You are on page 1of 265

คํานํา

คูมือเลมนี้ใชประกอบการฝกอบรมหลักสูตรการใชงาน PLC ระดับที่ 1 ซี่งตามหลักสูตร


นั้นจะมุงเนนไปที่ทักษะการใชงาน PLC ขั้นพื้นฐานเชน แนะนําโครงสรางของ PLC, การกําหนด
แอสเดรสอินพุต/เอาตพุต, การเขียนโปรแกรมให PLC ดวยคําสั่งพืน้ ฐานที่ใชงานบอย รวมทั้งการ
ประยุกตใชงานควบคุมเซอรโวมอเตอรเบื้องตน
ดังนั้นคูมือเลมนี้จึงเหมาะสําหรับผูเริ่มตนศึกษาการทํางานของ PLC ไดเปนอยางดี

ทางบริษัทฯ ยินดีรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะ เพื่อจะไดนํามาปรับปรุงใหดยี ิ่งขึ้น

บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด

หมายเหตุ คูมือเลมนี้เปนลิขสิทธิ์ของบริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด หามทําการ


ลอกเลียนแบบหรือเผยแพรสว นหนึ่งสวนใด เวนแตจะไดรับอนุญาตจากทาง
บริษัทฯ เปนลายลักษณอักษร

พิมพครั้งที่ 1 ตุลาคม 2550 จํานวนพิมพ 2,000 เลม

บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด โทรศัพท 0-2942-6700 โทรสาร 0-2937-0501


เว็บไซด www.omron-ap.co.th
สารบัญ

หนา
บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC 1
1. 1 ชนิดของ PLC 2
1.1.1 PLC ชนิดบล็อก (Block Type PLCs) 2
1.1.2 PLC ชนิดโมดูล (Modular Type PLCs) หรือแร็ค (Rack Type PLCs) 4
1.2 ภาษาที่ใชในการเขียนโปรแกรมใหกับ PLC 7
1.3 อุปกรณสําหรับการโปรแกรม 9
1.3.1 ตัวปอนโปรแกรมแบบมือถือ (Hand Held Programmer) 9
1.3.2 คอมพิวเตอร 10
1 4. ระบบสื่อสาร (Communications) 12
1.5 โครงสรางของ PLC 13
1.5.1 ซีพียู (CPU; Central Process Unit) 14
1.5.2 หนวยความจํา (Memory Unit) 14
1.5.3 ภาคอินพุต (Input Unit) 15
1.5.4 ภาคเอาตพุต (Output Unit) 22
1.5.5 ภาคแหลงจายพลังงาน (Power Supply Unit) 32
บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ 34
2.1 การติดตั้ง PLC 34
2.1.1 สภาพแวดลอมในการติดตั้ง 34
2.1.2 การติดตั้งในตูค วบคุม 35
2.1.3 การลดปญหาจาก Noise และกระแส Spike 36
2.1.4 การเดินสายสําหรับแหลงจายไฟ 39
2.1.5 การเดินสายอยางปลอดภัยและลดปญหาสัญญาณรบกวน 40
2.1.6 การติดตั้งแบตเตอรรี่ 42
2.1.7 อายุการใชงานของแบตเตอรรี่ 42
2.2 การออกแบบระบบ 43
2.3 ขั้นตอนการทํางาน 44
บทที่ 3 ความรูพื้นฐานทางดานดิจิตอล 48
3.1 ระบบเลขฐาน (Number System) 48
3.2 การแปลงเลขฐาน 50
3.2.1 การแปลงเลขฐานสองใหเปนเลขฐานสิบ 50
3.2.2 การแปลงเลขฐานสิบใหเปนเลขฐานสอง 50
3.2.3 การแปลงเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบหกและการแปลงเลขฐานสิบหกเปน
เลขฐานสอง 51
3.3 การบวกและลบเลขฐาน 51
3.3.1 การบวกเลขฐานสอง 51
3.3.2 การบวกเลขฐานสิบหก 51
3.3.3 การลบเลขฐานสอง 52
3.3.4 การลบเลขฐานสิบหก 52
3.4 ประเภทของขอมูล 52
3.5 หลักการพื้นฐานทางลอจิก 53
3.5.1 หลักการของ AND 53
3.5.2 หลักการของ OR 53
3.5.3 หลักการของ NAND 54
3.5.4 หลักการของ NOR 54
3.5.5 หลักการของ Exclusive OR 54
3.5.6 หลักการของ NOT 54
บทที่ 4 การอางแอสเดรสของ PLC 55
4.1 โครงสรางของขอมูล 55
4.2 การกําหนดเบอรของรีเลย (Relay) ใน PLC 56
4.3 ตารางแสดงขอกําหนดของพื้นที่ใชงานของ PLC 57
4.4 การระบุตําแหนงอินพุต/เอาตพุตของ PLC 58
4.4.1 การระบุตําแหนงอินพุต/เอาตพุตของ PLC ชนิดบล็อก (ยกตัวอยางรุน CP1L) 58
4.4.2 การระบุตําแหนงอินพุต/เอาตพุตของ PLC ชนิดโมดูล 60
บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอแกรมและคําสัง่ พื้นฐาน 61
5.1 กลุมคําสั่งพื้นฐาน (Ladder Instruction & Output Control) 61
5.1.1 การใชคําสั่ง Load (LD), Load Not (LD NOT) 61
5.1.2 การใชคําสั่ง AND, AND NOT 62
5.1.3 การใชคําสั่ง OR, OR NOT 63
5.1.4 การใชคําสั่ง OUT, OUT NOT 63
5.1.5 การใชคําสั่ง END ( FUN 01 ) 64
5.1.6 การใชคําสั่ง AND LOAD (AND LD), OR LOAD (OR LD) 64
5.2 ขอกําหนดในการเขียน Ladder Diagram 66
5.3 กลุมคําสั่ง Program Control Instruction 71
5.3.1 การใชคําสั่ง IL(02), ILC(03) 71
5.3.2 การใชคําสั่ง JMP (04) และ JME (05) 72
5.4 คําสั่งในกลุม Bit Control Instruction 74
5.4.1 การใชคําสั่งเซต (SET) และรีเซต (RESET) 74
5.4.2 การใชคําสั่ง KEEP - KEEP(11) 74
5.4.3 การใชคําสั่ง DIFFERENTIATE UP and DOWN–DIFU(13), DIFD(14) 75
5.5 กลุมคําสั่ง Timer/Counter 76
5.5.1 การใชคําสั่ง TIMER: TIM 76
5.5.2 การใชคําสั่ง COUNTER – CNT 78
5.5.3 การใชคําสั่ง Reversible Counter CNTR (FUN 12) หรือ UP/DOWN Counter 84
5.6 กลุมคําสั่ง Data Movement 86
5.6.1 การใชคําสั่ง MOVE – MOV(21) 86
5.7 กลุมคําสั่ง Data Shifting 88
5.7.1 การใชคําสั่ง SHIFT REGISTER – SFT(10) 88
บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม 89
6.1 การติดตั้งซอฟตแวร CX-Programmer 89
6.1.1 PLC ที่สามารถใชงานกับซอฟตแวร CX-Programmer 89
6.1.2 ขอแนะนําสําหรับเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชงาน (System Requirements) 90
6.1.3 การติดตั้งซอฟตแวร CX-Programmer 91
6.2 การสรางโปรแกรมแลดเดอร 97
6.2.1 การเปดใชซอฟตแวร CX-Programmer 98
6.2.2 คําอธิบายหนาตางและการใชงาน 99
6.3 การปอนโปรแกรม 101
6.3.1 การสรางโปรเจคใหม 101
6.3.2 การปอนคอนแทค 104
6.3.3 การปอนคอลยเอาตพุต 107
6.3.4 การปอน Timer 108
6.3.5 การปอน Counter 110
6.3.6 การปอน Auxiliary Area 113
6.3.7 การปอนคอนแทค Differentiated Up 115
6.3.8 การปอนคําสั่ง END 117
6.4 การโหลดและจัดเก็บโปรแกรม (Loading/Saving) 118
6.4.1 การ Compile โปรแกรม 118
6.4.2 การ Save โปรแกรม 119
6.4.2 การ Load โปรแกรม 120
6.5 การแกไขโปรแกรม 121
6.5.1 การแกไข I/O comment 121
6.5.2 การปอน Rung comment 123
6.5.3 การแกไข Rung 124
6.5.4 การลากเสนแนวนอนและแนวตั้งเพื่อเชื่อมสัญลักษณแตละตัว 125
6.6 การ Online 126
6.6.1 การ Online เพือ่ Transfer โปรแกรม 126
6.6.2 การทํา Auto-online 127
6.7 การเปลี่ยนโหมด PLC 129
6.8 การ Transfer โปรแกรม 131
6.9 การทํา Force-set/Force Reset 133
6.10 การเปลี่ยนคา Timer 135
6.11 เทคนิคการใชงานอื่นๆ 136
6.11.1 การแทรก/ลบ Rung 136
6.11.2 แทรก/ลบแถวแนวนอนและแนวตั้ง (Row/Column ) 142
บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน 144
7.1 ตัวอยางการประยุกตใชงานโดยใชคําสัง่ Timer 144
7.2 ตัวอยางการควบคุมการปด-เปดประตู 147
7.3 ตัวอยางการควบคุมระบบ Lubrication ของเกียรแบบอัตโนมัติ 149
7.4 ตัวอยางการลําเลียงแผนทองแดงบนสายพานลําเลียง 151
7.5 ตัวอยางการใช Line Control ในการ Packing 154
7.6 ตัวอยางการควบคุมจํานวนรถในลานจอดรถ 157
บทที่ 8 ประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร 160
8.1 หลักการควบคุมเบื้องตน 160
8.2 โครงสรางของเซอรโวมอเตอร 161
8.3 หลักการทํางานของเอ็นโคดเดอร 162
8.4 ชนิดของอินพุตควบคุมสําหรับเซอรโวไดวเวอร 163
8.4.1 PULSE TRAIN CONTROL 164
8.4.2 PULSE WIDTH MODULATION (PWM) 164
8.4.3 LINEAR 164
8.5 การสรางระบบควบคุมของเซอรโวมอเตอร 165
ตัวอยางที่ 1 ระบบควบคุมการเคลื่อนที่แบบ Incremental 165
ตัวอยางที่ 2 ระบบควบคุมการเคลื่อนที่แบบ Absolute 176

APPENDIX
Appendix –A CP1L/CP1H Specifications
Appendix –B CP1L I/O Specification and connection
Appendix –C Programming Instructions
Appendix –D Memory Areas
Appendix –E Servo Driver Setup
Appendix-F การใชงานออปชันแสดงผล LCD (CP1W-DAM01)
บทที่ 1
แนะนําใหรูจัก PLC

PLC (Programmable Logic Controller) หรือปจจุบันใชคําวา PC (Programmable


Controller) ในที่นี้จะใชคําวา PLC แทน PC เพื่อปองกันความสับสนกับคําวา PC (Personal
Computer)
PLC เปนอุปกรณที่คิดคนขึน้ มา เพื่อใชควบคุมการทํางานของเครื่องจักรหรือระบบตางๆ
แทนวงจรรีเลยแบบเกา ซึ่งวงจรรีเลยมีขอเสียคือ การเดินสายและการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในการ
ควบคุมมีความยุงยาก และเมื่อใชงานไปนานๆ หนาสัมผัสของรีเลยจะเสื่อม ทําใหขาดเสถียรภาพ
ในการควบคุม ดังนั้นปจจุบนั PLC จึงเขามาทดแทนวงจรรีเลย เพราะ PLC ใชงานไดงายกวา
สามารถตอเขากับอุปกรณอินพุต/เอาตพุตไดโดยตรง นอกจากนัน้ เพียงแคเขียนโปรแกรมควบคุมก็
สามารถใชงานไดทันที ถาตองการจะเปลี่ยนเงื่อนไขใหมสามารถทําไดโดยการเปลี่ยนแปลง
โปรแกรมเทานั้น นอกจากนี้ PLC ยังสามารถใชงานรวมกับอุปกรณอื่นๆ เชน เครื่องอานบารโคด,
เครื่องพิมพ (Printer) และระบบ RFID เปนตน
ในปจจุบนั นอกจาก PLC จะใชงานแบบเดี่ยว (Stand alone) แลว ยังสามารถตอ PLC
หลายๆ ตัวเขาดวยกันเปนเครือขาย (Network) เพื่อควบคุมการทํางานของระบบใหมีประสิทธิภาพ
มากยิ่งขึ้นอีกดวย จะเห็นไดวา การใชงาน PLC มีความยืดหยุนมากกวาการใชงานวงจรรีเลยแบบเกา
ดังนั้นในปจจุบันโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ จึงใช PLC เปนหัวใจหลักในการควบคุมการทํางาน
ของเครื่องจักร
เราสามารถจําแนกประเภทของ PLC ตามลักษณะภายนอกไดเปน 2 ชนิด คือ

-1-
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

1. 1 ชนิดของ PLC

เราสามารถจําแนก PLC ตามโครงสรางหรือลักษณะภายนอกไดเปน 2 ชนิด คือ


1.1.1 PLC ชนิดบล็อก (Block Type PLCs)
PLC ประเภทนี้ จะรวมสวนประกอบทั้งหมดของ PLC อยูในบล็อกเดียวกัน ไมวา
จะเปนตัวประมวลผล หนวยความจํา ภาคอินพุต/เอาตพุต และแหลงจายไฟ สามารถแสดงตัวอยาง
PLC แบบ Block Type ใหเห็นดังรูปที่ 1.1

CP1L/H CPM2A
รูปที่ 1.1 แสดงรูปราง PLC ชนิด Block Type

• สวนประกอบของ PLC แบบ Block Type


ในที่นี้จะยกตัวอยาง PLC แบบ Block Type ของ OMRON รุน CP1L และ CP1H

รูปที่ 1.2 โครงสรางภายนอก ของ PLC

-2-
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

จากรูปที่ 1.2 สามารถอธิบายความหมายของแตละสวนไดดังนี้


 คือ แบตเตอรี่ (Battery)
 คือ ขั้วตอแหลงไฟและอินพุต (Power Supply/Input Terminal)
‘ คือ ชองเสียบหนวยความจํา (Memory Cassette)
’ คือ ชองเสียบเพื่อเพิ่มพอรตติดตอสื่อสาร (Option Board slots)
“ คือ ขั้วตอเอาตพุต (Output Terminal)
” คือ พอรตเชื่อมตอกับอุปกรณปอนโปรแกรม (USB Port)
• คือ ปุมปรับอนาลอก (Analog Adjuster)
– คือ ขั้วตออินพุตสําหรับอนาลอก setting (External analog setting input)
— คือ พอรตขยายอินพุต/เอาตพุต (Expansion I/O Unit Connector)

ในกรณีที่ทานตองการเพิ่มจํานวนอินพุต/เอาตพุต สามารถใชหนวยขยายอินพุต/
เอาตพุต (Expansion I/O Units) เพื่อเพิ่มจํานวนอินพุต/เอาตพุตไดโดยการตอเขาที่พอรตขยายอินพุต
เอาตพุต (Expansion I/O Unit Connector) สามารถแสดงโครงสรางของหนวยขยายอินพุต/เอาตพุต
ไดดังรูปที่ 1.3

รูปที่ 1.3 แสดงหนวยขยายอินพุต/เอาตพุต (Expansion I/O Units)

• ขอดีและขอเสีย ของ PLC แบบ Block Type


สามารถยกตัวอยางขอดีขอเสียของ PLC แบบ Block Type ดังนี้
ขอดี ขอเสีย
1. มีขนาดเล็กสามารถติดตั้งไดงายจึง 1. การเพิ่มจํานวนอินพุต/เอาตพุตสามารถ
เหมาะกับงานควบคุมขนาดเล็กๆ เพิ่มไดนอยกวา PLC ชนิดโมดูล
2. สามารถใชงานแทนวงจรรีเลยได 2. เมื่ออินพุต/เอาตพุตเสียจุดใดจุดหนึ่ง
3. มีฟงกชันพิเศษ เชนฟงกชันทาง ตองนํา PLC ออกไปทั้งชุดทําใหระบบ
คณิตศาสตรและฟงกชันอืน่ ๆ ตองหยุดทํางานชั่วระยะเวลาหนึ่ง
4. มีราคาถูกกวาแบบแร็คหรือโมดูล 3. มีฟงกชันใหเลือกใชงานนอยกวา PLC
ในจํานวนอินพุต/เอาตพุตที่เทากัน ชนิดโมดูล

-3-
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

เนื้อหาในหัวขอตอไปจะกลาวถึง PLC อีกชนิดหนึ่งซึ่งแยกสวนประกอบตางๆ ออกจากกัน


เรียกวา PLC ชนิดโมดูล (Modular Type PLCs)

1.1.2 PLC ชนิดโมดูล (Modular Type PLCs) หรือแร็ค (Rack Type PLCs)
PLC ชนิดนี้สว นประกอบแตละสวนสามารถแยกออกจากกันเปนมดูล (Modules)
เชนภาคอินพุต/เอาตพุต จะอยูในสวนของโมดูลอินพุต/เอาตพุต (Input/Output Units) ซึ่งสามารถ
เลือกใชงานไดวาจะใชโมดูลขนาดกี่อินพุต/เอาตพุต ซึ่งมีใหเลือกใชงานหลายรูปแบบอาจจะใชเปน
อินพุตอยางเดียวขนาด 8 /16 จุด หรือเปนเอาตพุตอยางเดียวขนาด 4/8/12/16 จุด ขึ้นอยูกับรุนของ
PLC ดวย
ในสวนของตัวประมวลผลและหนวยความจําจะรวมอยูใ นซีพียูโมดูล (CPU Unit)
เราสามารถเปลี่ยนขนาดของ CPU Unit ใหเหมาะสมตามความตองการใชงาน เชน PLC รุน CS1 จะ
มี CPU ใหเลือกใชงานหลายรุนเชน รุน CS1G-CPU42H จะมีความแตกตางกับ PLC รุน CS1H-
CPU65H (ทั้งสองรุนเปน PLC ตระกูล CS1 เหมือนกัน) ตรงขนาดความจุของโปรแกรมและการ
รองรับจํานวนอินพุต/เอาตพตุ เปนตน
สวนประกอบตางๆ ของ PLC ชนิดโมดูลที่กลาวมาทั้งหมดนั้น เมื่อตองการใชงาน
จะถูกนํามาตอรวมกัน บางรุน ใชเปนคอนเนคเตอรในการเชื่อมตอกันระหวางยูนิต เชน รุน CQM1 /
CQM1H หรือ CJ1M/H/G แตบางรุนใช Backplaneในการรวมยูนิตตางๆ เขาดวยกัน เพื่อใหสามารถ
ใชงานรวมกันไดสามารถยกตัวอยาง PLC ชนิดโมดูลไดดังแสดงรูปที่ 1.4

CJ1 CS1
รูปที่ 1.4 แสดงรูปรางของ PLC ชนิดโมดูล

ยกตัวอยาง PLC รุน CJ1 จะใชคอนเนคเตอรในการเชื่อมตอแตละโมดูลเขา


ดวยกัน เพื่อใหสามารถทํางานรวมกันได ดังแสดงในรูปที่ 1.5

-4-
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

รูปที่ 1.5 แสดงชนิดของ PLC ชนิดโมดูล ที่ใชคอนเนคเตอรในการเชือ่ มตอ

สวน PLC รุน CS1 จะใช Backplane ในการเชื่อมตอแตละโมดูลเขาดวยกันเพื่อให


ทํางานรวมกัน ดังแสดงในรูปที่ 1.6

รูปที่ 1.6 แสดงชนิดของ PLC ชนิดโมดูล ที่ใช Backplane ในการเชื่อมตอ

-5-
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

• ขอดีและขอเสียของ PLC ชนิดโมดูล


ขอดี ขอเสีย
1. เพิ่มขยายระบบไดงายเพียงแคติดตั้งโมดูล 1. ราคาแพงเมื่อเทียบกับ PLC แบบ Block
ตางๆ ที่ตองการใชงานลงไปบน Back plane Type ที่มีจํานวนI/O เทากัน
2. สามารถขยายจํานวนอินพุต/เอาตพุตได
มากกวาแบบ Block Type
3. อุปกรณอินพุต/เอาตพุตเสียจุดใดจุดหนึ่ง
สามารถถอดเฉพาะโมดูลนัน้ ไปซอม ทําให
ระบบสามารถทําการตอได
4. มียูนิต และรูปแบบการติดตอสื่อสารให
เลือกใชงานมากกวาแบบ Block Type

จะเห็นวา PLC แตละชนิดจะมีคุณสมบัติแตกตางกัน PLC รุนที่ใหญขึ้น จะมีคณ


ุ สมบัติและ
ฟงกชันพิเศษอื่นๆ มากกวา PLC รุนเล็กซึ่งสามารถเปรียบเทียบใหเห็นความแตกตางดังตาราง
ตอไปนี้
ตารางที่ 1.1 เปรียบเทียบคุณสมบัติของ PLC
รุน
คุณสมบัติ
CPM1A CP1L CP1H CS1
จํานวนอินพุต/เอาตพุต 100 จุด 160 จุด 256 จุด 5,120 จุด
(Max.)
ความจุโปรแกรม(Max.) 2 KWords 10 KSteps 20 KSteps 250 KSteps
ความเร็วในการประมวลผล 0.72 μS 0.55 μS 0.1μS 0.04 μS
ไทมเมอร/เคานเตอร 128 4,096/4,096 4,096/4,096 4,096/4,096
หนวยความจําในสวนของ 1,024 Words 32K Words 32KWords 32KWords
DM
ระบบสื่อสาร • CompoBus/S • CompoBus/S • Controller Link • Ethernet
• Host Link • Host Link • CompoBus/D • Sysmac Link
• NT Link • NT Link • Ethernet • Profibus-DP
• 1:1 Link • 1:1 Link • Protocol Macro • Modbus
• Modbus-RTU • รวมทั้งระบบ • รวมทั้งระบบ
• Componet สื่อสารที่มีใน สื่อสารที่มีใน
PLC รุนต่ํากวา รุนต่ํากวา

-6-
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

1.2 ภาษาที่ใชในการเขียนโปรแกรมใหกับ PLC

PLC แตละยี่หอ จะใชภาษาในการเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งให PLC ทํางานตามความตองการ


แตกตางกัน ซึง่ ตามมาตรฐาน IEC1131-3 ไดแบงมาตรฐานภาษาตางๆ ออกเปน 5 แบบตามรูปที่
แสดงขางลางนี้ ภาษาที่นยิ มใชมากที่สุดคือ Ladder Diagram เพราะเปนภาษาที่งายมีลักษณะคลาย
วงจรควบคุมแบบรีเลย สวนภาษาที่นยิ มเปนอันดับสองคือ Function Block
1) Sequential Flow Chart Language

2) Structure Text Language

3) Function Block Diagram Language

-7-
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

4) Instruction List Language

5) Ladder Diagram

หลังจากที่ไดเรียนรูภาษาที่ใชในการเขียนโปรแกรมใหกบั PLC แลว ในหัวขอตอไปจะ


กลาวถึงอุปกรณที่ใชในการปอนโปรแกรมใหกับ PLC ซึ่งจะกลาวถึงรายละเอียดดังนี้

-8-
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

1.3 อุปกรณสําหรับการโปรแกรม

การสั่งให PLC ทํางาน จะตองปอนโปรแกรมใหกบั PLC กอน ซึ่งอุปกรณที่ใชในการปอน


โปรแกรมใหกบั PLC นั้น สามารถแบงไดเปน 2 ประเภท

1.3.1 ตัวปอนโปรแกรมแบบมือถือ (Hand Held Programmer)


แตละยีห่ อจะมีชื่อเรียกแตกตางกัน เชน OMRON จะเรียกวา Programming
Console เปนตน สามารถยกตัวอยางใหเห็นดังรูปที่ 1.7 ในปจจุบัน PLC รุนใหมๆ ของออมรอน
ไมไดใช Programming Console ในการเขียนโปรแกรมแลวเพราะใชงานยาก

รูปที่ 1.7 แสดงตัวปอนโปรแกรมแบบมือถือ (Programming Console)

การเขียนโปรแกรมใหกับ PLC โดยการใช Programming Console จะปอนเปน


ภาษา Statement List หรือ Mnemonic เชน คําสั่ง LD, AND, OR ซึ่งเปนคําสั่งพื้นฐาน สามารถ
เรียกใชงานโดยการกดปุมทีอ่ ยูบนตัว Programming Console นั้น แตเมื่อตองการใชงานฟงกชนั
อื่นๆ ที่มีอยูใน PLC สามารถเรียกใชงานไดโดยการกดปุมเรียกใชคําสั่งพิเศษ
การใช Programming Console มีขอดีตรงที่มีความสะดวกในการเคลือ่ นยาย และ
สามารถพกพาไดสะดวกเนื่องจากมีขนาดเล็ก แตก็มีขอเสียคือในการใชงานผูใชตองศึกษาวิธกี ารใช
งานของอุปกรณเหลานีว้ ามีวธิ ีการกดอยางไร ถึงจะสั่งงาน PLC ได
ในหัวขอตอไปจะกลาวถึงอุปกรณที่ใชในการปอนโปรแกรมใหกบั PLC อีกชนิด
หนึ่งคือ คอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer)

-9-
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

1.3.2 คอมพิวเตอร
สามารถใชในการเขียนโปรแกรมใหกับ PLC ได โดยใชงานรวมกับซอฟตแวร
(Software) เฉพาะของ PLC ยี่หอนัน้ เชน PLC ของ OMRON จะใชซอฟตแวรที่มชี ื่อเรียกแตกตาง
กันไป สามารถยกตัวอยางไดเชน
• Syswin Support Software
• CX-Programmer
ใชไดกับระบบปฏิบัติการตั้งแต Window XP ขึ้นไป หรือ Window NT ซึ่ง
ซอฟตแวรตางๆ เหลานี้ไดถกู พัฒนาขึ้นเพือ่ ใชกับ PLC รุนใหมที่ผลิตขึน้ มาอยางเชน
CX-Programmer มีการพัฒนาเปนเวอรชันที่สูงขึ้นเรื่อยๆ เพื่อรองรับกับ PLC รุนใหมๆ และฟงกชัน
ใหมๆ ของ PLC
วิธีการตอคอมพิวเตอรกับ PLC สามารถแสดงใหเห็นดังนี้

รูปที่ 1.8 แสดงวิธีการตอใชงานคอมพิวเตอรกับ PLC

- 10 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

รูปที่ 1.9 ตัวอยางซอฟตแวร (CX-Programmer)

ขอดีของการใชเครื่องคอมพิวเตอรในการปอนโปรแกรมใหกับ PLC คือ ใชงาน


งาย เชนในกรณีใช CX-Programmer รวมกับระบบปฏิบัติการ Window จากรูปที่ 1.9 ทานจะเห็นวา
การเขียนโปรแกรมเปนภาษา Ladder Diagram จะเปนการนําสัญลักษณตางๆ เขามาใชแทนการ
เขียนคําสั่ง ทําใหเขาใจงายเพียงแคคลิกเลือกสัญลักษณตางๆ จากสวนของ Toolbar นอกจากนัน้ ยัง
มี Toolbar อื่นๆ ใหเลือกใชงานซึ่งงายกวาการใช Programming Console

ดังนั้นสามารถสรุปไดวาการปอนโปรแกรมใหกับ PLC สามารถทําได 2 วิธีคือ การใช


Programming Console และการใชเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งขึ้นอยูกับความสะดวกของผูใช ในหัวขอ
ตอไปจะกลาวถึงระบบการติดตอสื่อสารของ PLC

- 11 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

1.4 ระบบสื่อสาร (Communications)

ระบบสื่อสารของ PLC คือการนํา PLC ไปตอใชงานรวมกับอุปกรณอื่นๆ เพื่อใหอปุ กรณ


อื่นควบคุมการทํางานของ PLC หรือ ให PLC ไปควบคุมการทํางานของอุปกรณอื่น หรือ เปนระบบ
ที่ใชในการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวาง PLC กับ PLC ก็ได ซึ่งปจจุบัน PLC สามารถนําไปตอรวมกับ
อุปกรณของยีห่ อเดียวกัน หรืออุปกรณภายนอกตางยี่หอกัน เพื่อควบคุมการทํางานของระบบใหใช
งานไดอยางกวางขวางมากขึ้น สําหรับระบบสื่อสารของแตละยี่หอจะมีชื่อเรียกไมเหมือนกัน
นอกจากนี้ PLC แตละรุนยังมีระบบการติดตอสื่อสารบางรูปแบบแตกตางกันดวย เชน PLC
รุนเล็กจะมีความสามารถในการติดตอสื่อสารไดนอยกวา PLC รุนใหญ เชน PLC รุน CP1 สามารถ
ใชระบบสื่อสารไดเฉพาะ Compobus/S, Host link, 1:1 link, NT link สวนรุนที่สงู ขึ้นมาเชน CJ1
หรือ CS1 นอกจากจะใชระบบที่เปนระบบการติดตอสื่อสารพื้นฐานที่มีใน PLC รุนเล็กแลว ยัง
สามารถติดตอสื่อสารในลักษณะของ Ethernet ไดอกี ดวย สามารถแสดงตัวอยางรูปแบบการ
ติดตอสื่อสารของ PLC ไดดงั รูปที่ 1.10

รูปที่ 1.10 ระบบการติดตอสื่อสารของ PLC ในโรงงานอุตสาหกรรม (PLC Network)

- 12 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

1.5 โครงสรางของ PLC

โครงสรางภายในของ PLC แตละสวนจะประกอบกันทํางานเปนระบบควบคุมที่เราเรียกวา


PLC ซึ่งประกอบไปดวยสวนสําคัญดังรูปที่ 1.11

รูปที่ 1.11 ไดอะแกรมภายใน PLC

จากไดอะแกรมดังรูปที่ 1.11 PLC จะมีสวนประกอบสําคัญดวยกันทั้งหมด 5 สวนดังนี้

1. ซีพียู (CPU; Central Processing Unit)


2. หนวยความจํา (Memory Unit)
3. ภาคอินพุต (Input Unit)
4. ภาคเอาตพุต (Output Unit)
5. ภาคแหลงจายพลังงาน (Power Supply Unit)

ยูนิตทั้ง 5 สวนเมื่อประกอบเขาดวยกันแลวก็จะกลายเปน PLC ชุดหนึง่ ที่สามารถทํางานได


แตละยูนิตจะมีหนาที่และคุณสมบัติดังนี้

- 13 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

1.5.1 ซีพียู (CPU; Central Process Unit)


ซีพียูหรือหนวยประมวลผลกลาง ทําหนาที่ประมวลผลการทํางานตามคําสั่งของ
สวนตางๆ ตามที่ไดรับมา ผลจากการประมวลผลก็จะถูกสงออกไปสวนตางๆ ตามที่ระบุไวดว ย
คําสั่งนั่นเอง ซีพียูจะใชเวลาในการประมวลชาหรือเร็ว ขึ้นอยูกับการเลือกขนาดของซีพียู และความ
ยาวของโปรแกรมที่เขียนดวย
ปกติแลวซีพยี จู ะใชไมโครโปรเซสเซอรขนาดตั้งแต 4 บิต, 8 บิต, 16 บิต, 32 บิต,
64 บิต หรือ 128 บิตมาทํางาน โดยที่ซพี ียูแตละขนาดก็จะมีความสามารถจํากัดไมเทากันจึงทําให
PLC ในแตละรุนมีความสามารถตางกันนั่นเอง หรือแมกระทั่งวาภายใน PLC บางรุนจะใชไมโคร-
โปรเซสเซอรถึง 2 ตัวชวยกันทํางาน เวลาการประมวลผลก็จะเร็วกวา PLC ที่ใชไมโครโปรเซส-
เซอรเพียงแคตวั เดียว
โดยปกติแลวการเลือกใชงาน PLC จะเลือกจากการประยุกตใชงานจึงทําใหผูใช
งาน (User) ไมรวู าผูผลิตใชไมโครโปรเซสเซอรรุน หรือเบอรอะไรในการสรางเครื่อง PLC ดังนั้น
เวลาพิจารณาเลือกใช PLC ซึ่งไมมีการระบุเบอรหรือรุน ของไมโครโปรเซสเซอรผูใชงานสามารถ
เลือกจากคุณสมบัติอื่น เชน จํานวนอินพุต/เอาตพุต, ความเร็วในการประมวลผลของคําสั่ง, ขนาด
ความจุโปรแกรม และขอมูล เปนตน

1.5.2 หนวยความจํา (Memory Unit)


หนวยความจําเปนอุปกรณทใี่ ชเก็บโปรแกรมและขอมูลตางๆ ของ PLC กรณีที่สั่ง
ให PLC ทํางาน (RUN) มันจะนําเอาโปรแกรมและขอมูลในหนวยความจํามาประมวลผลการ
ทํางาน สําหรับหนวยความจําที่ใชงานมีดว ยกัน 2 ชนิด คือ
• หนวยความจําชั่วคราว (RAM: Random Access Memory)
• หนวยความจําถาวร (ROM: Read Only Memory)

• หนวยความจําชั่วคราว (RAM: Random Access Memory)


โปรแกรมและขอมูลที่สรางขึ้นโดยผูใชจะถูกจัดเก็บในสวนนี้ คุณสมบัติของ
RAM เมื่อไมมีไฟเลี้ยงจะทําใหโปรแกรมและขอมูลหายไปทันที ดังนัน้ ภายใน PLC จะพบวาจะมี
แบตเตอรี่สํารองขอมูล (Backup Battery) เอาไวสํารองขอมูล (Backup Data) กรณีทไี่ ฟหลัก (Main
Power Supply) ไมจายไฟใหกับ PLC ขอควรระวังคือ ไมควรที่จะถอดแบตเตอรี่สาํ รอง (Backup
Battery) กรณีที่ไมมีไฟจายให PLC

- 14 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

• หนวยความจําถาวร (ROM: Read Only Memory)


เปนหนวยความจําอีกชนิดหนึ่ง โดยที่ขอมูลใน ROM ไมจําเปนตองมีแบตเตอรี่
สํารองขอมูล แตก็มีปญหาเรือ่ งเวลาในการเขาถึงขอมูล (Time Access) ชากวา RAM จึงปรากฏให
ผูใชเห็นวา PLC จะมีหนวยความจําใชงานทั้ง RAM และ ROM รวมกันอยู
ROM แบงออกเปน 3 ชนิด ดังนี้
1) PROM ( Programmable ROM)
2) EPROM (Erasable Programmable ROM)
3) EEPROM (Electrical Erasable Programmable ROM)
PROM จัดเปน ROM รุนแรก เขียนขอมูลลงชิปไดเพียงครั้งเดียว ถาเขียนขอมูลไม
สมบู ร ณ ชิ ป ก็ จ ะเสี ย ทั น ที ไม ส ามารถนํ า กลั บ มาเขี ย นใหม ไ ด อี ก จึ ง ได มี ก ารพั ฒ นามาเป น รุ น
EPROM ซึ่งสามารถเขียนขอมูลลงชิปไดหลายครั้ง เพียงแคนําชิปไปฉายแสงอุลตราไวโอเลตก็จะ
เปนการลบขอมูลในชิปดวยสัญญาณทางไฟฟาไดเลย จึงทําใหเกิดความสะดวกสบายมากขึ้น แต
เรื่องเวลาในการเขาถึงขอมูลก็ยังชากวา RAM อยู
การใชงานหนวยความจําใน PLC
- RAM จะใชเก็บโปรแกรมและขอมูลที่ทํางานจากการสั่ง RUN/STOP PLC
- ROM จะใชจัดเก็บซอฟตแวรระบบ (System Software) และเปนชุดสํารอง
โปรแกรมและขอมูล (Backup Program and Data) เพื่อปองกันกรณีที่โปรแกรมและขอมูลใน RAM
หายไป ผูใชสามารถที่จะถายโปรแกรมและขอมูลเขาไปที่ RAM ใหมได

1.5.3 ภาคอินพุต (Input Unit)


ภาคอินพุตของ PLC ทําหนาที่รับสัญญาณอินพุตเขามาแปลงสัญญาณ สงเขาไป
ภายใน PLC อุปกรณอินพุต (Input Device) ตางๆ ที่นํามาตอกับภาคอินพุตไดนนั้ สามารถแสดง
ตัวอยางไดตามรูปที่แสดงดังนี้

- 15 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

รูปที่ 1.12 แสดงอุปกรณอินพุตตางๆ

อุปกรณที่สามารถนํามาตอกับภาคอินพุต PLC ไดจัดออกเปนกลุมๆ ดังรูปที่ 1.12


โดยกลุมอุปกรณแตละกลุมจะมีวิธีตอวงจรเขาภาคอินพุต PLC แตกตางกันออกไป เวลาใชงาน
อุปกรณแตละกลุม จําเปนตองศึกษาขอมูลเพิ่มเติมของอุปกรณแตละชนิดกอน เพื่อความเขาใจ
ขั้นตอนการทํางาน และสามารถตอวงจรไดถูกตอง
อุปกรณที่นํามาตอกับภาคอินพุตของ PLC อุปกรณบางกลุมจะมีสัญญาณทั้ง
อินพุต/เอาตพุต เชน Inverter, Digital Signal, Controller, ตัวควบคุมอุณหภูมิ, เซนเซอรรุนพิเศษ
เปนตน จําเปนตองตอใชงานใหถูกตอง ซึ่งสามารถแนะนําไดในขั้นตนคือ ตอวงจรภาคเอาตพุตของ
อุปกรณนั้นๆ เขากับภาคอินพุต PLC
ภาคเอาตพุตของอุปกรณจะมีเอาตพุตใหเลือกใชงานหลายแบบ ซึ่งภาคอินพุต PLC
มีวงจรภาคอินพุตอยูหลายแบบเชนกัน เพื่อรองรับอุปกรณอินพุตในแตละแบบใหเหมาะสม

- 16 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

• วงจรภาคอินพุต (Input Circuit PLC)


วงจรภาคอินพุตแบงออกเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ
1) ดิจิตอลอินพุต (Digital Input)
2) อนาลอกอินพุต (Analog Input)

1) ดิจิตอลอินพุต (Digital Input Type)


ดิจิตอลอินพุต หมายถึง อินพุตที่รับรูสัญญาณไดเพียงแค “ON” หรือ
“OFF” เทานั้น ตามโครงสรางจะมีดจิ ิตอลอินพุต 2 แบบคือ
1.1) วงจรอินพุตไฟตรง (DC Input)
1.2) วงจรอินพุตไฟสลับ (AC Input)
1.1) วงจรอินพุตไฟตรง (DC Input) จะใชอุปกรณที่ทํางานดวย
แรงดันไฟฟากระแสตรงตัวอยางวงจรอินพุตไฟตรงแสดงดังรูปที่
1.13

รูปที่ 1.13 วงจรอินพุตแบบ DC

หมายเหตุ : คาความตานทาน R1 และ R2 ดูไดจากคูมือของ PLC รุนนั้นๆ

จากรูปที่ 1.13 ภาคอินพุตจะใชวงจรลดทอนแรงดันแลวขับออป


โตทรานซิสเตอร จากออปโตทรานซิสเตอรก็จะไปขับภาคอินพุตของ IC
เพื่อสงสัญญาณไปให CPU อีกทีหนึ่ง ซึ่งการใชอุปกรณประเภทออปโต
(Opto) ทําใหระบบ PLC สามารถแยกสัญญาณกราวด (Ground) ของภาค
อินพุตออกจากวงจรภายในได สําหรับวงจรภาคอินพุตดังรูปที่ 1.13
สามารถสรุปคุณสมบัติไดดังตารางที่ 1.2

- 17 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

ตารางที่ 1.2 ตัวอยางคุณสมบัติภาคอินพุต (DC)


คุณสมบัติ
แรงดันอินพุต 24 VDC+10%/+15% (26.4V-18V)
อินพุตอิมซีแดนซ 2 kΩ
กระแสอินพุต 12 mA
แรงดันอินพุตขณะทํางาน “ON” 14.4 VDC min.
“OFF” 5.0 VDC max.
เวลาตอบสนองอินพุต “ON Delay”: 8 mS max.
“OFF Delay”: 8 mS max.
สามารถปรับคาไดตั้งแต 1,2,4,8,16,32,64,128 mS โดยใชโหมด PC Setup

สําหรับวงจรภาคอินพุตดังรูปที่ 1.13 จะพบวา ภาคอินพุตของออปโต


ทรานซิส- เตอรมีไดโอด (Diode) ตอสลับขั้วกันอยู เพื่อเวลาใชงาน
สามารถเลือกตอวงจรได 2 แบบ ดังรูปที่ 1.14

ก . การตออินพุตแบบ Source

ข. การตออินพุตแบบ Sink
รูปที่ 1.14 การตอวงจรอินพุตแบบ DC Source/Sink

- 18 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

1.2) วงจรอินพุตไฟสลับ (AC Input) ใชไฟสลับผานแรงดันทําใหไมมี


ปญหาเรื่องแรงดันตกครอมในสายมากเกินไปเหมือนวงจรอินพุต
ไฟตรงโดยที่ผานแรงดันอินพุตตั้งแต 100-220 VAC สําหรับ PLC
บางรุนก็จะแบงอินพุตแบบนี้ออกเปน 2 ยานคือ 100-120 และ 200-
240 VAC ลักษณะวงจรอินพุตแสดงดังรูปที่ 1.15

รูปที่ 1.15 วงจรอินพุตแบบ AC

คุณสมบัติของวงจรอินพุตไฟสลับทั้งแรงดันอินพุตระบบไฟ 110V หรือ


220V ดังแสดงตารางที่ 1.3
ตารางที่ 1.3 คุณสมบัติภาคอินพุต (AC)
คุณสมบัติ
แรงดันอินพุต 100-120 VAC+10%/+15% 50/60Hz 200-240 VAC+10%/+15% 50/60Hz
อินพุตอิมซีแดนซ 2 kΩ (50Hz), 17 kΩ (60 Hz) 38 kΩ (50Hz), 32 kΩ (60 Hz)
กระแสอินพุต 5 mA (at 100 VAC) 6 mA (at 200 VAC)
แรงดันอินพุตขณะทํางาน “ON” 60 VAC min. “ON” 150 VAC min.
“OFF” 20 VAC max. “OFF” 40 VAC max.
เวลาตอบสนองอินพุต “ON Delay”: 35 mS max.
“OFF Delay”: 55 mS max.

ลักษณะการตอวงจรใชงานสําหรับภาคอินพุตแบบ AC จะมีลักษณะการ
ตอดังรูปที่ 1.16

รูปที่ 1.16 การตอวงจรอินพุตแบบ AC

- 19 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

2) อนาลอกอินพุต (Analog Input Type)


อนาลอกอินพุตจัดเปนอินพุตที่สามารถรับสัญญาณที่บอกเปนปริมาณที่
เปลี่ยนแปลงคาไดเชน 0-10 VDC, ±10 VDC 1-5 V และ 4-20 mA ดังรูปที่ 1.17

ก. สัญญาณขนาด ±10 VDC

ข. สัญญาณขนาด 0-10 VDC

ค. สัญญาณขนาด 1-5 V (4-20 mA)

รูปที่ 1.17 สัญญาณแบบตางๆ ที่สงใหอนาลอกอินพุต

- 20 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

สัญญาณอนาลอกทั้ง 3 แบบ จัดเปนขนาดสัญญาณมาตรฐานที่กําหนดไวใช


ในอุตสาหกรรม ดังนั้นอุปกรณที่มีภาคเอาตพุตเปนแบบอนาลอกเชน อนาลอก
เซนเซอร, ภาคอนาลอกเอาตพุตของ Digital Signal Controller,
Temperature Controller เปนตน ก็จะมีขนาดของสัญญาณตามมาตรฐานเชนกัน
ซึ่งตัวอุปกรณอาจจะมีเอาตพุตแบบใดแบบหนึ่งหรือทั้ง 3 แบบเลยก็ได ดังนัน้ ภาค
อนาลอกอินพุตของ PLC ก็ตองสามารถเลือกตรวจสอบไดทั้ง 3แบบเชนกัน
หลักการทํางานของอนาลอกอินพุตของ PLC นําคาที่วดั ไดแปลงเปนสัญญาณ
ดิจิตอล สามารถแสดงไดดังไดอะแกรมรูปที่ 1.18

รูปที่ 1.18 ไดอะแกรมการสงขอมูลอนาลอกให PLC

อุปกรณที่วดั คาออกมาเปนปริมาณอนาลอกสวนมากเปนการวัดระยะทาง,
วัดความเร็ว, วัดอุณหภูมิ, วัดปริมาณแสง, วัดความดันเปนตน แลวแปลงคาเปน
สัญญาณทางไฟฟาออกมา ดังนั้นเวลาที่อุปกรณเหลานี้วัดคาออกมาเปนอนาลอก
คาใดๆ ผูใชจาํ เปนตองทําตารางเปรียบเทียบคาดวย เพือ่ ที่จะกําหนดขนาดขอมูล
ใหกับ PLC ใหควบคุมตามที่ตองการ วงจรภาคอินพุตแบบอนาลอกของ PLC จะมี
ลักษณะวงจรตามรูปที่ 1.19

รูปที่ 1.19 วงจรอนาลอกอินพุตของ PLC

- 21 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

1.5.4 ภาคเอาตพุต (Output Unit)


ภาคเอาตพุตของ PLC ทําหนาที่สงสัญญาณออกไปขับโหลดชนิดตางๆ
ตามเงื่อนไขทีไ่ ดโปรแกรมเอาไว ชนิดของโหลดที่สามารถนํามาตอกับภาคเอาตพตุ สามารถแยก
ออกเปนกลุมไดดังนี้

รูปที่ 1.20 กลุมอุปกรณที่ตอกับภาคเอาตพตุ PLC

จากรูปที่ 1.20 กลุมอุปกรณตางๆ ที่ตอกับภาคเอาตพุต PLC นั้น ในแตละกลุมก็จะ


ควบคุมลักษณะของงานแตกตางกันไปตามคุณสมบัติของอุปกรณนั้นๆ การตอวงจรเขาภาคเอาตพุต
PLC จะมีมาตรฐานทางอุตสาหกรรมกํากับอยูเชนกัน จึงทําใหผูใชไมตองใชอุปกรณเสริมมาก
เพียงแตดูรายละเอียดการตอใหเขาใจก็เพียงพอแลว

- 22 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

ชนิดเอาตพุตของ PLC จะมีใหเลือกใชอยู 2 ลักษณะเชนเดียวกับภาคอินพุตคือ


1) ดิจิตอลเอาตพตุ (Digital Output)
2) อนาลอกเอาตพุต (Analog Output)
1) ดิจิตอลเอาตพตุ (Digital Output)
อุปกรณที่สามารถสั่งการทํางานไดเพียง “ON” หรือ “OFF” จัดวาเปนการ
ควบคุมแบบดิจิตอลเอาตพุตโดยมีชนิดของเอาตพุตใหเลือกใช 3 แบบคือ
1-1) เอาตพุตชนิด “Relay Contact Output”
1-2) เอาตพุตชนิด “Transistor Output”
1-3) เอาตพุตชนิด “Solid State Relay: SSR Output”
1-1) เอาตพุตชนิดรีเลย “Relay Contact Output” เอาตพุตชนิดรีเลยสามารถ
นําเอาตพุตไปขับโหลด ACหรือ DC ก็ได ลักษณะวงจรดังรูปที่ 1.21

รูปที่ 1.21 วงจรเอาตพุตแบบรีเลย

การเปด/ปดหนาสัมผัสของรีเลยจะอาศัยหลักการทํางานของสนามแมเหล็ก
ดังนั้นเวลาที่นาํ หนาสัมผัสรีเลยไปใชงานจึงเปรียบไดเสมือนสวิตชควบคุมแบบ
NO หรือ NC จึงสามารถที่จะใชหนาสัมผัสไปควบคุมโหลดไดทั้งชนิด AC
หรือ DC ซึ่งขอพิจารณาในการเลือกใชตอ งพิจารณาความสามารถทนกระแสและ
แรงดันไดสูงสุดเทาไร ปกติแลวภาคเอาตพุตของ PLC ที่ เลือกเปนชนิดรีเลย
เอาตพุตทนกระแสใชงานตามปกติได 2A จึงไมเหมาะที่จะนําไปขับโหลด AC
หรือ DC ที่มีกระแสสูงกวา 2A คุณสมบัติตางๆ ของภาคเอาตพุตชนิดรีเลย แสดง
ไวในตารางที่ 1.4
กรณีโหลดทีใ่ ชงานมีกระแสกระชากสูงกวา 2A มากๆ ไมควรใชเอาตพุตรีเลย
ตอกับโหลดนัน้ ๆ โดยตรง ควรตอผานรีเลยบัพเฟอรที่สามารถทนกระแสไดดีกวา

- 23 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

ตารางที่ 1.4 คุณสมบัติภาคเอาตพุตชนิดรีเลย


รายละเอียด คุณสมบัติ
อัตราทนการทํางานสูงสุด (Max. switching capacity) 2 A/250 VAC (COSφ = 1)
2 A/24 VDC
อัตราทนการทํางานต่ําสุด (Min. switching capacity) 10 mA/5 VDC
Resistance Load 300,000 ครั้ง
ระบบไฟฟา
อายุการใชงาน Inductive Load 100,000 ครั้ง
(Relay Service Life) ระบบกลไก (Mechanical) 10 ลานครั้ง
Switching Rate 30 ครั้งตอนาที
เวลาตอบสนอง OFF Delay 15 mS (max)
ON Delay 15 mS (max)

อายุการใชงานจะขึ้นอยูกับขนาดโหลดที่ใชตอกับเอาตพตุ ชนิดรีเลยไป
ควบคุม จากตารางโหลดที่เปนขดลวด (Inductive Load) จะทําใหอายุการใชงาน
รีเลยสั้นกวาโหลดจําพวกหลอดไฟถึง 3 เทา สวนในเรื่องเวลาตอบสนองตาม
คุณสมบัติภาคเอาตพุตแบบรีเลย จะตอบสนองคําสั่งชาที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับ
ภาคเอาตพุตแบบอื่นๆ
พิกัดการเปด/ปดวงจร(Switching Rate)
นอกจากอายุการใชงานของเอาตพุตแบบรีเลยจะขึ้นอยูกบั ขนาดของโหลดแลว
ความถี่ในการเปด/ปดวงจรโหลดเปนพิกัดอีกตัวหนึ่งที่สง ผลตออายุการใชงาน โดยปกติแลวไมควร
เปด/ปดวงจรโหลดเกินกวา 30 ครั้งตอนาที ถาจําเปนตองเปด/ปดวงจรบอยครั้ง ควรใชเอาตพุต
ทรานซิสเตอรจะเหมาะสมกวา
วงจรปองกันหนาคอนแทค
ในการใชงานเอาตพุตรีเลยใหมีอายุการใชงานที่ยาวนานขึ้นควรตอวงจรปองกัน
หนาคอนแทคเขากับรีเลย เพือ่ ลด Noise และปองกันการสรางกรด Nitric และ Carbide ซึ่งจะเกิดขึ้น
ขณะที่หนาคอนแทคเปดวงจร การใชวงจรปองกันจะชวยลดผลกระทบดังกลาวได ตารางขางลาง
แสดงตัวอยางการตอวงจรปองกัน เวลาเราใชเอาตพุตรีเลยตัด/ตอโหลดประเภท Inductive เชน
Solenoid valve จะทําใหเกิดการอารค (Are) ขึ้นที่หนาคอนแทค ถาสภาพแวดลอมมีความชื้นสูงจะ
สงผลทําใหเกิดกรด Nitric ซึ่งจะทําใหรีเลยทํางานผิดปกติได ดังนัน้ ควรใชอุปกรณลด Surge เพื่อ
ลดปญหาดังกลาว

- 24 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

• ตัวอยาง Surge Suppressors


ไฟที่ใชได
ตัวอยางวงจร คุณลักษณะ การเลือกอุปกรณ
AC DC
* OK อิมพีแดนซของโหลดตองนอย คา C และ R ที่เหมาะสมคือ C
(OK) กวาวงจร RC เมื่อใชรีเลยกับ = 0.1-0.5 uF ตอกระแส
แรงดันไฟ AC Switching 1A และ R=0.5-1
โอมห ตอแรงดัน Switching
OK OK เวลาในการตัดวงจรจะชาลงถา 1V อยางไรก็ตามคานี้อาจไม
เปนคาคงที่เหมาะสมเสมอไป
CR type

โหลดเปน Inductive เชน


Solenoid Valve วงจรนี้จะใช ทั้งนี้ขึ้นอยูกับโหลดและ
งานไดผลดีถาตอครอมโหลด คุณสมบัติของรีเลย การเลือก
เมื่อใชแรงดันเปน 24-48 V C ควรใหมีคา dielectric
และตอครอมหนาคอนแทค ถา strength 200-300 V ถาใชกับ
แรงดันเปน 100-240 V แรงดันไฟ AC และเปน
Capacitor ชนิด AC
NG OK พลังงานสะสมอยูที่ Coil ของ ควรใช Diode ที่มี Reverse
โหลด Inductive จะสรางเปน breakdown voltage เปน 10
Diode type

กระแสไฟฟาไหลผาน Diode เทาของแรงดันใชงาน


ที่ตอครอมอยูกับ Coil นั้น
วงจรนี้จะมีผลทําใหเวลาการ
ตัดวงจรนานกวาแบบ RC
NG OK วงจรนี้จะทํางานดีกวาแบบ Breakdown voltage ของ
Zener diode type

Diode ในงานบางประเภทแต Zener diode ควรเทากับ


Diode +

เวลาตัดวงจรจะนานมาก แรงดันใชงาน

OK OK วงจรนี้จะปองกันแรงดันสูงที่ Cutoff voltage (Vc) ตอง


เกิดขึ้นที่หนาคอนแทคเนื่อง เปนไปตามเงื่อนไขตอไปนี้
จาก Varistor มีคุณสมบัติรักษา Contact dielectric strength >
Varistor type

แรงดันใหคงที่ วงจรนี้จะใช Vc > Supply voltage (กรณี


งานไดผลดีถาตอครอมโหลด ไฟ AC ใหคูณ 2 ของคาที่ได)
เมื่อใชแรงดันเปน 24-48 V
และตอครอมหนาคอนแทคถา
แรงดันเปน100-240 V

- 25 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

โหลดความตานทานและโหลดอินดักทีฟ
ความสามารถในการเปด/ปด (Switching power) ของโหลด Inductive จะต่ํากวา
โหลดความตานทาน เนื่องจากมีพลังงานแมเหล็กไฟฟาสะสมในคอลยของโหลดอินดักทีฟ ตาราง
ขางลางแสดงกระแสกระชาก (Inrush) ที่เกิดจากโหลดประเภทตาง ๆ

โหลด AC กับ Inrush Current


อัตรากระแสกระชากตอ
ประเภทโหลด รูปคลื่น
กระแสไฟในภาวะปกติ
Solenoid ประมาณ 10
Incandescent ประมาณ 10 - 15
bulb

Motor ประมาณ 5 - 10
Relay ประมาณ 2 - 3

Capacitor ประมาณ 20 - 50
Resistive load 1

1-2) เอาตพุตชนิดทรานซิสเตอร (Transistor Output) เอาตพุตแบบ


ทรานซิสเตอร มีใหเลือกใชอยู 2 ประเภทคือ
• เอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ NPN
• เอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ PNP

• เอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ NPN มีลักษณะวงจรดังรูปที่ 1.22

รูปที่ 1.22 วงจรภายในเอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ NPN

- 26 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

จากวงจรภายในจะใชออปโตทรานซิสเตอรผลิตสัญญาณขับทรานซิสเตอรQ1 โดย
Q1 จะทําหนาที่ขับโหลดอีกที วงจรลักษณะนี้ทําใหวงจรภายในแยกสัญญาณกราวนดออกจากวงจร
ภาคเอาตพุตไดสวนลักษณะการตอวงจรใชงานนั้นสามารถตอใชงานขับโหลดไดเฉพาะ DC เทานั้น
ดังรูปที่ 1.23

รูปที่ 1.23 การตอใชงานเอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ NPN

การตอขับโหลดดังรูปที่ 1.23 เปนการตอแบบซิงค (Sink type) คือดึงกระแสเขาสู


ภาคเอาตพุต ดังนั้นทรานซิสเตอรตองทนกระแสซิงคได เพื่อปองกันไมใหทรานซิสเตอรพังที่ขา
อิมิเตอร Q1 เขียนวา COM (COMMON) เนื่องจากวาเวลานําภาคเอาตพุตแบบนี้ไปใชงานจริงจะมี
วงจรลักษณะนี้ตออยูหลายชุดเชน 8, 16, 32 ชุดเปนตน วงจรใชงานจริงก็จะตอขาอิมิเตอรรวมกัน
แลวดึงออกมาเปนขาที่เขียนวา “COM” นัน่ เองและที่ขวั้ +V ก็ตอรวมเชนกัน
คุณสมบัติสวนตางๆ ของภาคเอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ NPN นี้ สามารถดูราย
ละเอียดไดดังตารางที่ 1.4
ตารางที่ 1.4 คุณสมบัติภาคเอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ NPN
รายละเอียด คุณสมบัติ
แหลงจายไฟ +V 5-24 VDC (40mA min) ±10%
(2.5 mA X จํานวนบิตที่ “ON”)
อัตราทนการทํางานสูงสุด 50 mA ที่แรงดัน 4.5 V - 300 mA ที่แรงดัน 26.4 V
(Max. switching capacity)
กระแสรั่วไหล (Leakage Current) 0.1 mA (สูงสุด)
แรงดันไฟฟา (Residual Voltage) 0.8 VDC (สูงสุด)
เวลาตอบสนอง OFF Delay 0.1 mS (สูงสุด)
ON Delay 0.4 mS (สูงสุด)

- 27 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

อัตราทนการทํางานสูงสุด (Max. Switching Capacity)


จัดเปนตัวแปรที่ตองคํานึงถึงเวลานําไปใชงาน เพราะวาภาคเอาตพุต PLC เวลาที่
ผลิตออกมาใชงาน จะมีวงจรทรานซิสเตอรมากกวา 1 ชุดเสมอ เชน 8, 16 ชุด ทําใหตองพิจารณา
กระแสที่สามารถจะขับโหลดไดพรอมกันทุกชุดของเอาตพุตดวย ดังรูปที่ 1.24

ก. กระแสขับโหลดตอเอาตพตุ 1 ชุด ข. กระแสขับโหลดที่เอาตพุต 16 ชุด

รูปที่ 1.24 กราฟกระแส (IC) ขับโหลด

จากกราฟจะพบวาถาขับโหลดทีละชุดไมพรอมกัน สามารถที่จะขับโหลดไดถึง
300 mA ที่แรงดัน 24 VDC ได แตเมื่อขับโหลดพรอมกันทั้งหมด 16 ชุด ก็จะทําใหจายกระแส (IC)
ไดเพียง 4.8 mA ตอ 1 โหลด ดังนั้นเวลาใชภาคเอาตพตุ แบบทรานซิสเตอร ถึงแมวาสามารถตอบ
สนองโหลดไดเร็วกวารีเลยแตมีขอจํากัดในเรื่องกระแส สวนใหญจะใชภาคเอาตพุตทรานซิสเตอร
ขับโหลดวงจรอิเล็กทรอนิคสแบบตางๆ เชน 7-Seg Display, Digital Controller, Servo Driver เปน
ตน
• ภาคเอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ PNP มีลักษณะวงจรดังรูปที่ 1.25

รูปที่ 1.25 วงจรภายในเอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ PNP

- 28 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

ลักษณะวงจรคลายวงจรของเอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ NPN เพียงแตเปลี่ยนวงจร


สวน Q1 เทานั้น ลักษณะการตอวงจรสามารถตอไดดังรูปที่ 1.26

รูปที่ 1.26 การตอใชงานเอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ PNP

ตอวงจรโดยขั้วที่เขียนวา COM ของภาคเอาตพุต ใหตอไฟบวก (+V) ขา 0V ตอกับ


ไฟ 0V และขา OUT ตอกับโหลด
การตอวงจรลักษณะแบบนี้เปนการตอแบบซอรส (Source type) โดยที่
ทรานซิสเตอร Q1 ตองทนกระแสที่จะจายใหโหลดได เราอาจจะเรียกวา กระแสซอรส (I source)
คุณสมบัติของวงจรเอาตพุตแบบนี้แสดงไวดังตารางที่ 1.6

ตารางที่ 1.6 คุณสมบัติภาคเอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ PNP


รายละเอียด คุณสมบัติ
แหลงจายไฟขา +V (COM) 5-24 VDC (60mA min) ±10%
(3.5 mA X จํานวนบิตที่ “ON”)
อัตราทนการทํางานสูงสุด 50 mA ที่แรงดัน 4.5 V - 300 mA
(Max. switching capacity) ที่แรงดัน 26.4 V
กระแสรั่วไหล (Leakage Current) 0.1 mA (สูงสุด)
แรงดันไฟฟา (Residual Voltage) 0.8 V (สูงสุด)
OFF Delay 0.1 mS (สูงสุด)
เวลาตอบสนอง
ON Delay 0.4 mS (สูงสุด)

ภาคเอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ PNP จะมีคุณสมบัติในเรื่องอัตราทนการทํางาน


สูงสุด (Max switching capacity) เหมือนกับภาคเอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ NPN ซึ่งดูไดจากรูปที่
1.24 เชนกัน

- 29 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

1-3) เอาตพุตชนิดโซลิตสเตรทรีเลย (Solid State Relay: SSR) เอาตพุตประเภทนี้


จะนํามาใชควบคุมโหลด AC ที่ตองการควบคุมความเร็วในการตอบสนองที่ดีกวาใชเอาตพุตแบบ
รีเลย อุปกรณภาคเอาตพุตที่ใชจะใชไตรแอดเปนสวิตชควบคุมโหลด ลักษณะวงจรเอาตพุตแบบ
SSR นี้ แสดงไวดังรูปที่ 1.27

รูปที่ 1.27 วงจรภายในเอาตพุตโซลิตสเตรทรีเลย

คุณสมบัติของไตรแอดจะทําใหสามารถควบคุมโหลด AC ไดทั้งซีกบวกและซีก
ลบของรูปคลื่นไซน (Sine wave) สวนวงจรทริกเกอรทําหนาที่กระตุนไตรแอดใหทํางานสอดคลอง
กับรูปคลื่นไซน อยางนอยก็เปนการปองกันไตรแอดไดระดับหนึ่ง การตอวงจรเอาตพุตแบบ SSR
สามารถตอใชงานไดดังรูปที่ 1.28

รูปที่ 1.28 การตอใชงานเอาตพุต SSR

ลักษณะการตอวงจรโหลดกับภาคเอาตพุต SSR จะตอในลักษณะอนุกรมกันโดย


ขาขางหนึ่งของโหลดตอกับขา OUT อีกขางตอเขากับแหลงจายไฟสลับ สวนขาอีกขางหนึ่งคือขา
COM นําไปตอกับขั้วแหลงจายไฟสลับอีกขาง คุณสมบัติของเอาตพุต SSR ดูไดจากตารางที่ 1.7

- 30 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

ตารางที่ 1.7 คุณสมบัติภาคเอาตพุตแบบโซลิตสเตรทรีเลย (SSR)


รายละเอียด คุณสมบัติ
อัตราทนการทํางานสูงสุด 100-240 VAC (0.4A)
(Max. switching capacity)
กระแสรั่วไหล (Leakage Current) 1 mA (สูงสุด) ที่ 100 VAC
2 mA (สูงสุด) ที่ 200 VAC
แรงดันไฟฟา (Residual Voltage) 1.5 V (สูงสุด) (0.4A)
เวลาตอบสนอง OFF Delay 6 mS (สูงสุด)
ON Delay ½ cycle + 5 mS (สูงสุด)

• อนาลอกเอาตพุต (Analog Output)


ภาคเอาตพุตของ PLC แบบอนาลอกเปนการเพิ่มความสามารถให PLC สง
สัญญาณควบคุมเชิงปริมาณได คาที่จะสงออกไปก็จดั เปนคาสัญญาณมาตรฐานเหมือนภาคอินพุต
แบบอนาลอกคือ สัญญาณ 0-10 VDC, ±10 VDC และ 1-5 V (4-20mA) ลักษณะกราฟภาคเอาตพตุ
ที่จะสงสัญญาณออกไปเหมือนกับกราฟอนาลอกอินพุตดังรูปที่ 1.17 การสงสัญญาณของอนาลอก
เอาตพุตจะสงสัญญาณ 2 แบบคือ แรงดันและกระแส การตอสายสัญญาณเพื่อเลือกสัญญาณเปน
กระแสหรือแรงดันของภาคเอาตพุตอนาลอกจะมีสัญญาณกํากับขัว้ ไว สามารถแยกการตอได
2 ลักษณะดังรูปที่ 1.29

ก. สงสัญญาณแบบแรงดัน (Voltage Output)

ข. สงสัญญาณแบบกระแส (Current Output)


รูปที่ 1.29 สงสัญญาณแบบกระแส/แรงดันของอนาลอกเอาตพุต

- 31 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

วิธีการสังเกตขั้วตอสายของอนาลอกเอาตพุต จะมีสัญลักษณแยกไววาเปนของ
อนาลอกเอาตพุตชนิดใด ดังรูปที่ 1.30

หมายเหตุ : ตั้งแตขั้ว A4-A8/B4-B8 วาง


รูปที่ 1.30 ตําแหนงขั้วอนาลอกเอาตพุต

1.5.5 ภาคแหลงจายพลังงาน (Power Supply Unit)


ภาคแหลงจายพลังงาน จะทําหนาที่จายพลังงานใหกับอุปกรณภายใน PLC ไดแก
อุปกรณไอซี, ไฟเลี้ยงวงจรกําหนดการทํางานแบบตางๆ เปนตน นอกจากนี้ยังจายพลังงานเลี้ยง
วงจรที่จะนํามาตอกับ PLC ทั้งภาคอินพุต/เอาตพุต ไดอะแกรมของแหลงจายพลังงานเขียน
ไดอะแกรมไดดังรูปที่ 1.31

รูปที่ 1.31 ไดอะแกรมภาคแหลงจายไฟ PLC

- 32 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC

แหลงจายพลังงานของ PLC จะแบงออกเปน 2 ชุด ชุดหนึ่งสําหรับอุปกรณและวงจรภายใน


แตละโมดูลตางๆ ของ PLC อีกชุดหนึ่งเปนตัวจายพลังงาน (Service Unit 24VDC) 24VDC สําหรับ
การตอวงจรภาคอินพุตหรือเอาตพุตก็ได โดยปกติแลวชุดบริการ 24VDC ชุดนี้จะจายกระแสได
คอนขางต่ํา ไมเหมาะสําหรับนําไปจายโหลดที่ดึงกระแสสูง สวนมากจะนําไปตอใชงานเฉพาะวงจร
ภาคอินพุต PLC เทานั้น แตถาจะนําไปตอสําหรับทดสอบเครื่อง PLC หรือชุดฝกทดลอง ก็ไม
จําเปนตองใชแหลงจายภายนอกเพิ่ม ยกตัวอยางเชน ชุดฝกทดลอง PLC ของออมรอน เปนตน
สําหรับการใชงานจริง แหลงจายจะถูกออกแบบมา 2 ลักษณะ ตามโครงสรางภายนอก PLC
คือ แหลงจายชนิดที่รวมอยูในตัว PLC เลย เชน CP1L จะมีชุดจายพลังงานในตัวเพียงแคปอนไฟ
ใหกับ CP1L มันจะจัดสรรพลังงานใหกับอุปกรณตางๆ บนตัว PLC อีกชนิดหนึ่งจะแยกออกมาเปน
โมดูล (Module) ลักษณะดังรูปที่ 1.32

รูปที่ 1.32 แหลงจายไฟชนิดโมดูล

โดยปกติแลวแหลงจายพลังงานที่ผลิตออกมาสําหรับขายทั่วโลก จะออกแบบใหใชระบบ
ไฟไดหลายแบบ เพื่อที่จะทําให PLC ใชควบคุมระบบไฟฟาไดหลายแบบนั่นเอง คุณสมบัติของ
แหลงจายไฟของ PLC จะมีคณ ุ สมบัติดังนี้

แหลงจายไฟ: 100-240 VAC 50/60 Hz หรือ 24 VDC


ชุดบริการ 24 VDC: 24 V (0.5A)

สวนการเลือกขนาดวัตตจะคํานวณจากโมดูลตางๆ ของ PLC ที่ใชงานซึง่ ผูผลิตไดออกแบบ


เผื่อไวใหเรียบรอยแลว

- 33 -
บทที่ 2
การติดตั้งและออกแบบระบบ

กอนที่จะเริ่มตนเขียนโปรแกรมกันคงหนีไมพนการติดตัง้ ระบบ PLC ในบทนี้จะแนะนํา


วิธีการและขอควรระวังตางๆ ในการติดตัง้ ระบบ PLC ที่ถูกตองเพื่อใหระบบมีเสถียรภาพในการ
ทํางานและยืดอายุการใชงาน นอกจากนั้นจะกลาวถึงขั้นตอนการออกแบบระบบควบคุมอีกดวย

2.1 การติดตั้ง PLC

ผูติดตั้งควรอานคูมือของ PLC แตละรุนเพือ่ การติดตั้งที่ถูกตอง ในหนังสือเลมนี้จะกลาวถึง


หลักการทั่วๆ ไปที่ควรระวัง โดยยกตัวอยาง PLC รุน CP1 เปนอุปกรณอางอิง
2.1.1 สภาพแวดลอมในการติดตัง้
ไมควรติดตั้ง PLC ในสภาวะแวดลอมดังตอไปนี้
ƒ ไมควรติดตั้ง PLC ในสถานที่ที่มีอุณหภูมแิ ละความชืน้ เกินกวาคาพิกดั ที่
กําหนดไว
ƒ หลีกเลี่ยงบริเวณที่มีฝุนมากและมีกรดเกลือ หรือสารเคมี เชน คอลไลด
ƒ ไมควรติดตั้งใกลสายสงไฟกําลังและบริเวณที่มีสนามไฟฟาและคลื่นวิทยุที่มี
กําลังแรง เชน อินเวอรเตอร เปนตน
ƒ ไมควรติดตั้ง PLC ในลักษณะตามรูปที่ 2.1

-34-
PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ

รูปที่ 2.1 แสดงทิศทางในการติดตั้งที่ไมถกู ตอง

2.1.2 การติดตั้งในตูค วบคุม


ควรจัดใหมีการไหลเวียนของอากาศที่เพียงพอในการระบายความรอน และอยา
ติดตั้งอุปกรณที่กําเนิดความรอนใกล PLC (เชน Heater และ Transformer) ถาอุณหภูมิแวดลอมสูง
กวา 55oC ควรติดตั้งพัดลมหรือเครื่องปรับอากาศเพือ่ ระบายความรอน ดังแสดงตัวอยางในรูป
ขางลางนี้

-35-
PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ

2.1.3 การลดปญหาจาก Noise และกระแส Spike


2.1.3.1 Noise จากอุปกรณแรงดันสูง
ควรหลีกเลี่ยงการติดตั้ง PLC ในตูควบคุมที่มีอุปกรณแรงดันสูงติดตั้งอยู
และพยายามรักษาระยะหางของ PLC จากสายสงกําลังอยางนอย 200 มม.

2.1.3.2 กระแสสไปก (Spike) จากเครื่องเชื่อมไฟฟา


สไปก (Spike) คือ แรงดันหรือกระแสไฟฟาที่สูงอยางมหาศาลและเกิดขึ้น
อยางเฉียบพลัน ซึ่งอาจเกิดจากฟาผา แตมอี ุปกรณชนิดหนึ่งที่สามารถสรางความเสียหายใหอุปกรณ
ควบคุมอีเล็กทรอนิกส เชน พีแอลซีและเซนเซอร อุปกรณนั้นก็คือ เครื่องเชื่อมไฟฟา
โดยปกติอุปกรณควบคุมอิเล็กทรอนิกสจะตอกราวดเขากับโครงของ
เครื่องจักรหรือตูควบคุม เมื่อเราใชเครื่องเชื่อมไฟฟากับสวนที่เปนโลหะซึ่งเปนทางเดินของระบบ
กราวดนี้อาจทําใหกระแสสไปก (Spike current) ที่เกิดจากเครื่องเชื่อมไหลผานโลหะตางๆ เหลานี้
เขาสูอุปกรณควบคุมอิเล็กทรอนิกสซึ่งสงผลใหอุปกรณดงั กลาวเสียหายได บอยครั้งที่เราพบวา
PLC เกิดความเสียหายจากกรณีดังกลาว เพราะมีพนักงานบางทานใชเชื่อมไฟฟาทีห่ นางาน แตอาจ
ไมเกิดขึ้นทุกครั้งเสมอไป เพราะอาจมีปจจัยอื่นมาเกีย่ วของดวย เชนกระแสสไปกอาจไหลสูกราวด
กอนมาถึงอุปกรณควบคุมอีเล็กทรอนิกส

-36-
PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ

วิธีการลดปญหาดังกลาว อาจทําไดโดย
- ถอดระบบกราวดของ PLC หรืออุปกรณควบคุมเปนการชั่วคราว หรือ
ติดตั้งตูควบคุมหลังจากติดตัง้ อุปกรณทางกลและเครื่องจักรแลว
- ควรหลีกเลีย่ งการเชื่อมใกลอุปกรณควบคุมและพยายามวางสายกราวด
ของเครื่องเชื่อมใหใกลจุดเชือ่ มใหมากที่สดุ และยึดใหแนน เพื่อใหกระแสสไปกกลับสูกราวดได
สะดวก
2.1.3.3 Noise จาก AC Drive
Noise จาก AC Drive จะกอใหเกิดสัญญาณรบกวนความถี่วิทยุ Radio
Frequency Interference (RFI) ในชวง 0.5 MHz ถึง 1.7 MHz และสราง Electromagnetic
Interference Frequencies (EMI) ในชวง 1.7 MHz ถึง 30 MHz ความถี่สูงเหลานี้เกิดจากการทํางาน
ของชุด PWM ซึ่งเกิดจากการลัดวงจรชั่วขณะของ IGBT นอกจากนั้น EMI ยังเกิดไดจาก
Harmonics ซึ่งเกิดขึ้นจาก “Reflected wave” ที่มีเหตุมาจาก Capacitive ของสายมอเตอรที่ยาวและมี
ผลตออิมพีแดนซที่ไมสอดคลองกันของสายมอเตอรกับขดลวดมอเตอร รวมๆ แลวเราเรียก EMI/
RFI นี้วา Electrical Noise
Noise ที่เกิดขึน้ อาจยอนกลับจาก AC Drive สูแหลงจายไฟ (Power line)
และสงผลกระทบกับอุปกรณอื่นๆ เชน พีแอลซีและเซนเซอร เปนตน
EMI/RFI จะแพรกระจายไปตามตัวมอเตอรสูสายมอเตอรและอาจกระจาย
สูกราวด จากนั้น EMI/RFI จะพยายามแผกระจายกลับไปยังแหลงจายไฟตนกําลังทีจ่ ายให AC
Drive หรือ Inverter ซึ่งเสนทางการยอนกลับนี้อาจผานทางระบบกราวดเขาไปถึงจุดตอ WYE ที่
ขดลวดทุติยภูมิของหมอแปลง ดังแสดงไดในรูป

-37-
PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ

เสนทางการไหลกลับเขาสูแหลงจายไฟกําลังของ EMI/RFI ตามทอรอยสายและ


อุปกรณตางๆ ของระบบกราวด ทําใหเกิด “Voltage Gradient” ซึ่งสงผลกระทบกับอุปกรณควบคุม
ตางๆ โดยเราจะเห็นไดวาการกราวดของระบบอาจประกอบดวยมอเตอร โครงตูตางๆ ทอรอยสาย
เหล็กโครงสราง เชน I-beam ทอน้ํา ดังนั้น EMI/RFI และ “Voltage Gradient” ที่เกิดขึน้ จะแพร
กระจายไปตามอุปกรณตางๆ เหลานั้น ทําใหเกิดปญหากับอุปกรณควบคุมตางๆ ที่อยูตามเสนทาง
ของมัน
การลดผลกระทบของ Noise
จากที่ไดกลาวมาขางตน Noise จะแพรกระจายไปทั่วกับอุปกรณที่เปนโลหะของ
ระบบกราวด ซึ่งการแกไขปญหาทําไดคอนขางยาก เราขอแนะนําวิธกี ารลดปญหาของ Noise ที่เกิด
จาก Inverter ดังนี้
1. การใช Noise Filter
การใส Noise Filter ที่ดานอินพุตของ Inverter จะชวยลดผลกระทบของ Noise
ที่จะถูกสงยอนกลับไปที่แหลงจายไฟ แตควรเลือก Noise Filter ที่ออกแบบหรือขนาดที่เหมาะสม
กับ Inverter นัน้ ๆ ดังแสดงไดในรูป

นอกจากนั้นเรายังสามารถลด Noise ที่เกิดขึ้นจาก “Reflecter Waves” จากมอเตอร


โดยการใส Noise Filter ที่ดานเอาตพุตของ Inverter ถาจําเปน ดังแสดงไดในรูป แตในกรณีจะใช
เมื่อสายมอเตอรมีความยาวมาก

-38-
PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ

2. การลดความถี่ Carrier Frequency


ใน Inverter จะมีชุด PWM ทําหนาที่ควบคุม IGBT เพื่อจายไฟใหมอเตอร ซึ่ง
เราสามารถปรับเปลี่ยนความถี่ของชุด PWM ไดและเรียกความถี่นวี้ า Carrier Frequency การลด
ความถี่นี้ลงอาจชวยลด Noise ที่เกิดขึ้นได
3. การแกปญหาของสายสัญญาณ
การลด Noise ของสายสัญญาณ (Signal Circuit) อาจทําไดโดยใชสาย
Shielded และ Ferrite core ที่ปลายทั้งสองดาน โดยปกติจะกราวด Shielded เขากับแหลงจายไฟ
สัญญาณเพียงดานเดียว นอกจากนัน้ เราควรแยกสายสัญญาณออกจากสายสงกําลังและกราวดที่เปน
เสนทางเดินของ Noise

2.1.4 การเดินสายสําหรับแหลงจายไฟ
- AC Power Supply
ในกรณีที่ระบบ PLC ที่ใชงานตองการแหลงจายไฟ AC ควรติดตั้ง Isolated
Transformer หรือ Noise Filter เพิ่มเติมที่ดานอินพุตของแหลงจายไฟ ดังแสดงในรูปที่ 2.2
เนื่องจาก Transformer มีหลักการทํางานดวยการเหนีย่ วนําสนามแมเหล็กไฟฟาที่เกิดจากขดลวด
ดาน Primary และสรางใหเกิดแรงดันไฟฟาขึ้นที่ดาน Secondary โดยไมมกี ารตอถึงกันทางไฟฟา
ดวยหลักการนีเ้ มื่อเกิดการกระชากของแรงดันหรือกระแสไฟฟาที่ดาน Primary จะสงผลกระทบไป
ยังดาน Secondary นอยกวาการตอถึงกันโดยตรง เนือ่ งจากแกนเหล็กของ Transformer เกิดการ
อิ่มตัว

รูปที่ 2.2 แสดงการติดตั้งแหลงจายไฟ AC

-39-
PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ

- DC Power Supply
ในกรณีที่ระบบ PLC ที่ใชงานตองการแหลงจายไฟ DC ซึ่งสวนใหญแลวจะใช
ไฟ 24VDC ดังนั้นจึงใช Switching Power Supply เพื่อจายไฟใหกับ PLC เราไมขอแนะนําใหใช
หมอแปลงแลวตอกับไดโอดเพื่อทําเปนวงจรจายไฟ DC ใหกับ PLC เพราะไฟ DC ที่ไดจะไมเรียบ
พอ ซึ่งอาจสงผลตอการทํางานของ PLC ได แตมีผใู ชงานบางทานทีใ่ ชอยูเราขอแนะนําใหเปลีย่ น
ดีกวา เพราะ PLC ราคาคอนขางแพงจะพังเพราะแหลงจายไฟที่ทําเองไดนะครับ

2.1.5 การเดินสายอยางปลอดภัยและลดปญหาสัญญาณรบกวน
- การเดินสายสัญญาณอินพุต/เอาตพุต
ควรเดินสายสัญญาณอินพุต/เอาตพุตแยกออกจากสายไฟกําลังไมวาจะเปนภายใน
หรือภายนอกตูควบคุมโดยการแยกทอหรือรางที่ใชเดินสาย ทั้งนี้เพือ่ ปองกัน Noise ที่เกิดจาก
สายไฟกําลังซึง่ อาจจะสงผลใหอุปกรณอินพุต/เอาตพุตและ PLC เกิดความเสียหายได

รูปที่ 2.3 แสดงการสายไฟทีแ่ ยกทอและราง

การเดินสายแบบแบงกลุม จะเปนอีกวิธีหนึ่งที่ชวยลดปญหา Noise ที่เกิดขึ้นใน


ระบบได ในรูปขางลางนี้แสดงการแบงกลุม หรือประเภทของสายตัวนํา โดยทั่วไปสายตัวนํากลุม 1
ไมควรเดินรวมกับสายตัวนํากลุมอื่น ควรเดินสายแยกทอหรือแยกรางออกจากกัน

-40-
PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ

- การเดินสายเอาตพุต Inductive
เอาตพุต Inductive ที่พบบอยคือ Solenoid Valve โดยเฉพาะวาลวไฮดรอริคที่ใช
กระแสไฟสูงเมื่อเริ่มทํางานเพื่อสั่งใหลิ้นวาลวเคลื่อนที่ ยิ่งใชงานไปนานๆ ลิ้นวาลวจะเริ่มติดขัด
ทําใหเคลื่อนทีไ่ มสะดวกเหมือนของใหมจะยิ่งทําใหเอาตพุตตองรับกระแสกระชากทีส่ ูงเปนเวลา
นานกวาปกติ เมื่อใชงานไปนานๆ จะทําใหหนาสัมผัสของรีเลยเสียหายเร็วกวาปกติ ควรติดตั้ง
วงจร Suppressor หรือ Diode ตอครอมที่โหลด เพื่อชวยลดกระแสกระชากที่เกิดขึ้นจากโหลด
Inductive ดังแสดงในรูปขางลางนี้

รูปที่ 2.4 วงจรลดปญหา Surge

คุณสมบัติของ Suppressor ที่ใช คือ R = 50 Ω และ C = 0.47μF, 200 V


คุณสมบัติของ Diode ที่ใช คือ Breakdown voltage: 3 เทาของแรงดันโหลดต่ําสุด
Mean rectification current: 1 A

-41-
PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ

2.1.6 การติดตั้งแบตเตอรรี่
สวนใหญแลว PLC จะมีแบตเตอรรี่ทําหนาที่สํารองขอมูล เชน DM, Timer และ
HR เปนตน แตไมไดทําหนาที่สํารองโปรแกรมแลดเดอร ดังนั้นเมื่อไฟดับ PLC จะเก็บคาขอมูล
ลาสุดของ DM ไว ทํานองเดียวกันถาแบตเตอรรี่หมดโปรแกรมจะไมหายเพราะเก็บอยูใน Flash
memory แตขอมูลใน DM จะหาย

2.1.7 อายุการใชงานของแบตเตอรรี่
แบตเตอรรี่จะมีอายุการใชงานประมาณ 5 ปเมื่อใชงานทีอ่ ุณหภูมิ 25oC แตถาใชใน
สภาวะที่มีอณุ หภูมิสูงกวาปกติคาอายุการใชงานจะอางอิงตามกราฟขางลางนี้ ดังนั้นควรเปลี่ยน
แบตเตอรรี่ทุกๆ 5 ป เพื่อปองกันการเสือ่ มคุณภาพของแบตเตอรรี่ ซึ่งอาจทําใหเกิดกรดขึน้ และ
ทําลายแผนวงจรอีเล็กทรอนิกสของ PLC ได ถาถึงขั้นนี้คงซอมไมไวแนๆ ครับ

ขั้นตอนการเปลี่ยนแบตเตอรรี่
1. ปดแหลงจายไฟของ PLC แตถา PLC ไมมีไฟจายให
เปดไฟจายให PLC อยางนอย 5 นาทีหลังจากนั้นให
ปดไฟ
2. เปดสวนที่เก็บแบตเตอรรี่ (ดูไดจากคูมือ) จากนั้นใหดึง
กอนแบตเตอรรี่ออกดวยความระมัดระวัง
3. ถอดคอนเน็กเตอรของแบตเตอรรี่ออก
4. ตอแบตเตอรรี่ใหมเขาไปแลวดันกอนแบตเตอรรี่เขาที่
แลวปดฝาครอบ

-42-
PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ

2.2 การออกแบบระบบ

เราขอยกตัวอยางประกอบการออกแบบระบบควบคุมดังตัวอยางตอไปนี้ ซึ่งเปนระบบ
ควบคุมการเปดปดประตู(Shutter Control System) ของที่จอดรถยนต สวนรูปขางลางนี้แสดงให
เห็น Workflow ในการออกแบบระบบควบคุม

รูปที่ 2.5 แสดงWorkflow การออกแบบระบบ

-43-
PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ

รูปที่ 2.6 Shutter Control System

2.3 ขั้นตอนการทํางาน

ขั้นตอนการทํางานสําหรับการใช CP1L เพื่อควบคุมการเปดปดประตูแสดงไดตาม


Workflow ในรูปที่ 2.5 สวนรูปที่ 2.6 แสดงการทํางานของ Shutter Control
การทํางานของระบบ Shutter Control
• เมื่อเซนเซอรตรวจจับไดวามีแสงไฟหนารถเปนเวลา 5 วินาที ประตูจะเปดออก
• ประตูสามารถเปด ปด และ หยุดดวยการกดสวิตช
• เมื่อเซนเซอรตรวจจับวามีรถเขาจอดในโรงรถแลวประตูจะปด
• เมื่อตองการเอารถออกจากโรงจอดรถใหใชการกดสวิตช
อุปกรณตางๆ ในระบบ
PLC
• CP1L (14 I/O)
อุปกรณการเขียนโปรแกรม
• CX-programmer
• Computer
• สาย USB
อินพุต
• Shutter OPEN button : PB1
• Shutter STOP button : PB2
• Shutter CLOSE button : PB3
• Car detection sensor : SEN1

-44-
PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ

• Headlight detection sensor : SEN2


• Limit switch, จะ ON เมื่อ shutter เปดสุด : LS1
• Limit switch, จะ ON เมื่อ shutter ปดสุด : LS2
เอาตพุต
• คอนแทคสั่งให shutter motor เปด : MO1
• คอนแทคสั่งให shutter motor ปด : MO2

รูปที่ 2.7 แสดงรายละเอียดอุปกรณ

การจัดสรรอินพุต/เอาตพุต สําหรับ Shutter control


ในขั้นตอนนี้จะทําการจัดสรร I/O ใหกับอุปกรณตางๆ ดังนี้
อินพุต
Device Contact Address
OPEN button PB1 0.00
STOP button PB2 0.01
CLOSE button PB3 0.02
Care detection sensor SEN1 0.03
Light detection sensor SEN2 0.04
Upper limit LS LS1 0.05
Lower limit LS LS2 0.06

เอาตพุต
Device Contact Address
Escalation motor MO1 100.00
De-escalation motor MO2 100.01

-45-
PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ

รูปที่ 2.8 แสดงแอดเดรสที่จดั สรร

การจัดสรร I/O ของ CP1L (รุน 14 I/O)


จากรูปขางลางนี้แสดงการจัดตําแหนงอินพุตเอาตพุตของ CP1L ขนาด 14 I/O ซึ่งอินพุตจะ
เริ่มตน word ที่ ‘0’ สวนเอาตพุตจะเริ่มตน word ที่ ‘100’

รูปที่ 2.9 การจัดตําแหนง I/O และเทอรมินอล

การเขียนแลดเดอรโปรแกรม
ตอไปเปนขั้นตอนที่สําคัญเพราะวาตองใชความคิดและความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคําสั่งของ
PLC จึงจะสามารถเขียนโปรแกรมได ซึ่งจะกลาวถึงวิธกี ารเขียนโปรแกรมและคําสัง่ ตางๆ ของ
พีแอลซีในลําดับตอไป

-46-
PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ

รูปที่ 2.10 ตัวอยางแลดเดอรไดอแกรม

-47-
บทที่ 3
ความรูพื้นฐานทางดานดิจิตอล

เนื่องจากพื้นฐานของ PLC นั้นมาจากการทํางานของวงจรรีเลย ซึ่งมีสภาวะการทํางานแบบ


ลอจิก (0 และ 1) ซึ่งก็คือคาทางดิจิตอลนัน่ เอง ดังนั้นกอนการใชงาน PLC จะตองมีความรูพื้นฐาน
ในเรื่องของเลขฐานและวิธีการแปลงเลขฐานกอน เพื่อจะเขาใจการทํางานที่แทจริงและสามารถใช
งาน PLC ไดดี

3.1 ระบบเลขฐาน (Number System)

ระบบเลขฐาน จัดเปนระบบตัวเลขที่ใชงานอยูใน PLC ในบทนี้จะยกตัวอยางเฉพาะการใช


งานระบบเลขฐานสอง, เลขฐานสิบ และเลขฐานสิบหกเทานั้น
• ระบบเลขฐานสอง (Binary: BIN) มีตัวเลขที่ไมซ้ํากันอยูทั้งหมด 2 ตัว คือ 0 และ 1
• ระบบเลขฐาน BCD (Binary Code Decimal: BCD) มีตัวเลขที่ไมซ้ํากันอยูทั้งหมด 10
ตัว คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา BCD code
• ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal: HEX) มีตัวเลขที่ไมซ้ํากันอยูทั้งหมด 16 ตัว คือ
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F (ตัวอักษร 6 ตัว แทน ตัวเลข 10 –15)

ความสัมพันธของเลข BIN, BCD และ HEX สามารถกําหนดใหเปนตารางไดดังตารางที่2.1

-48-
PNSPO บทที่ 3 ความรูพื้นฐานทางดานดิจิตอล

ตารางที่ 3.1 แสดงความสัมพันธของเลขฐานตางๆ


FOUR DIGIT BINARY
HEX BCD 3
2 =8 22 = 4 21 = 2 20 = 1
0 0 0 0 0 0
1 1 0 0 0 1
2 2 0 0 1 0
3 3 0 0 1 1
4 4 0 1 0 0
5 5 0 1 0 1
6 6 0 1 1 0
7 7 0 1 1 1
8 8 1 0 0 0
9 9 1 0 0 1
A - 1 0 1 0
B - 1 0 1 1
C - 1 1 0 0
D - 1 1 0 1
E - 1 1 1 0
F - 1 1 1 1
หมายเหตุ BIN (Binary) = ระบบเลขฐานสอง
BCD (Binary Code Decimal) = ระบบเลขฐาน BCD
HEX (Hexadecimal) = ระบบเลขฐานสิบหก

ตัวอยางที่ 3.1
การเปลี่ยนเลขฐานสิบหก(HEX)ใหเปนเลขฐานสอง (BIN) โดยใชตารางที่ 2.1
วิธีทํา แปลงเลข 2F61 ฐานสิบหกใหเปนเลขฐานสอง
เลขฐานสิบหก 2 F 6 1

เลขฐานสอง 0010 1111 0110 0001

- 49 -
PNSPO บทที่ 3 ความรูพื้นฐานทางดานดิจิตอล

3.2 การแปลงเลขฐาน

3.2.1 การแปลงเลขฐานสองใหเปนเลขฐานสิบ
ตัวอยางที่ 3.2 ขอมูลซึ่งอยูในระบบเลขฐานสองขนาด 16 บิต มีคา 0000 0000 1001 0110 ถาจะ
เปลี่ยนเปนเลขฐานสิบ จะมีคาเทาใด
วิธีทํา
15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 Bit
ฐานสอง
0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 1 0 1 1 0

215 214 213 212 211 210 29 28 27 26 25 24 23 22 21 20 Weight

ในฐานสิบ
32768 16384 8192 4096 2048 1024 512 256 128 64 32 16 8 4 2 1

0 0 0 0 0 0 0 0 128 0 0 16 0 4 2

ขอมูล 0000 0000 1001 01102 = 128 + 16 + 4 + 2


= 15010 ตอบ

3.2.2 การแปลงเลขฐานสิบใหเปนเลขฐานสอง
ตัวอยางที่ 3.3 ตองการเปลี่ยนเลขฐานสิบ 1,750 ใหเปนเลขฐานสอง ขนาด 16 บิต จะไดคาเทาใด
วิธีทํา

215 214 213 212 211 210 29 28 27 26 25 24 23 22 21 20


Weight Weight
ในฐานสิบ
32768 16384 8192 4096 2048 1024 512 256 128 64 32 16 8 4 2 1

0 0 0 0 0 1024 512 0 128 64 0 16 0 4 2 0

175010 = 1024 + 512 + 128 + 64 + 16 + 4 + 2


= 0000 0110 1101 01102

- 50 -
PNSPO บทที่ 3 ความรูพื้นฐานทางดานดิจิตอล

3.2.3 การแปลงเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบหก และการแปลงเลขฐานสิบหกเปนเลขฐาน


สอง
• การแปลงเลขฐานสองใหเปนเลขฐานสิบหก จะกระทําไดโดยแปลงเลขฐานสอง
ทีละ 4 บิตเปนเลขฐานสิบหก 1 หลัก
• ถาตองการแปลงเลขฐานสองขนาด 16 บิต ใหเปนฐานสิบหก ตองแบงเลขฐาน
สองเปน 4 กลุม กลุมละ4 บิต โดยแตละกลุมจะแทนไดดวยเลขฐานสิบหก 1 หลัก (1 ดิจิต)
หลักที่ 4 หลักที่ 3 หลักที่ 2 หลักที่ 0 เลขฐาน
1 0 A F สิบหก

0 0 0 1 0 0 0 0 1 0 1 0 1 1 1 0
15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 1 เลขฐาน
สอง
0001 0000 1010 11112 = 10AF16

• เชนเดียวกับการแปลงเลขฐานสิบหกเปนเลขฐานสอง เราจะแปลงเลขสิบหก
1 หลักเปนเลขฐานสอง 4 บิต เชน 0001 0000 1010 11112=10AF1

3.3 การบวกและลบเลขฐาน

3.3.1 การบวกเลขฐานสอง เลขฐานสองมีความตางกันของคาน้ําหนัก (Weight) ของเลข


ฐานสองในแตละหลักที่อยูถดั กันเทากับ 2
23 22 21 20
0 1 1 0
+ 0 1 0 1
1 0 1 1

3.3.2 การบวกเลขฐานสิบหก เลขฐานสิบหกมีความตางกันของคาน้ําหนัก (Weight) ของ


เลขฐานสิบหกในแตละหลักที่อยูถัดกันเทากับ 16
163 162 161 160
0 4 B 6
+ 0 C 6 4
1 1 1 A

- 51 -
PNSPO บทที่ 3 ความรูพื้นฐานทางดานดิจิตอล

3.3.3 การลบเลขฐานสอง เลขฐานสองมีความตางกันของคาน้ําหนัก (Weight) ของเลข ฐาน


สองในแตละหลักที่อยูถัดกันเทากับ 2 ดังนั้นในการลบของเลขฐานสองแตละหลักนั้น หากตัวตั้งมี
คานอยกวาตัวลบ จะตองยืมคาจากหลักถัดไปครั้งละ 2
23 22 21 20
1 1 1 0
- 0 1 0 1
1 0 0 1

3.3.4 การลบเลขฐานสิบหก เลขฐานสองมีความตางกันของคาน้ําหนัก (Weight) ของเลข


ฐานสองในแตละหลักที่อยูถดั กันเทากับ 16 ดังนั้นในการลบของเลขฐานสิบหกแตละหลักนัน้ หาก
ตัวตั้งมีคานอยกวาตัวลบ จะตองยืมคาจากหลักถัดไปครัง้ ละ16
163 162 161 160
1 4 B 6
- 0 C 6 4
0 8 5 2

3.4 ประเภทของขอมูล

ขอมูลภายใน PLC จะมีคําจํากัดความที่เรียกกันคือ บิต (Bit), ไบต (Byte), เวิรด (Word)


หลักการเรียกและความหมายของแตละคํามีดังนี้

15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0

เรียกวา ขอมูลขนาด 16 บิต หรือ 1 เวิรดหรือ 1 Channel ก็ได


1 ดิจิต
† † † † = 4 บิต = 1 ดิจิต
1 ไบต
† † † † † † † † = 8 บิต = 1 ไบต
1 เวิรด
† † † † † † † † † † † † † † † † = 16 บิต = 1 เวิรด

- 52 -
PNSPO บทที่ 3 ความรูพื้นฐานทางดานดิจิตอล

ตัวอยางที่ 3.4 ขอมูลขนาด 256 กิโลบิต (kBits) จะสามารถเก็บขอมูลไดกี่กิโลไบต (kBytes)


วิธีทํา 8 บิต = 1 ไบต
256 กิโลบิต = 256 x 1000 = 32,000 ไบต
8
= 32 กิโลไบต

ตัวอยางที่ 3.5 Data memory ขนาด 6 kWords ถาจะเปลี่ยนหนวยเปน kBytes จะไดเทาไร


วิธีทํา 1 Word = 2 ไบต
6 kWord = 2 x 6 x 1000 = 12,000 ไบต
= 12 กิโลไบต

3.5 หลักการพื้นฐานทางลอจิก

PLC ทํางานดวยหลักการของ binary คือ เปนอยางใดอยางหนึ่งใน 2 สถานะ เชน สูงหรือต่ํา


ปดหรือเปด, 0 หรือ 1

3.5.1 หลักการของ AND


A B Y
0 0 0 A
0 1 0 Y
B
1 0 0
1 1 1

3.5.2 หลักการของ OR
A B Y
A Y
0 0 0
B
0 1 1
1 0 1
1 1 1

- 53 -
PNSPO บทที่ 3 ความรูพื้นฐานทางดานดิจิตอล

3.5.3 หลักการของ NAND


A B Y
A
0 0 1 Y
B
0 1 1
1 0 1
1 1 0

3.5.4 หลักการของ NOR


A B Y
0 0 1 A
Y
0 1 0
B
1 0 0
1 1 0

3.5.5 หลักการของ Exclusive OR


A B Y
A
0 0 0 Y
0 1 1 B

1 0 1
1 1 0

3.5.6 หลักการของ NOT


A Y A Y
0 1
1 0

- 54 -
บทที่ 4
การอางแอสเดรสของ PLC

การอางแอสเดรสของ PLC ถาเปรียบเทียบงายๆ คือ การเรียกชื่อตําแหนงของอุปกรณ


อินพุต/เอาตพตุ ที่นํามาตอรวมกับ PLC และเปนการเรียกชื่อพื้นที่หนวยความจําใน PLC นั่นเอง
PLC แตละยี่หอ อาจมีชื่อเรียกที่แตกตางกันออกไป

4.1 โครงสรางของขอมูล

ในแตละบิตของ Word (จํานวน 16 บิต) จะบรรจุขอมูลในเลขฐานสอง (0 หรือ 1) และเมื่อ


แยกบิตทั้ง 16 บิตออกเปน 4 กลุมๆ ละ 4 บิต จะสามารถแสดงขอมูลของแตละ Word หรือ Channel
ในรูปของเลขฐานสิบหก 4 หลักหรือที่เรียกวา 4 ดิจิต

3 2 1 0 ดิจิตที่
15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 บิตที่
0 0 1 0 1 1 1 0 0 1 0 0 0 1 1 0 ขอมูลในเลขฐานสอง

รูปที่ 4.1 แสดงโครงสรางของขอมูลใน Word หรือ Channel ที่ 0

-55-
PNSPO! บทที่ 4 การอางแอสเดรสของ PLC

4.2 การกําหนดเบอรของรีเลย (Relay) ใน PLC

โดยปกติแลว PLC ของออมรอน จะกําหนดพื้นที่รีเลย (Relay) เปน word หรือ Channel ซึ่ง
แตละ Channel จะประกอบดวยขอมูลขนาด 16 บิต ในแตละบิตจะบรรจุขอมูลในเลขฐานสองคือ
เลข 1 ซึ่งแทนสถานะ ON และเลข 0 ซึ่งแทนสถานะ OFF ดังตัวอยางขางลางนี้คือ เวิรด 000 ซึ่ง
ประกอบดวย 16 บิตจากบิตที่ 00 ถึง บิตที่15
การอางถึงรีเลยแตละบิต เราจะแทนดวยเลข 5 หลัก สามหลักแรกเปนเวิรด (Word) หรือ
Channel สวนสองหลักหลังเปนบิต (Bit)
Internal Relay(IR) Word 000, หรือ Channel 000
15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 บิตที่
0 0 1 0 1 1 1 0 0 1 0 0 0 1 1 0 ขอมูลในเลขฐานสอง

000.15 000.06 000.00


สามหลักแรกหมายถึงเวิรด สองหลักหลังหมายถึงบิต
(เวิรดที่ 000) (บิตที่ 10 ของเวิรด 000)
รูปที่ 4.2 แสดงการกําหนดเบอรรีเลยของ PLC

หมายเหตุ 1. ใน PLC บางรุนใชเปนตัวเลข 6 หลักโดย 4 หลักแรกเปนหมายเลข Channel


สวน 2 หลักหลังเปนหมายเลขบิตเชน 0000.00 เปนตน
2. ในกรณีที่ทา นใชงาน Programming Console จะไมปรากฎจุดทศนิยมระหวาง
หมายเลขเวิรดและบิตเชน เวิรดที่ 0 บิตที่ 10 จะแสดงเปน 00010
3. ในกรณีที่ทา นใชงาน CX-Programmer หรือซอตฟแวรอื่น จะแสดงจุดทศนิยม
ระหวางหมายเลขเวิรดและบิตเชนเวิรด ที่ 0 บิตที่ 10 จะแสดงเปน 000.10

ที่กลาวถึงขางตนเปนการอางถึงแตละบิตของรีเลยในสวนที่เรียกวา CIO หรือ Internal


Relay (IR) ซึ่งประกอบดวย Input Area, Output Area และ Work Area สําหรับ PLC รุนใหม เชน
CP1 จะเพิ่มหนวยความจํา Work Area ขึ้นมาและมีตวั อักษรนําหนา W เชน W0.00 ซึ่งสามารถนํา
ไปใชเปน Internal Relay ในการเขียนโปรแกรมได
ในกรณีของรีเลยชนิดอื่นๆ ก็มกี ารกําหนดเบอรในลักษณะเดียวกัน เชน Holding Relay,
Link Relay ดังตัวอยางตอไปนี้

- 56 -
PNSPO! บทที่ 4 การอางแอสเดรสของ PLC

HR 15.01
Holding Relay
เวิรดที่ 15
บิตที่ 01
W 09.07
Work Area
เวิรดที่ 9
บิตที่ 07

นอกจากพื้นที่หนวยความจําที่กลาวถึงแลว PLC ยังแบงพื้นที่หนวยความจําออกเปน


สวนยอยๆ อีกหลายสวน สามารถแสดงรายละเอียดใหเห็นดังตารางที่ 4.1

4.3 ตารางแสดงขอกําหนดของพื้นที่ใชงานของ PLC

ตารางที่ 4.1 พืน้ ที่หนวยความจําของ PLC (อางอิง CP1L)


Data area Words Bits Function
CIO Input CIO 000 ถึง CIO 099 0.00 ถึง 099.15 บิตเหลานี้ถูกใชตอไปยังขั้ว อินพุตเอาตพุต
area area (100 words) (1,600 bits) ภายนอก แตขึ้นอยูกับรุนของ PLC ดวยวาใชกี่
Output CIO 100 ถึง CIO 199 100.00 ถึง 199.15 บิต ดังนั้นบิตที่เหลือจะใชงานเปน Work Bits
area (100 words) (1,600 bits) หรือ Internal relay ได
Work 3800 ถึง 6143 3800.00 ถึง 6143.15 Work Bits สามารถนําไปใชไดอยางอิสระ
area (2,344 words) (37,504 bits) ภายในโปรแกรม
Work area W000 ถึง W511 W0.00 ถึง W511.15 บิตเหลานี้ใชเปน Work bit
(512 words) (8192 bits)
DM D00000 ถึง D32767 ใชเก็บขอมูล
(Data Memory )
HR area H000 ถึง H511 H0.00 ถึง H511.15 บิตเหลานี้ใชเก็บขอมูลและสถานะ ON/OFF
(Holding Relay) (512 words) (8192 bits) ไวไดเมื่อเกิดไฟดับ
AR area A000 ถึง A959 A0.00 ถึง A959.15 บิตเหลานี้เปนบิตพิเศษภายในซึ่งมีหนาที่เฉพาะ
(Auxiliary (960 words) (15,360 bits) อยางเชนใชเปน Flags หรือ Control bits
Relay)
Timer T000 ถึง T4095 ใชเปน Timers
Counter C000 ถึง C4095 ใชเปน Counters

- 57 -
PNSPO! บทที่ 4 การอางแอสเดรสของ PLC

4.4 การระบุตําแหนงอินพุต/เอาตพุตของ PLC

4.4.1 การระบุตําแหนงอินพุต/เอาตพุตของ PLC ชนิดบล็อก (ยกตัวอยางรุน CP1L)


สําหรับ PLC แบบ Block นั้นตําแหนงของอินพุต/เอาตพุตนั้นจะแสดงหมายเลขไว
ที่ PLC อยูแลวยกตัวอยางใหเห็นดังตอไปนี้

รูปที่ 4.3 แสดงตําแหนงของอินพุต/เอาตพุตแตละขั้ว

จากรูปที่ 4.3 แสดงตําแหนงของอินพุต/เอาตพุตของ PLC รุน CP1L-L20DR ซี่งมีจํานวน


20 จุด เปนพื้นที่หนวยความจําในสวนของ CIO หรือ IR
เชนในการเขียนโปรแกรม ถาตองการใชงานอินพุตที่ตออยูกับอินพุตของ PLC บิตที่ 0 เวลา
อางตําแหนงจะกําหนดเปน 000.00 หมายถึงใช CIO เวิรดที่ 0 บิตที่ 0 (วิธีการกําหนดตําแหนงดูได
จากหัวขอ 4.2 การกําหนดเบอรรีเลยของ CP1L)

- 58 -
PNSPO! บทที่ 4 การอางแอสเดรสของ PLC

สําหรับ CP1L รุนอื่น สามารถดูไดจากตารางที่ 4.2 ซึ่งจะแสดงตําแหนงอินพุต/เอาตพุตที่


ตอรวมกับ Expansion I/O Unit

ตารางที่ 4.2 ตารางแสดงจํานวนและตําแหนงอินพุต/เอาตพุตบิตของ PLC รุน CP1L แตละ


รุน เมื่อใชรวมกับ Expansion I/O Units (CP1W-20EDR1)
ชื่อรุน
รุน CP1L-L20 CP1L-M30 CP1L-M40
Expansion
IN OUT IN OUT IN OUT
12 Points 8 Points 18 Points 12 Points 24 Points 16 Points -
จํานวน I/O 000.00 100.00 000.00 100.00 000.00 100.00
- - - - - - -
บนตัว 000.11 100.11 000.11 100.07 000.11 100.07
CPU 001.00 101.00 001.00 101.00
- - - -
001.05 101.03 001.11 101.07 -
IN OUT IN OUT IN OUT
Expansion I/O 12 Points 8 Points 12 Points 8 Points 12 Points 8 Points CP1W-20EDR1
Unit ตัวที่ 1 002.00
-
102.00
-
002.00
-
102.00
-
002.00
-
102.00
-
CPM1A-20EDT1
002.11 102.07 002.11 102.07 002.11 102.07
IN OUT IN OUT
Expansion I/O 12 Points 8 Points 12 Points 8 Points CP1W-20EDR1
Unit ตัวที่ 2 ไมสามารถตอได 003.00
-
103.00
-
003.00
-
103.00
- CPM1A-20EDT1
003.11 103.07 003.11 103.07
IN OUT IN OUT
Expansion I/O 12 Points 8 Points 12 Points 8 Points CP1W-20EDR1
Unit ตัวที่ 3 ไมสามารถตอได 004.00 104.00 004.00 104.00 CPM1A-20EDT1
- - - -
004.11 104.07 004.11 104.07

CP1L Expansion ตัวที่1 Expansion ตัวที่2 Expansion ตัวที่3

รูปที่ 4.4 แสดงการเชื่อมตอระหวาง CP1L กับ Expansion I/O Unit

- 59 -
PNSPO! บทที่ 4 การอางแอสเดรสของ PLC

4.4.2 การระบุตําแหนงอินพุต/เอาตพุตของ PLC ชนิดโมดูล


สําหรับ PLC ชนิดโมดูล ของ OMRON นั้นแบงเปนหลายรุนไดแกรนุ CS1 และ
CJ1 ซึ่งทั้งสองรุนมีการอางแอดเดรสเหมือนกัน จะขอยกตัวอยางการอางแอสเดรสของแตละรุน
ดังนี้
• การอางแอสเดรสของ PLC รุน CS1/CJ1

รูปที่ 4.5 ตัวอยางการอางแอสเดรสของ PLC รุน CS1/CJ1

การอางแอสเดรสของ PLC รุน CS1/CJ1จะอางตําแหนงตามการติดตั้งยูนิตอินพุต/เอาตพุต


นั้น โดยไมสนใจวาจะติดตั้งที่ตําแหนงใด การนับแอสเดรสจะนับเรียงตอกันไปเรื่อยๆ ดังรูป*

หมายเหตุ *การอางแอสเดรสของ PLC รุน CS1/CJ1 นั้นกลาวถึงเฉพาะ Standard I/O Unit


เทานั้น นอกจากนี้ยังมี Special I/O Unit อื่นๆ ซึ่งมีการกําหนดแอสเสรสแตกตาง
กันออกไป สามารถศึกษาเพิม่ เติมไดจาก PLC รุนนั้นๆ

สําหรับเนื้อหาในบทตอไปเราจะกลาวถึงคําสั่งพื้นฐานตางๆ ที่มีใชงานในการเขียน
โปรแกรม PLC

- 60 -
บทที่ 5
หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรม
และคําสั่งพื้นฐาน

แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) จัดเปนภาษาสัญลักษณที่เทียบเคียงมาจากวงจร


รีเลย สามารถดูตามโครงสรางแลวเขาใจการทํางานได แตเวลาที่ PLC ทํางานจะอาศัยชุดคําสั่ง
(Instructions) ทํางานโดยวิธีการเขียนลงในสวนหนวยความจําขอมูล ในหนวยความจํานั้นจะจัดเก็บ
เปนรหัส (Code) ไมสามารถจัดเก็บในลักษณะของ Ladder Diagram ไดโดยตรง
ดังนั้นผูใชจึงจําเปนตองเขาใจชุดคําสั่งเพราะชุดคําสั่งนั้นแปลงภาษามาจาก Ladder
Diagram นั่นเอง

5.1 กลุมคําสั่งพื้นฐาน (Ladder Instruction & Output Control)

5.1.1 การใชคําสัง่ LOAD (LD), LOAD NOT (LD NOT)


B
LOAD-LD B : BIT
CIO,A,T,C,IR,DR,D,TK,H,W
B
LOAD NOT-LD NOT
พื้นที่หนวยความจําที่ใชกับคําสั่งได

-61-
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

ตัวอยางที่ 5.1 ชุดคําสั่งและการเขียน Ladder Diagram คําสั่ง LD และ LD NOT

I 0.00
Instruction Address Instruction Operands
I 0.00 00000 LD 0.00
Instruction 00001 Instruction
00002 LD NOT 0.00
00003 Instruction

การเขียน Mnemonic อางอิงมาจาก PLC รุน CP1L เขียนใน CX Programmer Version 7 และ
ไมสามารถเขียนใน Programming Console ได

5.1.2 การใชคําสัง่ AND, AND NOT


B
AND-AND B : BIT
CIO,A,T,C,IR,DR,D,TK,H,W
B
AND NOT-AND NOT
พื้นที่หนวยความจําที่ใชกับคําสั่งได

*หลักการเขียน Ladder Diagram และคําสั่งพื้นฐาน อางอิงมาจาก PLC รุน CP1L*

ตัวอยางที่ 5.2 ชุดคําสั่งและการเขียน Ladder Diagram คําสั่ง AND, AND NOT

I 0.00 I 1.00 W 0.00 ddress Instruction Operands


Instruction 00000 LD 0.00
00001 AND NOT 1.00
00002 AND W 0.00
00003 Instruction

- 62 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

5.1.3 การใชคําสัง่ OR, OR NOT

OR-OR B B : BIT
CIO,A,T,C,IR,DR,D,TK,H,W
OR NOT-OR NOT B
พื้นที่หนวยความจําที่ใชคาํ สั่งได

ตัวอยางที่ 4.3 ชุดคําสั่งและการเขียน Ladder Diagram คําสั่ง OR, OR NOT

I 0.00
Address Instruction Operands
Instruction
I 1.00 00000 LD NOT 0.00
00001 OR NOT 1.00
W 0.00 00002 OR W 0.00
00003 Instruction

5.1.4 การใชคําสัง่ OUT, OUT NOT


เปนคําสั่งที่สั่งขับให OUTPUT ภายนอกทํางานหรือไมทาํ งานตามคําสั่ง

OUTPUT-OUT B : BIT
B CIO,A,T,C,IR,DR,D,TK,H,W

พื้นที่หนวยความจําที่ใชกับคําสั่งได

ตัวอยางที่ 5.4 รูปแบบชุดคําสั่งจาก Ladder Diagram

I 0.00 Q 100.00 Address Instruction Operands


00000 LD 0.00
00001 OUT 100.00

- 63 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

OUTPUT NOT-OUT NOT: การทํางานของคําสั่งนี้จะตรงกันขามกับคําสั่ง OUT

B B : BIT
CIO,A,T,C,IR,DR,D,TK,H,W
พื้นที่หนวยความจําที่ใชกับคําสั่งได

ตัวอยางที่ 5.5 จงเขียนชุดคําสั่งจาก Ladder Diagram

I 0.01 Q 100.00 Address Instruction Operands


00000 LD 0.01
00001 OUT NOT 100.00

5.1.5 การใชคําสัง่ END ( END 01 )


เมื่อสิ้นสุดการเขียนโปรแกรมแลวจะตองจบดวยคําสั่ง END(01) เสมอ ถาไมมี
คําสั่งนี้ เมื่อผูใชสั่ง Run โปรแกรมที่เขียนขึน้ PLC จะเกิด Error โดยสังเกตที่ PLC ไฟ Error/Alarm
สีแดงจะติดคาง นั่นแสดงวาไมมีคําสั่ง END (01)
ในกรณีนี้โปรแกรมจะไมสามารถ RUN ได เพราะฉะนัน้ เมื่อเขียนโปรแกรมจบทุก
ครั้งควรใสคําสั่ง END(01) ดวย การเขียนโปรแกรมดวย CX-Programmer ไมจําเปนตองใสคําสั่ง
END(01) เพราะวาซอฟตแวรจะใสใหเองอัตโนมัติ

5.1.6 การใชคําสัง่ AND LOAD (AND LD), OR LOAD (OR LD)


คําสั่งทั้งสองจะทําหนาทีเ่ ชื่อมตอกลุมแลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ใน
กรณีที่ตออนุกรม หรือขนานกันมากกวา 1หนาสัมผัส ซึ่งการใชคําสั่ง AND หรือ OR นั้น จะกระทํา
ทีละ 1 หนาสัมผัสเทานั้นจึงตองใช AND LD หรือ OR LD
ในการเขียนแลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ดวยซอฟตแวรนั้น ไมมี
สัญลักษณของ AND LD และ OR LD ดังนั้นคําสั่งทั้ง 2 คําสั่งนี้ตองเขียนเปน Mnemonic หรือ
Instruction list เทานั้น

- 64 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

ตัวอยางที่ 5.6 ชุดคําสั่งในรูปการเชื่อมแบบอนุกรมจะใชคาํ สั่ง AND LD

Address Instruction Operands


I 0.00 I 0.02
Instruction 00000 LD 0.00
00001 OR 0.01
I 0.01 I0.03 00002 LD 0.02
00003 OR NOT 0.03
00004 AND LD

ตัวอยางที่ 5.7 ชุดคําสั่งในรูปการเชื่อมแบบขนานจะใชคําสั่ง OR LD

Address Instruction Operands


I 0.00 I 0.02 00000 LD 0.00
Instruction
00001 AND 0.02
I 0.01 I0.03 00002 LD 0.01
00003 AND NOT 0.03
00004 OR LD ---

ตัวอยางที่ 5.8 การเขียนโปรแกรมโดยใชคาํ สั่ง AND LD และ OR LD


ƒ AND LD คือ การเชื่อมโปรแกรม 2 block ในแบบอนุกรม

I0.02 I0.04 Q100.00 Address Instruction Data


00000 LD 0.02
00001 OR 0.03
I0.03 I0.05
00002 LD 0.04
00003 OR NOT 0.05
00004 AND LD ---
00005 OUT 100.00

- 65 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

ƒ OR LD คือ การเชื่อมโปรแกรม 2 block ในแบบขนาน

I0.02 I0.03 Q100.01 Address Instruction Data


00000 LD 0.02
00001 AND NOT 0.03
I0.04 I0.05 00002 LD 0.04
00003 AND 0.05
00004 OR LD ---
00005 OUT 100.01

5.2 ขอกําหนดในการเขียนแลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram)

5.2.1 จากแลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ขางลาง จะไมสามารถเขียน


โปรแกรมได จําเปนตองแปลงชุด Ladder Diagram กอน

I 0.00 I 0.02 Q 100.00

I 0.01
I 0.04
I 0.03 Q 100.01 
แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ที่ผิด

- 66 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

สามารถเขียนใหมได และวงจรทํางานเหมือนเดิม คือ

I 0.01 I 0.04 I 0.02 Q 100.00


I 0.00

I 0.04 I 0.04 I 0.03 Q 100.01

I 0.01

แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ที่ถูก

5.2.2 สําหรับแลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) จะพิจารณาการทํางานจากซายไป


ขวาเทานั้น ดังตัวอยางเชน

I 0.00 I 0.04 Q 100.00

I 0.01 I 0.02

I 0.03 Q 100.01

แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) A

จากแลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) A ถาหนาสัมผัส 0.00, 0.02 และ 0.03


มีสภาวะ “ON” ก็ไมสามารถทําให เอาตพุต 100.01 นั้น “ON” ไดเลย ดังนั้นผูใชจะตองทําการจัด
โปรแกรมเสียใหมเพื่อใหการทํางานกระทําจากซายไปขวาดังรูปแลดเดอรไดอะแกรม B

- 67 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

I 0.01 I 0.02 I 0.04 Q 100.00

I 0.00

I 0.00 I 0.02 I 0.03 Q 100.01

I 0.01

แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) B

5.2.3 จํานวนหนาคอนแทคทั้ง NO และ NC ของอินพุต/เอาตพุต, รีเลยและไทมเมอร


(TIM)/เคานเตอร (CNT) จะนํามาเขียนโปรแกรมเปนจํานวนเทาใดก็ไดตามความประสงคของผูใช
แตถึงอยางไรก็ตามการเขียนโปรแกรมทีด่ ีจะตองพยายามประหยัดขนาดของโปรแกรมใหมากทีส่ ุด
เทาที่จะสามารถทําได ซึ่งจะเปรียบเทียบใหเห็นในแลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) A และ
แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) B จะสังเกตเห็นไดวาการเขียนในแลดเดอรไดอะแกรม
(Ladder Diagram) B จะประหยัดคําสั่งได 2 คําสั่ง ในขณะที่โปรแกรมทํางานไดเหมือนกัน
Address Instruction Operands
I 0.00 I 0.01 Q 100.00 00000 LD 0.00
00001 LD 0.01
I 0.02 I 0.03
00002 LD 0.02
00003 AND 0.03
00004 OR LD
แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) A 00005 AND LD
00006 OUT 100.00

Address Instruction Operands


I 0.02 I 0.03 I 0.00 Q 100.00 00000 LD 0.02
00001 AND 0.03
I 0.01 00002 OR 0.01
00003 AND 0.00
แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) B 00004 OUT 100.00

- 68 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

5.2.4 เมื่อตองการใหเอาตพุต ON ตลอดเวลาเราจะใชแฟลค (Flag) ที่เปนแบบ “Always


ON Flag” (CF113) มาเปนตัวสรางเงื่อนไขเพราะไมสามารถตอคอยลเอาตพุตไดโดยตรงกับ Bus
Bar แตก็มีขอยกเวนเปนบางคําสั่ง เชน INTERLOCK CLEAR, JUMP END และ STEP

Q 100.00 OUT 100.00


 END(01)

แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ที่ผิด

P_On Q 100.00 LD P_No

Always ON Flag
 OUT
END(01)
100.00

แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ที่ถูก

5.2.5 จํานวนหนาสัมผัสที่ใชในการตออนุกรม หรือขนานไมมีขีดจํากัดจะใชเทาใดก็ได


ขึ้นอยูกับความตองการของผูใช

5.2.6 เอาตพุตทุกๆ ตัวจะมี Auxiliary Contact เพื่อใชงานในโปรแกรมได และสามารถ


ใชจํานวนไมจาํ กัด

5.2.7 ไมสามารถเขียนโปรแกรมใหหนาสัมผัสอยูตําแหนงหลังจากคอยลได

I0.00 Q 100.00 I0.01



แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ที่ผิด

I0.00 I0.01 Q 100.00


แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ที่ถูก

- 69 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

5.2.8 ไมสามารถเขียนโปรแกรมใหมีเอาตพุตเบอรเดียวกันซ้ําหลายๆ ครั้งได ตองจัดรูป


เสียใหม
I 0.00 Q 100.00

I 0.01 Q 100.00

แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ที่ผิด

I 0.00 Q 100.00

I 0.01

แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ที่ถูก

5.2.9 เอาตพุตคอยล สามารถเขียนโปรแกรมใหตอขนานไดเลย กรณีรับเงื่อนไขของ


หนาสัมผัสชุดเดียวกัน

I 0.00 I 0.01 Q 100.00

Q 100.01

5.2.10 PLC จะเริ่มประมวลผลโปรแกรมจาก Address แรกสุดจนกระทั่งถึงคําสั่ง END


ตําแหนงแรก โดยที่คําสั่ง END อาจจะมีหลายตําแหนงในโปรแกรมที่เปนเชนนี้เพื่อจุดประสงค
สําหรับการทดสอบโปรแกรม กรณีทตี่ องการแยกโปรแกรมออกเปนสวนๆ เพื่อใหงายตอการ
ตรวจสอบและแกไขโปรแกรม

- 70 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

5.3 กลุมคําสั่ง Program Control Instruction

5.3.1 การใชคําสัง่ IL(02), ILC(03)


คําสั่ง IL และ ILC จะตองใชรวมกันคือ ถาเริ่มตนมีการใชคําสั่งดวย IL เมื่อใดแลว
ถาตองการสิ้นสุดการทํางานตองจบดวย ILC เงื่อนไขของคําสั่งคือ คอนแทคตรงหนาสวนของ IL มี
สภาวะ “ON” จะทําใหโปรแกรมที่อยูระหวาง IL และ ILC ทํางานเปนปกติ แตถาคอนแทคตําแหนง
ดังกลาวมีสภาวะ “OFF” จะทําใหการทํางานของโปรแกรมระหวาง IL และ ILC ไมทํางาน ใน
ขณะเดียวกัน Output Coil ในชวงนัน้ จะมีสภาวะ “OFF” ดวย

ตัวอยางที่ 5.9 การใชคําสั่ง

Ladder Diagram ชุดคําสั่ง


I 0.02 Address Instruction Data
IL(02) 00000 LD 0.02
I 0.03 I 0.04 Q100.00
00001 IL (02) -
I 0.05 Q100.01 00002 LD 0.03
00003 AND 0.04
I 0.06 Q100.02 00004 OUT 100.00
00005 LD 0.05
ILC(03) 00006 OUT 100.01
00007 LD NOT 0.06
END(01) 00008 OUT 100.02
00009 ILC(03) -
00010 END(01) -

- 71 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

5.3.2 การใชคําสัง่ JMP (04) และ JME (05)


การใชงานของคําสั่งคูนี้จะตองใชงานคูกัน เงื่อนไขตางๆ ที่อยูระหวางคําสั่ง JMP
และ JME จะมีเงื่อนไขการทํางานเปนปกติ ในกรณีทชี่ ุดของคอนแทคตรงสวนหนาของ JMP มี
สภาวะเปน “ON” แตถาชุดคอนแทคดังกลาวมีสภาวะเปน “OFF” เมือ่ ใด Output, Timer, Counter,
Keep ที่อยูระหวางคําสั่งดังกลาวจะยังคงคางสภาวะเอาไวเชนเดิม และจะมีการเปลีย่ นแปลงอีกครั้ง
ถาชุดของคอนแทคมีสภาวะ “ON” เราใช JUMP 00 ไดหลายครั้งตามตองการ แต JUMP 01 ถึง 49
สามารถใชไดเพียงครั้งเดียว

Ladder Diagram ชุดคําสั่ง


Address Instruction Operand
I 0.03 I 0.04
JMP(04) 0000 LD 0.02
#0 0001 AND 0.03
I 0.02
Q100.00 0002 JMP(04) #0
I 0.05 0003 LD 0.04
Q100.01
0004 OUT 100.00
I 0.06 Q100.02 0005 LD 0.05
0006 OUT 100.01
JME(05) 0007 LD 0.06
#0 0008 OUT 100.02
0009 JME(05) #0
END(01)
0010 END(01)

- 72 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

แบบฝกหัดทดสอบความเขาใจเกี่ยวกับคําสั่งพื้นฐาน
1. จงเขียนโปรแกรมจาก Ladder Diagramใหเปนรูป Mnemonic Code

Address Instruction Operands


00000
I 0.00 I 0.01 I 0.02 I 0.05 I 0.06 Q 100.00
00001
0002
I 0.03 I 0.04 00003
00004
00005
END(01) 00006
00007
00008
00009

2. จงเขียนโปรแกรมจาก Mnemonic ใหเปนรูป Ladder Diagram

Address Instruction Operands


00000 LD 0.00
00001 AND 0.01
00002 LD NOT 0.02
00003 AND 0.03
00004 OR LD
00005 LD 0.04
00006 AND NOT 0.05
00007 LD NOT 0.06
00008 AND 0.07
00009 OR LD
00010 AND LD
00011 OUT 100.00
00012 END (01)

- 73 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

5.4 คําสั่งในกลุม Bit Control Instruction

5.4.1 การใชคําสัง่ เซต (SET) และรีเซต (RESET)


คําสั่ง SET จะทําใหบิตที่ถูกสั่ง “ON” และคงคางอยูจนกวาจะมีคําสั่ง RSET ที่บิต
เดียวกัน บิตนัน้ จึงจะ “OFF”

Ladder Symbol B: Bit


CIO,W,H,A,IR
SET RSET
B พื้นที่หนวยความจําที่สามารถใชกับคําสั่งได
B

ตัวอยางที่ 5.10 ตองการใหหลอดไฟที่เอาตพตุ 100.00 ติดตลอดเวลา หลังจาก ON อินพุต


000.00 แลวครั้งเดียวโดยไมตอง Hold คําสั่งอินพุต จนกวาจะมีการ Reset ที่อินพุต 000.01 หลอดไฟ
จะดับ

Ladder Diagram ชุดคําสั่ง


I 0.00 Address Instruction Operands
SET
00000 LD 0.00
Q 100.00
I 0.01 00001 SET 100.00
RSET
Q 100.00
0002 LD 0.01
00003 RSET 100.00
END(01)
00004 END

5.4.2 การใชคําสัง่ KEEP - KEEP(11)


การทํางานของคําสั่ง KEEP จะเหมือนกับคําสั่ง SET และ RESET เพียงแตจับขา
SET/RESET ใหรวมอยูในตัวเดียวกัน เพื่อใหผูใชงานสามารถเลือกใชโปรแกรมไดสะดวกตาม
ความเหมาะสม

- 74 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

Ladder Symbol B: Bit


CIO,W,H,A,IR
S KEEP(11)

R B พื้นที่หนวยความจําทีส่ ามารถใชกับคําสั่งได

เมื่อขา S มีสถานะ “ON” บิตที่ B จะทํางานจนกวาขา R จะมีสถานะ “ON” บิต B ถึงจะเลิก


ทํางาน

ตัวอยางที่ 5.11 ตองการใหเอาตพุต 100.00 เปลี่ยนเปน “ON” ตลอดเวลาโดยการ ON


อินพุต 0.00 ไมวาจะ “OFF” แลวก็ตามจนกวาอินพุต 0.01 จะ ON (RESET)

Ladder Diagram ชุดคําสั่ง


I 0.00
S Address Instruction Operands
KEEP (11)
I 0.01 00000 LD 0.00
R Q 100.00
00001 LD 0.01
END(01) 00002 KEEP 100.00
00003 END

5.4.3 การใชคําสัง่ DIFFERENTIATE UP และ DOWN–DIFU(13), DIFD(14)


คําสั่ง DIFU(13) และ DIFD(14) จะเปนคําสั่งที่ทํางานเพียงขอบขาขึ้น หรือขอบขา
ลงของสัญญาณอินพุตเทานั้น และจะทํางานเพียงชวงเวลา One Cycle เทานั้น

Ladder Symbols B: Bit


CIO,W,H,A,IR
DIFU DIFD
พื้นที่หนวยความจําที่สามารถใชกับคําสั่งได
B B

ตัวอยางที่ 5.12 ตองการใหอินพุต 0.00 ทํางานเพื่อ ON บิต W2.00 ซึ่งจะทําใหเอาตพุต


หลอดไฟ 100.00 ใหติดไดโดยอินพุต 0.01 เปนตัวสั่ง OFF

- 75 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

Ladder Diagram ชุดคําสั่ง


I 0.00 Address Instruction Operands
DIFU(13)
W 2.00 00000 LD 0.00
00001 DIFU W2.00
W 2.00 I 0.01 Q 100.00 0002 LD W2.00
00003 OR 100.00
Q 100.00
00004 AND NOT
END(01) 00005 OUT 100.00
00006 END

5.5 กลุมคําสั่ง Timer/Counter

สําหรับ PLC บางรุน Timer และ Counter จะใชพื้นที่เดียวกันซึ่งเรียกใชไดทั้งหมด 256 ตัว


ตั้งแตตัวที่ 000 ถึง 255 ภายใน 256 ตัวนี้สามารถกําหนดใหเปน Timer หรือ Counter ก็ไดโดยที่หาก
ตัวใดถูกกําหนดใหเปน Timer แลวจะนําไปใชเปน Counter อีกไมได ดังนั้นตองดู Manual ของ
PLC รุนนั้นประกอบดวย ถา Timer/Counter อยูในพื้นทีเ่ ดียวกัน จะไมสามารถใชเบอรเดียวกันได
แต PLC บางรุน Timer/Counter จะอยูคนละพื้นที่ ดังนัน้ จึงสามารถใช Timer และ Counter
เบอรเดียวกันได เชน T000 และ C000
สําหรับคําสั่งในกลุม Timer/Counter มีหลายคําสั่ง ในที่นี้จะยกตัวอยางการใชงานคําสั่ง
Timer/Counter แบบพื้นฐานคือ คําสั่ง TIM และ CNT ดังนี้

5.5.1 การใชคําสัง่ TIMER: TIM


ใชในการจับเวลา, ตั้งเวลา โดยพื้นฐานแลวตองเขาไปกําหนดคา 2 คาคือ N และ
SV ตามตัวอยางขางลาง

TIM N: Timer Number (หมายเลขของ Timer)


N T000-T4095 (CP1L)
SV
SV: Set Value (คาตัง้ เวลา)
คาคงที่ (#) หรือการอางถึง CIO, W, H, A, T, C, D,
E, E?_, @D, @E, @E?_, *D, *E, *E?_, DR, ,IR

- 76 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

N = Timer Number (เบอร 0000 - 4095) เลือกวาจะใช Timer ตัวที่เทาใด


SV = Set Value คาตั้งเวลา ใชกําหนดวาจะให Timer ตั้งเวลานานเทาใด ซึ่ง SV
ที่ตั้งนั้น จะถูกคูณดวย 0.1 เพื่อแปลงเปนระยะเวลาจริง ซึ่งสามารถ
1. กําหนด SV เปนคาคงที่ #0000-9999 (000.0-999.9 วินาที คูณดวย 0.1
วินาที)
2. กําหนด SV เปน แอดเดรส CIO,A,T,C,IR,DR,D,TK,H,Wโดยใสคา
ตั้งเวลาที่เปนคาคงที่ 0000-9999 ไวใน แอดเดรส ที่อางถึงอีกทีหนึ่ง
(คาที่กําหนดจะคูณดวย 0.1 วินาทีเชนเดียวกับการกําหนดแบบ
คาคงที่)
หมายเหตุ *ในที่นยี้ กตัวอยางหมายเลข Timer ของ PLC รุน CP1L เทานั้น
สําหรับ PLC รุนอื่นๆ สามารถใช Timer ไดมากกวาหรือนอยกวาที่
กําหนด

เมื่อมีสัญญาณสั่งให Timer ทํางาน (Contact B มีสถานะ “ON”) คําสั่ง Timer จะเริม่ นับ
เวลาตามคาที่ตั้งไวใน Timer เมื่อนับครบเวลา หนา Contact ของ Timer ตัวนัน้ ๆ ก็จะ “ON” แตถา
สัญญาณที่สั่งให Timer ทํางานหายไป (Contact B มีสถานะ OFF) Timer จะถูก Reset

ตัวอยางที่ 5.13 การใชงานของคําสั่ง Timer เมื่ออินพุต 0.00 ทํางาน (ON) คางเปนเวลา 5


วินาที เอาตพุต 100.00 จะ ON และ เอาตพตุ 100.01 จะ OFF

Ladder Diagram ชุดคําสั่ง

I 0.00 I 0.01
Address Instruction Operands
TIM
0 5 วินาที 00000 LD 0.00
#50 00001 AND NOT 0.01
T0000 Q 100.00 00002 TIM 000 #050
00003 LD TIM0000
T0000 Q 100.01 00004 OUT 100.00
00005 LD NOT TIM0000
00006 OUT 100.01
END(01)
00007 END (01)

- 77 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

5.5.2 การใชคําสัง่ COUNTER - CNT


เปนคําสั่งที่ใชนับจํานวนครัง้ ของสัญญาณ อินพุต ที่ ON แตละครั้ง ซึ่งเปนคําสั่งที่
นับลงจากคาทีต่ ั้งไว (Set Value)

N: Counter Number (หมายเลขของ Counter)


CP CNT C000-C4095 (CP1L)
N
R SV SV: Set Value (คาตัง้ จํานวนนับ)
คาคงที่(#)หรือการอางถึง CIO, W, H, A, T, C, D,
E, E?_, @D, @E, @E?_, *D, *E, *E?_, DR, ,IR

N = Counter Number (เบอร 000- 4095) เลือกวาจะใช Counter ตัวที่เทาใด


SV = Set Value คาตั้งจํานวนนับ ใชกําหนดวาจะให Counter นับสัญญาณ
อินพุตเปนจํานวนกี่ครั้ง หนา Contact เอาตพุตของ Counter จึงจะเริ่ม
ทํางานซึ่งสามารถ
1. กําหนด SV เปนคาคงที่ #0000-9999
2. กําหนด SV เปน แอดเดรส CIO, W, H, A, T, C, D, E, E?_, @D, @E,
@E?_, *D, *E, *E?_, #, DR, ,IR โดยใสคาตั้งจํานวนนับที่เปน
คาคงที่ 0000-9999 ไวในแอดเดรส ที่อางถึงอีกทีหนึ่ง
CP = ขานับ เมื่อมีสัญญาณอินพุตในชวงทีเ่ ปลี่ยนสถานะจาก OFF เปน ON
เขามาที่ขานี้ Counter จะนับถอยหลังลง 1
R = ขา Reset เมื่อมีสัญญาณอินพุตเขามาที่ขานี้ เอาตพุตของ Counter จะหยุด
ทํางานและคานับของ Counter จะถูก Reset กลับไปเทากับคาตั้งจํานวน
นับ (SV)
หมายเหตุ *ในที่นยี้ กตัวอยางหมายเลข Counter ของ PLC รุน CP1L เทานั้นสําหรับ
PLC รุนอื่นๆ สามารถใช Counter ไดมากกวาหรือนอยกวาที่กําหนด
*Memory Area ของ Timer และ Counter จะใชพื้นที่แยกกัน แตใน PLC
รุนเกา เชน CPM2A จะใช Timer และ Counter กับเบอรเดียวกันไมได

- 78 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

ตัวอยางที่ 5.14 แสดงการใชคาํ สั่ง Counter สัญญาณที่สงเขาที่ขาสัญญาณนับจะทําให


Counter นับถอยหลังเมื่อเทียบกับ SV ตัว Counter จะเริ่มนับที่ขอบขาขึ้นของสัญญาณอินพุตและจะ
นับใหมเมื่อสัญญาณเปลี่ยนเปน OFF หรือ ‘0’ แลวกลับมา ON อีกครั้ง และจะทํางานเชนนีไ้ ปจน
ครบคาที่ตั้งไว (SV) เอาตพุตจึง ON

CP CNT CP CNT
N N
R R
SV SV

จังหวะการนับ จังหวะการรีเซต

ตัวอยางที่ 5.15 การใชงานของคําสั่ง Counter เมื่อ อินพุต 0.00 ทํางาน (ON) 1 ครั้ง
Counter จะนับ 1 ครั้ง ถาอินพุต 0.00 ทํางาน (ON) ครบ 10 ครั้ง จะทําใหคําสั่ง Counter ทํางาน
พรอมกับ Contact ของ Counter (CNT0000) จะทํางานดวย และจะถูก Reset ดวยอินพุต 0.02

Ladder Diagram ชุดคําสั่ง

I 0.00 Address Instruction Operands


CNT 00000 LD 0.00
00001 LD 0.02
I 0.02 0000
00002 CNT 001 #0010
#0010 00003 LD CNT0000
C0000 Q 100.02
00004 OUT 100.02
00005 END (01)
END (01)

- 79 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

• การประยุกตใชงานของ TIMER และ COUNTER


ตัวอยางที่ 5.16
ตองการนับจํานวนคนดูคอนเสิรต สถานที่จัดงานสามารถจุคนดูได 20,000 คน ใช Photo
Switch นับจํานวนคน หลังจาก 20,000 คนแลวให OUTPUT LAMP 100.00 ทํางาน เพื่อแสดงวาคน
เต็มแลว
I/O ที่กําหนด
PHOTO SWITCH 0.00
PB RESET 0.01
OUTPUT LAMP 100.00

Ladder Diagram ชุดคําสั่ง

I 0.00 Count
Address Instruction Data
Input CNT
0001 00000 LD 0.00
C0001 Reset
00001 LD CNT 0001
100
#0100 counts

C0001 Count
Input
00002 CNT 0001
CNT #0100
I 0.01 Reset 0002
200 00003 LD CNT 0001
#0200
00004 LD 0.01
counts
C0002 Q 100.00
00005 CNT 0002
#0200
END(01)
00006 LD CNT 0002
00007 OUT 100.00
00010 END (01)

- 80 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

ตัวอยางที่ 5.17
เครื่องจักรเครื่องหนึ่งตองการอัดจารบีหลังจากใชงานไปแลวครบ 1,000 ชั่วโมง

I/O ที่กําหนด
PB START 0.00
PB RESET 0.01
VALUE LUBRICATE 100.00

Ladder Diagram ชุดคําสั่ง

I 0.00 TIM 0001


Address Instruction Data
TIM 00000 LD 0.00
0001
T0001 00001 AND-NOT TIM 0001
#6000 600 sec
00002 TIM 0001
C0001 Count
Input
CNT # 6000
I 0.01 Reset 0002 00003 LD TIM 0001
#6000
600
counts 00004 LD 0.01
C0002 Q 100.00 00005 CNT 0002
# 6000
END(01) 00006 LD CNT 0002
00007 OUT 100.00
00008 END (01)

- 81 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

ตัวอยางที่ 5.18
มอเตอรปมน้ํา ถากดปุม PB-START หลอดไฟสีแดงจะติดเพื่อแสดงวาปมทํางาน และปม
น้ําจะหยุดการทํางานพรอมกับหลอดไฟสีแดงดับ ก็ตอเมือ่ กด PB-STOP หลอดไฟสีเขียวจะติดแทน
(ปมจะทํางานไดตองมีน้ําในแทงคเทานั้น)
Pump
Tank PB-START
PB-STOP
หลอดไฟสีแดง
หลอดไฟสีเขียว
SENSOR DETECT
LIQUID
I/O ที่กําหนด
INPUT 0.00 PB-START
0.01 PB-STOP
0.02 SENSOR DETECT LIQUID
OUTPUT 100.00 MOTOR PUMP
100.01 หลอดไฟสีแดง
100.02 หลอดไฟสีเขียว

Ladder Diagram ชุดคําสั่ง


Address Instruction Operand
I 0.00 I 0.01 I 0.02 Q 100.00 00000 LD 0.00
Q100.00 Q 100.01
00001 OR 100.00
00002 AND NOT 0.01
Q100.00 Q 100.02 00003 AND 0.02
00004 OUT 100.00
END(01) 00005 OUT 100.01
00006 LD NOT 100.00
00007 OUT 100.02
00008 END (01)

- 82 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

แบบฝกหัด

จงเขียนโปรแกรมตั้งเวลา 24 ชั่วโมง โดยเมื่อครบตามเวลาที่กําหนดตองการใหมอเตอรทํางาน


Ladder Diagram

Mnemonic Code
Address Instruction Data
00000
00001
00002
00003
00004
00005
00006
00007
00008
00009
00010

- 83 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

5.5.3 การใชคําสัง่ Reversible Counter CNTR (FUN 12) หรือ UP/DOWN Counter
คําสั่ง CNTR ใชอินพุต 3 อินพุตควบคุมการทํางานคือ II (Increment Input), DI
(Decrement Input) และ Reset Input (R) การใชงานตองระบุเบอรของตัวเคาทเตอรและกําหนดคา
การนับ (Set Value) เปนจํานวนเทาใดดวย

II N: Counter Number
CNTR(12)
DI (หมายเลขของ Counter)
N
R C000-C4095
SV

II- คือขานับสัญญาณแบบนับขึ้น SV: Set Value (word, BCD)


DI- คือขานับสัญญาณแบบนับลง CIO, W, H, A, T, C, D, E, E?_,
R- คือขา Reset @D, @E, @E?_, *D, *E, *E_, #, DR, ,IR

พื้นที่หนวยความจําที่ใชกับคําสั่งได

การกําหนดคา SV (คาที่จะตั้งใหนับ) สามารถกําหนดเปนคาคงที่ หรือกําหนดผาน


หนวยความจําตางๆ ที่กําหนดไวใหเชน DM ตองตั้งอยูในยาน 1-9,999 ลักษณะการทํางานของ
CNTR แสดงไดดังนี้

Execution condition ON
On increment (II) OFF

Execution condition ON
On decrement (DI) OFF

ON
Completion Flag OFF
SV SV
SV-1 SV-1
00001
PV SV-2
00000 00000 SV-2

- 84 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

ตัวอยางที่ 5.19
การใชงาน Counter ชนิด UP/DOWN counter หรือ Reversible Counter

Ladder Diagram ชุดคําสั่ง

I 0.01 Address Operand Data


CNTR(12)
I 0.02 00000 LD 0.01
000 00001 LD 0.02
I 0.03 00002 LD 0.03
#10
00003 CNTR(12) 0000
C0000
00004 # 10
00005 LD CNT 0010
00006 OUT 100.00

Reversible Counter หรือเรียกอีกชื่อวา UP-DOWN Counter ทั้งนี้เพราะสามารถทําการนับ


ขึ้นในกรณีที่มสี ัญญาณเขาที่ II และมีการนับลงเมื่อมีสัญญาณเขาที่ DI แตถามีสัญญาณ UP และ
DOWN ที่อินพุตพรอมกัน จะไมทําใหเกิดการนับในทิศทางใดๆ การนับจะนับเปนลักษณะวนหรือ
ตอเนื่องกันไปเรื่อยๆ กลาวคือ เมื่อนับครบตามจํานวนทีก่ ําหนดไวแลว จะวนกลับมาเปน “0”หรือ
“10” ใหม เปนเชนนี้ไปเรื่อย และการแสดงคาเอาตพุตของคําสั่ง CNTR จะมีสภาวะ “ON” เพียง 1
ครั้งเทานั้น ในจังหวะทีเ่ ปนการวนคาเชนจาก “10” เปน “0” ในกรณีที่มีการเพิ่มหรือลดถึงคาที่
กําหนดเอาไว สวนสัญญาณ Reset ถือวาเปนอีกอินพุตหนึ่งของ CNTR ถามีสภาวะ “ON” เมื่อใดจะ
ทําใหคาที่นับไดมีคาเริ่มตนที่ “0000” ทันที

- 85 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

5.6 กลุมคําสั่ง Data Movement

5.6.1 การใชคําสัง่ MOVE – MOV(21)

S: Source word
(@)MOV(21) CIO, W, H, A, T, C, D, E, E?_, @D, @E, @E?_,
S *D, *E, *E?_, #, DR, ,IR
D
พื้นที่หนวยความจําที่ใชกับคําสั่งได
D: Destination word
CIO, W, H, A, T, C, D, E, E?_, @D, @E,
@E?_, *D, *E, *E?_, DR, ,IR

พื้นที่หนวยความจําที่ใชกับคําสั่งได

S = เวิรดตนฉบับที่ตองการ Copy (Source word)


D = เวิรดปลายทางที่ Copy (Destination word)

เมื่อคําสั่งนี้ทํางาน มันจะทําการสําเนา (Copy) ขอมูลจาก S ไปยัง D โดยที่ S ยังมีขอมูลเดิม


อยู ถาใสสัญลักษณ @ ขางหนา คําสั่งนี้จะทํางานเพียงแค 1 Scan time เทานั้น จะไมมีการสําเนา
ขอมูลจาก S ไปยัง D อีก แมวาจะยังมีสัญญาณอินพุต ON ที่คําสั่ง MOV

- 86 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

Source Input Destination Output


CH 000 CH 010
00000 1 01000 1
00001 1 01001 1
00002 0 01002 0
00003 1 01003 1
00004 1 01004 1
00005 0 . 01005 0
00006 0 . 01006 0
00007 1 . 01007 1
00008 1 01008 1
00009 1 01009 1
00010 1 01010 1
00011 0 01011 0
00012 0 01012 0
00013 0 01013 0
00014 0 01014 0
00015 1 01015 1

ตัวอยางที่ 5.20
คาของ S = H 0001 (มีคาขอมูลคือ 1500) และ D = D 0005 (มีคาขอมูลคงคือ 0050) เมื่อ
คําสั่ง MOV(21) ทํางาน คาที่ D จะมีขอมูลใหมคือ 1500
Ladder Diagram
I 0.00
MOV(21) H0001 D0005
H 0001 S I0.00 = OFF 1500 0050
D 0005 D H0001 D0005
END(01) I0.00 = ON 1500 1500

- 87 -
PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน

5.7 กลุมคําสั่ง Data Shifting

5.7.1 การใชคําสั่ง SHIFT REGISTER – SFT(10)


Ladder Symbol Operand
I St : Starting word
SFT(10)
CIO, W, H, A
P St
E : End word
R E
CIO, W, H, A

I คือ ขา Data Input กําหนดคาที่ใชในการเลื่อนขอมูลเปน “0” หรือ “1”


P คือ ขา Pulse Input ใชปอนสัญญาณพัลสเพื่อเลื่อนขอมูลจาก I เขาไป
R คือ ขา Reset ใชกําหนดคาขอมูลใน Starting Word ถึง End Word ใหมีคาเปน 0

การทํางานจะเลื่อนขอมูลทีละบิต จากบิต 0 ของ Starting word ไปจนถึงบิต 15 ของ End


word ถามีการ ON ที่ขา P (Pulse) แตละครั้ง ถาขา P ON หนึ่งครั้ง ขอมูลก็จะเลื่อนหนึ่งบิต

ตัวอยางที่ 5.21
END Word Start Word
15 . . . 03 02 01 00 15 . . . 03 02 01 00 15 . . . 03 02 01 00 Data Input

ทดลองเขียนคําสั่ง SFT(10) โดยมี 1 Second clock puls (P_1s) ที่ขา P และ Turn On สวิตช
I0.00 ซึ่งเปนคาขอมูลที่จะเลื่อนเขาไป โดยเาอตพุตเวิรด W0 จะ ON ตั้งแตบิตที่ W0.00 แลวเลือ่ น
ไป ON ที่ W0.01
Address Instruction Operands
I 0.00 00000 LD 0.00
SFT(10) 00001 LD P_1s
P_1s
00002 LD 0.01
I 0.01 W0
00003 SFT(10)
W0 W0
W0
END(01) 00004 END(01)

- 88 -
บทที่ 6
การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

ในบทที่ผานมาเราไดกลาวถึงหลักการเขียนแลดเดอรโปรแกรมและคําสั่งพื้นฐานตางๆ เพื่อนํา
ไปประยุกตกบั การใชงานจริงไดอยางเหมาะสม ตอจากนี้ไปเราจะเริม่ ตนการเขียนโปรแกรมโดยจะใช
ซอฟตแวร CX-programmer ในการสรางแลดเดอรไดอะแกรม

6.1 การติดตั้งซอฟตแวร CX-Programmer

6.1.1 PLC ที่สามารถใชงานกับซอฟตแวร CX-Programmer


CX-Programmer เปนซอฟตแวรที่พัฒนาขึ้นมาแทนซอฟตแวร Syswin สามารถใชงาน
ไดกับ PLC ของ OMRON รุนตางๆ ไดดงั ตารางตอไปนี้
PLC Series รุน
CP-Series CP1L, CP1H
CJ-Series CJ1G, CJ1G-H, CJ1H-H, CJ1M
CS-Series CS1G, CS1G-H, CS1H, CS1H-H, CS1D-H, CS1D-S
CV-Series CV1000, CV2000, CV500, CVM1, CVM1-V2
C-Series C1000H, C2000H, C200H, C200HE, C200HE-Z, C200HG, C200HGZ, C200HS,
C200HX, C200HX- Z, CPM1A, CPM1, CPM2*, CPM2*-S*, CQM1, CQM1H
SRM1 SRM1,SRM1-V2
หมายเหตุ สําหรับรุนของ PLC ตามตารางนั้น จะเปลี่ยนไปตามการพัฒนาซอฟตแวร
ถาซอฟตแวรสูงขึ้น รุนของ PLC จะมีใหเลือกเพิ่มขึ้น

-89-
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.1.2 ขอแนะนําสําหรับเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชงาน (System Requirements)


CX-Programmer (และ CX-Server) สามารถทํางานไดกบั เครื่องคอมพิวเตอร PC
(IBM-AT หรือ NEC PC-98) ตั้งแต Pentium II ขึ้นไป โดยทํางานภายใตระบบปฏิบตั ิการMS-Windows
95, 98, ME, XP หรือ Windows NT Service pack 5, 2000 (หรือ Version ที่ใหมกวา)
หมายเหตุ: CX-Programmer (และ CX-Server) ไมรับประกันการทํางานบนเครื่องคอม
พิวเตอรที่เปนระบบปฏิบัติการอยางอื่นนอกเหนือจากของ MS-Windows ปกติ (เชน พวก Windows
Emulation อยาง Apple Macintosh, หรือเครื่อง PC ที่ใชระบบปฏิบัติการ Linux)
อยางไรก็ตามขอแนะนําสําหรับของระบบคอมพิวเตอรขั้นต่ําที่ CX-Programmer (และ
CX-Server) จะสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิผล มีดังนี้

Minimum system Requirements


Minimum Specification Recommended Minimum Specification
Operating CPU Memory HDD Display CPU Memory HDD Display
system Type (RAM) Space Type (RAM) Space
Windows 95 Pentium 32Mb 100Mb 800x600 Pentium 64Mb 150Mb 1024x768
Windows 98 Class SVGA Class II SVGA
Windows NT 133MHz 200MHz
(with SP5)
Windows Pentium 64Mb 100Mb 800x600 Pentium 64Mb 150Mb 1024x768
2000 Class SVGA Class II SVGA
Windows ME 150MHz 200MHz
Windows XP Pentium 128Mb 100Mb 800x600 Pentium 64Mb 150Mb 1024x768
Home Class II SVGA Class II SVGA
Windows XP 300MHz 200MHz
Professional

หมายเหตุ แมวาจะสามารถทํางานโดยใช Keyboard ไดทั้งหมด อยางไรก็ตามเพื่อความสะดวก


ในการทํางานควรใช Mouse

- 90 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.1.3 การติดตั้งซอฟตแวร CX-Programmer


ซอฟตแวรตวั นี้จะทํางานบนระบบปฏิบัติการ MS Windows95, 98, ME, NT หรือ
2000 ขึ้นไป

1.คลิก ที่ RUN บน Task bar


จะปรากฏหนาจอดังนี้

2. เลือก Browse เลือก Setup จะ


ปรากฏหนาจอดังนี้

3. หลังจากเลือก Setup
ของ CX-Programmer
จะปรากฏหนาจอนี้

4.คลิก OK เพื่อเลือก
Setup จะขึ้นหนาจอ
เพื่อใหเลือกภาษา

5.เลือกภาษาอังกฤษ
เลือกตกลง จะปรากฏ
หนาจอดังนี้

- 91 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.เลือก NEXT

7.เลือก YES

- 92 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

8.หลังจากนัน้ จะใหเขา
มากําหนด License ของ
ซอฟตแวร

9.หลังจากใส License
เรียบรอยแลวให คลิก
Next จะปรากฏหนาจอ
ดังนี้

10.เลือก YES เพื่อ Install


Program ตามขั้นตอน

- 93 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

11.คลิก Next เพื่อ


ติดตั้งซอฟตแวรตาม
ขั้นตอนตอไป

12.หลังจากนัน้
จะเปนการติดตั้ง
CX-Server

13.คลิก Next เพื่อ


เลือกวาจะติดตั้ง
อะไรบาง

- 94 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

14.คลิก Next

15.เลือก NSB Support Board


(จะเลือกหรือไมเลือกก็ได) ปกติ
ถาใช USB และ RS232 ไม
จําเปนตองเลือก NSB จากนัน้
ใหคลิก Next

- 95 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

16.ขณะนีก้ ําลังติดตั้ง
CX-Server

17.ถาปรากฏหนาจอนีแ้ สดงวา
ติดตั้งซอฟตแวรเสร็จเรียบรอยแลว

เมื่อหนาตางนีป้ รากฎขึ้นมาแสดงวาการติดตั้งสมบูรณ จากนั้นเราสามารถเรียกใชซอฟตแวร


CX-programmer จาก Icon หรือ เมนูได

- 96 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.2 การสรางโปรแกรมแลดเดอร

เพื่อใหเกิดความคุนเคยกับการใชซอฟตแวรในการเขียนโปรแกรม PLC เราขอใชตวั อยางแลด


เดอรไดอะแกรมที่แสดงในบทที่ 2 มาประกอบการอธิบาย การเขียนโปรแกรมดวย CX-programmer
สามารถใช Mouse คลิกที่สัญลักษณตางๆ หรือใช Keyboard ก็ได แตในตัวอยางนี้จะใช Keyboard เปน
ตัวอยาง

รูปที่ 6.1 ตัวอยางโปรแกรมแลดเดอร

- 97 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.2.1 การเปดใชซอฟตแวร CX-Programmer


คลิกปุม [start] ที่ task bar แลวคลิก เลือก [program] → [OMRON]→[CX-One]→
[CX-Programmer] → [CX-Programmer] ดังรูป

- 98 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.2.2 คําอธิบายหนาตางและการใชงาน
ในสวนนี้จะอธิบายฟงกชันการใชงานตางๆ ของหนาจอหลักของ CX-programmer
• หนาตางหลัก (Main window)

 Title bar
แสดงขอมูลเกีย่ วกับชื่อไฟลที่ถูกสรางโดย CX-programmer
 Main menu
ใชเลือกฟงกชนั ตางๆ ของ CX-programmer
‘ Toolbars
แสดงไอคอนของฟงกชันทีใ่ ชงานบอย
’ Project tree/ (6) Project workspace
ใชจัดการโปรแกรมและการตั้งคาตางๆ
“ Section
โปรแกรมที่เขียนขึ้นสามารถแยกเปนสวนๆ ได
” Diagram workspace
ใชสรางและแกไขแลดเดอรโปรแกรม

- 99 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

• I/O comment bar


ใชแสดง name, address/value และ I/O comment ของตัวแปรที่ถูกเลือกโดย Mouse
– Output window
- ใชแสดงผลของการตรวจสอบโปรแกรมที่เขียนขึ้น
- ใชแสดงผลที่ไดจากการคนหา contact instruction และ coil
- ใชแสดงขอผิดพลาดที่เกิดขึ้นขณะโหลดโปรแกรม
— Status bar
แสดงขอมูลตางๆ เชน PLC name และสถานะการ offline/online

• พื้นที่สําหรับเขียนโปรแกรม (Diagram workspace)

 Rung number
 Program address
‘ Rung header
’ Bus bar

• Shortcut Key

แสดง Shortcut Key ที่ใชใน CX-programmer เวลาเขียนโปรแกรมเราสามารถกดปุม


เหลานี้หรือใช Mouse คลิกที่รูปบน Tool Bar ก็ได เชน ถาตองการใชหนาคอนแทค NO ใหกดปุม [C]

- 100 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.3 การปอนโปรแกรม

ใชแลดเดอรไดอะแกรมที่แสดงในรูปที่ 6.1 เพื่อเปนตัวอยางในการสรางโปรแกรม

6.3.1 การสรางโปรเจคใหม
เมื่อเรียกใช CX-programmer เปนครั้งแรกคุณจะตองสรางโปรเจคขึ้นมาใหม ตอน
สรางโปรเจคใหมคุณจะตองเลือก Device Type และ CPU ของโปรแกรมที่กําลังสรางขึ้น โดยมีขั้นตอน
ดังตอไปนี้
1. เลือก [File] - [New] จาก Main menu จะปรากฎ Dialog box ดังรูปขางลางนี้

2. เลือก [CP1L] จาก Device Type

- 101 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

3. คลิก [Settings] ไดอะลอกบลอก “Device Type Settings” จะปรากฎดังตอไปนี้

4. เลือกรุน CPU จาก CPU Type จากนั้นคลิก [OK] ไดอะลอกบลอก “Device Type
Settings” จะปดลง

- 102 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

5. ตรวจสอบดวยวา Network Type เปน [USB] จากนัน้ คลิก [OK] ถา PLC ไมใชรุน
CP1L/CP1H การเลือก Network Type ตองขึ้นอยูกับ PLC รุนนั้นๆ เชน
Toolbus หรือ Hostlink

เมื่อคลิก [OK] แลวไดอะลอกบลอก “Change PLC” จะปดลงและแสดงหนาตาง


Main window ดังรูปขางลางนี้

หมายเหตุ ถาไมสามารถเลือก [USB] ที่ Network Type ได ใหตดิ ตั้ง USB Driver ของ CP1L

- 103 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.3.2 การปอนคอนแทค
เราขออางอิงรูปวงจรแลดเดอรโปรแกรมในรูปที่ 6.1 สวนการอธิบายการปอน
โปรแกรมจะเนนการใช Shortcut Key เปนหลัก

• การปอนคอนแทค NO

1. กดคีย [C] หรือใช Mouse คลิกที่รูป


แลวเอามาวางที่ Workspace ไดอะลอกบลอก ‘New Contact’ จะปรากฎออกมา

2. ปอนแอดเดรส 0.04 ดวยการกดปุมเลข "4" แลวกด [Enter]


เมื่อ “4” ถูกปอนเขาไปแลว ไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ จะแสดงออกมา

3. ปอน “Light detection sensor” เปน I/O comment แลวกด [Enter]


คอนแทคที่ปอนพรอมคอมเมนต Light detection sensor จะปรากฎอยูใน
โปรแกรม

ขั้นตอนถัดไป ปอนวงจร OR

- 104 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

• การปอนวงจร OR
1. ที่ตําแหนง cursor ปจจุบัน ใหกดปุม [Enter]
จะเกิดพื้นทีว่ างใหมขึ้นมาเพือ่ สรางวงจร OR ดังแสดงในรูปขางลางนี้

2. กดคีย [W]หรือใช Mouse คลิกที่รูป


ไดอะลอกบลอก ‘New Contact OR’ จะปรากฎดังรูปขางลางนี้

3. ปอนแอดเดรส W0.00 ดวยการคีย “W0” จากนั้นกด [Enter]


เมื่อ “W0” ถูกปอนเขาไปแลวไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ จะแสดงออกมา

4. ปอน "Work Area" เปน I/O comment จากนั้นกด [Enter]


วงจร OR จะปรากฎออกมา

ขั้นตอนถัดไป ปอนคอนแทค NC (normally close)

- 105 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

• การปอนคอนแทค NC
1. กดคียล ูกศรขึน้ ( up arrow)
Cursor จะถูกเลื่อนขึ้นขางบนดังแสดงในรูป

2. ที่ตําแหนง Cursor ปจจุบันใหกดคีย [/]


ไดอะลอกบลอก ‘New Closed Contact’ จะปรากฎขึ้น

3. ปอนแอดเดรส Timer หมายเลข 0 โดยการกด "T0" แลวกด [Enter]

“T0” ที่ถูกปอนแลวจะแสดงไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ ตามรูปขางลางนี้

4. ปอน "Timer" เปน I/O comment จากนัน้ กด [Enter]


วงจร AND ที่เปนตัวแทนของ Timer หนาคอนแทค NC จะปรากฎออกมา

ขั้นตอนถัดไป ปอนเอาตพุต Work area

- 106 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.3.3 การปอนคอลยเอาตพุต
1. กดคีย [O]หรือคลิก
ไดอะลอกบลอก ‘ New Coil’ จะปรากฎออกมา

2. ปอนแอดเดรส W0.00 โดยการคีย "W0" จากนั้นกด [Enter]


เมื่อ "W0" ถูกปอนไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ จะปรากฎออกมา

3. ปอน comment “Work Area” จากนั้นกด [Enter]

4. กดปุมลูกศรลง (down arrow) 2 ครั้ง


Cursor จะถูกวางใน Rung ถัดไป การปอนวงจรใน Rung แรกเสร็จสมบูรณ

- 107 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.3.4 การปอน Timer


1. เลื่อน Cursor ไปติดกับ Busbar จากนัน้ กดคีย [C] แลวปอน "W000" จากนั้นกด
[Enter] ขณะเดียวกันไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ จะปรากฎออกมา จากนั้น
ทําตามขั้นตอนที่กลาวมาแลวขางตนเพื่อปอนหนาคอนแทค

2. กดคีย [I] หรือคลิก


ไดอะลอกบลอก ‘New Instruction’ จะปรากฎขึ้น

3. ปอนคําสั่ง Timer โดยการพิมพ "TIM 0 #50" จากนั้นกด [Enter]


เมื่อ "TIM 0 #50" ถูกปอน ไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ จะปรากฎขึ้นเพื่อให
ปอน I/O Comment
"TIM 0 #50" หมายถึงหนวงเวลา 5.0 วินาที เมื่อครบเวลาที่ตั้งไว T0000 จะ On

4. ปอน “Timer” ในไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ จากนั้นกด [Enter]

- 108 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

คําสั่ง Timer จะปรากฎในโปรแกรมแลดเดอร

5. กดปุมลูกศรลง (down arrow) 3 ครั้ง


เมื่อ Cursor ถูกวางใน Rung ถัดไปการปอนคําสั่งใน Rung 01 เสร็จสมบูรณ

ขั้นตอนถัดไป ปอนคําสั่ง Counter

- 109 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.3.5 การปอน Counter


1. เลื่อน Cursor ไปติดกับ Busbar จากนั้นกดคีย [C] แลวปอน "004" จากนั้นกด
[Enter] ขณะเดียวกันไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ จะปรากฎออกมา จากนั้น
ทําตามขั้นตอนที่กลาวมาแลวขางตนเพื่อปอนหนาคอนแทค

2. กดคีย [I] หรือคลิก


ไดอะลอกบลอก ‘New Instruction’ จะปรากฎขึ้น

3. ปอนคําสั่ง Counter โดยพิมพ "CNT 0 #3" จากนั้นกด [Enter]

เมื่อ "CNT 0 #3" ถูกปอนไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ จะปรากฎขึ้นเพื่อให


ปอน I/O Comment
“CNT 0 #3” คือ counter ที่เริ่มตนนับลงจาก 3 เมื่อครบตามที่ตั้งไว C0000 จะ On

- 110 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

4. ปอน Comment โดยการพิมพ "Counter" จากนั้นกด [Enter]

คําสั่ง Counter จะปรากฎในโปรแกรมแลดเดอร

ตอจากนั้นใหปอนขาสัญญาณ Reset ของคําสั่ง Counter โดยใชหนาคอนแทค


Timer (T0000)
5. วาง Cursor ต่ํากวาหนาคอนแทคที่เพิ่งสรางขึ้นใน step 1

- 111 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6. ปอนหนาคอนแทค "T0000"

7. กดลูกศรลง (down arrow) 2 ครั้ง


เมื่อ Cursor ถูกวางใน rung ถัดไป การปอนคําสั่ง Counter เปนอันเสร็จสมบูรณ

ขั้นตอนถัดไป ปอน Auxiliary Area

- 112 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.3.6 การปอน Auxiliary Area


Auxiliary area คือ รีเลยที่ออกแบบมาใหใชงานเฉพาะ ตัวอยางเชน ‘First cycle flag’
ซึ่งจะ ON เพียง 1 cycle เทานั้นหลังจากจายไฟใหกับ PLC ในตัวอยางที่เราเขียนโปรแกรมอยูนี้ ‘First
cycle flag’ จะถูกใชรีเซ็ต Counter เมื่อตอนจายไฟให PLC
1. กดคีย [W] จากนั้นปอนวงจร OR หนาคอนแทค "C0000" ตอจากนั้นกด [Enter]
ขณะเดียวกันไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ จะปรากฎขึ้น (การปอนหนาคอน
แทคไดกลาวถึงไปแลวในหัวขอกอนหนานี)้

2. กด [Enter]
จะเกิดพื้นทีว่ างขางใตวงจร OR ที่เพิ่งถูกสรางขึ้น ดังรูปขางลางนี้

- 113 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

3. กดคียลูกศรซายมือ (left arrow)


4. กดคีย [W]
ไดอะลอกบลอก ‘New Contact OR’ จะปรากฎขึ้น
5. ปอนแอดเดรส "A20011" จากนั้นกด [Enter]

‘First cycle flag’ จะปรากฎบนโปรแกรมแลดเดอรดังรูปขางลางนี้

- 114 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.3.7 การปอนคอนแทค Differentiated Up


1. ใหอางอิงโปรแกรมแลดเดอรในรูปที่ 6.1 จากนัน้ ใหปอนโปรแกรมตามขั้นตอนที่
อธิบายขางตนจนถึงหนาคอนแทค De-escalation motor contact
แอดเดรส "10001" ดังแสดงในรูปขางลางนี้

2. กด [Enter]
จะเกิดพื้นทีว่ าง เพื่อใสวงจร OR

- 115 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

3. กดคีย [W]
ไดอะลอกบลอก ‘New Contact OR’ จะปรากฎขึ้น
4. ปอนแอดเดรส 0.03 โดยการคีย "3" แลวกด [Enter]
ไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ จะปรากฎขึ้น
5. ปอน Comment โดยการคีย "Car detection sensor" จากนัน้ กด [Enter]
หนาคอนแทค Car detection sensor จะปรากฎขึ้นเปนวงจร OR

6. ให Double-click ที่แอดเดรส "0.03"


ไดอะลอกบลอก ‘Edit Contact’ จะปรากฎขึ้น

7. คลิกที่ [Detail]

- 116 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

8. เลือก [Up] จากนั้นคลิก [OK]

หนาคอนแทคที่มีลูกศรขึ้นเปนสัญลักษแสดง Differentiated Up จะปรากฎออกมา

6.3.8 การปอนคําสัง่ END


โปรแกรมแลดเดอรจําเปนตองจบดวยคําสั่ง END แต CX-programmer จะสรางสวนที่
เปนคําสั่ง END ขึ้นเองอัตโนมัติ ถาตองการดูคําสั่ง END ให Double-click ที่สวนของ END ดังรูป

- 117 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.4 การโหลดและจัดเก็บโปรแกรม (Loading/Saving)

โปรแกรมที่สรางขึ้นอาจตองจัดเก็บ (Save) ซึ่งในหัวขอนี้จะอธิบายวิธีการจัดเก็บ และเรียก


(Load) โปรแกรมกลับขึ้นมาใชอีก
6.4.1 การ Compile โปรแกรม
การ Compile จะชวยใหเราสามารถตรวจสอบขอผิดพลาดในโปรแกรมได
1. เลือก [PLC] - [Compile All PLC Programs] จาก Main menu

การ Compile จะเริ่มขึ้นเมื่อ Compile เสร็จผลที่ไดจากการตรวจสอบจะแสดงที่


Output window

2. ถามีขอผิดพลาด(error) เกิดขึน้ ให double-click ที่ขอความ error นั้นใน Output


window
Cursor จะกระโดดไปยังตําแหนงที่ error นั้นถูกพบ จากนั้นจึงแกไข error

- 118 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.4.2 การ Save โปรแกรม


โปรแกรมจะถูกจัดเก็บเปนกลุมตามแตละโปรเจคที่สรางขึ้น
1. เลือก [File] - [Save As] จาก Main menu
ไดอะลอกบลอก ‘Save CX-Programmer File’ จะปรากฎขึ้น

2. ใหระบุสถานที่และชื่อไฟลที่จะจัดเก็บ แลวคลิก [Save]


ไฟลจะถูกจัดเก็บ

- 119 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.4.3 การ Load โปรแกรม


เราสามารถเรียกโปรแกรมทีจ่ ัดเก็บแลวมาใชงานได โดยโปรแกรมจะถูกโหลดเปน
กลุมของแตละโปรเจค
1. เลือก [File] - [Open] จาก Main menu
ไดอะลอกบลอก ‘Open CX-Programmer Project’ จะปรากฎขึ้น

2. ใหระบุสถานที่และชื่อไฟลที่จะเรียก แลวคลิก [Open]


โปรแกรมที่ถูกเรียกจะปรากฎออกมา

- 120 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.5 การแกไขโปรแกรม

โปรแกรมที่เขียนขึ้นสามารถแกไขใน CX-programmer ได รวมทั้งสามารถเพิ่มหรือแกไข I/O


comment และ rung comment ไดเชนเดียวกัน
6.5.1 การแกไข I/O comment
เราสามรถแกไขและเพิ่ม I/O comment โดยใชรายการแอดเดรส
1. เลือก [Edit] - [I/O Comment] จาก Main menu

หนาตาง I/O comment จะปรากฎออกมาดังนี้

- 121 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

2. ให Double-click แอดเดรสทีค่ ุณตองการปอนหรือแกไข I/O comment


พื้นที่สําหรับปอน I/O comment จะใชงานได จากนัน้ ใหปอ นหรือแกไข I/O
comment

- 122 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.5.2 การปอน Rung comment


1. Double-click ที่ Rung header สําหรับ Rung ที่คุณตองการใส Comment
ไดอะลอกบลอก ‘Rung Properties’ จะปรากฎขึ้น

2. คลิกที่ General ปอน Comment ตามที่ตองการ

3. ปดไดอะลอกบลอก ‘Rung Properties’


Comment ที่ปอนจะปรากฎบนโปรแกรมแลดเดอร

- 123 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.5.3 การแกไข Rung


¾ การลบ
• หนาคอนแทค/คําสั่ง
1. วาง Cursor บนคอนแทคหรือคําสั่งที่ตองการจะลบ จากนั้นกดคีย [Delete]
• Rung
1. คลิกที่ Rung header
โปรแกรมใน Rung จะถูกลบทั้งหมด

2. จากนั้นกดคีย [Delete]
Rung ที่เลือกไวจะถูกลบทั้งหมด

- 124 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.5.4 การลากเสนแนวนอนและแนวตั้งเพื่อเชื่อมสัญลักษณแตละตัว
ในกรณีที่ตองการเชื่อมตอสัญลักษณโดยการลากเสนในแนวนอน ใหคลิกที่สัญลักษณ
รูปเสนในแนวนอน (Horizontal Line) จากนั้นคลิกที่ตําแหนงชอง Cell ที่ตองการวางรูปเสน ก็จะเปน
การวางรูปเสนในแนวนอนลงไปบนชอง Cell นั้น
แตถาตองการลากเสนในแนวตั้งเพื่อตองการจะตอรูปสัญลักษณแบบขนาน จะมีจุด
สังเกต โดยดูตามรูป
1. คลิกสัญลักษณของเสนใหยุบลงไป

เลือกตรงตําแหนงมุมของกรอบ

2. นํามาคลิกที่ตําแหนงที่ตอ งการโดยเลือก คลิกที่ตําแหนงมุมของกรอบที่เหลี่ยมที่


ตองการลากเสนแนวตั้ง
3. ในกรณีที่ตอ งการลบเสนใหใชเมาสคลิกอีกครั้งหนึ่งที่ตําแหนงเดิม
4. หลังจากนัน้ จึงนําสัญลักษณที่เปน Contact มาวางขนานดังรูป

- 125 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.6 การ Online

6.6.1 การ Online เพื่อ Transfer โปรแกรม


เมื่อตองการ Transfer โปรแกรมหรือทําการ Setting การทํางานตางๆ ของ PLC เราตอง
ทําการ Online กอน
1. ใช CX-programmer เปดโปรแกรมที่ตองการ Transfer
2. เลือก [PLC] - [Work Online] จาก Main menu
ไดอะลอกบลอกจะปรากฎขึน้ เพื่อใหยอมรับการ Online

3. คลิก [Yes]
ไดอะลอกบลอกจะปด

เมื่อระบบ Online ไดสําเร็จ สวนที่เปนแลดเดอรจะเปลี่ยนเปนสีเทาออน

- 126 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

หมายเหตุ ถาไมสามารถ Online ได กรุณาตรวจสอบการตัง้ คา PLC type และ Communication
setting

6.6.2 การทํา Auto-online


เราสามารถทํา Auto-online ในกรณีที่ไมทราบรุนและการตั้งคาพอรตสื่อสารของ PLC
เมื่อเปดซอฟตแวร ตัว CX-Programmer ขึ้นมาในขั้นตอนแรก จะขึ้นหนาจอดังรูป

1.เลือกที่เมนู [PLC]-[Select
Serial Port] เพื่อเลือก Comport
ของ Computer ที่ใชงาน

2.เลือกพอรตสื่อสาร
ของ Computer ที่ใชงาน
เชน COM1, COM2

- 127 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

3.หลังจากนัน้ เลือก Auto Online

4.ในขณะทํา Auto Online โปรแกรมจะทํา


การเลือกรุนของ PLC, Communication
Setting และ Protocol ที่ใชงานใหอัตโนมัติ
หลังจาก Online แลวจะ Load โปรแกรม
ขึ้นมาอยูบนคอมพิวเตอรอัตโนมัติ

- 128 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.7 การเปลี่ยนโหมด PLC

เปลี่ยนโหมด PLC ไปที่ PROGRAM ขั้นตอนตางๆ แสดงไดดังตอไปนี้


1. เลือก [PLC] - [Operating Mode] - [Program] จาก Main menu
หรือคลิกที่ Toolbar จากนั้นไดอะลอกบลอกสําหรับการเปลี่ยนโหมด
จะปรากฎขึ้น ใหเลือก Program

2. คลิก [Yes] โหมดการทํางานจะเปลีย่ นไปตามที่เลือก

โหมดการทํางานจะถูกแสดงที่ Title bar และ Project tree

- 129 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

• โหมดการทํางานของ PLC
PLC จะมีโหมดการทํางานอยู 3 โหมด คือ PROGRAM, MONITOR และ RUN การ
เปลี่ยนโหมดจะมีผลตอการทํางานของ PLC ซึ่งอธิบายไดดังตอไปนี้
ƒ โหมด PROGRAM ในโหมดนี้โปรแกรมจะหยุดการทํางาน ซึ่งเหมาะสําหรับ
การเตรียมการเพื่อใชในการตั้งคาตางๆ เชน PLC setup,
Transfer โปรแกรม และการทํา Force-set/Force-reset
ƒ โหมด MONITOR ในโหมดนี้โปรแกรมจะทํางาน แตสามารถทํา Online edit,
Force-set/Force-reset และเปลี่ยนคาในหนวยความจําได
โหมดนี้เหมาะสําหรับการปรับแตงระหวางการทดสอบ
โปรแกรม
ƒ โหมด RUN ในโหมดนี้โปรแกรมจะทํางาน ใชโหมดนี้เพื่อการควบคุม
แบบปกติ

ตารางขางลางนี้แสดงความสัมพันธระหวางสถานะการทํางานในแตละโหมด
Operating Mode PROGRAM RUN MONITOR
Program status Stopped Running Running
I/O refreshing Execute Execute Execute
External I/O status OFF ขึ้นอยูกับโปรแกรม ขึ้นอยูกับโปรแกรม
I/O memory Non-holding memory Cleared ขึ้นอยูกับโปรแกรม ขึ้นอยูกับโปรแกรม
Operations from I/O memory monitoring OK OK OK
CX-Programmer Program monitoring OK OK OK
Program From PLC OK OK OK
transfer To PLC OK X X
Compiling OK X X
PLC setup OK X X
Changing program OK X OK
Force-setting/Force-resetting OK X OK
Changing timer/counter SV OK X OK
Changing timer/counter PV OK X OK
Changing I/O memory PV OK X OK

- 130 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.8 การ Transfer โปรแกรม

1. เลือก [PLC] - [Transfer] - [To PLC] จาก Main menu ไดอะลอกบลอก ‘Download
Options’ จะปรากฎขึ้น

2. เลือกสิ่งที่ตองการดาวนโหลด โดยคลิกในเช็คบล็อกจากนั้นคลิก [OK]

- 131 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

3. คลิก [Yes] ถาไดอะลอกบลอกนี้ปรากฎขึน้

ถาไดอะลอกบล็อกนี้ปรากฎขึ้น ใหคลิก [Yes] อีกครั้งหนึ่ง

การ Transfer จะเริ่มขึ้น


4. คลิก [OK]
การ Transfer โปรแกรมเสร็จสิ้น

- 132 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.9 การทํา Force-set/Force Reset

CX-programmer สามารถควบคุมอุปกรณ I/O ตางๆ ไดอยางอิสระโดยใชฟงกชันนี้ ซึ่งสามารถ


สั่งใหบิตตางๆ เหลานั้น On หรือ Off ไดตามตองการ
1. เปลี่ยนโหมด PLC ไปที่ MONITOR หรือ PROGRAM
2. วาง Cursor ที่ตําแหนงที่ตองการทํา Force-set

3. เลือก [PLC] - [Force] - [On] จาก Main menu

- 133 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

เมื่อทําการ Force-set หนาคอนแทคนั้นจะมีสัญลักษ Force-set ปรากฎอยู

หมายเหตุ - เลือก [On] เพื่อบังคับใหหนาคอนแทค ON และเลือก [Off] เพื่อบังคับให


หนาคอนแทค OFF
- ถาตองการยกเลิก force-set/force-reset ใหเลือก [Cancel]
- พื้นที่หนวยความจําที่สามารถ force-set/force-reset ได CIO area, work area
(WR), timer completion flag, holding area (HR), counter completion flag

- 134 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.10 การเปลี่ยนคา Timer

คาตั้งเวลาของ Timer หรือหนวยความจําตางๆ สามารถเปลี่ยนแปลงไดระหวางทํางาน เพื่อให


ไดคาที่เหมาะสม
1. เปลี่ยนโหมด PLC ไปที่ MONITOR หรือ PROGRAM
2. Double-click คา Setting ของ timer ที่ตองการจะเปลีย่ น
ไดอะลอกบลอก ‘Set Timer/Counter Value’ จะปรากฎขึน้

3. ปอนคาใหม จากนั้นคลิก [OK]


คา Setting ของ Timer จะเปลี่ยนเปนคาใหม

- 135 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.11 เทคนิคการใชงานอื่นๆ

6.11.1 การแทรก/ลบ Rung


แตละชองของ Ladder Diagram เรียกวา 1 รัง (Rung) หรือ 1 เน็ตเวิรก (Network)

หมายเลข Rung <Rung ที่ 0>

แถวที่ 1

เสนแนวตั้ง
แถวที่ 2

6.11.1.1) เงื่อนไขในการแยก Rung ใหสังเกตเสนแนวตั้งระหวาง Ladder Diagram แต


ละบรรทัดวามีเสนแนวตั้ง ลากเชื่อมตอระหวางแถวหรือไม
- ถามีเสนแนวตั้งตองเขียน Ladder Diagram ใน Rung เดียวกัน เชน Ladder
Diagram ใน Rung ที่ 0 มีเสนแนวตั้งลากเชื่อมตอระหวางแถวที่ 1 และ 2
ดังนั้นจึงเปน Rung เดียวกัน
- ถาไมมีเสนแนวตั้ง ใหแยก Rung เชน Rung ที่ 0 กับ Rung ที่ 1(ที่มีคําสั่ง
END(01)) แยกกันคนละ Rung

- 136 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.11.1.2) การแทรก Rung สามารถทําไดหลายวิธีดังนี้

วิธีที่ 1 เลือกที่ Rung ที่ตองการ แลว คลิกขวา จะปรากฎหนาจอดังรูป

- เลือก<Rung>-<Insert Below> หมายถึง เพิ่ม Rung เขาไปทางดานลางของ


Rung ที่เลือก
- เลือก<Rung>-<Insert Above> หมายถึง เพิ่ม Rung เขาไปทางดานบนของ
Rung ที่เลือก

วิธีที่ 2 เลือกทางดานหนาของ Rung (จะปรากฎแถบสีฟาครอบคลุมพื้นที่ของ


Rung นั้นทั้งหมด) แลวคลิกขวา จะปรากฎหนาจอดังรูป

- 137 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

- เลือกที่ <Insert Below> เพื่อเพิ่ม Rung เขาไปทางดานลางของ Rung ที่เลือก


- เลือกที่ <Insert Above> เพือ่ เพิ่ม Rung เขาไปทางดานบนของ Rung ที่เลือก

วิธีที่ 3 เลือกที่ Rung แลวเขาที่เมนู<Insert>-<Rung>-<Below> (กดปุม R บน


Keyboard) หรือเลือก<Above> (กดปุม Shift+R บน Keyboard) ดังรูป

- 138 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.11.1.3) การลบ (Delete) Rung, Copy และ Cut Rung


สามารถทําการลบ (Delete) Rung นั้นทิ้งหรือการ Copy Rung นั้นไวแลวนํา
ไปวาง (Paste) ไวที่อื่นเพื่อไปทําการแกไขดัดแปลงเล็กนอย ถาโปรแกรม
สวนนั้นมันคลายๆ กันแทนที่จะตองเขียนใหมทั้ง Rung หรือทําการ Cut เพื่อ
ยายตําแหนง Rung นั้นไปไวที่ตําแหนงอืน่ ของโปรแกรมไดโดยการใชการ
Cut, Copy และ Paste เชนเดียวกับโปรแกรมอื่นๆ ทั่วไปที่ทํางานบน
MS-Windows ดังรูป

1. คลิกที่ชองสีเทาดานหนาเพื่อ เลือก Rung ที่


จะทําการลบ (Delete), copy, หรือ cut

2. แลวจะขึ้น Pop-up Menu มาให คลิกเลือก


วาจะทําการ cut, copy, paste, หรือ delete ได

- 139 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

หรือสามารถใชปุมที่ toolbar หรือจะใชเมนู


ดานบนของโปรแกรมก็ได หรืออาจใชการกด
Key เชน กด Shift+Del หรือ Ctrl+ x เพื่อ Cut
กด Ctrl + c เพื่อ Copy, กด Ctrl + v เพื่อ
Paste(วาง), กด Del เพื่อ ลบ,

1. คลิกที่นี่ (บริเวณสีเทา) เพือ่ เลือก Rung ที่เราตองการ


จะ copy ไปไวที่อื่น แลวกดคีย Ctrl + C หรือ คลิก

- 140 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

2. คลิกเลือกตําแหนง Rung ที่ตองการจะเอา Rung ที่


เรา Copy ไวไปแทรก แลวกด Ctrl + V หรือคลิก

3. Rung ที่แทรกเพิ่มเขามาแลวดัน
Rung ที่มีฟงกชัน End ลงไป

4. ดัดแปลงแกไข Rung นี้จากสัญลักษณรูปเดิมไดโดย


ไมตองมาวางสัญลักษณบน Rung ใหมทั้งหมด (กรณีที่
Rung ที่จะเขียนใหม คลายกันกับ Rung เดิม)

- 141 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

6.11.2 แทรก/ลบแถวแนวนอนและแนวตัง้ (Row/Column )


สามารถทําไดหลายวิธีเชนเดียวกับการแทรก Rung ดังนี้

วิธีที่ 1 คลิกขวาภายใน Rung ที่ตองการแทรก Row/Column ดังรูป

<Insert Row>-เพิ่มแถวทางแนวนอน
<Insert Rung Column>-เพิ่มแถวทางแนวตัง้
<Delete Row>-ลบแถวทางแนวนอน
<Delete Rung Column>-ลบแถวทางแนวตัง้

- 142 -
PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม

วิธีที่ 2 คลิกเมาสภายใน Rung ที่ตองการเพิม่ แถว หลังจากนั้นเขาไปทีเ่ มนู<Insert>-


<Row>(กดปุม Ctrl+Alt+Down) หรือ <Column> (กดปุม Ctrl+Alt+Right) ดังรูป

จากที่กลาวมาขางตน เปนการแนะนําวิธีใชซอฟตแวร CX-Programmer ในการเขียนโปรแกรม


ใหกับพีแอลซี ซึ่งการเขียนนั้นสามารถทําได 2 แบบ คือ การใชเมาสกับการใชคียบอรด แตทานตองมี
พื้นฐานความรูเกี่ยวกับคําสัง่ ตางๆ เพื่อใชประกอบความเขาใจ ขอแนะนําที่อยูใ นบทนี้จะครอบคลุมการ
ใชงานพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการเขียนโปรแกรม ถาตองการทราบวิธีการใชงานที่สูงกวานี้สามารถ
ศึกษาเพิ่มเติมไดจาก Help และคูมือการใชงานของซอฟตแวร

- 143 -
บทที่ 7
ตัวอยางการประยุกตใชงาน

เนื้อหาในบทนี้จะกลาวถึงตัวอยางการประยุกตใชงานโดยนําเอาคําสั่งพื้นฐานตางๆ ที่กลาว
ในบทที่ 5 มาสรางโปรแกรมใหไ ดการทํางานตามที่โจทยกํ าหนดไว พรอมเฉลยโปรแกรมใน
ตัวอยางเพื่อประกอบความเขาใจ

7.1 ตัวอยางการประยุกตใชงานโดยใชคําสั่ง Timer

Host

Player 1 Player 2 Player 3

Buzzer

<กติกาการเลน>
หลังจากที่สิ้นสุดคําถามจากผูดําเนินรายการ (Host) ใหผูแขงขัน 3 คน แยงกันกดสวิตชที่อยู
ขางหนาเพื่อตอบคําถาม และผูที่กดสวิตชไดกอนจะมีเสียง Buzzer ดังขึ้นประมาณ 10 วินาที
ขณะเดียวกันจะมีหลอดไฟติด ที่หนาผูแขงขันที่กดกอน โดยผูดําเนินรายการสามารถกดปุม Reset
กอนถึงเวลา10 วินาทีก็ได

-144-
PNSPO บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน

I/O Assignment
Input Output
I0.00 - PB1 Q100.00 - Buzzer
I0.01 - PB2 Q100.01 - Player 1 Light
I0.02 - PB3 Q100.02 - Player 2 Light
I0.03 - RST (Reset) Q100.03 - Player 3 Light

Ladder Diagram : Main 1 Rung 1

Main 1 – Who press first


(Priority Determination)
This program is to determine which players press the switch first, after the host have finished asking a question.

Rung 1 – Interlocked
Interlocked Rung for 3 player playing the game
I 0.00 Q 100.02 Q 100.03 W 5.01 TIM0000 W 5.00

PB1 PP1 PLAYER2 PLAYER3 Reset


I0.01 Q 100.01 Q 100.03
PB2 PLAYER1 PLAYER3
I 0.02 Q 100.02 Q 100.01
PB3 PLAYER2 PLAYER1
W 5.00

Rung 2 – Buzzer
ON Buzzer when any switch is pressed and timer will cut the buzzer after specified time
W 5.00 Q 100.00

BUZZER
TIM 0000
#0100

Rung 3 – Player 1
Player 1 Rung
I 0.00 Q 100.02 Q 100.03 I 0.03 Q 100.01
PB1 PLAYER2 PLAYER3 RST PLAYER1
Q 100.01
PLAYER1

- 145 -
PNSPO บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน

Rung 4 – Player 2
Player 2 Rung
I 0.01 Q 100.01 Q 100.03 I 0.03 Q 100.02
PB2 PLAYER1 PLAYER3 RST PLAYER2
Q 100.02
PLAYER2

Rung 5 – Player 3
Player 3 Rung
I 0.02 Q 100.01 Q 100.02 I 0.03 Q 100.03
PB PLAYER1 PLAYER2 RST PLAYER3
Q 100.03
PLAYER3

Rung 6 – Reset
Reset for the Game
I 0.03 W 5.01

RST RESET

Rung 7
END(01)

- 146 -
PNSPO บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน

7.2 ตัวอยางการควบคุมการปด-เปดประตู

จากรูป เมื่อรถวิ่งเขาใกลประตู สัญญาณจากเซนเซอรอุลตราโซนิคจะสั่งใหประตูเปด และ


เมื่อรถผานไป จะสั่งใหประตูปดตามเดิม

Ultrasonic Sensor Door position


Maker

Pushbutton CP1L

Photoelectric
Sensor

I/O Assignment
Input Output
I0.00-Ultrasonic sensor Q100.00-Motor to raise door
I0.01-Photoelectric sensor Q100.01-Motor to lower door
I0.02-Door Upper limit switch
I0.03-Door Lower limit switch

- 147 -
PNSPO บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน

Ladder Diagram : Main 1 Rung 1

Main 1 – Auto door


This program shows the automatic control of warehouse door.

Rung 1 – Raise door


I 0.00 I 0.02 Q 100.01 Q 100.00

Ultra sensor Upper LS Lower Raise door


Q 100.00

Raise door

Rung 2 – Photo sensor


Sense unit differentiation down
I 0.01
DIFD(14)
Photo sensor W2.00

Rung 3 – Lower door


W 2.00 I 0.03 Q 100.00 Q 100.01

Q 100.01 Lower LS Raise door Lower door

Lower door

Rung 4 – End
END(01)

Timing diagram
I0.00 Ultrasonic switch
I0.02 Upper limit sensor
Q100.00 Motor to raise door
I0.01 Photoelectric sensor
W 2.00 DIFD
I0.03 Lower limit switch
Q100.01 Motor to low door

- 148 -
PNSPO บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน

7.3 ตัวอยางการควบคุมระบบ Lubrication ของเกียรแบบอัตโนมัติ

เมื่อเกียรเคลื่อนที่มายังตําแหนง S1 จะสั่งให Valve (V1) จายน้ํามันหลอลื่นใหกับชุดเกียร


โดยใชเวลาเปนตัวสั่งหยุดจายน้ํามันหลอลื่น ถาน้ํามันหลอลื่นในแท็งก (Tank) ลดลงต่ํากวา Sensor
(S2) ก็จะไปสั่งให Alarm ดังขึ้น

V1

S2

Lubricating Oil S1
Tank

Oil shortage alarm


indicator

I/O Assignment
Input Output
I0.00-Position detection (S1) Q100.00-Electromagnetic valve for oil supply
I0.01-Lower limit of level (S2) Q100.01-Oil shortage alarm indictor

- 149 -
PNSPO บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน

Ladder Diagram : Main 1 Rung 1

Main 1 – Auto lubricate


Auto lubrication of gear

Rung 1 – Start
I 0.00
DIFD(13)
Position detection W 2.00

Rung 2 – Open valve


Open valve and delay 1.5 sec.
W 2.00 TIM0000 Q 100.00

Valve close Valve opens


Q 100.00
TIM0000
Valve opens Valve close
#0015

Rung 3 – Oil shortage


I 0.01 Q 100.01

Lower level Oil shortage Alarm

Rung 4 – End
END(01)

Timing diagram
I0.00 Position Detection
W 2.00 1 scan time DIFU
Q 100.00 Valve Opens
1.5 sec

TIM 0000 Timer’s preset time


I 0.01 Lower limit of oil level
Q100.01 Oil shortage alarm indicator

- 150 -
PNSPO บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน

7.4 ตัวอยางการลําเลียงแผนทองแดงบนสายพานลําเลียง

มอเตอร 3 จะหมุนตลอดเวลา ขณะที่มอเตอร 2 จะหมุนเมื่อแผนทองแดงวิ่งผาน Sensor 3


และจะหยุดหมุนเมื่อแผนทองแดงวิ่งผาน Sensor 2 หรือหมุนครบเวลา 2 วินาที สวนมอเตอร 1 จะ
หมุนเมื่อแผนทองแดงวิ่งผาน Sensor 2 และจะหยุดหมุนเมื่อแผนทองแดงวิ่งผาน Sensor 1ไปแลว 2
วินาที

Copper
Sensor 3 plate

Sensor 2
Motor 3

Sensor 1

Motor 2

Motor 1

CP1H

I/O Assignment
Input Output
I0.00-Sensor 1 Q100.00-Motor 1
I0.01- Sensor 2 Q100.01-Motor 2
I0.02- Sensor 3 Q100.02-Motor 3

- 151 -
PNSPO บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน

Ladder Diagram : Main 1 Rung 1

Main 1 – Conveyor control Conveyor belt control application

Rung 1 – Motor 2
I 0.02 TIM 0000 Q 100.01

S3 Motor 2
Q 100.01
Motor 2
Rung 2 – Motor 1
I 0.01 TIM 0001 Q 100.00

S2 Motor 1
Q 100.00

Motor 1
Rung 3 – Delay for 2 sec
Q 100.00 I 0.01
TIM
Motor 1 S2 0000

#0020

Rung 4 – Sensor 1
I 0.00 TIM 0001 W 2.00
S1
W 2.00

Rung 5 - Delay for 2 sec


W 2.00 I 0.00
TIM
S1 0001

#0020

- 152 -
PNSPO บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน

Rung 6 – Motor 3
P-On Q 100.02

Always ON Flag Motor 3

Rung 7 – End
END(01)

- 153 -
PNSPO บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน

7.5 ตัวอยางการใช Line Control ในการ Packing

START PB1
(0.00)

STOP PB2
(0.01)

(100.00)
APPLE
CONVEYOR

SE (0002)
PART
SENSOR
SE (0.03)
BOX

(100.01)
BOX
CONVEYOR

เงื่อนไขการทํางาน :
เมื่อกด PB 1 (Start) เพื่อเริ่มตนการทํางาน กลองที่จะใสลูกแอปเปลจะถูกลําเลียงมาโดย
สายพานลําเลียง และจะหยุดเมื่อกลองที่จะใสลูกแอปเปลมาบัง Sensor (SE2) หลังจากนั้นสายพาน
ลําเลียงแอปเปลจะลําเลียงแอปเปลลงกลองจํานวน 10 ลูก ซึ่งเช็คโดย Sensor (SE1) เมื่อครบ 10 ลูก
แลว สายพานลําเลียงแอปเปลจะหยุดหมุน และสายพานลําเลียงที่ลําเลียงกลองแอปเปลจะหมุน
กลองที่ใสแอปเปลใบใหม เขามาแทนที่และระบบการทํางานจะเปนอยางนี้เรื่อยไปจนกวาจะกด
PB2 (Stop) เพื่อหยุดการทํางาน

- 154 -
PNSPO บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน

I/O Assignment
Input Devices Output Devices
I0.00 START Push button (PB1) Q100.00 Apple Conveyor
I0.01 STOP Push button (PB2) Q100.01 Box Conveyor
I0.02 Part Present (SE1)
I0.03 Box Present (SE2)

I0.00

I0.01

I0.02

I0.03

W2.00

CNT 0010

Q100.00

Q100.01

Mnemonic Codes

Address Instruction Data Address Instruction Data


0000 LD 0.00 0008 LD NOT 0.03
0001 OR W 2.00 0009 CNT 0010
0002 AND NOT 0.01 # 0010
0003 OUT W 2.00 0010 LD CNT 0010
0004 LD W 2.00 0011 OR NOT 0.03
0005 AND NOT 100.01 0012 AND W 2.00
0006 OUT 100.00 0013 OUT 100.01
0007 LD 0.02 0014 END (01)

- 155 -
PNSPO บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน

Ladder Diagram : Main 1 Rung 1

Main 1 – Packing
Packing line control for Apples

Rung 1 – Start condition


I 0.00 I 0.01 W 2.00

PB1 RUN
W 2.00 PB2

RUN

Rung 2 – Apples conveyor


W 2.00 Q 100.01 Q 100.00

RUN Box Conveyor Apple Conveyor

Rung 3 – Counter
Counter preset at 10
I 0.02
SE1 CNT
I 0.03
0010
SE2 #0010

Rung 4 – Box conveyor


CNT 0010 W 2.00 Q 100.01
S1 RUN Box
I 0.03 Conveyor
SE2

Rung 5 – END
END(01)

- 156 -
PNSPO บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน

7.6 ตัวอยางการควบคุมจํานวนรถในลานจอดรถ

ในลานจอดรถแหงนี้ สามารถจอดรถไดเพียงแค 100 คัน ตลอดเวลาจะมีรถเขา-ออก ที่


ทางเขาจะมี Sensor (S1) และทางออกจะมี Sensor (S2) พรอมกับมีปายแสดง (หลอดไฟนีออน)
แสดงวารถเต็มลานจอดรถแลวเมื่อครบ 100 คัน

(Q100.00)
Car incoming in

S1 (I0.00)

Car going out

S2 (I0.01)

I/O Assignment

INPUT OUTPUT
I0.00 - Sensor S1 Q100.00 - Car park full sign
I0.01- Sensor S2

- 157 -
PNSPO บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน

Ladder Diagram : Main 1 Rung 1

Main 1 – Car Park Control


Application: Car Park Control

Rung 1 – Car in
I 0.00
DIFU(13)
S1 W 2.00 Car in

Rung 2 – Add 1
W 2.00
CLC(41)
Car in
++B(594)
H0000
#0001
H0000

Rung 3 – Car out


I 0.01
DIFU(13)
S2 W 2.01 Car out

Rung 4 – Subtract 1
W 2.01
CLC(41)
S2
--B(596)
H 0000
#0001
H0000

- 158 -
PNSPO บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน

Rung 5 – Compare
P_On
CMP(20)
Always ON Flag H0000
#0001

P_EQ Q 100.00

Equals(EQ)Flag Car Park full


P_GT

Greater Than

Rung 6 - End
End(01)

- 159 -
บทที่ 8
การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

ในบทนี้เหมาะสําหรับทานที่มีประสบการณการใชงาน PLC มาบางแลว เนื้อหาจะกลาวถึง


การควบคุมเซอรโวมอเตอรดวย PLC อยางงายๆ โดยการประยุกตใชฟงกชันบลอก ภายในเนื้อหา
จะไมลงรายละเอียดเกี่ยวกับหลักการทํางานของเซอรโวมอเตอร แตจะเนนที่การตอใชงานและ
เขียนโปรแกรมควบคุมเทานั้น

8.1 หลักการควบคุมเบื้องตน

ในรูปที่ 8.1 แสดงบลอกไดอะแกรมของระบบควบคุมเซอรโวมอเตอรเบื้องตน โดยปกติ


ระบบควบคุมเซอรโวมอเตอรจะมีองคประกอบหลักในการทํางานดังนี้
ƒ มอเตอร : ทําหนาที่ขับโหลดมีทั้งชนิดที่มีเบรคและไมมีเบรค
ƒ เอ็นโคดเดอร : ติดอยูกับตัวมอเตอรเพื่อทําหนาที่ปอนกลับการเคลื่อนที่ของมอเตอร
ดังนั้นเราสามารถทราบตําแหนงและความเร็วของการหมุนไดจากเอ็นโคดเดอรนี้
ƒ เซอรโวไดรเวอร : ในปจจุบันจะรวมสวนที่เปนเซอรโวคอนโทรลเลอรและ
Positioning controller ไวดวยกันซึ่งเซอรโวคอนโทรลเลอรจะทําหนาที่เปนตัวจายไฟ
ใหกับมอเตอร สวน Positioning controller จะทําหนาที่ควบคุมตําแหนงการเคลื่อนที่
ของมอเตอรโดยรับคําสั่งมาจากอุปกรณภายนอก เชน PLC เปนตน
ƒ PLC : จะทําหนาในการสงคําสั่งไปยังเซอรโวไดรเวอรในรูปแบบตางๆ เชนอนาลอก
และพลัส เปนตน จากนั้นเซอรโวไดรเวอรจะควบคุมใหมอเตอรหมุนใหไดตําแหนง
และความเร็วตามที่ไดรับคําสั่ง

-160-
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

รูปที่ 8.1 หลักการควบคุมเซอรโวมอเตอร


จากรูป 8.1 การทํางานจะเริ่มโดย PLC สง Position command ซึ่งเปนสัญญาณพลัสหรือ
อนาลอกใหกับ Position controller ที่อยูในเซอรโวไดวเวอร จากนั้น Position controller จะสั่งให
Amplifier จายกระแสไฟใหกับมอเตอรเพื่อทําใหมอเตอรหมุนใหไดความเร็วและระยะตามคําสั่ง
เอ็นโคดเดอรที่ติดอยูกับมอเตอรจะทําหนาที่ปอนกลับขอมูลระยะและความเร็วในการหมุนกลับไป
ที่ Position controller ซึ่งมันจะมี Counter ทําหนาที่เปรียบเทียบกับคําสั่งที่ไดรับจาก PLC ถายังมี
ความแตกตางกันมันสงสัญญาณไปที่ Amplifier เพื่อสั่งใหมอเตอรหมุนใหไดระยะและความเร็ว
ตามตองการ

8.2 โครงสรางของเซอรโวมอเตอร

เซอรโวมอเตอรของออมรอนเปนประเภท AC Servo Motor แบบ Synchronous Servo


Motor มีลักษณะของโครงสรางดังนี้

รูปที่ 8.2แสดงโครงสรางของเซอรโวมอเตอร

- 161 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

สวนของสเตเตอรเปนขดลวดพันในรองสล็อต สวนโรเตอรเปนแมเหล็กถาวร ดังนั้นความ


สัมพันธของคาพารามิเตอร ตางๆ จะคลาย DC motor และมอเตอรประเภทนี้ไมมีแปรงถานบางทีจึง
เรียกวา เซอรโวมอเตอรแบบ DC Brushless สวนตัวเอ็นโคดเดอรจะตออยูกับเพลาเดียวกับโรเตอร

8.3 หลักการทํางานของเอ็นโคดเดอร

เอ็นโคดเดอรที่นิยมใชกับเซอรโวมอเตอรมีอยูดวยกัน 2 ชนิด ดังนี้


• เอ็นโคดเดอรแบบ Incremental
จากรูปดานลาง แสดงสวนประกอบของเอ็นโคดเดอรชนิดนี้ โดยลําแสงจะถูกยิงจาก
lighting diode ผาน fixed disc ไปยัง rotation disc ที่ติดตั้งอยูบนแกนเพลา โดยมี photo diode เปน
ตัวรับแสง ลําแสงจะผานรูบน fixed disc และ rotation disc ตามจังหวะของการหมุนทําใหได
สัญญาณไฟฟาออกมาจาก photo sensor เนื่องจากรูของ A และ B บน fixed disc จะตางเฟสกันอยู
90 องศา ดังนั้นสัญญาณเอาตพุตทางไฟฟาจะไดรูปคลื่นที่ออกมาตางเฟสกันอยู 90 องศา ตามรูป
สวนรูของ Z บนfixed disc จะมีเพียงรูเดียวเทานั้น
ถานับคาเพาสที่ไดจากตัวเอ็นโคดเดอรจะเปนคามุมของการหมุนนั่นเอง สวนเอาตพุต
เฟส A และ B ที่ตางเฟสกันอยู 90 องศาจะเปนตัวชี้ถึงทิศทางการหมุนของมอเตอร สวนเฟส Z หรือ
Zero signal เปนตัวชี้ถึงจุด 0 องศาของการหมุน

- 162 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

รูปที่ 8.3แสดงโครงสรางและกราฟการทํางานของเอ็นโคดเดอร

• เอ็นโคดเดอรแบบ Absolute
โดยทั่วไป absolute encoder จะมีเอาตพุตโคดใหเลือกเชน gray code, binary หรือ
BCD code แตสําหรับการเลือกประเภทของ detector ของตัวเซอรโว ไมจําเปนตองเลือกโคดของ
เอาตพุต ใหเลือกแตเพียงความละเอียดที่ตองการใชงานเทานั้น จะสังเกตเห็นวาสิ่งที่แตกตางจาก
incremental encoder ก็คือจํานวนของสายสัญญาณเอาตพุตที่มีจํานวนมากกวาแบบ incremental ซึ่ง
จะขึ้นอยูกับความละเอียดที่เลือกใช และอีกประการหนึ่งคือ ความหมายของสัญญาณของ absolute
encoder ณ เวลาหนึ่งจะใหคาออกมาเปนคาสมบูรณ ไมใชเปนคาที่เปรียบเทียบจากจุดเริ่มตน
เหมือนกับแบบ incremental encoder ดังนั้นถาเซอรโวมอเตอรที่มี detector แบบ absolute encoder
ก็ไมจําเปนจะตอง search หาตําแหนงเริ่มตน (origin search) ใหมทุกครั้งที่ ปดเครื่องแลวเปดเครื่อง
ขึ้นมาใชงานใหม

8.4 ชนิดของอินพุตควบคุมสําหรับเซอรโวไดวเวอร

อินพุตของเซอรโวไดวเวอร ที่ตอใชงานกับ PLC มีอยูดวยกันหลายแบบแตที่นิยมมากที่สุด


คือ แบบ Pulse Train และ Linear (หรือ Analog) ซึ่งทั้ง 2 แบบจะเหมาะสมกับงานที่แตกตางกัน
แบบ Pulse trainจะเหมาะกับงานควบคุมตําแหนง เชน Feed-to-Cut และ Pick & Place เปนตน
สวนแบบ Linear จะใชกับงานที่เคลื่อนที่เปนเสนโคงหรือวงกลม ในที่นี้เราจะเนนการใชเซอรโว
ไดวเวอรที่รับสัญญาณอินพุตแบบ Pulse train เพื่อใหงายในการทําความเขาใจสําหรับผูเริ่มตน

- 163 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

8.4.1 PULSE TRAIN CONTROL


จากรูปที่ 8.1 PLC จะสงสัญญาณเปนพลัสใหกับเซอรโวไดวเวอรจากนั้นไดวเวอร
จะควบคุมการหมุนของมอเตอรใหไดตามการสั่งงานของ PLC ระยะในการเคลื่อนที่หรือการหมุน
ของเซอรโวมอเตอรจะขึ้นอยูกับจํานวนพลัสที่ PLC สงให ขณะเดียวกันความเร็วของเซอรโว
มอเตอรจะขึ้นอยูกับความเร็วหรือความถี่ของพลัสที่สงมาจาก PLC ดังแสดงในรูปที่ 8.4
ระยะการหมุน α จํานวนพลัส
ความเร็ว α ความถี่ของพลัส

Speed

Pulse

ความเร็วที่ 1 ความเร็วที่ 2 ความเร็วที่ 3

รูปที่ 8.4 กราฟแสดงพลัสที่จายใหกับเซอรโวไดวเวอร

8.4.2 PULSE WIDTH MODULATION (PWM)


การทํางานจะคลายๆ กับ Pulse Train คือ ระยะทางการหมุนจะขึ้นอยูกับจํานวน
พลัส แตความเร็วของมอเตอรจะขึ้นอยูกับความกวางของพลัสดังแสดงในรูปที่ 8.5

Speed

Pulse

ความเร็วที่ 1 ความเร็วที่ 2 ความเร็วที่ 3

รูปที่ 8.5 กราฟแสดงพลัสที่จายใหกับเซอรโวไดวเวอร

8.4.3 LINEAR
การควบคุมแบบนี้จะแตกตางจากทั้งสองแบบที่กลาวมาขางตน เพราะ PLC จะสง
สัญญาณอนาลอกใหกับเซอรโวไดวเวอร ซึ่งไดวเวอรจะตองเปนชนิดที่สามารถรับสัญญาณควบคุม
เปนอนาลอกได เชน ± 10Vdc

- 164 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

8.5 การสรางระบบควบคุมของเซอรโวมอเตอร

ในหัวขอที่กลาวมาขางตนเปนการอธิบายหลักการกวางๆ ของเซอรโวมอเตอร ตอไปนี้เรา


จะเขาภาคปฏิบัติที่สามารถนําไปใชงานไดจริง แตจะเนนเฉพาะระบบควบคุมเปนหลัก เชน PLC
และเซอรโวไดวเวอร เปนตน จะไมขอกลาวถึงระบบทางกล เชน Ball screw, สายพาน รวมถึงการ
คํานวณทางกล เชน Torque
เพื่อใหงายตอความเขาใจเราจะใชเซอรโวมอเตอรรุน Smart Step กับ CP1H เปนตัวอยาง
ซึ่งทานสามารถนําเอาตัวอยางดังกลาวนี้ไปประยุกตใชงานไดจริง

ตัวอยางที่ 1 ระบบควบคุมการเคลื่อนที่แบบ Incremental

การเคลื่อนที่แบบ Incremental เปนระบบที่เขาใจไดงาย การหมุนของมอเตอรจะเริ่มที่จุด


ใดก็ไดแตระยะการหมุนจะขึ้นอยูกับจํานวนพลัสที่ PLC สงให Driver สวนทิศทางจะขึ้นอยูกับ
เครื่องหมายบวกหรือลบของคาจํานวนพลัส เชน -1000 หมายถึง หมุนทวนเข็มนาฬิกา 1000 พลัส
ในตัวอยางนี้สมมติวามอเตอรตอกับบอลสกรูที่หมุน 1 รอบ มีระยะการเคลื่อนที่ 10 มม. และตั้งคา
Resolution ของ Driver ไวที่ 1000 พลัสตอ 1 รอบ ถา PLC สงพลัสให Driver เทากับ 10,000 พลัส
มอเตอรจะหมุนไป 10 รอบหรือ 10 ซม. ตอนี้ไปคือขั้นตอนตางๆ การทําระบบควบคุมเซอรโว
มอเตอรแบบ Incremental (หรือ Relative) อยางงาย
• ขั้นตอนที่ 1 การจัดองคประกอบ (Configuration)
ในรูปที่ 8.6 แสดง Configuration ของระบบที่ตองจะควบคุมโดยใชสวิตช 2 ตัว
ทําหนาที่ในการควบคุม
START Switch คือ สวิตชที่ทําหนาที่สั่งใหเซอรโวมอเตอรเริ่มทํางาน

รูปที่ 8.6 รูปแสดงระบบควบคุมเซอรโวมอเตอร

- 165 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

• ขั้นตอนที่ 2 การเดินสายไฟ
จากรูปที่ 8.6 เราสามารถเขียนเปนผังการเดินสายไฟไดดังรูปที่ 8.7 ในรูปนี้เปน
การแสดงการตอสายไฟระหวาง CP1H กับ Driver (รุน Smart Step) เทานั้นเพราะวาการเดินสายไฟ
ระหวาง Driver กับ Motor นั้นทําไดงายเนื่องจากเปนสายสําเร็จรูป

รูปที่ 8.7 รูปแสดงการเดินสายไฟระหวาง PLC กับ Driver

• ขั้นตอนที่ 3 การตั้งคาการทํางานของระบบ
หลังจากทําการติดตั้งอุปกรณและเดินสายไฟแลว สิ่งที่ทานควรทําในลําดับถัดไป
คือ การตั้งคาการทํางานใหกับอุปกรณตางๆ ใหเหมาะสมกับการใชงาน เชน เซอรโวไดว
เวอรและการตั้งคา Setup ของ PLC ในกรณีตัวอยางนี้จะตั้งคาเฉพาะที่ Driver เทานั้น โดย
มีขั้นตอนดังตอไปนี้

- 166 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

การตั้งคา Servo driver


สําหรับ Servo driver รุน Smart Step สามารถทําการปรับตั้งคาไดงาย เพียงแค
เลือกสวิตชบริเวณหนาตัวเครื่องก็สามารถเลือกโหมดการทํางานได แตถาตองการ
ใชซอฟตแวรก็สามารถทําไดเชนกัน ในที่นี้เราจะไมกลาวถึงการตั้งคาดวย
ซอฟตแวร

- Gain Adjustment Rotary Switch: GAIN


สวิตชนี้ใชเพื่อปรับความไวของการตอบสนองของ Servo
Motor โดยยิ่งใหคามาก Servo motor ก็จะตอบสนองไดเร็ว
ขึ้น แตก็จะทําใหการเคลื่อนที่ราบลื่นลดลง ตรงขามกับการ
ตั้งคาที่นอยกวา Servo motor จะสามารถเคลื่อนที่ไดราบลื่น
กวา แตตอบสนองชาลง ใหตั้งเปน “4”
- Function Setting Switch
Switch 6: ใชเลือกวาจะใชคาตั้งจากสวิตชหรือซอฟตแวร
Switches 5 และ 4: สําหรับตั้งคา Resolution
Switch 3: ตั้งคาชนิดของอินพุตพลัส
Switch 2: ตั้งคาdynamic brake
Switch 1: ใชทํา online autotuning
ขอควรระวัง ควรปดเครื่องกอนทําการปรับตั้งคาตางๆ

การ เปด – ปด สวิตช


ใหใชอุปกรณที่สามารถดันสวิตชได เชน ใชไขควงแบนขนาดเล็ก การดันสวิตช
ไปทางซายคือการเปด สวนสวิตชที่อยูในตําแหนงคือการปด หากสวิตชทั้ง 6 ปด
อยู เปนการตั้งคา default ใหกับ Servo drive

- 167 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

มีสวิตชหลายตัว แตในกรณีนี้ใหตั้งเฉพาะที่จะใชงานเทานั้น ถาตองการราย


ละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการตั้งคาใหดูไดที่ภาคผนวก F
- Resolution Setting (Switches 4 and 5)
สวิตช 4 และ 5 นี้ใชในการปรับตังคาความละเอียดของการหมุนของ Servo
motor โดยกําหนดเปนจํานวน pulse ตอการหมุนของ Servo motor 1 รอบ
Switch
Resolution Setting
5 4
OFF OFF 1,000 pulse/revolution (0.36º/step) ใหตั้งที่ตําแหนงนี้
OFF ON 10,000 pulse/revolution (0.036º/step)
ON OFF 500 pulse/revolution (0.72º/step)
ON ON 5,000 pulse/revolution (0.072º/step)

• ขั้นตอนที่ 4 การสรางรูปแบบการทํางาน (Operation pattern)


รูปแบบการเคลื่อนที่แสดงไดดังรูปขางลางนี้ เมื่อมีสัญญาณ Start Sw(0.00) เขามา
PLC จะสงสัญาณพลัสใหกับ Driver ที่อัตราเรง 500Hz/4ms จนไดความเร็วที่ตองการ
(Target speed) จากนั้นจะเขาสูชวงอัตราหนวง 500 Hz/4ms และหยุดหมุนเมื่อครบ 10,000
พลัส
Target Speed=5,000 Hz

Acceleration Deceleration
rate=500 Hz/4ms rate=500 Hz/4ms
Position=10,000 พลัส

Start Sw(0.00)

รูปที่ 8.8 รูปแสดงรูปแบบการเคลื่อนที่ของมอเตอรที่ตองการ

- 168 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

• ขั้นตอนที่ 5 การเขียนโปรแกรม PLC


1. เรียกโปรแกรม CX-programmer จากนั้นเลือก [File] - [New] จากเมนู
จะปรากฎไดอะลอกบลอกดังรูปขางลางนี้

2. เลือก [CP1H] จาก Device Type

3. คลิก [Settings]
ไดอะลอกบลอก “Device Type Settings” จะแสดงดังตอไปนี้

- 169 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

4. เลือกรุน CPU จาก CPU Type เปน ‘X’ จากนั้นคลิก [OK]


ไดอะลอกบลอก “Device Type Settings” จะปดลง

5. ตรวจสอบดวยวา Network Type เปน [USB] จากนั้นคลิก [OK]


ถา PLC ไมใชรุน CP1H การเลือก Network Type ตองขึ้นอยูกับ PLC รุนนั้นๆ
เชน Toolbus และ Hostlink

เมื่อคลิก [OK] แลว ไดอะลอกบลอก “Change PLC” จะปดลงและแสดง


หนาตาง Main window ดังรูปขางลางนี้

- 170 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

หมายเหตุ ถาไมสามารถเลือก[USB] ที่ NetworkType ได ใหติดตั้ง USB Driver


ของ CP1H

6. เลือก [File] - [Function Block] - [Load Function Block from File] จากเมนู
ไดอะลอกบลอก ‘Select CX-Programmer Function Block Library File’ จะ
ปรากฎขึ้น

- 171 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

7. เลือก folder [FBL] - [omronlib] - [PositionController] - [NC-CPU(CP1H)]


รายการของ FB library สําหรับควบคุมเซอรโวมอเตอรจะปรากฎขึ้น

8. เลือก [_NCCP1H021_MoveRelative_DINT10.cxf] จากนั้นคลิก [Open]


_NCCP1H021_MoveRelative_DINT10 จะถูกเพิ่มเขามาที่ project tree ใน
หัวขอ [Function Blocks]

9. เลื่อน Cursor ในตําแหนงที่ตองการวาง FB (กรุณาอยาวางติด Busbar)


‘_NCCP1H021_MoveRelative_DINT10’

10. เลือก [Insert] - [Function Block Invocation] จากเมนู

- 172 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

ไดอะลอกบลอก ‘New Function Block Invocation’ จะปรากฎขึ้น

11. ปอนชื่อของ FB โดยพิมพ ‘ServoControl’ จากนั้นกด [Enter]


การพิมพชื่อหามเวนวรรค จากนั้นชื่อและ FB จะปรากฎขึ้น

- 173 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

12. ใหลากเสนอินพุตคอนแทค ‘P_On’ เขากับ FB

13. ทําการตั้งคา I/O parameters ของ FB


1) วาง cursor ที่ตําแหนงพารามิเตอรของ FB ที่ตองการจะตั้งคาจากนั้นกด
[Enter] ไดอะลอกบลอก ‘New Parameter’ จะปรากฎขึ้น
2) ปอนคาพารามิเตอรจากนั้นกด [Enter]

คาพารามิเตอรแตละตัวที่ตองปอนมีคาดังนี้
Axis = &0 (ใหพิมพ “&0” ที่ไดอะลอกบลอก ‘New Parameter’)
Execute = 0.00 (Start switch)
Position = &10000 (ระยะการหมุน 10,000 พลัส)
Velocity = &5000 (ความเร็วในการหมุน 5,000 Hz)
Acceleration = &500 (อัตราเรง 500 Hz/4ms)
Deceleration = &500 (อัตราหนวง 500 Hz/4ms)
OutPulseSelect = &0 (เลือกโหมด CW และ CCW)
หมายเหตุ 1) ‘&’ หมายถึงเปนเลขจํานวนเต็ม (INT)
2) สามารถดูความหมายของพารามิเตอรไดในภาคผนวก E

- 174 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

หลังจากปอนพารามิเตอร โปรแกรมแลดเดอรที่เขียนเสร็จแลว จะแสดงดังรูป


ขางลางนี้

14. จากนั้นทําการ Online => Transfer => Run โปรแกรมตามขั้นตอนที่กลาวใน


บทที่ 6 และเลือกโหมด PLC ไวที่ Monitor

15. ทําการทดสอบการทํางานโดยเปดสวิตช ‘Servo Driver Run’ เพื่อให Driver


จายไฟเขามอเตอรจากนั้นให Turn-On สวิทช ‘Start (0.00)’ เพื่อสั่งให
มอเตอรเริ่มหมุน ในกรณีนี้เราจายพลัสใหกับไดวเวอร 10,000 พลัสจะทําให
มอเตอรหมุน 10 รอบ เพราะเราตั้ง Resolution = 1,000 พลัสตอรอบ

- 175 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

ตัวอยางที่ 2 ระบบควบคุมการเคลื่อนที่แบบ Absolute

การเคลื่อนที่แบบ Absolute เปนระบบที่ซับซอนและมีอุปกรณเกี่ยวของมากกวา การหมุน


ของมอเตอรจะอางอิงจากจุดศูนย (Origin) ดังนั้นจะตองทํา Origin search เมื่อเริ่มเปดเครื่องเพื่อ
หาจุดศูนยทุกครั้ง ระบบนี้เหมาะกับงานที่มีระยะการเคลื่อนที่แนนอนกวาเพราะมีจุดอางอิงในการ
เคลื่อนที่ ตอไปนี้เปนตัวอยางแสดงการออกแบบและเขียนโปรแกรมควบคุมเซอรโวมอเตอรแบบ
Absolute
ในตัวอยางนี้เราจะใช CP1H ทําหนาที่สั่งงานและเขียนโปรแกรมดวย Function Block ซึ่ง
จะชวยใหผูเริ่มตนใชงายระบบควบคุมเซอรโวมอเตอรเขาใจไดงายกวา

รูปแบบการทํางาน
จากรูปขางลางนี้เครื่องจักรจะมีแกนเคลื่อนที่ถูกขับดวย Ball screw ทําหนาที่ในการเคลื่อน
ยายสินคาระหวางจุด A และ จุด B และมีจุด Origin อยูใกลกับจุด A นอกจากนั้นยังมี CW Limit
Sensor และ CCW Limit Sensor ทําหนาที่ตรวจสอบการเคลื่อนที่เกินกวาระยะที่กําหนด

- 176 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

• การหาจุดศูนย (Origin search)


การทํา Origin search จะตองใชสัญญาณอินพุตเอาตพุตหลายจุด เชน ‘Origin
proximity input’, ‘Origin input’, ‘Positioning completed’ และ ‘Error counter reset’ การทํา Origin
search สามารถทําไดดวยคําสั่งเพียงคําสั่งเดียว เมื่อสั่งใหระบบทํา Origin Search เซอรโวมอเตอรจะ
หมุนเพื่อคนหาสัญญาณ “Origin proximity input” เมื่อพบสัญญาณนี้แลว มอเตอรยังคงหมุนอยู
จนกระทั่งสัญญาณ Z-Phase ของเอ็นโคดเดอรจะสงจาก Driver มาให PLC จากนั้นมอเตอรจะหยุด
หมุน แสดงวาการทํา Origin Search เสร็จสมบูรณดังแสดงในกราฟขางลางนี้ นอกจากนั้นเรายัง
เลือกโหมดการหา Origin ไดดังตารางขางลางนี้ สัญญาณ Z-Phase จาก Servo Driver นี้ เราเรียกวา
สัญญาณ Origin input

Original proximity input


Contact 0.01

Original input
Contact 0.00

Search high speed


10kHz
Pulse Search deceleration ratio
frequency 2000Hz/4msCW

Search acceleration ratio Search proximity speed


2000Hz/4msCW
1000Hz

CCW CW

Origin Search Method Setting คําอธิบาย


Search direction CW Origin search จะทํางานในทิศทาง CW
Detection method Methd 0 ตรวจจับสัญญาณอินพุต Origin ที่เกิดครั้งแรก
หลังจากไดรับสัญญาณจาก Origin proximity switch
เปน OFF-ON-OFF ตามลําดับ
Search operation Invers 1 เคลื่อนที่ในทิศทางตรงขามเพื่อหา Origin
Operating mode Mode 1 สงสัญญาณออกไปที่เอาตพุต Counter reset
เมื่อการตรวจจับสัญญาณ Origin ไดแลว

- 177 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

• การเคลื่อนที่ตามตําแหนง (Positioning)
การตั้งคาการเคลื่อนที่ไปตามตําแหนงตางๆ มีรายละเอียดดังนี้ และแสดงรูปแบบ
การเคลื่อนที่ไดดังรูปขางลางนี้
- Target frequency = 50 KHz
- Acceleration/Deceleration = 2000Hz/4ms
- Initial frequency = 0Hz

(1) เมื่อกดสวิตช ‘Start origin search’ CP1H จะสั่งใหเซอรโวมอเตอรหมุน


เพื่อหาตําแหนง Origin หลังจากทํา Origin search เสร็จ CP1H จะสง
สัญญาณออกที่เอาตพุต ‘Origin search complete’ หลังจากนั้นมันจะ
เคลื่อนที่ไปที่จุด A (-1000)
(2) เมื่อมีชิ้นงานลําเรียงมาอยูที่ตําแหนง A เซนเซอรชื่อ ‘Positioning to point
B’ สงสัญญาณให CP1H และสั่งใหเซอรโวมอเตอรหมุนเคลื่อนที่ไปยัง
ตําแหนง B เพื่อวางชิ้นงานบนสายพานลําเลียง
(3) เมื่อวางชิ้นงานบนสายพานที่จุด B เซนเซอรชื่อ ‘Positioning to point A’
สงสัญญาณให CP1H และสั่งใหเซอรโวมอเตอรหมุนเคลื่อนที่ไปยัง
ตําแหนง A และจะทํางานซ้ําเชนนี้ไปเรื่อยๆ จนกวาจะไมมีชิ้นงานที่จุด A

- 178 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

การจัดองคประกอบของระบบ (Configuration)

• ตัวอยางการเดินสายไฟ (ยกตัวอยางรุน CP1H-X40DT-D)


เนื่องจาก PLC รุนนี้ใชควบคุมเซอรโวมอเตอรได 4 ตัว ถาใชเพียงตัวเดียว I/O
อื่นๆ สามารถใชเปน I/O ปกติได

Output Terminal

Input Terminal

- 179 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

หมายเหตุ
1. ควรใสตัวตานทาน 1.6-2.2 KΩ ที่เอาตพุตพลัสของ PLC เพื่อปองกันไมใหกระแสเกิน
พิกัดกรณีที่ใชไฟ 24VDC
2. ความหมายของสัญญาณที่เทอรมินอลของเซอรโวไดรเวอร
+CW/-CW (Input) : เปนสัญญาณพลัสสั่งใหมอเตอรหมุนตามเข็มนาฬิกา
+CCW/-CCW (Input ): เปนสัญญาณพลัสสั่งใหมอเตอรหมุนทวนเข็มนาฬิกา
+ECRST/-ECRST(Input ) : เปนสัญญาณสั่งรีเซ็ทเคาทเตอรในไดรดเวอร
Z/ZCOM(Output): เปนสัญญาณแจงให PLC รูวาเอ็นโคดเดอรอยูที่จุดศูนย
RUN(Input) : เปนสัญญาณสั่งใหไดรเวอรจายไฟเขามอเตอรพรอมทํางาน
ALM/ALMCOM(Output): เปนสัญญาณแจงใหรูวาระบบเซอรโวมีปญหา
3. ความหมายของสัญญาณที่เทอรมินอลของ CP1H
Origin search switch(Input) : เปนสวิตชใชสตารท Origin search
Positioning to point A/B(input) : เซนเซอรสั่งใหเคลื่อนที่ไปตําแหนง A และB
CW/CCW limit sensor(Input) : เปนเซนเซอรปองกันไมใหวิ่งเกินระยะ

- 180 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

Origin proximity input : สัญญาณอินพุตที่เปนตัวบอก PLC วาการเคลื่อนที่เขาใกลจุด


ศูนย
Origin input : เมื่อ PLC ไดรับสัญญาณ Origin proximity input แลวมันจะตรวจสอบ
สัญญาณ Origin (Z-phase) ของเอ็นโคดเดอรที่อยูบนตัวเซอรโวมอเตอร

• การตั้งคา Servo Driver setup ทําตามขั้นตอนในตัวอยางที่ 8.1


• PLC
1. เปดไดอะลอกบลอก ‘PLC Setting’ โดยการคลิกที่ Setting

2. คลิกที่ Tap ‘Pulse Output 0’ แลวตั้งคาตามนี้

- 181 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

Base Setting Origin Search


Item Setting Item Setting
Undefined Origin Hold Use define origin operation Use
Limit input Signal Operation Always Search Direction CW
Limit input Signal NO Detection Method Methd 0
Search/Return Initial Speed Opps Search Operation Invers 1
Speed Curve Trapezoidal Operating Mode Mode 1
Origin input Signal NO
Proximity Input Signal NO
Search High Speed 10000pps
Search Proximity Speed 1000pps
Search Compensation Value 0
Search Acceleration Ration 2000
Search Deceleration Ration 2000
Positioning Monitor Time 0ms

3. ปดไดอะลอกบลอก ‘PLC Setting’


4. เพือ่ ใหคาใน ‘PLC Setting’ มีผลใหปดไฟแลวเปดใหม

- 182 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

การเขียนโปรแกรม
• ตัวอยางโปรแกรมแลดเดอร

- 183 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

จากตัวอยางโปรแกรมขางตนเปนตัวอยางในการทํางานอยางงายๆ เทานั้น ในการ


ใชงานจริงจําเปนตองเขียนใหละเอียดกวานี้ สวนวิธีการสรางโปรแกรมสามารถทําตามขั้นตอน
ตางๆ ที่ไดกลาวไปแลว Function Block(FB) ที่ตองเรียกใชงานมีอยูดวยกัน 2 ตัว คือ
- ‘_NCCP1H051_Home_DINT’ ทําหนาที่เปน Origin search โดยใช I:0.04 เปน
ตัวสตารท
- ‘_NCCP1H011_MoveAbsolute_DINT’ ทําหนาที่สั่งใหมอเตอรเคลื่อนที่แบบ
Absolute โดยใชทั้งหมด 2 ตัว ตัวที่หนึ่งสั่งใหเคลื่อนที่ไปตําแหนง A คา
Position คือ DM0 และตองปอนคา DM0 เทากับ -1000 เพราะวา FB ไมสามารถ
ปอนเลขลบไดโดยตรง สวนตัวที่สองสั่งใหเคลื่อนที่ไปตําแหนง B โดยมีคา
Position เทากับ 100000
การใสคาใน D0 จะตองทําขณะ Online ถาการแสดงผลเปนเลขฐาน 16 ให
เปลี่ยนเปนเลขฐานสิบแบบมีเครื่องหมาย (Signed decimal) โดยการคลิกที่ icon
ดังรูป

จากนั้นใหคลิกที่ D0 จะปรากฎไดอลอกบลอก ‘Set New Value’ ขึ้นมา จากนั้น


ใหปอน -1000 แลวคลิก Set จากนั้นคา D0 จะปน -1000

- 184 -
PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร

ทดสอบการทํางาน

• ทําการ Online->Tranfer->Run โปรแกรมตามขั้นตอนที่กลาวในบทที่ 6 และเลือกโหมด


PLC ไวที่ Monitor
• ทําการทดสอบการทํางานโดยเปดสวิตช Origin Search (I0.04) เมื่อทํา Origin Search เสร็จ
ใหเปดสวิตช Position to Point A เพื่อใหระบบเคลื่อนที่ไปยังตําแหนง A จากนั้นทดลอง
เปดสวิตช Position to Point B เพื่อใหระบบเคลื่อนที่ไปยังตําแหนง B

จากตัวอยางทั้ง 2 แบบที่กลาวมาขางตน จะชวยใหทานเขาใจถึงเทคนิคในการควบคุมเซอร


โวมอเตอรโดยใชฟงกชันบลอก ซึ่งชวยใหเรียนรูไดเร็วและงาย นอกจากนั้นเราอาจสรุปไดวาการ
ควบคุมตําแหนงอาจแบงไดเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ แบบIncremental กับแบบ Absolute ซึ่งแบบ
Incremental การเคลื่อนที่จะอางอิงกับจุดปจจุบัน สวนแบบ Absolute อางอิงกับจุดศูนย ดังนั้น
จะตองทํา Origin Search เสมอเมื่อเริ่มใชงาน

- 185 -
APPENDIX-A CP1L/CP1H Specifications

CP1L
General Specification

Type M CPU Units L CPU Units


CP1L-M40DR-A CP1L-M30DR-A CP1L-L20DR-A CP1L-L14DR-A
CP1L-M40DR-D CP1L-M30DR-D CP1L-L20DR-D CP1L-L14DR-D
Model
CP1L-M40DT-D CP1L-M30DT-D CP1L-L20DT-D CP1L-L14DT-D
CP1L-M40DT1-D CP1L-M30DT1-D CP1L-L20DT1-D CP1L-L14DT1-D
Program capacity 10 Ksteps 5 Ksteps
Control method Stored program method
I/O control
Cyclic scan with immediate refreshing
method
Program language Ladder diagram

Maximum number of function block definitions: 128


Function blocks Maximum number of instances: 256
Languages usable in function block definitions: Ladder diagrams, structured text (ST)

Instruction length 1 to 7 steps per instruction


Instructions Approx. 500 (function codes: 3 digits)
Instruction Basic instructions: 0.55 µs min.
execution time Special instructions: 4.1 µs min.
Common
0.4 ms
processing time
Number of
connectable
Expansion Units 3 Units (CP Series or CPM1A) 1 Unit (CP Series or CPM1A)
and Expansion I/O
Units
160 points 150 points 60 points 54 points
Maximum number
(40 builtin, (30 builtin, (20 builtin, (14 builtin,
of I/O points
40- 3 expansion) 40- 3 expansion) 40- 1 expansion) 40- 1 expansion)
Pulse outputs 2 outputs, 1 Hz to 100 kHz
(Transistor output (CCW/CW or pulse plus direction)
Models only) Trapezoidal or S-curve acceleration and deceleration (Duty ratio: 50% fixed)

A-1
APPENDIX-A CP1L/CP1H Specifications

Part Names และ Functions

• CPU Units
Model number
Input Output Power Transistor output
Description
points points Supply Relay output
Sink type Source type
14-point I/O 8 6 AC CP1L-L14DR-A --- ---

DC CP1L-L14DR-D CP1L-L14DT-D CP1L-L14DT1-D


20-point I/O 12 8 AC CP1L-L20DR-A --- ---

DC CP1L-L20DR-D CP1L-L20DT-D CP1L-L20DT1-D


30-point I/O 18 12 AC CP1L-M30DR-A --- ---

DC CP1L-M30DR-D CP1L-M30DT-D CP1L-M30DT1-D


40-point I/O 24 16 AC CP1L-M40DR-A --- ---

DC CP1L-M40DR-D CP1L-M40DT-D CP1L-M40DT1-D

• Expansion I/O Units


Model number
Input Output
Description Transistor output
points points Relay output
Sink type Source type
Expansion I/O Unit with 12 8 CP1W-20EDR1 CP1W-20EDT CP1W-20EDT1
20 I/O points

Expansion I/O Unit with 8 -- CP1W-8ED (no outputs)


8 input points

Expansion I/O Unit with --- 8 CP1W-8ER CP1W-8ET CP1W-8ET1


8 output points

A-2
APPENDIX-A CP1L/CP1H Specifications

• Analog I/O Unit


Description Specifications Model number
Analog I/O Unit 2 analog inputs and 1 analog 0 to 5 V/1 to 5 V/0 to CP1W-MAD11
output 10 V/−10 to +10 V/0
Resolution: 6,000 to 20 mA/4 to 20 mA
1 to 5/0 to 10 V/−10
to +10 V/0 to 20
mA/4 to 20 mA
4 analog input 0 to 5 V/1 to 5 V/0 to CP1W-AD041
Resolution: 6,000 10 V/−10 to +10 V/
0 to 20 mA/
4 to 20 mA
4 analog output 1 to 5 V/0 to 10 V/ CP1W-DA041
Resolution: 6,000 −10 to +10 V/
0 to 20 mA/
4 to 20 mA

• Temperature Sensor Unit


Description Specifications Model number
Temperature Sensor unit 2 thermocouple inputs: K, J CP1W-TS001
4 thermocouple inputs: K, J CP1W-TS002
2 platinum resistance thermometer inputs: CP1W-TS101
Pt100 (100 Ω), JPt100 (100 Ω)
4 platinum resistance thermometer inputs: CP1W-TS102
Pt100 (100 Ω), JPt100 (100 Ω)

• CompoBus/S I/O Link Unit


Description Specifications Model number
CompoBus/S I/O Link Unit Operates as a CompoBus/S Slave and provides 8 CP1W-SRT21
inputs and 8 outputs to the CPM1A or CPM2A PC.

• Support Software
Product Function Model
CX-Programmer Windows-based Programming Device WS02-CXPC1
OS: Windows 95/98/NT (version 7 up)

A-3
APPENDIX-A CP1L/CP1H Specifications

• Personal Computer Connecting Cables


Cable
Description Specifications Specifications Model Standard
length
RS-232C D-sub 9-pin port -- 2m XW2Z-200S-V --
5m XW2Z-500S-V --
Can be used with a 2m XW2Z-200S-CV --
peripheral bus or 5m XW2Z-500S-CV --
Host link used
connector that
prevents ESD
(electrostatic
discharge.)
D-sub 25-pin -- 2m XW2Z-200S --
port 5m XW2Z-500S --
Haft-pitch 14-pin -- 2 m+0.15 m XW2Z-200S --
port XW2Z-S001 --
5 m+0.15 m XW2Z-500S --
XW2Z-S001 --

• Adapters
Name Function Model Specifications
RS-232C Adapter Peripheral Port level CP1W-CIF01 N,L,CE
RS-422 A/485 conversion CP1W-CIF11 N,L,CE
dapter

• Battery
Product Function Model
Backup Battery Backs up memory in the CPM2A CPM2A-BAT01
(One internal Backup Battery is provided as CPU Unit
standard)

• Peripheral Devices
Name Appearance Model Number Specifications

Memory Unit -- CP1W-ME05M

A-4
APPENDIX-A CP1L/CP1H Specifications

CP1H

General Specification

Type X CPU Units XA CPU Units Y CPU Units


Model CP1H-X40DR-A CP1H-XA40DR-A CP1H-Y20DT-D
CP1H-X40DT-D CP1H-XA40DT-D
CP1H-X40DT1-D CP1H-XA40DT1-D
Program capacity 20 Ksteps
Control method Stored program method
I/O control method Cyclic scan with immediate refreshing
Program language Ladder diagram
Function blocks Maximum number of function block definitions: 128 / Maximum number of
instances: 256
Languages usable in function block definitions: Ladder diagrams, structured
text(ST)
Instruction length 1 to 7 steps per instruction
Instructions Approx. 500 (function codes: 3 digits)
Instruction execution time Basic instructions: 0.10 µs min.
Special instructions: 0.15 µs min.
Common processing time 0.7 ms
Number of connectable 7 Units (CPM1A Series)
Expansion (There are restrictions on the Units that can be used in combination, however,
Units and Expansion I/O based on the total number of I/O words and the total current consumption.)
Units

Max. number of I/O points 320 (40 built in + 40 per Expansion Unit/ 300 (20 built in + 40 per
Expansion I/O Unit ×7 Units) Expansion Unit/
Expansion I/O Unit×7
Units)
Number of connectable 2 Units (CPU Bus Units or Special I/O Units only. Basic I/O Units cannot be
CJ-series Units used. A CP1W-EXT01CJ Unit Adapter is required.)
Built-in Normal I/O 40 terminals (24 inputs and 16 outputs) 20 (12 inputs and 8 outputs)
input Note Aside from the above,
terminals 2 1-MHz high-speed
(Functions counter inputs and 2 1-MHz
can be pulse outputs can be added
assigned.) as special pulse I/O
terminals.

A-5
APPENDIX-A CP1L/CP1H Specifications

Type X CPU Units XA CPU Units Y CPU Units


Built-in Direct 8 inputs (Shared by the external interrupt 6 inputs (Shared by the
input mode inputs (counter mode) and the quick-response external interrupt inputs
terminals inputs) (counter mode) and the
(Functions quick-response inputs)
Interrupt
can be Rising or falling edge Rising or falling edge
inputs
assigned.) Response time: 0.3 ms Response time: 0.3 ms
Counter 8 inputs, response frequency: 5 kHz total, 16 6 inputs, response
mode bits frequency: 5 kHz
total, 16 bits
Incrementing counter or decrementing Incrementing counter or
counter decrementing counter
Quick- 8 points (Min. input pulse width: 50 µs max.) 6 points (Min. input pulse
response width: 50 µs max.)
inputs
High-speed 4 inputs (24 VDC) 2 inputs (24 VDC)
counters • Single phase (pulse plus direction, up/ down, • Single phase (pulse plus
increment), 100 kHz direction, up/ down,
increment), 100 kHz
• Differential phases (4×), 50 kHz • Differential phases (4×),
50 kHz
Value range: 32 bits, Linear mode or ring mode Value range: 32 bits, Linear
Interrupts: Target value comparison or mode or ring mode
range comparison Interrupts: Target value
comparison or range
comparison
Special High-speed None 2 inputs (Line-driver inputs)
high-speed counters • Single phase (pulse plus
counter direction, up/ down,
terminals increment), 1 MHz •
Differential phases (4×),
500 kHz
Value range: 32 bits, linear
mode or ring mode
Interrupts: Target value
comparison or range
comparison
Note: High-speed counter
terminals are line-driver
inputs, so they cannot be
used as normal inputs.
Unit version 1.0 and earlier: 2 outputs, 1 Hz to 2 outputs, 1 Hz to 100 kHz
100 kHz 2 outputs, 1 Hz to 30 kHz Trapezoidal or S-curve
Unit version 1.1 and later: 4 outputs, 1 Hz to acceleration and
Pulse 100 kHz (CCW/CW or pulse plus direction) deceleration (Duty ratio:
outputs Pulse outputs Trapezoidal or S-curve acceleration and 50% fixed)
(Transistor deceleration (Duty ratio: 50% fixed)
output
models
only)

2 outputs, 0.1 to 6,553.5 Hz


PWM outputs
Duty ratio: 0.0% to 100.0% variable (Unit: 0.1%) (Accuracy: ±5% at 1 kHz)

A-6
APPENDIX-A CP1L/CP1H Specifications

Type X CPU Units XA CPU Units Y CPU Units


None 2 outputs, 1 Hz to 1 M Hz
(CCW/CW or pulse plus
direction, line-driver outputs)
Trapezoidal or S-curve
Special acceleration and deceleration
pulse output Pulse outputs (Duty ratio: 50% fixed)
terminals Note: Special pulse output
terminals are
line-driver outputs, so they
cannot be used as normal outputs.
None 4 analog inputs None
and
Built-in analog I/O terminals
2 analog outputs
(See note 1.)
Analog
1 (Setting range: 0 to 255)
adjuster
Analog
settings External 1 input (Resolution: 1/256, Input range: 0 to 10 V)
analog setting
input
Peripheral Supported. (1-port USB connector, type B): Special for a Peripheral Device
USB port such as the CX-Programmer. (Set the network classification to USB in the
Peripheral Device's PLC model setting.)
• Serial communications standard: USB 1.1
RS-232C port, Ports not provided as standard equipment. (2 ports max.)
RS-422A/485 The following Option Boards can be mounted:
Serial port port • CP1W-CIF01: One RS-232C port
• CP1W-CIF11: One RS-422A/485 port
Applicable communications modes (same for all of the above ports): Host
Link, NT Link (1: N mode), No-protocol, Serial PLC Link Slave, Serial PLC
Link Master, Serial Gateway (conversion to CompoWay/F, conversion to
Modbus-RTU), peripheral bus (See note 2.)
7-segment display 2-digit 7-segment LED display (red)
• At startup: The Unit version is displayed.
• When a CPU Unit error occurs: The error code and error details are
displayed in order (fatal error, non-fatal error).
• When a special instruction is executed: The DISPLAY 7-SEGMENT LED
WORD DATA (SCH) instruction displays the upper or lower byte of
specified word data, and the 7-SEGMENT LED CONTROL (SCTRL)
instruction controls the ON/OFF status of each segment.
• While data is being transferred between a Memory Cassette and the CPU,
the remaining amount to be transferred is displayed as a percentage.
• When the analog adjuster is adjusted, the value is displayed from 00 to FF

หมายเหตุ ดูขอมูลเพิ่มเติมไดในแคตตาลอก

A-7
APPENDIX-B CP1L I/O Specification and connection

คุณสมบัติของอินพุต
Specification
High-speed Counter Interrupt Inputs and
Normal inputs
Item Inputs Quick-response Inputs

CIO 0.10 to CIO 0.11 and


CIO 0.00 to CIO 0.03 CIO 0.04 to CIO 0.09
CIO 1.00 to 1.11
Input voltage 24 VDC +10%/−15%
Applicable inputs 2-wire and 3-wire sensors
Input impedance 3.0 kΩ 3.0 kΩ 4.7 kΩ
Input current 7.5 mA typical 7.5 mA typical 5 mA typical
ON voltage 17.0 VDC min. 17.0 VDC min. 14.4 VDC min.
OFF voltage/ 1 mA max. at 5.0 VDC max. 1 mA max. at 5.0 VDC 1 mA max. at 5.0 VDC
current max. max.
ON delay 2.5 µs max. 50 µs max. 1 ms max.
OFF delay 2.5 ms max. 50 ms max. 1 ms max.

Circuit
configuration

B-1
APPENDIX-B CP1L I/O Specification and connection

คุณสมบัติของเอาตพุต
• Relay Outputs
Item Specification
Max. switching capacity 2 A, 250 VAC (cosφ= 1) 2 A, 24 VDC (4 A/common)
Min. switching capacity 10 mA, 5 VDC
Resistive load 100,000 operations (24 VDC)
Service Electrical
Inductive load 48,000 operations (250 VAC, coφs = 0.4)
life of
relay Mechanical 20,000,000 operations
Max. switching time 1800 times/hour
ON delay 15 ms max.
OFF delay 15 ms max.

Circuit configuration

• Transistor Outputs (Sinking or Sourcing) Normal Outputs


Specification
Item
CIO 100.00 to CIO 100.03 CIO 100.04 to CIO 100.07
Max. switching capacity 4.5 to 30 VDC.\, 300 mA/output, 0.9 A/common, M40DF-D 3.6 A/Unit
M30DF-D 2.7 A/Unit
L20DF-D 1.8 A/Unit
L14DF-D 1.4 A/Unit
Min. switching capacity 4.5 to 30 VDC, 1 mA
Leakage current 0.1 mA max.
Residual voltage 0.6 V max. 1.5 V max.
ON delay 0.1 ms max.
OFF delay 0.1 ms max. 1 ms max.
Fuse 1 fuse/output
Circuit configuration ƒ Normal outputs CIO 100.00 to CIO ƒ Normal outputs CIO 100.04 to CIO
100.03 (Sinking Outputs) 100.07 (Sinking Outputs)

B-2
APPENDIX-B CP1L I/O Specification and connection

I/O Terminal Blocks ของ CPU รุน 14 I/O Points

• Input Terminal Block (Top Block)

• Output Terminal Block (Bottom Block)

I/O Terminal Blocks ของ CPU รุน 20 I/O Points

• Input Terminal Block (Top Block)

• Output Terminal Block (Bottom Block)

B-3
APPENDIX-B CP1L I/O Specification and connection

I/O Terminal Blocks ของ CPU รุน 30 I/O Points


• Input Terminal Block (Top Block)

• Output Terminal Block (Bottom Block)

I/O Terminal Blocks ของ CPU รุน 40 I/O Points


• Input Terminal Block (Top Block)

• Output Terminal Block (Bottom Block)

B-4
APPENDIX-C Programming Instructions

คําสั่งสําหรับเขียนโปรแกรม

C-1
APPENDIX-C Programming Instructions

C-2
APPENDIX-D Memory Areas

CP1L
• I/O Memory Area
Type M CPU Units L CPU Units
Model CP1L-M40DR-A CP1L-M30DR-A CP1L-L20DR-A CP1L-L14DR-A
CP1L-M40DR-D CP1L-M30DR-D CP1L-L20DR-D CP1L-L14DR-D
CP1L-M40DT-D CP1L-M30DT-D CP1L-L20DT-D CP1L-L14DT-D
CP1L-M40DT1-D CP1L-M30DT1-D CP1L-L20DT1-D CP1L-L14DT1-D
I/O Input bits 24 bits 18 bits 12 bits 8 bits
Areas CIO 0.00 to CIO 0.11 CIO 0.00 to CIO 0.11 CIO 0.00 to CIO 0.11 CIO 0.00 to CIO
CIO 1.00 to CIO 1.11 CIO 1.00 to CIO 1.05 0.07
Output bits 16 bits 12 bits 8 bits 6 bits
CIO 100.00 to CIO 100.00 to CIO 100.00 to CIO 100.00 to
CIO 100.07 CIO 100.07 CIO 100.07 CIO 100.05
CIO 101.00 to CIO 101.00 to
CIO 100.11 CIO 100.03
1:1 Link 1,024 bits (64 words): CIO 3000.00 to CIO 3063.15 (words CIO 3000 to CIO 3063)
Bit Area
Serial PLC 1,440 bits (90 words): CIO 3100.00 to CIO 3189.15 (words CIO 3100 to CIO 3189)
Link Area
Work bits 4,800 bits (300 words): CIO 1200.00 to CIO 1499.15 (words CIO 1200 to CIO 1499)
6,400 bits (400 words): CIO 1500.00 to CIO 1899.15 (words CIO 1500 to CIO 1899)
15,360 bits (960 words): CIO 2000.00 to CIO 2959.15 (words CIO 2000 to CIO 2959)
9,600 bits (600 words): CIO 3200.00 to CIO 3799.15 (words CIO 3200 to CIO 3799)
37,504 bits (2,344 words): CIO 3800.00 to CIO 6143.15 (words CIO 3800 to CIO 6143)
Work bits 8,192 bits (1,536 words): W000.00 to W511.15 (words W0 to W511)
TR Area 16 bits: TR0 to TR15
HR Area 24,576 bits (512 words): H0.00 to H1535.15 (words H0 to H1535)
AR Area Read-only (Write-prohibited) 7,168 bits (448 words): A0.00 to A447.15 (words A0 to A447)
Read/Write 8,192 bits (512 words): A448.00 to A959.15 (words A448 to A959)
Timers 4,096 bits: T0 to T4095
Counters 4,096 bits: C0 to C4095
DM Area 32 Kwords: D0 to D32767 10 Kwords: D0 to D9999 and D32000 to
D32767
Note: Initial data can be transferred to the Note: Initial data can be transferred to the
CPU Unit's built-in flash memory using the CPU Unit's built-in flash memory using the
data memory initial data transfer function. A data memory initial data transfer function. A
set-ting in the PLC Setup can be used so that set-ting in the PLC Setup can be used so that
the data in flash memory is transferred to the data in flash memory is transferred to
RAM at startup. RAM at startup.
DM fixed allocation words for Modbus-RTU DM fixed allocation words for Modbus-RTU
Easy Master D32200 to D32249 for Serial Easy Master D32300 to D32349 for Serial
Port 1, D32300 to D32349 for Serial Port 2 Port 1
Data Register Area 16 registers (16 bits): DR0 to DR15
Index Register 16 registers (16 bits): IR0 to IR15
Area
Task Flag Area 32 flags (32 bits): TK0 to TK31
Trace Memory 4,000 words (500 samples for the trace data maximum of 31 bits and 6 words.)

D-1
APPENDIX-E Servo Driver Setup

การตั้งคา Servo driver

สําหรับ Servo drive รุน Smart Step สามารถทําการปรับตั้งคาไดงาย ไมจําเปนตองปรับโดยใชโปรแกรม


อื่นๆ เพียงแคเลือกสวิชตบริเวณหนาตัวเครือ่ งก็สามารถเลือกโหมดการทํางานได

Setting Area

E-1
APPENDIX-E Servo Driver Setup

- Unit No. rotary switch: UNIT No. (RS-422/485)


สวิตชนี้ใชเพื่อตั้งคา unit number สําหรับการสื่อสารแบบ RS232/485
ของพอรต CN1 เมื่อมีการควบคุม Servo แบบหลายแกนในระบบ
เดียวกัน โดยสามารถสวิตชไดจากตําแหนง 1-F โดยทีห่ ามตั้งคาใหซ้ํา
กับเซอรโวไดรวตัวอื่น (การตั้งไวที่ 0 คือคา default)

- Gain Adjustment Rotary Switch: GAIN


สวิตชนี้ใชเพื่อปรับความไวของผลตอบสนองของ Servo motor โดยยิ่ง
ใหคามาก Servo motor ก็จะตอบสนองไดเร็วขึ้น แตก็จะทําใหการ
เคลื่อนที่ราบลื่นลดลง ตรงขามกับการตั้งคาที่นอยกวา Servo motor จะ
สามารถเคลื่อนที่ไดราบลื่นกวา แตตอบสนองชาลง
ตารางแสดง Setting Value ของ GAIN หมายเลขตางๆ
Setting Position Speed Speed Loop Torque
Loop Gain Loop Gain Integral command Filter
Constant Timeconstant
0 เรียกใชคาจาก memory ในตัว driver และเปลี่ยนคาไดจากโปรแกรม CX-Drive
1 15 15 4,000 250
2 20 20 3,500 200
3 30 30 3,000 150
4 40 40 2,000 100
5 60 60 1,500 70
6 85 85 1,000 50
7 120 120 800 30
8 160 160 600 20
9 200 200 500 15
A 250 250 400 10
B 250 250 400 10
C 250 250 400 10
D 250 250 400 10
E 250 250 400 10
F 250 250 400 10

- Function Setting Switch


Switch 6: Switches between switch and parameter settings.
Switches 5 and 4: Set the resolution.
Switch 3: Sets the command pulse input.
Switch 2: Sets the dynamic brake.
Switch 1: Switch to online autotuning

E-2
APPENDIX-E Servo Driver Setup

ขอควรระวัง ควรปดเครื่องกอนทําการปรับตั้งคาตางๆ
การ เปด – ปด สวิตช
ใหใชอุปกรณที่สามารถดันสวิตชได เชน ใชไขควงแบนขนาดเล็ก การดันสวิตชไปทางซายคือการเปด
สวนสวิตชที่อยูในตําแหนงคือการปด หากสวิตชทั้ง 6 ปดอยู เปนการตัง้ คา default ใหกับ Servo drive

การตั้งคา Function Setting Switch


 Switch/Parameter Switch (Switch 6)
สวิตชนี้ทําหนาที่ในการเลือกโหมดการตั้งคาของ Servo drive ระหวาง การตั้งคาจาก DIP switch หรือ
การตั้งคาจากพารามิเตอรผานโปรแกรมภายนอก
Switch 6 DIP Switch/Parameter Settings Selection
OFF ใชการตั้งคาจาก DIP Switch บน Servo Drive
ON ใชการตั้งคาจากพารามิเตอรผานโปรแกรมภายนอก

 Resolution Setting (Switches 4 and 5)


สวิตช 4 และ 5 นี้ใชในการปรับตังคาความละเอียดของการหมุนของ Servo motor โดยกําหนดเปน
จํานวน pulse ตอการหมุนของ Servo motor 1 รอบ
Switch
Resolution Setting
5 4
OFF OFF 1,000 pulse/revolution (0.36º/step)
OFF ON 10,000 pulse/revolution (0.036º/step)
ON OFF 500 pulse/revolution (0.72º/step)
ON ON 5,000 pulse/revolution (0.072º/step)

แตนอกจากคาที่กําหนดมาใหแลว ผูใชยังสามารถกําหนดคา Gear ratio หรือคาที่ใชเปนตัวคูณสําหรับเพิ่ม/


ลด อัตราการรับ pulse ของ servo motor ตอการหมุน 1รอบ นี้ไดตามความตองการ โดยการบรรจุคา ลงไป
ในพารามิเตอรของ servo driver ดังนี้

E-3
APPENDIX-E Servo Driver Setup

Parameter No. Value Condition Range


Pn202 G1 เลือกอัตตราสวนเพื่อสรางเปนตัวคูณของ 1 - 65535
Pn203 G2 resolution setting โดยที่ 0.01 ≤ G1/G2 ≤ 100 1- 65535
ตัวอยาง ตองการให servo motor หมุนที่ความเร็ว 1,250 ppr โดยที่ resolution เปน 5,000 ppr
หาคา gear ratio: 1,250 / 5,000 = 0.25
เพราะฉะนั้น G1/G2 ตองมีคา = 0.25

 Command Pulse Input Setting (Switch 3)


สวิตช 3 ใชในการเลือกโหมดของ pulse input โดยเลือกระหวางรับสัญญาณ pulse แบบ CW/CCW
หรือแบบ PULSE+DIRECTION SIGNAL(CW/CCW)
Switch 3 Command Pulse Input Setting
OFF Forward pulse (CCW)/reverse pulse (CW) input (Positive logic)
ON Feed pulse (PULS) forward/reverse signal (SIGN) input
การปรับคานี้ตองตรงกับการใชคําสั่ง Pulse Output ใน PLC

 Dynamic Brake Setting (Switch 2)


ใน Servo motor รุนที่มี Dynamic brake ตองมาทําการเปดการใชงานใน Servo drive กอน
Switch 2 Dynamic Brake Setting
OFF ปดการใชงาน Dynamic brake
ON เปดการใชงาน Dynamic brake
ในรุนที่ไมมี Dynamic brake ใหทําการปดสวิตชนี้ไว

 Online Autotuning Switch


สวิตช 1 ใชในการเลือกการทํางานของ Servo motor แบบปรับตั้งคาโดยอัตโนมัติขณะใชงาน หากปด
การใชงานเครือ่ งจะทําการเก็บคาที่ใชงานไวใน inertia ratio parameter (Pn103)
Switch 1 Online Autotuning Switch
OFF ปดการตั้งคาอัตโนมัติ และเก็บคาไวที่ (Pn103)
ON เปดการตั้งคาอัตโนมัติ

E-4
APPENDIX-E Servo Driver Setup

General Control Cables (R88A-CPUF F FS)


เปนสายที่ใชตอ เซอรโวไดรเวอรเขากับ PLC

รุน ความยาว (L) เสนผานศูนยกลางภายนอก น้ําหนัก


R88A-CPU001S 1m 9.9 dia. Approx. 0.3 kg
R88A-CPU002S 2m Approx. 0.6 kg

ƒ รายละเอียดสายเคเบิล

No. Wire/Mark color Symbol No. Wire/Mark color Symbol


1 Orange/Black (−) +CW 19 Pink/Red (−−) GND
2 Orange/Red (−) −CW 20 Orange/Black (−−−) RXD+
3 Gray/Black (−) +CCW 21 Orange/Red (−−−) RXD−
4 Gray/Red (−) −CCW 22 Gray/Black (−−−) TXD+
5 White/Black (−) +ECRST 23 Gray/Red (−−−) TXD−
6 White/Red (−) −ECRST 24 White/Black (−−−) RT
7 Yellow/Black (−) BKIR 25 White/Red (−−−)
8 Yellow/Red (−) INP 26 Yellow/Black (−−−)
9 Pink/Black (−) 27 Yellow/Red (−−−)
10 Pink/Red (−) OGND 28 Pink/Black (−−−)
11 Gray/Black (−−) 29 Pink/Red (−−−)
12 Gray/Red (−−) 30 Orange/Black (−−−−)
Orange/Black (−−) +24VIN 31 Orange/Red (−−−−)
13
Orange/Red (−−) +24VIN 32 Gray/Black (−−−−) Z
14 White/Black (−−) RUN 33 Gray/Red (−−−−) ZCOM
15 White/Red (−−) 34 White/Black (−−−−) ALM
16 Yellow/Black (−−) 35 White/Red (−−−−) ALMCOM
17 Yellow/Red (−−) 36
18 Pink/Black (−−) RESET Shell Shield FG

E-5
APPENDIX-E Servo Driver Setup

ƒ การตอสายเคเบิลเซอรโวมอเตอรกับ CP1L

E-6
APPENDIX-E Servo Driver Setup

รายละเอียดฟงกชันบลอก

E-7
APPENDIX-E Servo Driver Setup

E-8
APPENDIX-E Servo Driver Setup

E-9
APPENDIX-E Servo Driver Setup

E-10
APPENDIX-E Servo Driver Setup

E-11
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

   LCD (CP1W-DAM01)

 LCD   !" #"


$ %"%& " PLC ($) CP1 (CP1L, CP1H)  #"""/
 " " ( (0 1(2 PLC %& #"(" 3 (0 #"2&)  $
(41/"$"!" "2 PLC  0
•  #"2 Timer ,Counter  $#"2 DM
•  2&#"(?@ & 48 (? 16 &" (!" 2&#"D )&%& ")
• 1  D "!" "@ &&"4 LCD
•  2&  E " (" 3  201 PLC (&"44$   F Error)
• (0  Day timer, Weekly timer  $ Calendar timer @ &D @(& 2 D ""/(0
@ & 16 step ("%& " 1 PQ 
• ""/4 R1"(0 #" (Setting) 2 &"4  $D (Load) 20"%& "@ &D @(& (0
#"% ("$!"1"   LCD E"$@(& (0 #"%)
• ""/D/" 2&) % Memory Cassette @ &D (
• (0 #"#"# , (0 #" " ,(0 #" Back light ,%&#"D " $ )$11"!" "2 PLC
@ &

 !"#  LCD $ PLC ("#%$ Slot 1 *+!#)

F-1
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

*",-  LCD
1. "(&%& "/)(& F4" @P%&1 PLC 4$E11&"42  LCD 
)
a.  PLC
b.   F Z 2 PLC
c.  "2 PLC
d.  (Mon-Sun)

) 1  &"4"%& "/)(& (1#@ 2 )

2. "(&%& "  E " F4" @P%&1 PLC 4$E11&"42  LCD 


)

" $ #"  E "

) 2  &"4"%& "  E " (1#@    )

4") 2&#" " "( (  E " %&(4R# 1"( ( "%& "
LCD  !"#] ) 2& #FF(& "%& " LCD (& !""(0 Dip Switch E 4 1(
PLC %& ON  (#0 (0 DIP Switch (& b   4" @P)

F-2
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

3.    "  &"4


1. &"44$   4"!""(0 #"%D d(E 1&  & ((@ )
2. &"4 2&  E " 4$  D (D(F 1(%&#1#@!" " (OFF)
3.  LCD 4$ 1)&"4 D (D( F@"%& "%D d(E $"
10 "

F-3
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

./0123-4   LCD

1. PLC Mode
  $  D "!" "2 PLC

2. I/O Memory Setting Mode


  $  #"EF0% Memory 2 PLC

3. PLC Setup Mode


  $  "(0 #"% PLC setup

4. Analog Mode
 #"" R#1#"@ &1 PLC  $
#"" R#E(

5. Error History Mode


 " " $" $ 2 Error ""/
R1#" Error @ & 20 " "

6. Memory Cassette Mode


• D 2&) 4" Memory % PLC
• R12&) 4" PLC % Memory
•  1 12&) $" PLC 1 Memory
• &" 2&) % Memory Cassette

F-4
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

7. User Monitor Screen Mode


&" F 1 &"4 )&%& "&" 20
$1 & I/O word memory, Bit memory ,
Text string ""/&" @ & / 16 &"

8. Massage Screen Mode


&" F 12&#" )&%& "&" 20 ""/
&" &"2&#"@ & 16 &"

9. Timer Switch Mode


(0 "!" " Day timer, Weekly timer  $
Calendar timer ""/(0 @ & 16 step ( 1
PQ 

10. Data Backup Mode


• D 2&) (" 32 )&%& "4"EF0 DM
• R12&) (" 32 )&%& " EF0 DM
(2&#" 16 ., &"4 )&%& "&" 20
16 .  $#" Timer 16x 3.)
11. Language Mode
%&!"1"  l"?"

12. Other Mode


• ) ""!" "% 1 12 PLC
• (0 #" "2 PLC
•  2&) (" 2 PLC
• (0 #"1#@ 2 LCD
• 1#"# 2 &"4
•  1@%& "#"D "

F-5
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

3 2!4# ./0  LCD

1.  Mode
%PQ 0""/ Mode "!" "2 PLC  $ ""/   Mode "!" "2
PLC @ &
3 2!+O, 1   D "!" "2 PLC 4"D RUN D PRG

4" @P%& PLC

&"4 %& "



1.  p 2&"D d(E

&"4) 

2.  F) Mode  & p  D "!" "2 PLC


3. %&p F EF F   D "!" "
PROGRAM ( )" ()


4.  p EF  "!" "     D "!" "
D PROGRAM


5.  p 2 #0  1&"4)
 

 ""/  D "!" "2 PLC @ & 3 D #FD D [PRG],
D  [RUN], D ( [MON]

F-6
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

2. 1 - I/O Memory Setting #Q! RS#+O,

(& " )#"2&) 2 Word #F D10001-D10002,D10003-D10004  2t"1 11


3 2!+O, 2
@# #F " (Unsigned Decimal Number)

4" @P%& PLC

&"4 %& "



1.  p 2&"D d(E

&"4) 

2. %&p F EF F)
IO Memory

3.  p EF2&") 

&"4) IO Memory

4. %&p F EFEF0 DM


5.  p EF2&"&"4(0 #" ** a = EF02&)
#1( b =  2&) 
c = 2" 2&) 
/ 2-4  EF02& ) D0000, D0001,
D0002 %11 2t" 16


6.  p   (!" #d %&


/ (0 #"EF0 Address  10001
( )" ()


F-7
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

7.  p   (!" #d ** # =   2t" 16


%& /    " + =   2t" 10
11 # #F "

& =   2t" 10
11@# #F "

8.  p   (!" #d ** W = 2&) 1 word
%& /   2" 2&) LW = 2&) 2 word
( )" ( 2)


1. EF0""/%& "@ & (4") 6)
I/O Memory type Default address Range
TIM 0000 0000 / 4095
CNT 0000 00000 / 4095
DM 00000 00000 / 32767
AR 000 000 / 959
IO 0000 0000 / 6143
WR 000 000 / 511
HR 000 000 / 511
DR 00 00 / 15
IR 00 00 / 15
TK 00 00 / 31

2. "(0 #"2" 2 2&) 11 2 Word (LW) !"%&""/ )#"EF0@ &  D10001
/ D10002 %/ 2  $ D10003 / D10004 %/ 4 (4") 8)
**#"4$ F%EF0  )2&)  )

F-8
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

3. * O,2 V %44 -WRS#+O, I/O Memory

(& "  2&) 2 word 1EF0 W000 %&#" 12345678  $( " #F
3 2!+O, 3   2&) 1 word EF0 W 509 #" 98F5  $@#1#1( 509.05 /"$
 OFF

4" @P%& PLC

&"4 %& "



1.  p 2&"D d(E

&"4) 

2. %&p " IO Memory  &
2&"&") IO Memory

3.  p  FEF0 WR

&"4) IO Memory

4.  p &"EF0 WR

&"4"(0 #"EF0 WR

5.  p  F#d@(!"
2" 2&)  %&p /
 F LW

6.  p   2&) %EF0 WR

F-9
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

7.  p  F#d@(!" EF0"  


2" 2&)  %&p /
 F LW

8.  p EF1#"(0 @&  $ EF0  "  
 p  1&"4"(0 #"EF0
(2&) % WR 000 4$#"("  )

9.  p  $%& / &"4"(0 #"EF0 WR
   Address  W509


10.  p EF  #" )%EF0
W509 ( )" ( 2 )

&"4"(0 #"#1#1(

11. %&p   2&)  98F5


12.  p  F#d@(!"
Bit address (""/!" @ &#F
0-15 )


13. %&p    Bit address  Bit


 05

F-10
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

14.  p  F#d@(!"


Bit address (""/!" @ &#F
0-15 )

15.  p  F#d@(!"
bit state /"$ 4$@("
#" )% PLC

16. %&p F  F/"$"
!" "1( Off "(0 #" ?$
"!" "1( S, R 4$@""/
%& "PQ 0@ &

17.  p 1#"(0 @& %&p
 1&""(0 #"EF0 WR
**  ( #"EF0 W 509.00 #"4$
   98D5

18.  p 3 #0 EF 1&"4
 

F-11
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)


1. (""  " $ &"4"(0 #"EF0 (4") 6)

No. QYZ[ZV
1 Head channel address (Read only)
2 Display format (Read only)
3 Data length (Read only)
4 Data of I/O memory before change (Read only)
5 Data of I/O memory after change

2. (""  " $ &"4"(0 #"#1#1( Bit address (4") 10)

No. Q \"$2


a Leading word address (Read only)
b Display format (Read only)
c Data length (Read only)
d Data of I/O memory before change (Read only)
e Data of I/O memory after change
f Bit address
g Bit flag
h Bit state

*** "&"4%& "  2&)  2t"1 11 &  $ + F 2"
2 2&)  2 Word (LW) @""/(0 #""%& "111(@ &

3.  ?$"!" "2 1( (4") 14)

Bit flag Q3- -2


N Normal
S Force to SET
R Force to RESET

F-12
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

4. 1 - PLC Setup

%PQ 0""/ ) $  "(0 #"% PLC Setup @ &


(& "  #"2 PLC 4"D D (PRG) D  (RUN)  0F
3 2!+O, 4 "4" @P%& PLC #0 4$D (&D  (RUN)   1"(0 #"%
) Setting %D

4" @P%& PLC

&"4 %& "



1.  p 2&"D d(E

&"4) 

2. %&p  F PLC Setup


3.  p 2&") PLC Setup

&"4) PLC Setup



4.  p EF2&"@(0 #"
( )" ( 1 )

&"4"(0 #"

5. %&p  FD RUN
( )" ( 2 )

F-13
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

6.  p 1"(0 #"0 


7.  p 3 #0 EF 1&"4 


1. (""  " $ &"4"(0 #" (4") 4)
No. QYZ[ZV
a Address of CPU Unit Operation Mode (Read only)
b Present PLC mode (Read only)
c CPU Unit Operating Mode after change (Read only
when PLC mode is RUN or MON)
d CPU Unit Operating Mode before change (Read only)
**a EF0D "!" "2 CPU Unit 4$ ) 081 

2. " FD "!" "2 CPU Unit (& (41" PLC  )%D
D (PRO) "0 " PLC @ )%D 40 $@""/ FD "!" "
2 CPU Unit @ &

F-14
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

5. 1 -  _ 12W (User Monitor Screen)

%PQ 0""/&" F 1&"4%& "@ & !" %& 2&) 4!"%"!" "
%( $&"4""/ @ & 4 1 d $1 & #"2 EF0(" 3 F(?R!"
@ & "/ 16 &"
(& "&" &"4 )#"EF0 D 09000 2" 1 WORD  2t"111@#
3 2!+O, 5
#F " %& %1  1 %&"2 Screen "  2 2

4" @P%& PLC

&"4 %& "



1.  p 2&"D d(E

&"4) 

2. %&p  F User Monitor


3.  p 2&") User Monitor

&"4) User Monitor



4.  p EF2&"@(0 #"D
)&%& " ( )" ( 1)

&"4"(0 #"D %)& & "



5. %&p  F&"4"  2 2

F-15
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

6.  p  F#d@(!"
** Y = %& "&"4
Monitor flag
N = @%& "&"4


7. %&p  F Y %& "&"4
("""/ )&"40@ &  4"
(0 #" 1&  & }" ) )%

   "  &"4 LCD)
8.  p  F#d@(!"
Line1  F 1 (%& "1 1)


9.  p  F#d@
(!" Display type ( )" ( 2)


10. %&p  FEF0 DM


11.  p  F#d@(!"
I/O Memory Address


12. %&p  F%& "EF0 D09000


13. %&p F  F 
 2t" 10 11@# #F "

F-16
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

14.  p  F#d@(!"


2" 2&   FW


15.  p  F#d@(!"
Name


16. %&p F (0 F Counter
(""/(0 F@ & 7 (?)
 &

17.  p 1"(0 #"0 


18.  p  1&"4"(0 #"


19.  p 3 #0 EF 1&"4 


20. &"4  %&p EF )&"4
&" 20  )( "

F-17
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)


1. (""  " $ "%& "&"4"(0 #"%& "D )&%& " () 4)
No. 2V* O2 " 
Word Bit Text string
a Monitor flag   
b User Monitor Screen No. (01 / 06)   
c Line no. (1 / 4) of the User Monitor Screen   
d Display type   
e I/O memory address   
f Display format  @ @
g Date length  @ @
h I/O memory name   

2. (""  " $ "%& "EF0 () 9)


"  Default address Range
IO 0000 0000 / 6143
WR 000 000 / 511
HR 000 000 / 511
AR 000 000 / 959
TIM 0000 0000 / 4095
CNT 0000 0000 / 4095
Word
DM 00000 00000 / 32767
DR 00 00 / 15
IR 00 00 / 15
TK 00 00 / 31
TMF (Timer flag) 0000 0000 / 4095
CTF (Timer flag) 0000 0000 / 4095
IOB 0000.00 0000.00 / 6143.15
WRB 000.00 000.00 / 511.15
Bit
HRB 000.00 000.00 / 511.15
ARB 000.00 000.00 / 959.15
Text string STR - -

F-18
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

(& "%&&"4 (? ~elevator€ 1&"4"  2 2 1  4


3 2!+O, 6
  4""&" &"4(& 1&  &

4" @P%& PLC

&"4 %& "



1.  p 2&"D d(E

&"4) 

2. %&p  F User Monitor


3.  p 2&") User Monitor

&"4) User Monitor



4.  p 2&"@(0 #"%& "

&"4)(0 #" User Monitor Setup



5. %&p  F&"4"  2 2


6.  p   (!" #d@
 Line 1 %&   1  4


7.  p   (!" #d@
 Display type %&p  F STR

F-19
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

8.  p   (!" #d@


 String Name


9. %&p F (0 F elevator
(""/(0 F@ & 12 (?)


10.  p 1"(0 #"0 


11.  p &"4 User Monitor
Setup

12.  p 3 #0 EF 1&"4 


13. &"4  %&p EF )&"4
&" 20  )( "

F-20
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

6. $ _ +O, 4b# 12W (Deleting User Monitor Screen)

3 2!+O, 7 (& " 1&"4"  2 2

4" @P%& PLC

&"4 %& "



1.  p 2&"D d(E

&"4) 

2. %&p  F User Monitor


3.  p 2&") User Monitor

&"4) User Monitor



4. %&p  F Delete


5.  p EF2&"@ 1&"4


6. %&p  F&"4 "  2 2


7.  p 1&"4

F-21
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

8.  p  1&"4 User Monitor


 $ p 2 #0 EF 1&"4
 

F-22
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

7.   _ 4 Q3- (Message Screen)

%PQ 0""/&" F 1&"4 2&#" D %"&" &"4 2&#"


""/&" @ &"/ 16 &" &"4 2&#"4$!" "D (D(F1(%&#1# )%
/"$ ON
(& "&"4 2&#""  2 2 ((0 #"% D09040-D09075) %&EF0 W
3 2!+O, 8
100.01 #1#"!" "&"4

4" @P%& PLC

&"4 %& "



1.  p 2&"D d(E

&"4) 

2. %&p  F Message


3.  p 2&") Message

&"4) Message

4.  p (0 #"#1(
( )" ( 1)

&"4 Message Setup



5. %&p  F &"4"  2 2
( )" ( 2)

F-23
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

6.  p  F#d@(!"
 EF0 ( )" ( 3)


7.  p  F#d@(!"
Message flag


8. %&p  F Y **Y = %& "&"42&#"
N = @%& "&"42&#"

9.  p  F#d@
(!" Word address


10. %&p    Word  100
(""/%& "@ &(0 ( W000-W511)


11.  p 1"(0 #"0 


12.  p  1&"4 Message
Setup

13.  p 2 #0 EF 1&"4  &"4 F1(%&#1#
( )} "&" 2&#"%2& !" " (ON)
/ @)

F-24
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)


1. " $ &"4(0 #"#1(2&#" (Message Screen) () 4)
No. Q \"$2
a Message Screen No. (01-16)
b Leading word (Only DM) address
c Message flag
d Word (Only WR) address of control bit

2. (""  #"E}$" &"411(%&#1# (EF0 W 4$  ("


 F%& "   F%& " W 100 1((& %& W100.00-W100.15) () 5)
Screen No. Control bit
01 W000.00
02 W000.01
03 W000.02
04 W000.03
... ...
16 W000.15

3. (""  EF0!"1!" 2&#"1&"4 () 6)


Screen No. Default address Range
01 09000 / 09035
02 09040 / 09075
03 09080 / 09115
00000 / 32732
04 09120 / 09155
... ...
16 09600 / 09635

F-25
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

• 3"\O 4 Q3-3 [


"&" 2&#" 1&"4 LCD 0(& 2&"@!" %EF0 DM 2 PLC d ( $
&"4 F"%& " R4$EF0%"!" 2&#"(" @ "R1(? 1 (%&EF0 1
byte (DM 1 ( =2 byte)  0 1 &"4 @ & 48 (?4$%&EF0%"4 R1 48 Byte F 24
Word ("("" (""/%& "EF0@ &1" )

( " &"1  F%& "&"4"  2 2 (& " 2&#" ~Elevator Stop at 1F€
 %1  2  $ 3 2 &"44 (& 2&"@!" #"%EF0("("" &" "

F-26
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

) "!" (?2&#"% CX-Programmer (Monitor  2t" 16)

) "!" (?2&#"% CX-Programmer (Monitor  ASCII)

F-27
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

("" Code !"1"‚#"(?

F-28
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

D %&&"4 2&#"!" "11 " 3 FE( 0.0 !" " &"4
2&#"R4$!" " E"$ 1(%&#1#!" " (ON)

F-29
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

8. $ _ 4 Q3- (Deleting Message Screen)

%PQ 0%&!"1" 1&"4 2&#"&" 20 " 1&"4!"@ & 2 11 #F
 F 1 $&"4 F 10  %#0   R@ &

3 2!+O, 9 (& " 1&"4 2&#"&" 20

4" @P%& PLC

&"4 %& "



1.  p 2&"D d(E

&"4) 

2. %&p  F Message


3.  p 2&") Message Menu

&"4) Message

4. %&p  F Delete


5. %&p F  F&"4
(& " 1F p#&" @&4E1#!"
" all F(& " 1&"40 

6.  p F " 1&"4

F-30
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

7.  p  1 Message Menu


8.  p 2 #0  1&"4 

F-31
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

9. %+-0*- 0 3"0 (Timer Switch)

%PQ 0"!" " ) 3 )11#F Day timer, Weekly timer, Calendar timer ( $)11
&" @ & 16 #" "  $!"1( F%& "@#1#F "(@
(& "%& "PQ  Day timer %&!" "(0 ( " 8.30 ./ 17.15.
3 2!+O, 10
4-ƒ 1( F%& " #F W509.15

./0 Q \"$2


Day timer Sometime in a day, set the related control bit to ON.
Weekly timer Sometime in a week, set the related control bit to ON.
Calendar timer Sometime in a year, set the related control bit to ON.

4" @P%& PLC

&"4 %& "



1.  p 2&"D d(E

&"4) 

2. %&p  F Timer


3.  p 2&") Timer Switch

&"4) Timer Switch



4.  p  F Day Timer EF2&"@
(0 #"%& " ( )" ( 1)

&"4 Day Timer




F-32
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

5. %&p  F Day Timer "  2


16 ( )" ( 1)


6.  p  F#d@ N
** Y = %& " Timer
(Timer flag) %&p  F Y N = @%& " Timer


7.  p  F#d@
(!" On Time  $%&p
   " 8:30


8.  p  F#d@
(!" On Week  $%&p
EF F ( F4)


9.  p  F#d@
(!" Off Time  $%&p
   " 17:15

10.  p  F#d@
(!" Off Week  $%&p
F  Fƒ


11.  p  F #d@


(!" Control bit


12. %&p  FEF0 WR
( )" ( 2 )

F-33
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

13.  p  F#d@


(!" Word address


14. %&p    Word address
 509


15.  p 1"(0 #"0 


16.  p  1&"4 Day Timer

&"4Day Timer

17.  p 3 #0  1&"4 


1. " $ &"4 Day Timer () 4, 5)
No. Q \"$2
a Time flag
b Time No. (01-16)
c On timer of PLC
d Off time of PLC
e Word type
f Word address

(""  #"E}$" "  2 Timer 11(%& "


Timer No. Control bit
01 W001.00
02 W001.01
03 W001.02
04 W001.03
... ...
16 W001.15

F-34
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

2. ("" EF0%& "%PQ  Timer Switch () 12)


Timer Word Default address Range
All IO 0100 0100 / 6143
Day timer WR 001 001 / 511
Weekly time WR 002 002 / 511
Calendar timer WR 003 003 / 511
All HR 000 000 / 511
All AR 448 448 / 959

(& "%& "PQ  Calendar Timer %&!" " (0 ( 1 /"  / 1 ( "#
3 2!+O, 11
1(%& "#F H 209.05

4" @P%& PLC

&"4 %& "



1.  p 2&"D d(E

&"4) 

2. %&p  F Timer


3.  p 2&") Timer Switch

&"4) Timer Switch



4. %&p  F Cal Timer

F-35
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

5.  p EF2&"@(0 #"


( )" ( 1)

&"4 Calendar timer screen



6. %&p  F Calendar Timer
"  2 6


7.  p  F#d@ N ** Y= %& " Timer
(Timer flag) %&p  F Y N =@%& " Timer


8.  p  F#d@
(!" On Date  $%&p
   06/01

9.  p  F#d@
(!" Off Date  $%&p
   10/01

10.  p  F#d@
(!" Control bit  $%&p
 F HR

11.  p  F#d@
(!" HR address


12. %&p    HR address
 209

F-36
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

13.  p 1"(0 #"0 


14.  p  1&"4 Calendar
Timer Screen
&"4 Calendar Timer

15.  p 3 #0  1&"4 


1. (""  " $ 2 &"4 Calendar Screen () 5)
No. Q \"$2
a Time flag
b Time No. (01-16)
c On timer of PLC
d Off time of PLC
e Word type
f Word address

Timing Curve
• Day Timer

F-37
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

• Weekly Timer

• Calendar Timer

*** 4") "(0 %&  !" " 1 ( "# ( Calendar Timer 4$  !" "(0 ( 24.00.
2  30  " 

F-38
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

10.   4 -W (Data Backup)

%PQ 0 )&%& """/#"(" (0 @& (  4&"4(" 3 @&%EF0 DM (D8000-D8999)


!"1 LCD 1  4"0  ""/ Load 20"%& "@ &%"    LCD
(% ((  ) " $ 2&) R1%EF0 DM  %("" &" "
User setting Quantity
User Monitor screen 16 screens
Message screen 16 screens
Timer Switch 16 x 3 timers
Language 1
Other Backlight 1
Contrast 1

3 2!+O, 12 (& "4 R1"(0 #"0  EF0 DM

4" @P%& PLC

&"4 %& "



1.  p 2&"D d(E

&"4) 

2. %&p  F Data Backup


3.  p 2&") Data Backup

&"4) Data Backup



4. %&p  F) Save

F-39
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

5.  p 2&"&"4 Save Option

&"4 Save Option



6. %&p  F OK


7.  p F "12&)

&"4 Save Confirm



8.  p "12&)
&"44$ 1$ 12 "1
2&)

9. F!""12&)  1&
&"44$ " Complete


10.  p 3 #0  1&"4 

F-40
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

(& "  &"4 LCD  $%&2&)  0  D %&}" Load 2&)


3 2!+O, 13
 )%EF0 DM 20"%& "

4" @P%& PLC

&"4 %& "



1.  p 2&"D d(E

&"4) 

2. %&p  F Data Backup


3.  p 2&") Data Backup

&"4) Data Backup



4. %&p 2&") Load Option

&"4 Load Option



5. %&p  F OK


6.  p F " Load 2&)

&"4 Load Confirm



7.  p " Load 2&)
&"44$ 1$ 12 " Load
2&)


F-41
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

8. F!"" Load 2&)  1&


&"44$ " Complete


9.  p 3 #0  1&"4 

F-42
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

11. *O2Q!_1 (LCD Factory Setting)

%PQ 0 ""/ %&#"(&(0 " 4"D " )& (@ &
3 2!+O, 14 (& " %&#"4"D "

4" @P%& PLC

&"4 %& "



1.  p 2&"D d(E

&"4) 

2. %&p  F Other


3.  p 2&") Other

&"4) Other

4. %&p  F Factory Set


5. %&p 2&") Factory Set

&"4 Factory Set



6. %&p  F OK

F-43
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

7.  p "%&#"D "


8. F!""  #"D " 1&
&"44$  )


9.  p F  1&"4 

F-44
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

2V* O2  LCD

   

• Yh-./0
No. Yh- ./0
a
ESC
 "(0 #" $ 1&") 
b
Forward
p  (!" #d
c
Up
p F20
d
Down
p F
e
OK
p( "(0 #"

• %. 
iV%.  Q3- -2
2 ( /"$(
 (  2&  E "

F-45
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

• QYZ[ZV
Y! CP1W-DAM01
[ZV Built-in
R 0 S,  1 E(
"! S, 1 1Q  Toolbus
R"V DC 5V: 40 mA
24: 0 mA
4 43 x 36 x23 . (&" x " x ) )
#  )  20 
44  _  2.6 x 1.45 d.
_33 [ 4 1 x 12 (?
43 [ 5 x 7 dot
O LED 2 /
 $j[  †?/]p (‡E"$"#""$)
YZ jW-" 0 / 55oC
Q3-S#4ZV 10% / 90%
Q3-Q+! !  @" 4"‰
j3VQ3-S#

(l"$@0!"2R )

F-46
APPENDIX-F    LCD (CP1W-DAM01)

• i   LCD

   R#1 &"0  2 1  LCD



 2$  R# " R#1   $ 
"




F-47

You might also like