internal i
Y0 = ON memory circuits
C0M0 L N
Output circuit
รู ป 1.52
รู ปที่1.52 เป็ นขันตอนของoutput
้ processing เมื่อผลลัพธ์ ของการประมวลผลโปรแกรมคือ
Y0 ON ข้ อมูลการONของY0 จะถูกส่งมาที่หน่วยความจา output latch memory และoutput
latch memory ก็จะสัง่ ให้ Internal circuitsของY0 ทางาน และรี เลย์เอาท์พทุ Y0 ก็จะทางาน
ตามการสัง่ งานของ Internal circuits หน้ าสัมผัสแบบN/O ก็จะต่อวงจรทาให้ หลอดไฟL1ติด
ฮาร์ ดแวร์ PLC 51

1.11 ส่วนประกอบของ CPU module FX5U, FX5UC


Built in analog I/O terminal block
Input terminals
terminal block

ฝาปิ ดเทอร์ มินอล


SD memory Input display LED
card slot
Operation Indicator
RUN/STOP/RESET Output display
switch LED

n
ฝาปิ ดเทอร์ มินอล

io
RS-485 terminal block

at
ด้ านในฝาปิ ด
European-type

m
-Expansion board connector
terminal block
-Battery connector

to
an m
au รู ป 1.73
c o

จากรู ป1.73 เป็ นส่วนประกอบภายนอกของPLC FX5U เทอร์ มินอลของFX5Uมีสองแบบ 1.


tri k.c
d
คือเทอร์ มินอลแบบทัว่ ไป ซึง่ เป็ นเทอร์ มินอลของอินพุทและเอาท์พทุ ขนาดสกรู M3 การต่อ
ec o

สายไฟคือใช้ หางปลาแฉกหรื อหางปลากลมยึดและขันสกรู 2. เทอร์ มินอลแบบEuropean


el no

การต่อสายไฟจะใช้ หางปลาแบบพินหรือสายเปลือยยึดกับเทอร์ มินอล และหมุนสกรูล็อก


n a
er lcs

Operation Indicator Input/ Output


od .p

display LED
M ww

Input connector
Built-in Ethernet
w

communication
connector Output connector
RS-485 terminal block Switches input/output of
the I/O display LED
ด้ านล่างPLC
รู ป 1.74 -Power connector for CPU module
-Battery connector
จากรู ป1.74 เป็ นส่วนประกอบภายนอกของPLC FX5U , FX5UC จะใช้ เฉพาะเทอร์ มินอล
แบบEuropean-type โดยใช้ เป็ นเทอร์ มินอลสาหรับ Built-in RS-485 communication ส่วน
อินพุทและเอาท์พทุ จะใช้ คอนเน็คเตอร์ 20พิน
ฮาร์ ดแวร์ PLC 52

กำรต่อสำยไฟอินพุทและเอำท์พุทของ FX5UC
FX5UC ไม่มีเทอร์ มินอลแบบสกรู สาหรับต่อสายไฟ การต่ออุปกรณ์ภายนอกกับอิ นพุทและ
เอาท์พทุ ของPLC มีสองแบบคือ
1. ใช้ สายcableเสียบที่คอนเน็คเตอร์ ของPLC และต่อสายเคเบิลออกมาที่เทอร์ มินอลโมดูล
และก็นาอุปกรณ์ภายนอกต่อกับ terminal module ดังรูปที่ 1.75
terminal module

n
io
FX5UC I/O cable นาอุปกรณ์ภายนอกต่อ

at
รู ป 1.75 กับ terminal module

m
to
2. ใช้ สายcable แบบมีคอนเน็คเตอร์ ด้านเดียว เสียบที่คอนเน็คเตอร์ ของPLC นาปลายสาย
an m
au
เคเบิลต่อกับอุปกรณ์ภายนอก ดังรูปที่ 1.76
c o
tri k.c
d

นาปลายสายต่อกับ
ec o
el no

อุปกรณ์ภายนอก
n a
er lcs

I/O cable
FX5UC คอนเน็คเตอร์ รู ป 1.76
od .p
M ww

โมเดลสำย I/O
w

I/O cable
1
FX-16E-500CAB-S , 5m สายเคเบิลแบบปล่อยลอย 1
FX-16E-150CAB , 1.5 m
สายเคเบิลแบบFlat สาหรับต่อ
FX-16E-300CAB , 3 m
terminal module (มีทอ่ หุ้ม) 2
FX-16E-500CAB , 5 m 2
FX-16E-150CAB-R ,1.5 m
สายเคเบิลแบบกลมสาหรับ
FX-16E-300CAB-R , 3 m
ต่อ terminal module
FX-16E-500CAB-R , 5 m 3 3
รู ป 1.77
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 86

ซอฟต์แวร์ที่ใช้เขียน Ladder diagram สำหรับ PLC MELSEC


การใช้ งานPLC ผู้ใช้ งาน(user)จะต้ องใช้ คอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ ประยุกต์ในการติดต่อกับ
PLC เช่น เขี ยนโปรแกรมไปยัง PLC โหลดโปรแกรมจากPLC ,monitorดูการทางานของ
โปรแกรม,เปลี่ยนแปลงค่าparameterของPLC เป็ นต้ น ซอฟต์แวร์ ประยุกต์ที่ใช้ เขียนโปรแกรม
แลดเดอร์ ใ ห้ กับPLC MELSEC (ในยุคที่ สอง,ยุคที่ สามและNew generation)เรี ย กว่ า
MELSOFT ซึง่ มี3ซอฟต์แวร์ คือGX developer, GX works2 และ GX works3 ซึง่ แต่ละ
ซอฟต์แวร์ สามารถใช้ ได้ กบั PLC ในแต่ละซีรีส์ได้ ดงั รูป 2.1

n
io
at
m
to
iQ-R series Q series Q series
an m
iQ-F series au L series L series
c o

F series F series
รู ป 2.1
tri k.c
d

โดยในคู่มือเล่มนี ้จะกล่าวเฉพาะซอฟต์แวร์ GX works2 โดยเราจะต้ องติดตังซอฟต์


้ แวร์ GX
ec o

works2 ให้ กบั คอมพิวเตอร์ เช่น PC, Laptop เป็ นต้ น


el no
n a

GX Works 2 เขียน program ไปยังPLC


er lcs

อ่าน program จากPLC


od .p
M ww

สายเคเบิล
Application software PLC
รู ป 2.2
w

การสื่อสารระหว่างPLC FX series กับซอฟต์แวร์ ประยุกต์ จะต้ องใช้ สายเคเบิล หรื อ เรี ยกว่า
สายโหลด(download cable) โดยสายเคเบิลด้ านหนึง่ จะต่อกับพอร์ ตสื่อสารของPLCและอีก
ด้ านต่อกับพอร์ ตสื่อสารของคอมพิวเตอร์
PLC จะทาหน้ าที่ประมวลผลโปรแกรมและทางานตามโปรแกรมที่ผ้ ูใช้ งาน(user)
เขียนโปรแกรมไว้ โปรแกรมที่เขียนไปยังPLC ก็จะมีหลายภาษา ขึ ้นอยู่กบั การเลือกใช้ งาน
ระบบปฏิบัติกำรที่ใช้ติดตั้งซอฟต์แวร์ประยุกต์
ซอฟต์แวร์ สามารถติดตังได้
้ ในระบบปฏิบตั ิการวินโดว์(Windows®) เท่านัน้
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 87

ภำษำโปรแกรมของPLC FX series (program languages in PLC FX series)


ภาษาโปรแกรมที่ใช้ ในการเขียนเพื่อให้ PLCทางานได้ มีหลายภาษา บางภาษาก็ใช้ ไ ด้ กบั PLC
บางรุ่น ภาษาโปรแกรมที่ใช้ กบั PLC FX series มี6แบบดังรูป2.3

ภาษาโปรแกรมทีใ่ ช้ในPLC FX series

List program Sequence SFC FBD Structured Structured


program program* program** Text*** Ladder

n
io
* Sequential Function Chart program (SFC program<STL step ladder>)

at
** Function Block Diagram program(FBD program)
รู ป 2.3

m
*** Structured Text (ST program)

to
an m
au
list program ,sequence program และSFC program คือ3ภาษาที่เข้ ากันได้ หมายถึงแต่ละ
c o

ภาษาสามารถเปลี่ยน(convert) ไปเป็ นอีกภาษาได้ เช่นsequence program สามารถแสดง


tri k.c
d
ในรูปแบบของ list program หรือ SFC program ก็ได้
ec o

ผู้ใช้ งานสามารถเลือกเขียนโปรแกรมโดยใช้ ภาษาใดก็ได้ แต่ก็ต้องพิจารณาด้ วยว่า


el no

PLCแต่ละรุ่นใช้ ได้ กบั ภาษาอะไร และซอฟต์แวร์ แต่ละตัวสามารถเขียนโปรแกรมภาษาใดได้


บ้ าง PLC FX seriesที่สามารถใช้ ได้ ทง6ภาษาคื
ั้ อรุ่นFX3S,FX3G,FX3GC,FX3GE,FX3Uและ
n a
er lcs

FX3UC
od .p

Programming language GX Works2 GX Developer


M ww

List programming
Sequence programming
w

SFC programming
ST
Structured ladder/FBD

ตาราง2.1 แสดงภาษาโปรแกรมแต่ละชนิดที่ใช้ ได้ กบั ซอฟต์แวร์ GX developer และ GX


works2 ,GX developerไม่สามารถเขียนภาษาโปรแกรมSTและFBD,GX works2 ไม่สามารถ
เขียนภาษา list program สาหรับเนือ้ หาของหนังสือPLCกับการควบคุมแบบซีเควนซ์ จะ
อธิบายเฉพาะภาษา sequence program และSFC program
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 88
โปรแกรมลำดับ (sequence program )
โปรแกรมลาดับคือโปรแกรมที่ทางานบนPLC และสร้ างโดยใช้ ซอฟต์แวร์ GX developer ,GX
works2 และGX works3 ภาษาที่ใช้ เขียนโปรแกรมเป็ นสัญลักษณ์แบบกราฟิ ก

อุปกรณ์ในวงจรเรียงจากซ้ายไปขวา
หน้าสัมผัส
เส้นวงจรแนวนอน
เส้นวงจรแนวตัง้
X0 X1 T1 คอยล์รเี ลย์
Y20
Y20
Y21

n
X0 คอยล์แบบวงเล็บ

io
เขียนเป็ นบรรทัด PLS M10 สีเ่ หลีย่ ม

at
จากบนลงล่าง Y20 K30

m
T1

to
หน้าสัมผัสแบบ T1 คอยล์แบบวงเล็บ
an m
สีเ่ หลีย่ ม
ลูกศร au MOV H41 D120
c o

รู ป 2.4
tri k.c
d
โปรแกรม(program)คือ กลุ่ มของคาสัง่ ที่ใ ห้
ec o

คอมพิวเตอร์ปฏิบตั ิ ส่วนคาว่าprogramming
el no

หมายถึงการเขียนโปรแกรม
n a
er lcs

รู ป ที่ 2.4 เป็ นตัว อย่ า งsequence program ซึ่งประกอบด้ ว ยกราฟิ กที่เ ป็ นแบบเดี ยวกับ
od .p

สัญลักษณ์ของอุปกรณ์ไฟฟ้าเช่นหน้ าสัมผัสแบบปกติปิด แบบปกติเปิ ด คอยล์ รีเลย์ เส้ นวงจร


M ww

ในแนวนอน เส้ นวงจรในแนวตัง้ ส่วนกราฟิ กแบบอื่นๆเช่นคอยล์วงเล็บสี่เหลี่ยม,หน้ าสัมผัสที่มี


ลูกศร เป็ นต้ นกราฟิ กทังหมดนี้ เ้ รี ยกว่าคาสั่ง (instruction) และกลุ่มของคาสั่งทัง้ หมดที่เขียน
w

ขึ ้นบนซอฟต์แวร์ เรียกว่าโปรแกรม(program)
โปรแกรมจะเขียนเป็ นลาดับ เป็ นบรรทัดๆ เริ่ มจากบรรทัดบนไปบรรทัดล่าง แต่ละ
บรรทัดมีการเรี ยงอุปกรณ์จากซ้ ายไปขวา ดังนันจะเรี ้ ยกโปรแกรมรู ปแบบนี ้ว่าโปรแกรมแบบ
ลาดับ(sequence program) ,sequence programเรียกได้ อีกหลายแบบเช่น วงจรแลดเดอร์
(ladder circuit) และแลดเดอร์ ไดอะแกรม(ladder diagram) เนื่องจากมีการเขียนวงจรเป็ น
แบบแลดเดอร์ หรื อเรี ยกว่าวงจรโปรแกรม(circuit program) เนื่องจากโปรแกรมมีรูปแบบ
เป็ นวงจรไฟฟ้า แต่คาว่าsequence program จะเป็ นทางการกว่า ,sequence program ถ้ า
แปลเป็ น ภาษาไทยจะเรี ย กว่ า โปรแกรมล าดั บ ซึ่ ง จะไม่ ส วยงาม ดั ง นัน้ การเขี ย นเป็ น
ภาษาอังกฤษก็จะเหมาะกว่า
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 111

กำรทำงำนของ PLC
ในการทางานของsequence program หน้ าสัมผัสที่ใช้ อปุ กรณ์อินพุท(X) จะทางานก็ต่อเมื่อ
มีสญั ญาณเข้ ามาที่เทอร์ มินอลอินพุท ส่วนหน้ าสัมผัสที่ใช้ อปุ กรณ์ Y, M, S, L นัน้ หน้ าสัมผัส
ในวงจรจะทางานก็ต่อเมื่อบิตเอาท์พุทของหน่วยความจานันๆท ้ างาน เช่น จากรู ป2.51 เมื่อ
สวิตช์S1 ONจะทาให้ รีเลย์อินพุทX0ทางาน ทาให้ หน้ าสัมผัสX0 ในโปรแกรมทางานด้ วย และ
ทาให้ คอยล์รีเลย์ M0 ON เมื่อคอยล์M0 ON หน้ าสัมผัสM0 ทุกๆอันในโปรแกรมก็จะทางาน
ด้ วย ซึง่ หน้ าสัมผัสM0 อันแรกจะON เพื่อล็อกการทางานของคอยล์รีเลย์ M0 ส่วนหน้ าสัมผัส
M0 อีกอันจะทาให้ Y0 ทางาน

n
Input relay X0 ON

io
สวิตช์ S1 ON
บิต X0 ON คอยล์รเี ลย์ M0 External output

at
ON Y0 ON

m
S1 X0 X1
X0 M0 Y0 L0

to
S2
X1 M0 Y1 L1
an m
S3
X2 au บิต M0 ON
c o

S4 M0
tri k.c

X3
d
Y0
‒ 0V X2 X3
ec o

M1
el no

+ 24V M1
n a

S/S COM
er lcs

M1
Y1
od .p
M ww

รู ป 2.51
w

หลังจากการประมวลผลโปรแกรมจบแล้ ว ก็จะได้ ผลลัพธ์ คือ Y0 ON, PLCก็จะสัง่ ให้ อปุ กรณ์


เอาท์พทุ Y0 ซึง่ เป็ นรีเลย์จริงทางาน และทาให้ หลอดไฟ L0 ติด กรณีที่สวิตช์ S2 ON จะทาให้
หน้ าสัมผัส X1 ON, X1เป็ นหน้ าสัมผัสแบบN/C เมื่อON ก็จะOpen และตัดการทางานของ
M0 ทาให้ Y0 OFF และหลอดไฟL0ดับ
ส่วนอีกวงจร หน้ าสัมผัสX3ในโปรแกรมเป็ นแบบปกติเปิ ด(N/O) แต่เนื่องจากสวิตช์S4
เป็ นแบบปกติปิด ดังนันรี ้ เลย์อินพุทX3 จึงONตลอดเวลา ทาให้ หน้ าสัมผัสX3ในโปรแกรมON
ตลอดเวลาด้ วย ดังนันเมื ้ ่อกดสวิตช์ S3 หน้ าสัมผัสX2 จะทาให้ M1 ON และทาให้ Y1 ทางาน
หลอดไฟ L1 ติด เมื่อต้ องการหยุดการทางานของY1 ทาได้ โดยการกดสวิตช์ S4 ซึง่ จะทาให้
หน้ าสัมผัส X3 OFF
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 115

กำรทำงำนของอุปกรณ์แบบบิตและเลขฐำน2
ทางาน=ON สถานะของอินพุทและเอาท์พทุ เลขฐานสอง
ไม่ทางาน=OFF
ON เอาท์พทุ ทางาน Y0 1

OFF เอาท์พทุ ไม่ทางาน Y0 0

X0
ON หน้ าสัมผัสแบบN/Oทางาน

n
1

io
at
X0
OFF หน้ าสัมผัสแบบN/Oไม่ทางาน

m
0

to
หน้ าสัมผัสแบบN/Cไม่ทางาน X0
an m
OFF au 0
c o
tri k.c
d
X0
ON หน้ าสัมผัสแบบN/Cทางาน 1
ec o
el no

ตาราง 2.8
n a
er lcs

ตารางที2่ .8 การทางานของบิตอินพุทและเอาท์พทุ จะถูกแปลความหมายให้ เป็ นเลขฐานสอง


od .p

ถ้ าบิตอินพุทและเอาท์พทุ ทางาน(ON) หมายถึงสถานะที่เป็ น1 ถ้ าบิตอินพุทและเอาท์พทุ ไม่


M ww

ท างาน(OFF) หมายถึง สถานะที่ เ ป็ น 0(ศูน ย์ ) เลขฐานสองจ าเป็ นอย่ า งมากในการเขี ย น


โปรแกรมโดยเฉพาะการใช้ คาสัง่ ประยุกต์
w

เราต้ องไม่แปลคาว่าON=เปิ ดและOFF=ปิ ด เนื่องจากจะทาให้ สบั สนกับคาว่าopen


(เปิ ด)และclose(ปิ ด) ซึง่ open หมายถึงหน้ าสัมผัสสวิตช์เปิ ดหรื อแยกออกจากกันทาให้ ไฟฟ้า
ไหลผ่านไม่ได้ ซึง่ ก็คือสถานะOFF ซึง่ ความหมายจะขัดแย้ งกัน
1และ0 คือภาษาคณิตศาสตร์ ที่เราสร้ างขึน้ มาแทนสภาวะการทางานของอุปกรณ์
เท่านัน้ เป็ นเพียงชื่อ เรี ยกเท่านัน้ การที่เราไม่ใช้ เลข0ถึง9 หรื อใช้ ภาษาพูด เนื่องจากการ
ทางานของอุปกรณ์มีแค่ONกับOFF ดังนันการใช้ ้ 1แทนการON และ0แทนการOFF จึงสะดวก
กว่ า และสามารถใช้ ใ นการค านวณได้ ด้ ว ย เนื่ อ งจากเลขฐาน2สามารถใช้ ค านวณทาง
คณิ ต ศาสตร์ ไ ด้ เ ช่ น เดี ย วกับ เลขฐาน10 ส่ ว นข้ อเสี ย ของการใช้ ภ าษาพูด ไม่ ว่ า จะเป็ น
ภาษาอังกฤษหรือภาษาไทยก็คือยาวและใช้ ในการคานวณไม่ได้ นนั่ เอง
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 117
X5=1
Y0 Y0=1 X5 1 1 Y0
X6=0 X6
Y1 Y1=0 0 0 Y1
X7=1 X7 1 1 Y2
Y2 Y2=1 X10 0 0 Y3
X10=0 destination
Y3 Y3=0 source

(ก) Circuit program รู ป 2.61 (ข)


วงจรแลดเดอร์ รูปที่2.61ก เป็ นการส่งผ่านข้ อมูลจากX5,X6,X7และX10ไปยังY0,Y1,Y2และY3

n
io
ตามลาดับ เช่นเมื่อX5 ON จะทาให้ Y0 ON,เมื่อX6 OFFทาให้ Y1 OFF เป็ นต้ น รู ปที่2.61ข

at
เป็ นการอธิบายการส่งผ่านข้ อมูลให้ เข้ าใจได้ ง่ายขึ ้นโดยไม่ต้องใช้ วงจรแลดเดอร์ สถานะของX

m
และYจะเขียนเป็ นกล่องต่อเรี ยงกัน ค่าในกล่องคือค่า 0และ1 เมื่อค่าของXเปลี่ยนจะทาให้

to
สถานะของYเปลี่ยนตามไปด้ วย Xคือข้ อมูลต้ นทาง ส่วนYคือข้ อมูลปลายทาง สถานะของ
an m
au
ข้ อมูลปลายทางเป็ นผลลัพธ์จากการเขียนโปรแกรม
c o

Timing chart
tri k.c
d
timing chart หรื อเรี ยกว่า timing diagram คือกราฟสัญญาณที่ใช้ อธิบายการON-OFFของ
ec o

อุปกรณ์ในวงจร ,อธิบายการเปลี่ยนแปลงข้ อมูลของdata register, อธิบายการนับของไทม์


el no

เมอร์ และเคาน์เตอร์ เป็ นต้ น


n a
er lcs

X0 OFF ON OFF X0 OFF ON OFF


od .p

T มาก รู ป 2.62
M ww

เวลา T น้อย
จากรูป2.62 เป็ นtiming chart ของบิตX0 แกนนอนคือช่วงเวลาการON OFF ถ้ าX0 ON นาน
w

เวลาTก็นาน ถ้ าX0 ON ในระยะเวลาสัน้ ระยะเวลาTก็น้อย รู ป2.63 จุดที่สญ


ั ญาณมีการ
เปลี่ยนจากOFFไปON(จาก0ไปยัง1)เรี ยกว่าขอบขาขึ ้น(rising edge) และจุดที่มีการเปลี่ยน
จากONไปOFF(จาก1ไปยัง0) เรียกว่าขอบขาลง(falling edge) สัญญาณขอบขาขึ ้นและขอบ
ขาลงเรียกอีกแบบว่าสัญญาณพัลล์(pulse signal)
จุดที่มีการเปลี่ยน จุดที่มีการเปลี่ยน
จาก OFF ไป ON จากON ไป OFF
X0 OFF ON OFF รู ป 2.63
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 118

2.6 รีเลย์ช่วยแบบทัว่ ไปและแบบจำค่ำได้


รี เลย์ช่วยแบบทัว่ ไป(general relay)เป็ นรี เลย์แบบจาค่าไม่ได้ ในขณะที่รีเลย์ ทางาน ถ้ าPLC
เปลี่ยนเป็ นโหมดSTOP (PLC stop คือกรณีที่ 1. แหล่งจ่ายไฟของPLC OFF 2.สวิตช์RUN/
STOP ของPLC อยู่ในตาแหน่งSTOP 3.กรณีPLC มีการerror และfault) รี เลย์จะหยุดการ
ทางาน และเมื่อPLC RUN อีกครัง้ รีเลย์จะไม่สามารถกลับมาทางานได้ อีก แต่รี เลย์ช่วยแบบ
จาค่าได้ (Latched relay)จะกลับมาทางานทันทีเมื่อPLC กลับมาอยู่ในสถานะRUN
X0 X1 X0 X1
M0 M500
M0 M500

n
io
M0 M500

at
Y0 Y0

m
(ก) (ข)

to
100VAC S1 S2
an m
au X0
c o
tri k.c

L N 24V S/S 0V X0 X1
d
PLC FX3U M500 ON OFF ON
ec o

COM0 Y0
el no

L1 สถานะ PLC PLC Run PLC off PLC Run


n a
er lcs

(ค) Control wiring (ง) Timing chart


od .p

รู ป 2.64
M ww

มีสวิตช์กดติดปล่อยดับS1,S2และหลอดไฟL1ต่อกับPLCดังรูป2.64ค พิจารณาวงจรรูป2.64ก
เป็ นการใช้ รีเลย์ช่วยแบบทัว่ ไป เมื่อกดS1 บิตX0 ON ทาให้ รีเลย์M0ทางานและหลอดไฟL1ติด
w

ขณะที่วงจรกาลังทางาน ถ้ าไฟ100VACที่จ่ายให้ PLCถูกตัดจะทาให้ PLCหยุดทางาน(stop)


M0ก็จะหยุดทางานด้ วย และหลอดไฟL1ดับ และเมื่อมีไฟจ่ายเข้ ามาอีกครัง้ M0จะไม่ทางาน
อีก ถ้ าต้ องการให้ M0ทางานก็จะต้ องกดสวิตช์S1อีกครัง้
ถ้ าเราใช้ latched relay เช่นเปลี่ยนจากM0เป็ นM500(M500คือlatched relay)ดังรู ป
2.64ข เมื่อX0 ON M500จะทางานและหลอดไฟL1ติด ขณะที่M500กาลังทางาน เมื่อ PLC
stopก็ จ ะท าให้ โ ปรแกรมหยุด ท างาน รี เ ลย์ Y0จะOFF หลอดไฟL1ก็ จ ะดับ ส่ ว นM500จะ
สามารถจาสถานะการทางานไว้ ได้ เมื่อมีไฟจ่ายเข้ ามาและPLC ทางานอีกครัง้ M500จะ
ทางานทันที ทาให้ Y0 ON และหลอดไฟL1ติด ถ้ าต้ องการหยุดการทางานของM500 ก็ทาได้
โดยการกดสวิตช์S2
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 127
กำรประมวลผลอินพุทและเอำท์พุท (I/O processing)

Input terminal Input processing output processing Output terminal


switch lamp

X0 Read in Input Output Read out Y0


X1 image latch Y1
X2 Y2
X3 memory memory Y3
power Photo Output power
coupler

n
io
Result is transfer to
Read out

at
Output latch memory

m
write

to
X0 Device
Program M0
an m
processing au image
c o

M0 Read out memory


tri k.c
d
Y0
Program circuit รู ป 2.82
ec o
el no

รูปที่2.82 เป็ นการประมวลผลของPLC ซึง่ มี3กระบวนการคือ


n a
er lcs

1. Input processing คือการประมวลผลทางด้ านอินพุท เมื่อสวิตช์ภายนอกทางาน ก็จ ะมี


สัญญาณครบวงจรซึง่ ทาให้ Photo coupler (input relay X )ทางาน การทางานของphoto
od .p

couplerจะถูกอ่านโดยInput image memoryซึง่ เป็ นหน่วยความจาด้ านอินพุท สัญญาณที่ส่ง


M ww

ให้ เทอร์ มินอลอินพุทจะมีการตรวจจับในช่ว งนีเ้ ท่านัน้ จากนัน้ ก็เปลี่ยนขั น้ ตอนไปยังการ


ประมวลผลโปรแกรม(program processing)
w

2. program processing จะมีการอ่านข้ อมูลจาก Input image memory ซึ่งจะทาให้


หน้ าสัมผัสอินพุทในวงจรแลดเดอร์ ทางาน ส่วนการทางานของคอยล์รีเลย์ M0หรื อY0จะถูก
เขียนไปยังdevice image memory และเมื่อมีการอ่านข้ อมูลจากdevice image memory ก็
จะทาให้ หน้ าสัมผัสเช่นM0ทางาน เมื่อมีการประมวลผลวงจรแลดเดอร์ ครบรอบแล้ ว สถานะ
ข้ อมูลของdevice image memory ก็จะถูกส่งไปยัง output latch memory
3. Output processing ข้ อมูลการON/OFFของอุปกรณ์จาก output latch memory จะทาให้
อุปกรณ์ทางด้ านเอาท์พทุ เช่นรี เลย์หรื อทรานซิสเตอร์ ทางาน เมื่อเราต่ออุปกรณ์ภายนอกเช่น
หลอดไฟก็จะทาให้ หลอดไฟทางาน จากนันการประมวลผลก็
้ จะกลับไปยัง input processing
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 145

2.11 คำสั่ง INV (invert the result of operations)


คาสัง่ INV คือคาสัง่ ที่ทาให้ คาสัง่ เอาท์พทุ มีสถานะการทางานตรงข้ ามกับหน้ าสัมผัสที่สงั่ งาน
สัญลักษณ์ ของคาสั่งจะเป็ นเส้ นเฉียงโดยตาแหน่งการวางจะตัดกับ connecting line ดัง
ตัวอย่างวงจรรูป2.116
X0 OFF OFF
Y0 X0 ON

INV Y0 ON OFF ON

n
Circuit program Timing chart

io
รู ป 2.116

at
จาก timing chart เอาท์พทุ Y0 จะทางานตรงข้ ามกับX0 เมื่อX0 OFF Y0ก็จะON และถ้ าX0

m
ON Y0 ก็จะOFF การเขียนคาสัง่ ทาได้ ดงั นี ้

to
an m
au
c o
tri k.c
d
1 1. เลื่อนเคอร์ เซอร์ ไปยังจุดที่ต้องการใช้ คาสัง่
ec o
el no
n a
er lcs

2 2.กดEnter และเลือกสัญลักษณ์ -/-


od .p
M ww
w

รู ป 2.117

3.กดEnter อีกครัง้ ก็จะได้ วงจรดังรูป 2.118

รู ป 2.118
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 153

2.14 คำสั่ง PLS , PLF


คาสั่งPLS(Pulse) และPLF(Pulse falling) คือคาสั่งพืน้ ฐานที่ทาให้ อุปกรณ์ แบบบิตมีการ
ทางานในช่วงเวลาสันๆเท่
้ ากับ1operation cycle มีรูปแบบของคาสัง่ คือ
Input contact Input contact
PLS Y , M PLF Y, M
(ก) (ข)
รู ป 2.138
อุปกรณ์แบบบิตที่สามารถใช้ ได้ คือ รีเลย์เอาท์พทุ Yและรีเลย์ช่วยM

n
io
รูปแบบกำรทำงำน

at
การทางานของคาสัง่ PLSและPLFเป็ นแบบพัลล์(pulse operation) จากรู ป2.139 คาสัง่ PLS

m
จะทางานเมื่อ สัญญาณinput contact เปลี่ยนจากOFFเป็ นON ส่วนPLFจะทางานเมื่ อ

to
สัญญาณinput contact เปลี่ยนจากONเป็ นOFF เมื่อคาสัง่ PLSและPLFทางาน 1operation
an m
au
cycle จะทาให้ อปุ กรณ์แบบบิตทางาน 1operation cycle เช่นกัน
c o
tri k.c
d
Rising edge pulse Falling edge pulse
ec o

Input contact OFF ON OFF ON


el no
n a

PLS
er lcs
od .p

ON 1 operation cycle
PLF
M ww

ON 1 operation cycle รู ป 2.139


w

ตาราง2.11 Applicable device


Bit devices Word devices
คาสัง่ System user Special expansion System user index

X Y M S D.b U\G T C D R V Z modify


PLS 1 2
PLF 1 2
1. ยกเว้ นรีเลย์ช่วยพิเศษที่ไม่สามารถใช้ ได้ 2. ใช้ ได้ เฉพาะPLC FX3UและFX3UC
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 154

ตัวอย่ำงกำรทำงำนของคำสั่ง PLS
X0 X0
PLS M0 M0
(ก) (ข)
X0 ON OFF ON
ON 1 operation cycle
รู ป 2.140
(ค) M0

n
io
at
จากวงจร2.140ก เมื่อX0 ทางาน คาสัง่ PLS จะทางาน และทาให้ M0ทางานในช่วงเวลา1วัฏ

m
จักรการดาเนินการ ช่วงเวลาONของM0จะเท่ากับoperation cycle ,M0จะทางานอีกครัง้ ก็
ต่อเมื่อเราOFF X0และON X0 อีกครัง้ ซึง่ หมายความว่าM0 จะทางานทุกๆครัง้ ที่X0มีการ

to
an m
เปลี่ ย นสถานะจากOFFไปON วงจรรู ป 2.140ข เป็ น การใช้ หน้ า สัม ผัส แบบ upward
au
c o

differentiation (สัญลักษณ์ลกู ศรชี ้ขึ ้น) สัง่ งานM0 แทนการใช้ คาสัง่ PLS ส่วนเอาท์พทุ M0 ใช้
tri k.c
d
เป็ นแบบคอยล์รีเลย์ ก็จะได้ การทางานของM0เป็ นแบบพัลล์เช่นกัน
การทางานแบบพัลล์มีประโยชน์ในกรณีที่เราต้ องการสัง่ งานเพียงแค่ครั ง้ เดียวโดยไม่
ec o
el no

สนใจว่าหน้ าสัมผัสอินพุทนันจะONนานกี
้ c่ ycle ก็ตาม
n a

ตัวอย่ำงกำรทำงำนของคำสั่ง PLF
er lcs

X0 X0
od .p

PLF M0 M0
M ww

(ก) (ข)
w

X0 OFF ON OFF ON
ON 1 operation cycle
(ค) รู ป 2.141
M0

จากรู ป2.141ก เป็ นการทางานของคาสัง่ PLF เมื่อX0 ON M0จะไม่ทางาน แต่เมื่อX0 OFF


คาสัง่ PLFจะทาให้ M0 ON ทันทีเป็ นระยะเวลาเท่ากับ1 operation cycle ส่วนรู ปที่2.141ข
เป็ นวงจรที่ทางานแบบเดียวกับคาสัง่ PLF โดยใช้ หน้ าสัมผัสแบบ downward differentiation
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 193
ไทม์เมอร์แบบจำค่ำได้ (Retentive timers)
ไทม์เมอร์ แบบretentive คือไทม์เมอร์ ที่สามารถจาค่าได้ เมื่อ PLCหยุดทางาน หรื อคอยล์ของ
ไทม์เมอร์ หยุดทางาน ค่าที่ไทม์เมอร์ นบั ก็จะถูกรักษาไว้
X0 K100 T250คือไทม์เมอร์ แบบ0.1s และ
T250
เป็ นแบบจาค่าได้ ถ้ าตังเวลาเท่
้ ากับ
T250
Y1 K100จะได้ เท่ากับ0.1sx100=10s
X1 (10วินาที)
RST T250

n
รูป 2.212

io
at
10sec 10sec

m
to
X0 ON OFF ON
an m
au Set value (10sec)
c o

current value 5sec


tri k.c
d
ec o

Y1 OFF ON
el no
n a

X1 ON
er lcs
od .p

Current value คือค่าทีก่ าลังนับ รู ป 2.213


M ww
w

วงจรรู ปที่2.212 เป็ นการใช้ งานไทม์เมอร์ แบบจาค่าได้ เมื่อบิต X0 ONจะทาให้ T250เริ่ มนับ
เวลา ถ้ าX0 OFF เวลาที่นบั ไว้ แล้ วก็จะไม่หายไป ถ้ าแหล่งจ่ายไฟที่จ่ายให้ PLCดับ ไทม์เมอร์ ก็
จะจาค่าเวลาได้ เช่นกัน เช่นสมมุติว่าT250นับเวลาไปได้ 5วินาทีแล้ วX0 OFFไทม์เมอร์ ก็จะไม่
ทางานและไม่นบั เวลาต่อ แต่ไทม์เมอร์ ยงั คงเก็บค่าเวลา5วินาทีไว้ อยู่ เมื่อX0 ONอีกครัง้ ไทม์
เมอร์ จะเริ่มนับเวลาต่อจาก5วินาที เมื่อถึงเวลา10วินาที หน้ าสัมผัสของT250 ก็จะONและทา
ให้ Y1ทางาน เนื่องจากเป็ นไทม์เมอร์ แบบจาค่าได้ การที่จะทาให้ ไทม์เมอร์ เริ่ มนับเวลาใหม่
จะต้ องใช้ คาสัง่ RST(reset) เพื่อclearค่าที่ไทม์เมอร์ นบั ถ้ าX1 ON ค่าเวลาของT250จะถูกรี
เซ็ตให้ เป็ นศูนย์
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 195
ตัวอย่ำงโปรแกรมกำรใช้ไทม์เมอร์หน่วงเวลำตัดกำรทำงำน (Off delay)
S1และS2เป็ นสวิตช์ปมุ่ กดแบบกดติดปล่อยดับ L1คือหลอดไฟ ต่อกับPLCดังรู ป2.216ก การ
ทางานของวงจรคือเมื่อกดS1จะทาให้ หลอดไฟL1 ติด10วินาที เมื่อครบ10วินาทีให้ L1ดับส่วน
S2คือสวิตช์หยุดการทางาน สามารถกดเพื่อหยุดการทางานได้ ทกุ เวลา
Push button switch X0 X1 T1
100VAC S1 S2 M0
M0
L N 24V S/S 0V X0 X1
PLC FX3U M0
Y1

n
COM0 Y1

io
M0 K100
L1

at
T1

m
100VAC (ก) (ข)

to
Wiring diagram Circuit program
รูป 2.216
an m
au
c o

จากวงจร2.216ข เมื่อกดS1 หน้ าสัมผัสX0ในวงจรโปรแกรม(circuit program) จะON ทาให้


tri k.c
d
M0 ON และM0ล็อกตัวเอง หน้ าสัมผัสM0จะต่อให้ Y1ทางานและก็ต่อให้ T1นับเวลา เมื่อครบ
ec o

10วินาทีหน้ าสัมผัสT1แบบNC จะตัดการทางานของM0และทาให้ Y1หยุดทางาน


el no

ตัวอย่ำงโปรแกรมกำรใช้ไทม์เมอร์หน่วงเวลำต่อ (On delay)


n a
er lcs

จากอุปกรณ์ ในตัวอย่างที่แล้ ว กาหนดให้ การทางานของวงจรคือ เมื่อกดS1 ให้ นับเวลา10


วินาที เมื่อครบ10วินาทีให้ หลอดไฟL1ติด ส่วนS2คือสวิตช์หยุดการทางาน
od .p
M ww

X0 X1
M0
w

M0
M0 K100
T1
T1
Y1 รู ป 2.217

จากวงจร2.217 การทางานคือเมื่อกดสวิตช์ S1 บิตX0จะทางาน ทาให้ M0ทางาน หน้ าสัมผัส


M0จะต่อให้ T1ทางาน และนับเวลา10วินาที เมื่อครบ10วินาทีหน้ าสัมผัสT1แบบN/O จะON
และทาให้ Y1 ON
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 196
กำรใช้ไทม์เมอร์แบบ Potentiometer
วงจรรู ป2.218ก การทางานคือเมื่อกดS1จะทาให้ หลอดไฟL1ติด เวลาที่L1ติดสามารถตังค่ ้ า
ได้ ตงแต่
ั ้ 0-255วินาทีโดยใช้ ไทม์เมอร์ potentiometer และเมื่อครบเวลาที่ตงั ้ L1ดับ ส่วนS2คือ
สวิตช์หยุดการทางานวงจร
X0 X1 T1
Push button switch S1 S2 M0
M0
S/S X0 X1 M0
PLC FX3G Y1

n
24V 0V COM1 Y1

io
M8003
MUL D8030 K10 D20

at
L1

m
100VAC M0 D20
T1

to
(ก) (ข)
an m
au รู ป 2.218
c o
tri k.c
d
ec o
el no

VR1
n a
er lcs

VR2 0 255
od .p

VR1
M ww

upper port,D8030 read form VR1 Variable analog potentiometer


lower port,D8031 read form VR2
รู ป 2.219
w

จากวงจรรู ป2.218ข เป็ นการใช้ ไทม์เมอร์ potentiometer ของPLC FX3G โดยให้ T1นับเวลา
ตามค่าของD8030(VR1) VR1ตังค่ ้ าได้ ตงแต่
ั ้ 0-255 (เมื่อหมุนไปซ้ ายสุดจะได้ ค่า0 เมื่อหมุนไป
ตาแหน่งขวาสุดจะได้ เท่ากับ255) T1เป็ นไทม์เมอร์ แบบ100ms ซึง่ เมื่อT1นับค่าตามD8030
ไทม์เมอร์ T1จะนับเวลาได้ ตงแต่
ั ้ 0-25.5sec แต่เราต้ องการเวลา0-255วินาที ดังนัน้ จะต้ องนา
D8030คูณกับ10ก่อน จะได้ ค่าคงที่ตงแต่
ั ้ 0-2550
สมมุติตงค่
ั ้ าของVR1เท่ากับ255จะได้ ค่าD20เท่ากับ2550 เมื่อX0 ON จะทาให้ Y1
ON และทาให้ หลอดไฟL1ติด และไทม์ เมอร์ T1ก็จะนับเวลาตามค่าของD20 เมื่อครบ255
วินาที หน้ าสัมผัสแบบN/C ของT1จะON และตัดการทางานของM0 ทาให้ Y1หยุดทางาน
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 204
General counter กำรนับพัลล์ขำลง
X0 วงจรรู ป ที่ 2.228 เป็ น การนับ จ านวน
PLF M20
พัลล์ขาลงของX0 ซึง่ จะต้ องใช้ คาสั่ง
M20 K5
C1 PLF เข้ ามาช่วย เมื่อX0 เปลี่ยนจาก
C1 ONเป็ นOFF คาสัง่ PLF จะทาให้ M20
Y1 ON
X1
RST C1 รู ป 2.228
ON
X0 OFF

n
io
M20

at
+1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1
5

m
4
3

to
2
1 current value 1
an m
C1 0 au
c o
tri k.c

OFF
d
Y1 ON
X1 OFF ON (reset)
ec o
el no

รู ป 2.229
การใช้เคาน์เตอร์กับคาสั่งประยุกต์
n a

Basic instruction
er lcs

memory
X0 K100
C0 Word device (C0)
od .p

X2
M ww

MOV K2 C0 Current value


X3
w

MOV K0 C0
X1
RST C0 applied instruction
รู ป 2.230
จากวงจร2.230 เป็ นการใช้ C0กับคาสัง่ พื ้นฐานคือใช้ นบั จานวน(ใช้ กบั คาสั่งOUT) และใช้ กบั
คาสัง่ ประยุกต์(ใช้ กับคาสัง่ MOV) โดยC0 ใช้ นบั จานวนการONของX0 ค่าที่C0นับจะนาไป
เก็บที่หน่วยความจาของC0 สมมุติว่าC0นับได้ 20 เมื่อX2 ON คาสัง่ MOV จะเขียนค่าคงที2่ ไป
ยังหน่วยความจาC0 ดังนันค่ ้ าที่C0นับก็จะเท่ากับ2 เมื่อX0 ON ค่าที่นบั ก็จะเริ่ มจาก2 กรณีที่
X3 หรือX1 ON ค่าของC0จะเท่ากับศูนย์
คาสัง่ ประยุกต์ 223

บทที ่
Main routine program
3 ค าสั ่ ง ประยุ ก ต์
main routine program หรือเรียกสันๆว่
้ าmain routineหรือmain program คือวงจรแลดเดอร์
ที่นบั จากstep0 จนถึงคาสัง่ END, main program คือโปรแกรมหลักที่ PLCจะประมวลผล
เสมอเมื่อPLC RUN เมื่อประมวลผลถึงคาสัง่ ENDก็คือครบการประมวลผลโปรแกรม
X0
Step 0 Y0 Routine =
X0 ชุดคาสัง่
Main routine CJ P1

n
io
program X2
P1 Y2

at
รูป 3.1

m
END END processing

to
Sub routine program
an m
au X0
c o

Y0
tri k.c
d
X0
Main routine CALL P2
ec o

program X2
el no

Y2
n a

FEND FENDคือคาสัง่ ที่


er lcs

X3 ระบุขอบเขตของ
Sub routine P2 Y3 main program
od .p

program X4
M ww

Y5
SRET
w

รูป 3.2 END


subroutine program หรื อเรี ยกสัน้ ๆว่าsubroutineหรื อsub program คือโปรแกรมย่อยที่
เขียนแยกออกจากmain program และมีการประมวลผลวงจรแยกออกจาก main program
การเพิ่มsub program จะต้ องเขียนคาสัง่ FENDปิ ดท้ ายmain programก่อน และตามด้ วย
การเขียนวงจร sub program และจะต้ องใช้ คาสัง่ SRETปิ ดท้ าย sub programด้ วย,SRETคือ
คาสัง่ สาหรับreturn เพื่อกลับไปประมวลผลที่ main program ส่วนคาสัง่ END คือคาสัง่ จบ
การประมวลผลทังหมดและเปลี
้ ่ยนการทางานไปที่ output processing , sub routine จะ
ทางานก็ต่อเมื่อถูกเรียกโดยคาสัง่ CALLและCALLP ซึง่ เป็ นคาสัง่ ที่เขียนไว้ ใน main program
คาสัง่ ประยุกต์ 224

Interrupt routine program


interrupt routine program หรื อเรี ยกสันๆว่
้ า interrupt routine หรื อinterrupt program คือ
วงจรแลดเดอร์ ที่มีการประมวลผลวงจรแยกออกจาก main program กรณีที่เราเพิ่มinterrupt
program, interrupt program จะอยู่ด้านล่างของmain programหลังจากคาสัง่ FEND แต่ถ้า
มีsub program อยู่แล้ ว interrupt program จะอยู่ด้านล่างของ sub program หลังคาสัง่
SRET ตาแหน่งของ interrupt program และsub program สามารถสลับกันได้
1 เมื่อใช้ Interrupt program
EI
X0 จะต้ องเขียนคาสั่ง Enable

n
Y0 interruptที่ Main routine

io
Main routine X0 programด้ วย

at
program CALL P2
X2

m
Y2 ค าสั่ง FENDคื อ ค าสั่ง ที่

to
ระบุ ว่ า สิ น้ สุ ด เขตของ
an m
au FEND main routine program
c o

Subroutine X3
P2
tri k.c

Y3
d
program คาสัง่ SRET คือคาสัง่
SRET สาหรับreturn เพื่อ
ec o
el no

M0 2 K50 กลับไปประมวลผลที่
Interrupt C0 main routine program
I001
n a

program
er lcs

IRET คาสัง่ IRET คือคาสัง่


3
od .p

END สาหรับreturn เพื่อ


Pointer number กลับไปประมวลผลที่
M ww

รู ป 3.3 main routine program


w

จากรู ป3.3 การใช้ งาน interrupt program จะต้ องมีสามส่วนคือ 1. คาสั่ง EI( Enable
interrupt) ซึง่ เขียนที่main program เพื่อเปิ ดการใช้ งาน interrupt program 2. interrupt
program ซึง่ ก็คือวงจรแลดเดอร์ ทวั่ ไป และปิ ดท้ ายโปรแกรมด้ วยคาสัง่ IRET เราสามารถเขียน
interrupt routine ได้ จานวนหลายๆโปรแกรม 3. Interrupt pointer ใช้ ค่กู ับ interrupt
program ใช้ สาหรับระบุว่าจะให้ มีประมวลผล interrupt program ตอนไหน เมื่อ Interrupt
pointer ที่เราระบุไว้ ทางาน main program จะหยุดการประมวลผลชั่วคราว และPLCก็จะ
เปลี่ยนมาประมวลผลที่ interrupt program และเมื่อประมวลผลถึงคาสั่งIRETแล้ ว การ
ประมวลผลจะกลับไปที่ main routine program
คาสัง่ ประยุกต์ 254

3.14 คำสั่ง ALT , ALTP


คาสัง่ ALT (Alternate state) คาสัง่ ที่ทาให้ อุปกรณ์แบบบิต ONและOFFสลับกันเมื่อคาสั่ง
ทางานต่อเนื่อง และคาสั่งALTPคือคาสัง่ ที่ทาให้ อปุ กรณ์แบบบิตONและOFFสลับกันเมื่อมี
สัญญาณขาขึ ้นของหน้ าสัมผัสสัง่ เข้ ามา รูปแบบของคาสัง่ คือ
Input instruction
ALT D D คืออุปกรณ์แบบบิต

Input instruction
ALTP D รู ป 3.54

n
io
at
รูปแบบกำรทำงำน

m
การทางานของคาสัง่ ALTเป็ นแบบต่อเนื่อง(continuous operation) คือทางานทุกๆoperation

to
cycle ส่วนการทางานของคาสัง่ ALTPเป็ นแบบพัลล์(pulse operation)
an m
au X0
c o

ALTP M0
tri k.c
d
รู ป 3.55
ec o
el no

PLC RUN
X0
n a

1 2 3 4
er lcs

M0 ON OFF ON
od .p
M ww

จากรู ป3.55 เป็ นการทางานของคาสั่ง ALTP เมื่อ X0 ON ในครั ง้ แรกนับจากPLC RUN


สัญญาณขาขึ ้นของX0จะทาให้ M0ทางาน เมื่อมีสญ ั ญาณขาขึ ้นของX0 ในครัง้ ที่2จะทาให้ M0
w

OFF และเมื่อมีสญ ั ญาณขาขึ ้นในครัง้ ที่3จะทาให้ M0 ON สลับกันไปเรื่อยๆ


ตาราง 3.15 แสดงอุปกรณ์แบบบิตที่สามารถใช้ ได้
Bit devices Word devices
opera System user Special expansion System user index
nd
X Y M S D.b U\G T C D R V Z modify
D 1

1. ใช้ ได้ เฉพาะPLC FX3UและFX3UC


คาสัง่ ประยุกต์ 255

X0
ALT M0
รู ป 3.56

X0 ON

M0 ON OFF ON OFF ON OFF ON

จากรูป3.56 เป็ นการทางานของคาสัง่ ALT เมื่อX0 ON ตลอดในทุกoperation cycle จะทาให้


M0ทางานON OFFสลับกันด้ วยความเร็ วสูง แต่ถ้าเราจ่ายสัญญาณพัลล์ให้ กับคาสั่งALT

n
คาสัง่ ALT ก็จะทางานเหมือนกับคาสัง่ ALTP

io
at
X0 X0
ALT M0 ALTP M0

m
to
(ก) (ข)
an m
au รู ป 3.57
c o
tri k.c
d
จากรูป3.57ก บิตX0ใช้ เป็ นแบบพัลล์ขาขึ ้นเพื่อสัง่ งานคาสัง่ ALT และรูปที่3.57ข บิตX0 ใช้ เป็ น
หน้ าสัมผัสแบบNOธรรมดาเพื่อสัง่ งานคาสัง่ ALTP ซึง่ วงจรทังสองแบบท
้ างานเหมือนกัน
ec o
el no

X3 T1 K10
n a

T1 รู ป 3.58
er lcs

X3 T1
ALT Y10 วงจรไฟกระพริบ
od .p

(Flicker)
M ww

X3 ON
w

1s 1s 1s 1s 1s 1s
T1

Y10

จากรูป3.58 เป็ นเขียนวงจรไฟกระพริบโดยใช้ คาสัง่ ALT เมื่อX3 ON T1จะนับเวลา1วินาทีแล้ ว


ตัดการทางานของตัวเอง ส่วนหน้ าสัมผัส T1แบบNO จะONในระยะเวลาสันๆ ้ และจะทาให้
Y10 ON OFF สลับกันทุกๆ1วินาที
คาสัง่ ประยุกต์ 260

3.17 คำสั่ง MOV , MOVP, DMOV , DMOVP


กำรส่งผ่ำนข้อมูลแบบ 16 บิตและ32 บิต (16 bit&32 bit data transfer)
MOV,MOVP DMOV,DMOVP
16bits 32bits

คาสั่งMOV (MOVย่อมาจากMove) คือคาสัง่ สาหรับย้ ายข้ อมูลของอุปกรณ์ แบบเวิร์ด จาก


เวิร์ดหนึง่ (ต้ นทาง)ไปยังอีกเวิร์ดหนึง่ (ปลายทาง) รูปแบบของคาสัง่ คือ
Input instruction

n
MOV S D รู ป 3.67

io
at
S D

m
การย้ายข้อมูล 16-bit or 32-bit Transfer data 16-bit or 32-bit

to
จากSไป D binary data binary data
an m
au
c o

S(source) คื อ เวิ ร์ ด ต้ น ทาง,D(destination)คื อ เวิ ร์ ด ปลายทาง ,Input instruction คื อ


tri k.c
d
หน้ าสัมผัสอินพุทใช้ สาหรับทาให้ คาสั่ง MOVทางาน เมื่อ Input instruction ON จะทาให้
คาสัง่ MOV ทางาน และข้ อมูลของเวิร์ดSจะถูกเขียนไปที่เวิร์ดD
ec o
el no

รูปแบบกำรทำงำน
n a
er lcs

การทางานของคาสัง่ MOVและDMOV เป็ นแบบต่อเนื่อง(continuous operation) ส่วนการ


ทางานของคาสัง่ MOVP,DMOVP เป็ นแบบพัลล์ (pulse operation) คาสั่งMOV,MOVP ใช้
od .p

กับข้ อมูลแบบ16บิต คาสัง่ DMOV,DMOVPใช้ กบั ข้ อมูลแบบ32บิต


M ww

ตาราง 3.18 แสดงอุปกรณ์ที่สามารถใช้ ได้


w

Word devices Others


Digit System user Special index constant
operand
specification module
type
KnX KnY KnM KnS T C D R U\G V Z modify K H

S 1 2
D 1 2

1. ใช้ ได้ เฉพาะPLC FX3G,FX3GC,FX3UและFX3UC


2. ใช้ ได้ เฉพาะPLC FX3UและFX3UC
คาสัง่ ประยุกต์ 261

ตัวอย่ำงกำรทำงำนของคำสั่ง MOV
X0
MOV D1 D10 รู ป 3.68

X0 OFF ON OFF ON OFF

D1 30 75 130

D10 0 30 75 130

n
io
จากวงจร3.68 ก่อนคาสัง่ ทางาน สมมุติว่าD1=30และD10=0 เมื่อX0 ONค่าของD1จะถูก

at
เขียนไปที่D10 ,D10จะเท่ากับ30 ขณะที่X0 ยังONอยู่ คาสัง่ MOVก็จะทางานตลอด เมื่อค่า

m
ของD1เปลี่ยนเป็ น75 ค่าของD10จะเท่ากับ75ด้ วย เมื่อX0 OFF คาสัง่ MOVจะหยุดทางาน

to
an m
ในช่วงที่X0 OFF ถ้ าD1เปลี่ยนค่าเป็ น130 ค่าของD10 จะยังไม่เปลี่ยนตามเนื่องจากคาสัง่
au
c o

MOVยังไม่ทางาน และเมื่อX0 ON คาสัง่ MOVก็จะเขียนค่าD1ไปยังD10 ,D10ก็จะเท่ากับ130


tri k.c
d
ตัวอย่ำงกำรทำงำนของคำสั่ง MOVP
ec o
el no

คาสัง่ MOVP คือคาสัง่ ย้ ายข้ อมูลเพียงครัง้ เดียวใน 1operation cycle


n a

X0
er lcs

MOVP D200 D600


รู ป 3.69
od .p
M ww

X0 OFF ON OFF ON OFF


w

D200 50 1000

D600 0 50 1000

จากวงจร3.69 ก่อนคาสัง่ ทางาน สมมุติว่าD200=50 และD600=0 เมื่อX0 ONค่าของD200


จะถูกเขียนไปที่D600 และD600จะเท่ากับ50 เมื่อค่าของD200เปลี่ยนเป็ น1000ในขณะที่X0
ยังคงONอยู่ ค่าของD600จะไม่เปลี่ยนแปลง คือจะเท่ากับ50เหมือนเดิม ถ้ าต้ องการให้ D600
เท่ากับ1000 จะต้ องOFFบิตX0 ก่อนและON X0อีกครัง้ D600ก็จะเท่ากับ1000 ดังนันข้้ อมูล
จะถูกเขียนไปยังD600 ทุกครัง้ ที่X0มีการเปลี่ยนสถานะจากOFFไปON
คาสัง่ ประยุกต์ 262

วงจรแลดเดอร์ รูป3.70 การทางานของวงจรคือX0ต่อให้ Y0ทางาน X1ต่อให้ Y1ทางาน X2ต่อ


ให้ Y2ทางาน และX3ต่อให้ Y3ทางาน Y0ถึงY3จะON-OFFตามการทางานของX0ถึงX3
X0
Y0 X0 = 1 , Y0 =1
K1X0= 0101=5
X1 K1Y0= 0101=5
Y1 X1 = 0 , Y1 =0
X2
Y2 X2 = 1 , Y2 =1
รู ป 3.70
X3
Y3 X3 = 0 , Y3 =0

n
io
การทางาน
S

at
แสดงค่าเป็ นเลขฐาน10 8 4 2 1
เหมือนกัน

m
0 1 0 1 K1X0=
X3 X2 X1 X0 0101=5

to
M8000 5 5
an m
MOV K1X0 K1Y0
au 8 4 2 1 D
c o

0 1 0 1 K1Y0=
tri k.c
d
การพิมพ์คาสัง่ ทาได้ โดยกดF8 พิมพ์ คาว่า Y3 Y2 Y1 Y0 0101=5
ec o

MOV เว้ นวรรค ตามด้ วยเวิร์ดต้ นทางK1X0


el no

เว้ นวรรค และตามด้ วยเวิร์ดปลายทางK1Y0 รู ป 3.71


n a

เราสามารถย่อวงจรแลดเดอร์ ที่ต้องเขียน4บรรทัด ให้ เหลือ 1บรรทัดโดยใช้ คาสั่งMOV จาก


er lcs

วงจรรูป3.71 ข้ อมูลX0ถึงX3เมื่อเขียนเป็ นเวิร์ดจะได้ K1X0 ส่วนY0ถึงY3เมื่อเขียนเป็ นเวิร์ดจะ


od .p

ได้ K1Y0 โดยK1X0คือเวิร์ดต้ นทางส่วนK1Y0คือเวิร์ดปลายทาง เมื่อคาสัง่ MOVทางาน ข้ อมูล


M ww

ของK1X0จะถูกย้ ายไปที่K1Y0 ,M8000คือรีเลย์ช่วยพิเศษที่ONตลอดเวลาที่PLCทางาน และ


จะท าให้ ค าสั่ง MOV ท างานตลอดทุก ๆoperation cycle ถ้ าข้ อ มูล ของเวิ ร์ ด ต้ นทาง
w

เปลี่ยนแปลง ข้ อมูลของเวิร์ดปลายทางก็จะเปลี่ยนแปลงตามไปด้ วย
สาหรับวงจรแลดเดอร์ ธรรมดา เมื่อวงจรอยู่ในโหมดมอนิเตอร์ เราจะเห็นการON-OFF
ของบิตX0ถึงX3 และY0ถึงY3 แต่เมื่อX0ถึงX3 และY0ถึงY3 อยู่ในรู ปแบบของอุปกรณ์แบบ
เวิร์ด(K1X0,K1Y0) เราจะไม่เห็นการON-OFFของอุปกรณ์ ซอฟต์ แวร์ จะแสดงค่าของเวิ ร์ด
K1X0และK1Y0เป็ นเลขฐาน10 เช่นจากรู ป 3.71 ค่าของK1X0และK1Y0เท่ากับ0101 ซึ่ง
ซอฟต์แวร์ จะแสดงค่าเท่ากับ5 ถ้ าเราต้ องการดูว่าบิตไหนของX0ถึงX3 มีค่าเป็ น1 สามารถดู
ได้ ที่device batch monitor ที่ซอฟต์แวร์ GX DeveloperหรือGX works2
คาสั่งMOVจะสะดวกในการย้ ายข้ อมูลทีละมากๆ และทาให้ วงจรแลดเดอร์ มีข นาด
เล็ก แต่ถ้าเป็ นวงจรควบคุมธรรมดาที่ไม่ต้องมีการย้ ายข้ อมูล คาสัง่ MOVก็จะไม่จาเป็ น
คาสัง่ ประยุกต์ 269

3.18 คำสั่ง BMOV , BMOVP


คาสัง่ BMOV(ย่อมาจากBlock move)และBMOVP คือคาสัง่ ย้ ายข้ อมูลเหมือนกับMOV แต่
เป็ นการย้ ายข้ อมูลเป็ นกลุ่ม รูปแบบของคาสัง่ มีดงั รูป3.85
Input contact
BMOV S D n n  512
รู ป 3.85
BMOV คือการย้ าย 16-bit binary data 16-bit binary data
ข้ อมูลจากSไป D S D
ตาราง 3.19 set data Transfer data

n
io
สัญลักษณ์ ความหมาย ประเภทข้อมูล

at
S Transfer source data or device number storing data 16 - bit binary

m
D Transfer destination device number 16 - bit binary

to
n Number of transferred points [ n ≤ 512 ] 16 - bit binary
an m
au
c o

จากตาราง3.19 Sคือเวิร์ดต้ นทางตัวแรกที่ต้องการย้ าย ,Dคือเวิร์ดปลายทางตัวแรกที่รับข้ อมูล


tri k.c
d
,nคือจานวนจุดของการส่งผ่าน ซึง่ เป็ นค่าคงที่ , SและDจะต้ องเป็ นอุปกรณ์แบบเวิร์ดขนาด16
ec o

บิต กรณีอปุ กรณ์แบบเวิร์ดขนาด32บิต เช่นเคาน์เตอร์ แบบ32บิต(C200-219,C220-C234)ไม่


el no

สามารถใช้ กบั คาสัง่ BMOVได้


n a

รูปแบบกำรทำงำน
er lcs

BMOV คือคาสัง่ ที่มีการทางานแบบต่อเนื่อง ส่วนBMOVP มีการทางานเป็ นแบบพัลล์


od .p

ตาราง 3.20 แสดงอุปกรณ์ที่สามารถใช้ ได้ กบั คาสัง่ BMOV,BMOVP


M ww

Word devices Others


w

Digit System user Special index constant


operand
specification module
type
KnX KnY KnM KnS T C D R U\G V Z modify K H
S 1 2
D 1 2
n
1. ใช้ ได้ เฉพาะPLC FX3G,FX3GC,FX3UและFX3UC
2. ใช้ ได้ เฉพาะPLC FX3UและFX3UC
คาสัง่ ประยุกต์ 270
X5
BMOV D0 D1000 K3 รู ป 3.86

D0=5 D1000=1 D0 D1000 D1000=5


D1=20 D1001=2 D1 D1001 K3 D1001=20
D2=40 D1002=3 D2 D1002 D1002=40
ก่อนคาสังท
่ างาน คาสังท
่ างาน
จากวงจร3.86 เป็ นการย้ ายข้ อมูลจากD0ไปยังD1000,D1ไปยังD1001และD2ไปยังD1002

n
,K3คือค่ าคงที่ที่ก าหนดให้ เวิ ร์ด ต้ นทางและเวิร์ ดปลายทางเท่า กับ 3ตัว ก่อ นคาสั่ง BMOV

io
ทางาน สมมุติว่าD0=5,D1=20,D2=40 ส่วนD1000ถึงD1002เท่ากับ1,2และ3ตาม ลาดับ

at
เมื่อX5 ONคาสัง่ BMOV จะเขียนค่าD0ไปยังD1000 ,เขียนค่าของD1ไปยังD1001และเขียน

m
ค่าของD2 ไปยังD1002 จะได้ D1000=5, D1001=20 และD1002=40

to
ถ้ า n=K1 ข้ อ มูล ที่ย้ า ยมีเ วิ ร์ด เดี ยวคื อ ข้ อ มูล จากD0ย้ า ยไปยัง D1000 กรณี นี ก้ าร
an m
au
ทางานของคาสัง่ BMOVจะเหมือนกับคาสัง่ MOV ดังรูป3.87
c o
tri k.c
d
X5
BMOV D0 D1000 K1
ec o
el no

D0 D1000
X5
n a

MOV D0 D1000 เหมือนกัน


er lcs

รู ป 3.87
od .p

กรณีที่SและDเป็ นข้ อมูลแบบเวิร์ดที่อยู่ในรู ปแบบบิต (KnX,KnY,KnM) การระบุขนาดของS


M ww

และD จะต้ องเท่ากัน ตัวอย่างเช่นจากวงจร3.88 Sเท่ากับK1Y0 และDเท่ากับK1Y20 และ


วงจรที่3.89 Sเท่ากับK2M0 และDเท่ากับ K2Y0 เป็ นต้ น
w

S D
X5
BMOV K1Y0 K1Y20 K1 รู ป 3.88

S D
X5
BMOV K2M0 K2Y0 K1 รู ป 3.89

นอกจากนันค
้ าสัง่ BMOV จะใช้ ในการอ่านข้ อมูลจากfile register และเขียนข้ อมูลไปยัง file
register
คาสัง่ ประยุกต์ 291

3.25 คำสั่ง DECO , DECOP (Decode)


DECOและDECOPคือคาสั่งสาหรับถอดรหัสอุปกรณ์ ต้นทางซึ่งจะได้ ข้อมูลเป็ นเลขฐาน10
และทาให้ อปุ กรณ์ปลายทางแบบบิตมีการทางานตามค่าที่ถอดรหัสได้ มีรูปแบบคาสัง่ คือ
Input contact
DECO S D n 1 n  8

รู ป 3.133
Sคือข้ อมูลที่ใช้ ถอดรหัส ใช้ ได้ ทงอุ
ั ้ ปกรณ์แบบเวิร์ดและแบบบิต (ถ้ าเป็ นอุปกรณ์แบบบิต Sคือ
บิตเริ่มต้ น), Dคือหน่วยความจาปลายทางที่ใช้ เก็บผลลัพธ์ ของการถอดรหัส ใช้ ได้ ทงอุ ั ้ ปกรณ์

n
io
แบบเวิร์ดและแบบบิต(ถ้ าเป็ นข้ อมูลแบบบิต Dคือบิตเริ่มต้ น), nคือจานวนบิตของหน่วยความ

at
จาต้ นทาง

m
ตาราง 3.31 set data

to
สัญลักษณ์ ความหมาย ประเภทข้อมูล
an m
S au
Data to be decoded or word device number storing data 16-bit binary
c o

D
tri k.c

Bit or word device number storing the decoding result 16 -bit binary
d

n Number of bits of device storing the decoding result 16 - bit binary


ec o
el no

(n=1 to 8) ( ไม่มกี ารประมวลผลคาสัง่ ในกรณีท่ี n=0 )


n a

รูปแบบกำรทำงำน
er lcs

DECO คือคาสัง่ ที่ทางานแบบต่อเนื่อง ส่วนDECOPคือคาสัง่ ที่ทางานแบบพัลล์


od .p

ตาราง 3.32 แสดงอุปกรณ์ที่สามารถใช้ ได้ (Applicable device)


M ww

Bit devices Word devices Others


w

Operand System user System user Special index constant


type module
X Y M S D.b T C D R U\G V,Z modify K,H

S 1 2
D 1 2
n

1. ใช้ ได้ เฉพาะPLC FX3G,FX3GC,FX3UและFX3UC


2. ใช้ ได้ เฉพาะPLC FX3UและFX3UC
คาสัง่ ประยุกต์ 292

ตัวอย่ำงกำรใช้คำสั่ง DECO
ตัวอย่างเช่นถ้ าต้ องการถอดรหัสจากการทางานของรีเลย์อินพุทตังแต่ ้ X0ถึงX3 และกาหนดให้
รีเลย์M0 คือบิตเริ่มต้ นของอุปกรณ์ปลายทาง จะเขียนคาสัง่ ได้ ดงั นี ้
X20
DECO X0 M0 K4 รู ป 3.134

K4หมายถึงการกาหนดข้ อมูลต้ นทางเท่ากับ4บิต X0คือบิตเริ่มต้ น และX3คือบิตสุดท้ าย


8 4 2 1
เมื่อตังค่
้ า n เท่ากับ K4 จานวนบิตที่ใช้ เก็บผลลัพธ์ คอื 16บิต (บิต0 X3 X2 X1 X0
ถึงบิต 15) กรณีใช้ อปุ กรณ์ปลายทางเป็ นอุปกรณ์แบบบิตสามารถ 1 1 1 1

n
ตังค่
้ าnได้ ตงแต่
ั ้ 1 ถึง 8

io
at
M15 M14 M13 M12M11 M10 M9 M8 M7 M6 M5 M4 M3 M2 M1 M0

m
1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

to
8 4 2 1
an m
ถ้ าX0=1,X1=1,X2=0,X3=1 เมื่อแปลงเป็ นเลขฐานสิบก็
au X3 X2 X1 X0
c o

จะได้ เท่ากับ11 ดังนันรี


้ เลย์ที่ทางานคือM11 1 0 1 1
tri k.c
d

M15 M14 M13 M12M11 M10 M9 M8 M7 M6 M5 M4 M3 M2 M1 M0


ec o
el no

0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
n a
er lcs

กรณีที่ใช้ อปุ กรณ์แบบบิตเก็บผลลัพธ์ของการถอดรหัส


คาสัง่ DECOจะทาให้ อปุ กรณ์แบบบิต มีการONตามค่าที่
od .p

ถอดรหัสได้ จากข้ อมูลต้ นทาง


M ww

รู ป 3.135
w

จากรูป3.135 เมื่อX0,X1,X2และX3มีค่าเป็ น1 เมื่อแปลงเป็ นเลขฐาน10ก็จะได้ เท่ากับ15 เมื่อ


X20 ON คาสัง่ DECOจะทางานและทาให้ รีเลย์ตวั ที่ 15นับจากM0มีค่าเป็ น1 ดังนันบิ ้ ตที่ON
คือM15 (M0คือรี เลย์ตวั ที่0) เมื่อX20 OFFคาสัง่ จะไม่ทางาน แต่สถานะการONของM15จะ
เหมือนเดิม จนกว่าจะมีคาสัง่ เปลี่ยนแปลงผลลัพธ์ หรือบิตM15ถูกรีเซ็ต ถ้ าX0ถึงX3มีค่าเป็ น0
ทังหมด
้ เมื่อแปลงเป็ นเลขฐาน10ก็จะได้ เท่ากับ0 รีเลย์ที่จะทางานคือM0
ถ้ ากาหนดให้ บิตปลายทางในคาสัง่ เป็ น M1 รี เลย์ที่จะทางานคือรี เลย์ ตวั ที่15นับจาก
M1 ก็คือรีเลย์M16ทางาน และถ้ าเราเปลี่ยนจากK4เป็ นK3 หมายความว่าข้ อมูลที่ใช้ ถอดรหัส
จะมี3บิตคือX0,X1และX2 ส่วนจานวนบิตของเวิร์ดปลายทางที่ใช้ เก็บผลลัพธ์ จะลดลงเหลือ
M0ถึงM7 เมื่อX0ถึงX2มีค่าเป็ น1 ก็จะได้ ค่าเท่ากับ7 บิตปลายทางที่จะทางานคือM7
คาสัง่ ประยุกต์ 321

3.34 คำสั่งเปรียบเทียบข้อมูล (Data comparison)


Data comparison คือคาสัง่ เปรียบเทียบข้ อมูลสองชุด โดยข้ อมูลที่เปรียบเทียบคือข้ อมูลของ
อุปกรณ์แบบเวิร์ด หรือค่าคงที่ มีรูปแบบคาสัง่ คือ
คาสัง่ เปรี ยบเทียบข้ อมูล(คาสัง่ ประยุกต์)

= S1 S2

= ,  ,  ,  ,  ,  รู ป 3.193
ตาราง 3.49 set data

n
io
สัญลักษณ์ ความหมาย ประเภทข้อมูล

at
S1 device number storing comparison data 16-or 32-bit binary

m
S2 device number storing comparison data 16-or 32-bit binary

to
an m
au
S1คือค่าคงที่หรื ออุปกรณ์ แบบเวิร์ดตัวที่ 1 ,S2คือค่าคงที่หรื ออุปกรณ์ แบบเวิร์ดตัวที่2 ส่วน
c o

สัญลักษณ์ ก่อนS1และS2 คือเงื่อนไขการเปรี ยบเทียบข้ อมูล คาสัง่ เปรี ยบเที ยบข้ อมูลเป็ น
tri k.c
d
คาสัง่ ที่ใช้ งานแบบเดียวกับหน้ าสัมผัส เมื่อเงื่อนไขตรงตามที่คาสัง่ ระบุ คาสัง่ ก็จะทางาน และ
สามารถใช้ สงั่ งานคาสัง่ อื่นๆอีกที
ec o
el no

รูปแบบกำรทำงำน
n a
er lcs

คาสัง่ จะทางานแบบต่อเนื่อง
คาสัง่ = ,  ,  ,  ,  ,  คือคาสัง่ เปรียบเทียบข้ อมูลแบบ16บิต
od .p

คาสัง่ D = , D  , D  , D  ,D , D  คือคาสัง่ เปรี ยบเทียบข้ อมูลแบบ32บิต


M ww

ตาราง 3.50 Applicable device


w

Word devices Others


Digit System user Special index constant
operand
specification module
type
KnX KnY KnM KnS T C D R U\G V Z modify K H

S1 1 2
S2 1 2

1. ใช้ ได้ เฉพาะPLC FX3G,FX3GC,FX3UและFX3UC


2. ใช้ ได้ เฉพาะPLC FX3UและFX3UC
คาสัง่ ประยุกต์ 322

คำสั่ง LD= (16bits) และLDD= (32bits) (เท่ำกับ)


คาสัง่ LD= คือคาสัง่ ที่ใช้ กบั ข้ อมูลที่ไม่เกิน16บิต มีเงื่อนไขคือถ้ าS1=S2 จะทาให้ คาสัง่ ทางาน

= D200 K50 Y20 D200 = 50 → Y 20 = ON

รู ป 3.194
จากวงจร3.194 ถ้ าค่าของD200 เท่ากับ50 จะทาให้ Y20ทางาน ถ้ าค่าD200มากกว่าหรื อน้ อย
กว่า50 Y20จะไม่ทางาน

n
io
D= D100 D102 Y20 รู ป 3.195

at
m
D101, D100 = D103 , D102 → Y 20 = ON

to
ถ้ าS1และS2มีค่ามากกว่า16บิตจะต้ องใช้ คาสัง่ แบบ32บิต เช่นวงจรรู ป3.195 เป็ นการนาค่า
an m
au
D101,D100 มาเปรียบเทียบกับค่าของ D103,D102
c o
tri k.c
d
คำสั่ง LD> (16bits) และLDD> (32 bits) (มำกกว่ำ)
ec o
el no

> D5 D6 Y2 D5  D6 → Y 2 = ON
รู ป 3.196
n a
er lcs

จากวงจร3.196 ถ้ าค่าของ D5 มากกว่าD6 จะทาให้ Y2 ทางาน


od .p
M ww

D> D1 K50000 Y2 รู ป 3.197


w

D 2, D1  K 50000 → Y 2 = ON

วงจรรูป3.197 ถ้ าค่าของD2,D1 มากกว่า50000 จะทาให้ Y2 ทางาน


คำสั่ง LD< (16bits)และ LDD< (32bits) (น้อยกว่ำ)

< D0 D2 Y1 D0  D2 → Y1 = ON

รู ป 3.198
จากวงจร3.198 ถ้ าค่าของ D0 น้ อยกว่าD2 จะทาให้ รีเลย์Y1ทางาน
คาสัง่ ประยุกต์ 328

3.37 คำสั่ง PLSY , DPLSY


คาสัง่ PLSY(Pulse Y output)คือคาสัง่ สร้ างสัญญาณพัลล์ที่มีความถี่ต่างๆ รู ปแบบของคาสัง่
คือ
Input contact
PLSY S1 S2 D รู ป 3.212

ตาราง 3.54 set data


สัญลักษณ์ ความหมาย ประเภทข้อมูล
S1 16-or 32-bit binary

n
Output pulses frequency

io
S2 Number of output pulses 16-or 32-bit binary

at
D Device number (Y) form which pulses are output bit

m
to
S1คือค่าคงที่หรื อข้ อมูลของอุปกรณ์ แบบเวิร์ด ใช้ ระบุความถี่ของสัญญาณ,S2ค่าคงที่หรื อ
an m
au
ข้ อมูลของอุปกรณ์ แบบเวิร์ด ใช้ ระบุจานวนสัญญาณพัลล์ ,D คืออุปกรณ์ แบบบิตซึ่งใช้ ได้
c o

เฉพาะเอาท์พทุ Y0และY1 และต้ องเป็ นเอาท์พทุ แบบทรานซิสเตอร์ กรณีใช้ CPU module ที่
tri k.c
d
เป็ นเอาท์พทุ แบบรี เลย์หรื อไตรแอก จะต้ องใช้ อปุ กรณ์เสริ มคือ special high speed output
adapter ซึง่ สามารถใช้ ได้ เฉพาะกับPLC FX3U
ec o
el no

รูปแบบกำรทำงำน
n a
er lcs

คาสัง่ PLSYและDPLSY คือคาสัง่ ที่ทางานแบบต่อเนื่อง


ตาราง 3.55 แสดงอุปกรณ์ที่สามารถใช้ ได้ (Applicable device)
od .p

Bit devices Word devices Others


M ww

Operand System user System user Special index constant


type module
w

X Y D.b KnX,KnY, T C D R U\G V,Z modify K,H


KnM,KnS
S1 2 3
S2 2 3
D 1

1. Y0และY1 ของCPU moduleหรือY0,Y1ของ special high speed output adapter


2. ใช้ ได้ เฉพาะPLC FX3G,FX3GC,FX3UและFX3UC
3. ใช้ ได้ เฉพาะPLC FX3UและFX3UC
คาสัง่ ประยุกต์ 329
16-bit operation (PLSY)
Input contact
PLSY S1 S2 D รู ป 3.213

S2=จานวนพัลล์ (1 to 32767)

D
S1=ความถี่(Hz) (1 to 32767)

n
คาสัง่ PLSYใช้ กบั ข้ อมูลของS1และS2 ที่ไม่เกิน16บิต,S1คือความถี่ของสัญ ญาณ ตังค่ ้ าได้

io
ตัง้ แต่1ถึง32767มีหน่วยเป็ นเฮิร์ต (Hz), S2คือจานวนพัลล์ ตัง้ ค่าได้ ตงั ้ แต่1ถึง32767(ไม่มี

at
หน่วย) ถ้ าตังS2=K0
้ จานวนรูปคลื่นจะเป็ นอนันต์(ไม่จากัดจานวนรูปคลื่น) , DคือY0หรือY1

m
to
X5
an m
au PLSY K1 K10 Y0 รู ป 3.214
c o
tri k.c
d
S2=จานวนพัลล์ 10 พัลล์
ec o

Y0
el no

S1= 1Hz (1 รอบ/วินาที)


n a
er lcs

วงจรรู ป3.214 เป็ นการสร้ างสัญญาณพัลล์ของY0 ที่มีความถี่1Hz และมีจานวนพัลล์10ลูก


od .p

เมื่อX5 ON คาสัง่ PLSYจะทาให้ Y0 ONและOFFเป็ นจานวน10รอบโดยมีความถี่เท่ากับ1Hz


M ww

(1Hzคือ1รอบต่อวินาที) 1รอบของสัญญาณจะรวมทัง้ ช่วงเวลาONและOFF ถ้ าX5 OFF


คาสัง่ จะหยุดทางานและไม่มีการสร้ างสัญญาณพัลล์
w

50Hz ไม่จากัดพัลล์
X5
PLSY K50 K0 Y0 รู ป 3.215

Y0

วงจรรู ปที่ 3.215 เป็ นการสร้ างสัญญาณพัลล์ที่มีความถี่ 50Hz โดยไม่จากัดจานวนรู ปคลื่น


สัญญาณพัลล์จะมีขึ ้นตลอดที่PLCทางาน
Analog control 387
4.4 Analog input block FX2N-2AD
FX2N-2AD คือโมดูลแปลงสัญญาณอนาล็อกเป็ นข้ อมูลดิจิตอลขนาด12bit, FX2N-2AD
สามารถรั บสัญญาณอนาล็อกได้ 2ช่อง(2channel) แต่ละchannel สามารถเลือกต่อได้ ทัง้
แรงดันและกระแสอย่างใดอย่างหนึง่
+
อุปกรณ์จ่าย VIN1
แรงดัน IIN1 CH1
COM1 Extension cable
0 ถึง10V ‒
FX2N-2AD PLC

n
VIN2

io
อุปกรณ์จ่าย Main unit
กระแส IIN2 CH2

at
COM2

m
4mAถึง+20mA

to
Dielectric with stand voltage 500VAC,1 min Voltage input: Input resistance=200K𝛺
an m
au
(ระหว่างเทอร์ มินอลทังหมดกั
้ บเคส) Current input: Input resistance=250𝛺
c o

ใช้ กระแสทางาน50mA
tri k.c
d
รู ป 4.24
ec o

รูปที่4.24 เป็ นการต่อแหล่งจ่ายแรงดันกับch1 โดยขัวบวกต่


้ อกับVIN1และขัวลบต่
้ อกับCOM1
el no

ระดับแรงดันที่ต่อ ได้ คือ 0Vถึง10V (การจ่ายแรงดันเกินจาก-0.5ถึง+15V อาจทาให้ 2AD


เสียหายได้ ) ส่วนแหล่งจ่ายกระแสต่อกับch2 โดยจะต้ องต่อขัวVIN2และIIN2เข้
n a

้ าด้ วยกัน ส่วน


er lcs

สายทังสองของแหล่
้ งจ่ายกระแสต่อกับ VIN2และCOM2 ปริ มาณของกระแสที่2ADรับได้ คือ
4mAถึง20mA(การจ่ายกระแสเกินจาก-2mAถึง+60mAอาจทาให้ 2ADเสียหายได้ )
od .p
M ww

Item Voltage input Current input


ช่วงของอินพุท 0Vถึง10VDC,0ถึง5VDC DC 4ถึง20mA
w

ดิจติ อลเอาท์พุท 12bit 12bit


ความละเอียด 2.5mV (10V/4000) , 4𝜇A [(20-4)A/4000]
1.25mV (5V/4000)
ความเร็วในการแปลง 2.5ms/1channel
การใช้กระแส (ที2่ 4VDC) 50 mA
Integrated accuracy ±1% (full scale 0 to 10V) ±1% (full scale 4 to 20mA)

ตาราง 4.11 แสดงข้ อมูลจาเพาะของFX2N-2AD ,FX2N-2ADสามารถต่อกับPLC FX1Nได้


5unit ต่อกับPLC FX2N ได้ 8unit และต่อกับPLC FX2NC ได้ 4unit
Analog control 388

ตาราง 4.12 แสดงBFM ของ FX2N-2AD


8 4 2 1
BFM No. b15ถึง b8 b7ถึง b4 b3 b2 b1 b0
#0 reserved ค่าปั จจุบนั ของ input data(lower8bit data)
#1 Reserved ค่าปั จจุบนั ของ input data (high 4bit data)
#2 to #16 Reserved
Analog to digital Analog to digital
#17 reserved
conversion beginning conversion channel
#18 or > reserved

n
io
BFMที่ใช้ งานได้ คือ BFM#0,BFM#1และBFM#17 ส่วนBFM#18 เป็ นต้ นไปคือ reserved คือ

at
BFMที่สารองไว้ ไม่สามารถใช้ งานได้

m
BFM#17 (FX2N-2AD)

to
an m
BFM#17จะใช้ ในการเลือกchannelและการstartการแปลงสัญญาณในแต่ละchannel โดย
au
c o

การเขียนเลขฐาน16จานวน4ดิจิต(H)ไปยังBFM#17 บิตของBFM#17ที่ใช้ งานมี2


tri k.c
d
บิตคือบิต0(b0)และบิต1(b1)
ec o

ตาราง 4.13
el no

b1=0 b0=0 (H0000) b1=0,b0=1 (H0001) b1=1,b0= 0 (H0002) b1=1,b0=1 (H0003)


n a

Select CH1 Select CH2 Beginning A/D of CH1 Beginning A/D of CH2
er lcs
od .p

b15 b2 b1 b0
BFM#17 Reserved 0 1
M ww

H 0 0 0 1
w

เลขฐาน16ที่ ใ ช้ ตั ง้ ค่ า BFM#17จะแปลงมาจากเลขฐาน2จ านวน16บิ ต คื อ b0ถึ ง b15 แต่


เนื่องจากb2ถึงb15ไม่ได้ ใช้ งาน ดังนันจะใช้
้ เลขฐาน2จานวน2บิตคือb0และb1 แปลงเป็ นเลข
ฐาน16จานวน1ดิจิต ตัวอย่างเช่นถ้ าเลือกใช้ งานch2 ค่าของb0และb1 จะต้ องมีค่าเป็ น(0,1)
ดังนันจะต้
้ องเขียนค่าคงที่ H0001 ไปยังBFM#17 การใช้ BFM#17จะใช้ อีกกรณีคือใช้ สาหรับ
สัง่ ให้ โมดูลเริ่มการแปลงสัญญาณ เช่นเมื่อเลือกใช้ งานch2 จะต้ องเขียนค่าคงที่ H0001ไปยัง
BFM#17 แต่โมดูลจะยังไม่แปลงสัญญาณ การทาให้ โมดูลแปลงสัญญาณจะต้ องเขีย น
ค่าคงที่ H0003 ไปยังBFM#17 ด้ วย ดังนันกรณี
้ เขียนค่าH0000ไปที่BFM#17 ก็จะต้ องเขียน
ค่าคงทีH่ 0002ไปยังBFM#17 ด้ วย
Analog control 389

M100 2AD Block 0 BFM#17


TO K0 K17 H0000 K1 เลือกใช้งานCH1

TO K0 K17 H0002 K1 Start CH1


แปลงสัญญาณ
รู ป 4.25
วงจรรูป4.25 เมื่อM100ทางานคาสัง่ TOจะเขียนค่าH0000ไปยังBFM#17 จะเป็ นการเลือกใช้
งานอินพุทch1 จากนันตามด้
้ วยการเขียน H0002 ไปยังBFM#17 เป็ นการ start ch1 ของ
2AD ให้ แปลงสัญญาณอนาล็อกเป็ นสัญญาณดิจิตอล (A/D conversion beginning of ch1)

n
io
at
M101 2AD Block 0 BFM#17
TO K0 K17 H0001 K1 เลือกใช้งานCH2

m
to
Start CH2
TO K0 K17 H0003 K1
an m
au แปลงสัญญาณ
c o

รู ป 4.26
tri k.c
d
วงจรรูป4.26 เมื่อM101ทางานคาสัง่ TOจะเขียนค่าH0001ไปยังBFM#17 จะเป็ นการเลือกใช้
ec o

งานอินพุทch2 จากนันตามด้
้ วยการเขียนH0003 ไปยังBFM#17 เป็ นการstart ch2 ของ2AD
el no

ให้ แปลงสัญญาณอนาล็อกเป็ นสัญญาณดิจิตอล(A/D conversion beginning of ch2)


n a

เนื่องจากBFM#17 ใช้ สาหรับว่าจะเลือกใช้ งานch1 และch2 ดังนันch1และch2จะใช้


้ งาน
er lcs

พร้ อมกันไม่ได้
od .p

BFM#0 และ BFM#1 ของ FX2N-2AD


M ww

BFM#0และBFM#1 คือหน่วยความจาที่เก็บข้ อมูลดิจิตอลของch1และch2 ,BFM#0มีขนาด


w

16บิต แต่บติ ที่ใช้ เก็บข้ อมูลจะใช้ 8บิตเท่านันคื


้ อb0ถึงb7 โดยBFM#0 จะเก็บค่า8บิตล่าง ส่วน
BFM#1 มี16บิตเช่นกัน แต่บิตที่ใช้ เก็บข้ อมูลใช้ 4บิตคือb0ถึงb3 BFM#1จะเก็บค่า4บิตบน
การอ่านค่าดิจิตอลจากBFM#0และBFM#1จะต้ องใช้ สงั่ FROM
reserved digital data reserved digital data

00001001011101110110011110010011
b15 b3 b0 b15 b7 b0
BFM#1 BFM#0 รู ป 4.27
Analog control 390
ตัวอย่ำงโปรแกรมกำรใช้งำน FX2N-2AD
วงจรรูป4.28 เป็ นการใช้ FX2N-2AD(Unit No.3) โดยch1 รับสัญญาณแบบแรงดัน
M8003 2AD Block 3
BFM#17 TO K3 K17 H0000 K1 เลือกใช้งานCH1
X0 X3 X1
M100 X3= auto mode
M100 M100=auto start

M100

n
Start CH1
BFM#17

io
TO K3 K17 H0002 K1 แปลงสัญญาณ

at
BFM#0 อ่านค่าดิจติ อลจาก
FROM K3 K0 K2M0 K2

m
BFM#0และBFM#1
นาค่าดิจติ อลจากK3M0

to
MOV K3M0 D100
X1 ไปเก็บทีD่ 100
an m
au RST D100
c o

รู ป 4.28
tri k.c
d

จากรูป4.28 เมื่อPLC RUN H0000จะถูกเขียนไปยังBFM#17เพื่อเลือกใช้ งานch1 เมื่อX0 ON


ec o
el no

จะทาให้ M100ทางาน หน้ าสัมผัส M100จะทาให้ คาสั่งTOเขียนH0002ไปยังBFM#17 เพื่อ


start ch1 ให้ แปลงสัญญาณ และคาสัง่ FROM จะเขียนค่าจากBFM#0ไปที่K2M0 และเขียน
n a

ค่าจากBFM#1ไปทีK่ 2M8 ส่วนK3M0คือการนาค่าK2M0รวมกับK2M8 และคาสัง่ MOVจะนา


er lcs

ค่าจากK3M0ไปเก็บที่D100
od .p
M ww

BFM#1 →K2M8 BFM#0 → K2M0


w

8 4 2 1 128 64 32 16 8 4 2 1
M15 M14 M13 M12M11 M10 M9 M8 M7 M6 M5 M4 M3 M2 M1 M0
0 0 0 0 1 1 1 1 1 0 1 0 0 0 0 0
K2M8 = 8+4+2+1 = 15 K2M0 =128+32=160
MOV K3M0 D100
2048 1024 512 256 128 64 32 16 8 4 2 1
b15 b14 b13 b12 b11 b10 b9 b8 b7 b6 b5 b4 b3 b2 b1 b0
0 0 0 0 1 1 1 1 1 0 1 0 0 0 0 0 D100
D100 = 2048+1024+512+256+128+32 = 4000 D100 = 4000
รู ป 4.29
Analog control 394
4.5 Analog output block FX2N-2DA
FX2N-2DA สามารถจ่ า ยสัญ ญาณอนาล็ อ กได้ 2ช่ อ ง แต่ ล ะช่ อ งสามารถเลื อ กจ่ า ยได้ ทั ง้
แรงดันและกระแสอย่างใดอย่างหนึง่
สายชีลด์ Voltage output
0Vถึง+10V
+
VOUT1 extension cable
inverter IOUT1 CH1
COM1 CPU module

n
VOUT2

io
recorder IOUT2 CH2

at
COM2

m
FX2N-2DA รู ป 4.36
0mAถึง+20mA

to
Current output
an m
au
Dielectric with stand voltage 500VAC,1 min ความต้ านทานโหลดทีใ่ ช้ แรงดันควรอยูใ่ นช่วง 2K𝛺
c o

(ระหว่างเทอร์ มินอลทังหมดกั
้ บเคส) to 2M𝛺 ส่วนความต้ านทานโหลดแบบกระแสต้ อง
tri k.c
d
เท่ากับหรือน้ อยกว่า400𝛺
ec o

FX2N-2DAไม่ต้องจ่ายpower supply 24V และไม่มีจดุ ต่อกราวด์ (FG)มาให้ แรงดันที่จ่าย


el no

ให้ กบั FX2N-2DAจะมาจากสายเคเบิล และแรงดันจากสายเคเบิลจะถูกแปลงเป็ นสัญญาณ


n a

อนาล็อกเอาท์พทุ โดยใช้ วงจร DC to DC converter จากรูป4.36 เป็ นการต่อเอาท์พทุ ch1จ่าย


er lcs

แรงดันควบคุมอินเวอร์ เตอร์ ซึ่ง จะต้ อ งต่อ ขัว้ VOUT1และCOM1เข้ ากับอินเวอร์ เตอร์ และ
od .p

จะต้ อง jump สายระหว่าง IOUT1กับCOM1ด้ วย ส่วนch2 จ่ายกระแสเพื่อควบคุมrecorder


M ww

ซึง่ จะต้ องต่อขัวIOUT2และCOM2


้ เข้ ากับ recorder
w

Item Voltage output Current output


ช่วงของเอาท์พุท 0ถึง+10VDC ,0ถึง+5VDC 4ถึง20mA DC
ดิจติ อลอินพุท 12บิต BIN 12บิต BIN
resolution 2.5mV(Gain 10V),  20 − 4 
4 A 
1.25mV(gain 5V)  4000 − 0 
เวลาในการประมวลผล 4ms/1channels

ตาราง 4.14 แสดงข้ อมูลจาเพาะของอนาล็อกเอาท์พทุ FX2N-2DA ,FX2N-2DA สามารถต่อ


กับPLC FX1Nได้ 5 โมดูล ต่อกับPLC FX2N ได้ 8 โมดูล ต่อกับPLC FX0N,FX2NC ได้ 4โมดูล
Analog control 421
4.12 Analog output expansion board ( FX3G-1DA-BD )
FX3G-1DA-BD คือexpansion board สาหรับจ่ายแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า มีจานวน
1channel โดยเลือกจ่ายแรงดันไฟฟ้าหรือกระแสไฟฟ้าอย่างใดอย่างหนึง่
FX3G-1DA-BD
Applicable PLC
FX3S, FX3G

Analog output

n
io
inverter Induction motor

at
+
V+

m
FX3G-1DA-BD กรณีใช้ FX3G-1DA-
I+

to
inverter BD จ่ายแรงดัน
an m
au VI-

c o
tri k.c
d
V+ กรณีใช้ FX3G-1DA-
FX3G-1DA-BD
ec o

recorder I+ BD จ่ายกระแส
el no

VI-
n a

0mAถึง+20mA
er lcs

รู ป 4.72
od .p

รูปที่4.72 แสดงการต่อสายไฟของFX3G-1DA-BD
M ww

ตาราง 4.29 แสดงข้ อมูลจาเพาะของFX3G-1DA-BD


Item Voltage output Current output
w

ช่วงของเอาท์พุท 0Vถึง10VDC DC 4 ถึง20mA


(External load: 2 kΩ to 1 (External load: 500 Ω or less)
ดิจติ อลอินพุท MΩ) 12bit , Binary 11bit , Binary
ความละเอียด 2.5mV (10V/4000) 8𝜇A ( 16mA /2000 )
ความเร็วในการแปลง 60 μs
Total accuracy ±0.5% (± 50mV)(full scale 10V) ±0.5 % (± 80 𝜇A)(full scale
ทีอ่ ุณหภูม ิ 25°C 16mA) ทีอ่ ุณหภูม ิ 25°C
±1% (± 100mV)(full scale 10V) ±1 % (± 160 𝜇A)(full scale
ทีอ่ ุณหภูม ิ 0°C ถึง55°C 16mA) ทีอ่ ุณหภูม ิ 0 °C ถึง55°C
Analog control 422

Analog output Analog output


10V 20mA

Digital input Digital input


4mA
0 0 2000
4000
FX3S M8260 OFF FX3S M8260 ON
Data D8260 Data D8260

n
(ก) รู ป 4.73 (ข)

io
รู ปที่4.73ก เป็ นกราฟ output characteristicของการจ่ายแรงดันไฟฟ้า ยกตัวอย่างPLC

at
FX3S เมื่อจ่ายค่าดิจิตอล0ถึง4000 ให้ กบั D8260 (M8260 OFF) ก็จะได้ แรงดันไฟฟ้า 0ถึง

m
10V (เมื่อความต้ านของโหลดเท่ากับ2k𝛺) รูปที่4.73ข เป็ นกราฟ output characteristic ของ

to
การจ่ายกระแสไฟฟ้า ยกตัวอย่างPLC FX3S เมื่อจ่ายค่าดิจิตอล0ถึง2000 ให้ กบั D8260 โดย
an m
ทีM au
่ 8260 ON ก็จะได้ กระแส 4mAถึง 20mA (เมื่อความต้ านของโหลดเท่ากับ250𝛺)
c o

FX3G
tri k.c
d
FX3S Description R/W
Board A Board B
ec o

Special Switches the output mode of channel 1


el no

M8260 M8260 M8270 R/W


auxiliary OFF: Voltage output ON: Current output
relay
n a

M8264 M8264 M8274 Output Holding Function Cancellation R/W


er lcs

Setting
OFF: Holds the analog data output
od .p

just before stop of the PLC.


M ww

ON: Output the offset data at stop of


the PLC.
w

D8260 D8260 D8270 Output setting data RW


Special
data D8268 D8268 D8278 Error status R/W
register b0: Output data setting error
b1: Unused
b2: Unused
b3: Unused
b4: EEPROM error
b15 to b5: Unused

ตาราง 4.30 แสดงรี เลย์พิเศษและรี จิสเตอร์ พิเศษที่ใช้ เกี่ยวกับ FX3G-1DA-BD, PLC FX3G
สามารถติดตัง้ FX3G-1DA-BD ได้ สองตัว
Analog control 423

ตัวอย่ำงโปรแกรมกำรใช้FX3G-1DA-BD
Push button switch
220VAC S1 S2
Induction Inverter FR-D700 0 to 10V
motor
Analog 2 L N 24V S/S 0V X0X50-X53
X1
FX3G-1DA-BD PLC FX3S
input 5 COM0 Y0 COM0 Y1
STF L1
CR1 220VAC
PC CR1

n
Frequency

io
50Hz D1 D1 x K80 D10 D1

at
50 50x80 4000 25

m
to
Analog input Touch screen
an m
0 au 10V รู ป 4.74
c o

จากรู ป4.74 ต้ องการปรับความถี่อินเวอร์ เตอร์ ตงแต่


ั ้ 0-50Hz โดยใช้ FX3G-1DA-BD (ต่อกับ
tri k.c
d
PLC FX3S) จ่ายแรงดัน0-10Vให้ อินเวอร์ เตอร์ โดยการป้อนค่าจากTouchscreen เช่นถ้ าป้อน
ec o

ค่า50 ก็จะต้ องให้ FX3G-1DA-BD จ่ายแรงดัน10โวลต์ แต่การที่ FX3G-1DA-BD จะจ่าย


el no

แรงดัน10V จะต้ องทาให้ D8260 เท่ากับ4000 ซึง่ สามารถเขียนโปรแกรมได้ ดงั นี ้


n a

M8000
er lcs

MOV D10 D8260


od .p

MUL D1 K80 D1 คือค่าที่ปอ้ นจาก


M ww

X0 X1D10 touch screen


M100 M100 ON
w

M100 machine operation

M100
Y0 CR1 ทางาน
Y1 L1 ติดแสดงสถานะ
รูป 4.75 Motor RUN
จากวงจร4.75 เมื่อป้อนค่า25 จะทาให้ D8260เท่ากับ2000 ซึง่ จะทาให้ FX3G-1DA-BD จ่าย
แรงดัน5V เมื่อกดสวิตช์ S1(start) จะทาให้ X0 ON และY0 ON รี เลย์CR1 จะสัง่ งานให้
อินเวอร์ เตอร์ จ่ายไฟให้ มอเตอร์ ที่ความถี่25Hz
FX communication 424

บทที่ 5 FX communication
FX communication คือการสื่อสารของPLC FX series กับอุปกรณ์ Controller อื่นๆผ่าน
พอร์ ตสื่อสารของPLC เช่นอุปกรณ์สื่อสาร(communication equipment) และพอร์ ตสื่อสาร
แบบ Built-in

PLC

Vision controller Barcode reader cable standard built-in port

n
RS-422 , USB , Ethernet

io
at
m
Inverter Touch screen

to
an m
au Communication Equipment
c o

Personal computer PLC RS-422 , RS-485 , USB,


tri k.c
d
Ethernet, RS-232C , CC-Link
ec o

รู ป 5.1 module
el no

ประเภทของการสื่อสารที่ใช้ กบั PLC FX series มีหลายแบบดังรูป 5.2


n a

Communication type
er lcs
od .p

Link Ethernet General- Sequence I/O link


purpose serial
M ww

communication program
CC-Link communication CC-Link/LT
w

N:N network Ethernet Programming AS-i system


Non-protocol
Parallel link communication communication MELSEC I/O
Remote link
Computer link
maintenance AnyWireAS
Inverter communication LINK
MODBUS communication
Electronic mail sending

รู ป 5.2 Internet mail


Short mail
FX communication 425
5.1 มำตรฐำนกำรส่งผ่ำน (Transmission standard)
มาตรฐานการส่งผ่าน คือรูปแบบของพอร์ ตที่ใช้ ในการสื่อสาร PLC FX series ใช้ พอร์ ต5แบบ
คือ พอร์ ต RS232 , พอร์ ตRS-422, พอร์ ตRS-485, พอร์ ต USB และพอร์ ต Ethernet พอร์ ตที่
ใช้ สื่อสารจะมีทงพอร์
ั ้ ตแบบ built in และพอร์ ตเสริม(option)ที่ต้องติดเพิ่มเติม
พอร์ ตสื่อสาร(communication port)ที่ติดตังมาให้
้ พร้ อมกับPLCเรียกว่า built-in port
ซึง่ PLCแต่ละรุ่ นจะมีพอร์ ตสื่อสารแบบbuilt-inไม่เหมือนกันเช่น FX3Uเป็ นพอร์ ตแบบ RS-
422, FX3Gมีพอร์ ตสองแบบคือ RS-422และUSB, PLC FX5Uเป็ นพอร์ ตแบบEthernet เป็ น
ต้ น พอร์ ตสื่อสารสามารถติดตังเพิ
้ ่มเติมทีหลังได้ โดยใช้ พอร์ ตเสริมซึง่ พอร์ ตเสริมจะใช้ อปุ กรณ์
สองแบบคือexpansion boardและexpansion adapter โดยพอร์ ตเสริ มก็จะมีทุกแบบคือ

n
RS-422, RS-485, RS-232 และEthernet

io
at
m
to
an m
au
c o
tri k.c
d
FX1N-232-BD FX2N-232-BD FX3U-232-BD
รูปที่5.3 ตัวอย่าง expansion board RS-232
ec o
el no
n a
er lcs
od .p
M ww

FX1N-485-BD FX2N-485-BD FX3U-485-BD


รูปที่5.4 ตัวอย่าง expansion board RS-485
w

FX2NC-232ADP FX3U-232ADP(-MB) FX2NC-485ADP FX3U-485ADP(-MB)


รูปที่5.5 ตัวอย่าง expansion adapter
FX communication 426
RS-232 Communication port ( FX series)
พอร์ ตสื่อสาร RS-232 คืออุปกรณ์เสริ มสาหรับต่อกับPLC FX series มี2แบบคือ expansion
board และ expansion adapter รุ่ นของexpansion board ก็เช่นFX3U-232-BD และรุ่ น
expansion adapterเช่น FX3U-232ADP-MB คอนเน็คเตอร์ ของพอร์ ต RS-232 เป็ นแบบ 9-
pin D-sub (male)
Screw to fix
9-pin D-sub RS-232C
6 1
connector(male) 2 connector
7 3
8

n
9 4
5

io
at
m
FX3U-232-BD FX3U-232ADP-MB 9-pin D-sub connector(male)

to
รู ป 5.6
an m
Pin NO. Signal au Name Function
c o

Receive carrier ON when carrier for data receive is detected.


tri k.c

1 CD
d
detection (RS-232C device to 232ADP-MB)
2 RD (RXD) Receive data Receive data (RS-232C device to 232ADP-MB)
ec o

3 SD (TXD) Sent data Send data (232ADP-MB to RS-232C device)


el no

ON when RS-232C device is ready to receive data


4 ER (DTR) Sent request
(232ADP-MB to RS-232C device)
n a
er lcs

5 SG (GND) Signal ground Signal ground (232ADP-MB to RS-232C device)


ON when send request is made toward RS-232C
6 DR(DSR) Send enable
od .p

device. (RS-232C device to 232ADP-MB)


M ww

7,8,9 Not used Do not wire


ตาราง5.1 แสดงขาคอนเน็คเตอร์ ของFX3U-232-BD, FX3G-232-BD และFX3U-232ADP-
w

MB และหน้ าที่การใช้ งาน


Link General- purpose serial Sequence program
communication
Computer link Programming communication
Non-protocol
MODBUS communication Remote maintenance
communication
รู ป 5.7
รู ป ที่ 5.7 ประเภทการสื่ อ สารที่ FX3U-232ADP-MBสามารถท าได้ ส่ ว นFX3U-232-BDและ
FX3G-232-BD นัน้ ไม่สามารถใช้ MODBUS communicationได้ นอกนันก็ ้ ทาได้ แบบเดียวกัน
FX communication 427
RS-485 Communication port (FX series)
พอร์ ต RS-485 คืออุปกรณ์เสริ มสาหรับต่อกับPLC FX series ใช้ ในการสื่อสารระหว่างPLC
FX series กับอุปกรณ์ Controller ต่างๆ มีสองแบบคือ expansion board และ expansion
adapter รุ่นของexpansion board ก็เช่นFX3U-485-BD,FX3G-485-BD และรุ่ น expansion
adapterเช่น FX3U-485ADP-MB
Terminal connector

n
io
at
FX3U-485-BD FX3U-485ADP-MB FX3G-485-BD FX3G-485-BD-RJ

m
รู ป 5.8

to
Signal name Function Signal direction
an m
RDA au 485ADP-MB RS-485 equipment
c o

RDB RDA(RXD+)
tri k.c
d
SDA Receive data
RDB (RXD-)
ec o

SDB SDA (TXD+)


el no

Sent data
SG SDB (TXD-)
n a

SG (GND) Signal ground -


er lcs

Terminal layout
ตาราง5.2 แสดงขาคอนเน็คเตอร์ ของFX3U-485-BD,FX3G-485-BD และ FX3U-485ADP-
od .p

MB และหน้ าที่การใช้ งาน คอนเน็คเตอร์ เป็ นแบบเทอร์ มินอล สาหรั บ FX3G-485-BD-RJ


M ww

คอนเน็คเตอร์ เป็ นแบบ RJ45 connector


w

Link General- purpose serial


communication
N:N network Inverter communication
Non-protocol
Parallel link MODBUS communication communication
Computer link
รู ป 5.9
รู ปที่5.9 แสดงประเภทการสื่อสารที่ FX3U-485ADP-MBสามารถทาได้ ส่วนFX3U-485-BD,
FX3G-485-BDและFX3G-485-BD-RJ นัน้ ไม่สามารถใช้ MODBUS communication ได้
นอกนันก็
้ ทาได้ แบบเดียวกัน
การใช้ GX works2 494

6.4 กำรเขียนวงจรแลดเดอร์โดยใช้ซอฟต์แวร์ GX Works2


การเขียนวงจรแลดเดอร์ ตงแต่
ั ้ เริ่มต้ นมีขนตอนคื
ั้ อ
1. เปิ ดซอฟต์แวร์ GX Works2
2
3
2. เลือกแท็บ Project

3. เลือก New 3. หรื อเลือก New project

n
โดยใช้ Menuลัดก็ได้

io
at
m
รู ป 6.12

to
ในการเขียนวงจรแลดเดอร์ จะต้ องระบุ series ของ PLCและรุ่ นของPLC เนื่องจากPLCแต่ละ
an m
au
รุ่นจะมีจานวนคาสัง่ (instructions)และจานวนอุปกรณ์(devices) ที่ใช้ ในโปรแกรมไม่เท่ากัน
c o
tri k.c
d
4 4. เลือกseries ของPLC
ec o
el no

5 5. เลือกชนิดของPLC
n a
er lcs

6 6. เลือกภาษาเป็ น
od .p

Ladder
M ww

7 7. เลือกOK
w

รูป 6.13

เมื่อเลือกOKแล้ วก็จะเข้ าสู่หน้ าจอของการเขียนโปรแกรมดังรูป6.14

รู ป 6.14
การใช้ GX works2 495

ขั้นตอนกำรเขียนวงจรแลดเดอร์
ตัวอย่างเช่น ต้ องการเขียนวงจรแลดเดอร์ ตามรูปที่6.15จะมีวิธีดงั นี ้
X0 X1 T1
M1
M1 Y1
M1 K50
T1
X1
MOV K0 D0 รู ป 6.15

n
io
at
m
to
an m
au 1
c o
tri k.c
d
2
ec o
el no

NO contact 3 กด OK
รูป 6.16
n a
er lcs

1.เลื่อน cursor ไปทางซ้ ายสุดและกดF5 เพื่อเลือกหน้ าสัมผัสแบบNO


2.พิมพ์X0 และ 3. กดEnter(หรือกดOK)
od .p
M ww
w

5
NC contact
รู ป 6.17
4.เลื่อน cursor ให้ อยู่ถดั จากX0 แล้ วกด F6 เพื่อเลือกหน้ าสัมผัสแบบNC
5.พิมพ์ X1 แล้ วกด Enter
การใช้ GX works2 496

จะได้ วงจรดังรูปที่6.18

รู ป 6.18

n
ทาซ ้ากันเพื่อพิมพ์หน้ าสัมผัสT1แบบNC จะได้ วงจรรูป6.19

io
at
m
to
an m
au
c o
tri k.c
d
รู ป 6.19
ec o
el no
n a
er lcs

6
od .p
M ww

7
w

รู ป 6.20
6. เลื่อนcursor ให้ อยู่ถดั จากT1 แล้ วกด F7 เพื่อเลือกเอาท์พทุ แบบคอยล์รีเลย์ 7.พิมพ์ m1
แล้ วกด Enter จะได้ วงจรรูปที่6.21

รู ป 6.21
การใช้ GX works2 497

8. เลื่อน cursor ให้ อยู่ด้านล่างX0 แล้ วกด


shifh+F5 เพื่อเลือกการขนานหน้ าสัมผัสแบบNO

เมื่อกดEnter ไปแล้ วสามารถ


8
ยกเลิกได้ 5ครัง้ โดยการกด Ctrl+Z
9
รู ป 6.22

n
9. พิมพ์ m1 แล้ วกด Enter จะได้ วงจรดังรูปที่6.23

io
at
m
to
10
an m
au
c o
tri k.c
d
รู ป 6.23
ec o

10. เลื่อน cursor ให้ อยู่ถดั จากหน้ าสัมผัสT1 แล้ วกดCtrl+ ↓ เพื่อเขียนเส้ นตัง้ ฉากลงมา จะ
el no

ได้ วงจรดังรูปที่6.24
n a
er lcs
od .p
M ww

11 รู ป 6.24
w

11.เมื่อ cursor อยู่ตาแหน่งดังรูป6.24 กดF7 เพื่อเลือกเอาท์พทุ แบบคอยล์รีเลย์

รู ป 6.25

12

12. พิมพ์Y1 แล้ วกด Enter จะได้ วงจรรูปที่6.26


ภาคผนวก 560
ภำคผนวก A2 MELSEC FX series data, MELSEC iQ-F series data
ตาราง A2.1
Series Type I/Os No.of input No.of output Power input Output type
FX1S-10M 10 6 4
FX1S-14M 14 8 6 24VDC, Transistor ,
FX1S 20 12 8 100-240VAC Relay
FX1S-20M
FX1S-30M 30 16 14
FX3S-10M 10 6 4
FX3S FX3S-14M 14 8 6 100-240VAC Transistor ,
FX3S-20M 20 12 8 Relay

n
FX3S-30M 30 16 14

io
FX1N-14M/ 14 8 6

at
FX1N-24M/ 24 14 10 12-24VDC, Transistor ,
FX1N

m
FX1N-40M/ 40 24 16 100-240VAC Relay

to
FX1N-60M/ 60 36 24
an m
au
FX3G-14M 14 8 6
100-240VAC Transistor ,
c o

FX3G FX3G-24M 24 14 10
Relay
tri k.c

FX3G-40M 40 24
d
16
FX3G-60M 60 36 24
ec o

FX3GC FX3GC-32MT/ 32 16 16 24VDC Transistor


el no

FX3GE-24MR/ES 24 16 8
FX3GE 100-240VAC Relay
n a

FX3GE-40MR/ES 40 16 14
er lcs

FX2N-16M 16 8 8
FX2N-32M 32 16 16
od .p

24VDC, Transistor ,
FX2N-48M 48 24 24 100-240VAC Relay ,
FX2N
M ww

FX2N-64M 64 32 32 SSR
FX2N-80M 80 40 40
w

FX2N-128M 128 64 64
FX3U-16M 16 8 8
FX3U-32M 32 16 16 24VDC, Transistor ,
FX3U-48M 48 24 24
FX3U 100-240VAC Relay ,
FX3U-64M 64 32 32 SSR
FX3U-80M 80 40 40
FX3U-128M 128 64 64
FX3UC-16M 16 8 8
FX3UC FX3UC-32M 32 16 16 24VDC Transistor
FX3UC-64M 64 32 32
ภาคผนวก 561
ตาราง A2.1 (ต่ อ)
Series Type I/Os No.of input No.of output Power in put Output type
FX3UC FX3UC-96M 96 48 48 24VDC Transistor
FX2NC-16M 16 8 8
FX2NC FX2NC-32M 32 16 16 Transistor ,
24VDC
FX2NC-64M 64 32 32 Relay
FX2NC-96M 96 48 48
FX5U-32M 32 16 16
100-240VAC Transistor ,
FX5U FX5U-64M 64 32 32
Relay

n
FX5U-80M 80 40 40

io
FX5UC-32MT/ 32 16 16
FX5UC

at
FX5UC-64MT/ 64 32 32 24VDC Transistor

m
FX5UC-96MT/ 96 48 48

to
กำรต่อฟิวส์
an m
au
c o

การต่อฟิ วส์จะต่อสองจุดคือ
tri k.c
d
1.ต่อฟิ วส์ทางด้ านแหล่งจ่ายไฟของPLC เพื่อป้องกันกระแสเกินจากแหล่งจ่าย กรณีมีกระแส
กระชากเนื่องจากการดึงกระแสของโหลดที่อยู่ใกล้ เคียง
ec o
el no

power supply
Output relays
n a

G
er lcs

Fuse
od .p

Noise
filter
M ww

COM0 Y0 Y1 Y2 Y3
L N Power L
w

load
supply
CPU module N
Fuse
รู ป A14
2.ต่อฟิ วส์ทางด้ านวงจรเอาท์พทุ ใช้ สาหรับป้องกันการลัดวงจรหรื อป้องกันกระแสเกิน เพื่อ
ป้องกันหน้ าสัมผัสPLCเสียหาย ขนาดพิกดั ฟิ วส์ ควรใช้ เท่ากับขนาดพิกดั กระแสที่หน้ าสัมผัส
เอาท์พทุ ทนได้ เช่นถ้ าหน้ าสัมผัสรี เลย์ทนกระแสได้ 2A พิกดั กระแสของฟิ วส์คือ2A ส่วนพิกัด
แรงดันของฟิ วส์ต้องใช้ มากกว่าหรื อเท่ากับแรงดันที่จ่ายให้ กับโหลด เช่นถ้ าแรงดันที่จ่ายให้
โหลดเท่ากับ100VAC ขนาดพิกดั แรงดันฟิ วส์ควรเท่ากับหรือมากกว่า100V
ภาคผนวก 568
ภำคผนวก A4 กำรต่อPLC FX series กับTouchscreen
A4.1 กำรต่อPLC FX series กับ Touch screen ผ่ำนพอร์ตRS-422
รู ปที่A15 เป็ นตัวอย่างการสื่อสารระหว่างPLC FX series กับtouch screenของ Mitsubishi
โมเดลGT1030-HBD ซึง่ พอร์ ตRS-422ของtouch screen เป็ นแบบเทอร์ มินอล ส่วนพอร์ ต
RS-422ของPLCเป็ นพอร์ ตแบบbuilt in (หรืออาจใช้ expansion board RS-422 ก็ได้ เช่นกัน)
โดยใช้ สายสื่อสารรุ่น GT10-C30R4-8P
RS-422 MD8M Cable model GT10-C30R4-8P RS-422 (terminal)
Mini DIN 8 pin RXD+ 2 SDA
RXD- 1 SDB

n
6 7 8 TXD+ 7 RDA
TXD- 4

io
RDB GT1030-HBD
3 4 5 SG 3 SG

at
1 2 RSA (GOT1000)

m
RSB
View from cable 6 CSA

to
Vcc 5 CSB
connector side
an m
au 24V+
c o

0V
tri k.c
d
24V DC±10%
ec o
el no

พอร์ต RS-422 แบบ built in ของPLC


รู ป A15
n a

Cable RS-422 (terminal)


er lcs

RXD+ 2 TXDA Touch screen


RS-422 MD8M
od .p

RXD- 1 TXDB
TXD+ 7 RXDA VT3-W4TA/
M ww

6 7 8 TXD- 4 RXDB W4MA/W4GA


SG 3 SG
3 4 5 RTSA
w

1 2 RTSB
6 CTSA
Mini DIN 8 pin Vcc 5 CTSB
View from cable connector side 24V+
0V
รู ป A16 24V DC±10%
รู ปที่A16 เป็ นการต่อTouch screen KEYENCE โมเดล VT3 series กับ PLC FX series
สัญลักษณ์ที่เทอร์ มินอลของVT3 series(KEYENCE) จะต่างกับGT1030 (MITSUBISHI) ถ้ า
เทียบความหมายของเทอร์ มินอล SDAมีความหมายเหมือนกับTXDA, SDB มีความหมาย
เหมือนกับTXDB เป็ นต้ น กรณีVT3 series ขา3 ของRS-422 MD8M จะต่อกับSGและCTSA
ภาคผนวก 569

PLC FX side GOT side


1 6
6 7 8 2 1 1
3 4 6 2
3 4 5 7 3
1 2
6 5 8 4
4 7 9 5
5 9
7 2
RS-422 D-sub 9-pin
connector
รู ป A17

n
GT01-C100R4-8P

io
at
m
รูปที่A17 เป็ นการlink ระหว่างPLC FX series และGOT1000 โดยPLCใช้ พอร์ ตRS-422แบบ

to
an m
built-in และGOT ใช้ พ อร์ ต RS-422แบบD-sub 9-pin ส่วนสายสื่อ สารใช้ สายรุ่ น GT01-
au
c o

C100R4-8P(10เมตร)
tri k.c
d
A4.2 กำรต่อPLC FX series กับ Touch screen ผ่ำนพอร์ต RS-232
ec o
el no

พอร์ ตRS-232 ของtouch screenมี3แบบคือ 1. คอนเน็คเตอร์ D-sub 9pin 2.คอนเน็คเตอร์


MD6M 3. แบบเทอร์ มินอล ส่วนพอร์ ตRS-232ของPLC FX series ไม่มีพอร์ ตแบบ built in
n a
er lcs

ดังนัน้ จึงต้ อ งใช้ อุปกรณ์ เสริ มคือ expansion board และexpansion adapter ซึ่งรู ปแบบ
พอร์ ตมีแบบเดียวคือD-sub 9-pin connector รู ปที่A18 เป็ นการlink ระหว่างPLC FX series
od .p

และtouch screen โดยทังPLCและtouch


้ screen ใช้ พอร์ ตRS-232แบบ D-sub 9-pin กรณีนี ้
M ww

เราจะต้ องใช้ connection cable รุ่นGT01-C30R2-9S


w

PLC FX side GOT side


2 3
1 3 2 1
6 2 5 5 6 2
7 3 7 3
8 4 6 4 8 4
9 5 8 9 5
4 6
8
GT01-C30R2-9S
RS-232 D-sub 9-pin RS-232 D-sub 9-pin
connector รู ป A18 connector
ภาคผนวก 570

ภำคผนวก A5 รีเลย์ช่วยพิเศษ (Special auxiliary relay) PLC FX series


รี เลย์ช่วยพิเศษ คือรี เลย์ที่ถกู ออกแบบให้ ทาหน้ าที่เฉพาะด้ าน รี เลย์ช่ว ยพิเศษของPLC FX
series จะใช้ หมายเลขตังแต่้ 8000ขึ ้นไป ตัวอย่างของรีเลย์ช่วยพิเศษมีดงั นี ้
1. M8000 คือรี เลย์พิเศษที่หน้ าสัมผัสจะONเมื่อPLCอยู่ในโหมดRUN เมื่อPLCอยู่ในโหมด
STOP (สวิตช์RUNถูกปรับให้ OFF) หน้ าสัมผัสM8000จะOFF กรณีมีการ Error ของโปรแกรม
ที่ทาให้ PLCหยุดการทางาน M8000 จะOFFเช่นกัน
2. M8001 คือรีเลย์ที่มีสถานะตรงข้ ามกับM8000 ขณะที่PLC stopรีเลย์M8001 จะON

M8000

n
Y0 Y0 = CPU RUN

io
รู ป A19

at
m
วงจรรู ปที่A19 เป็ นตัวอย่างการใช้ งานM8000 เมื่อPLC RUN M8000จะONและต่อให้ Y0

to
ทางาน ,Y0ใช้ เพื่อแสดงว่าCPUของPLCอยู่ในสถานะปกติ
an m
au
c o

Power
tri k.c
d
PLC RUN
ec o

PLC stop
el no
n a

M8000 ON OFF
er lcs

Scan time (1 operation cycle)


od .p

OFF ON
M ww

M8001
w

M8002

Scan time Scan time

M8003 ON รู ป A20

3. M8002 คือ Initial pulse เป็ นรีเลย์พิเศษที่ทางานเป็ นแบบพัลล์ โดยจะONเมื่อPLCเริ่ มต้ น


สถานะRUN (ON ครัง้ เดียวในoperation cycle แรกเมื่อPLCเริ่มการประมวลผล)
4. M8003 คือรีเลย์พิเศษที่มีสถานะตรงข้ ามกับM8002 ถ้ า M8002 ON M8003 จะOFF

You might also like