You are on page 1of 64

w

M ww
od .p
er lcs
n a
el no
ec o
tri k.c
c o
an m
d

พิ ศ นุ รั ต น์ เ ข จ ร
au
to
m และการใช้ GX Works3 at
io
n
FX5U
FX5U และการใช้ GX Works3
จัดพิมพ์และจัดจาหน่ายโดย
พิศนุรัตน์ เขจร
177/11 ต.เชียงแรง อ.ภูซาง จ. พะเยา รหัสไปรษณีย์ 56110
โทรศัพท์ : 09 2861 9307 Email : fostmex@gmail.com

n
เกี่ยวกับผู้เขียน

io
at
พิศนุรัตน์ เขจร

m
ประวัติการศึกษา

to
วิศวกรรมศาสตร์ บณ
ั ฑิต(วศบ.) สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
an m
au
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
c o
tri k.c
d
ข้ อมูลทางบรรณานุกรมของสานักหอสมุดแห่ งชาติ
ec o

พิศนุรัตน์ เขจร
el no

FX5Uและการใช้ GX Works3
n a

พิมพ์ครัง้ ที่1
er lcs

416 หน้ า
กันยายน พ.ศ.2560
od .p

ISBN 978-616-445-300-5
M ww

การติดต่อสัง่ ซื ้อหนังสือ
w

ID line: @ecy6822d
โทรศัพท์ : 06 2802 2647
Email : fostmex@gmail.com

@ecy6822d
Plcsanook.com
คานา
หนังสือFX5Uและการใช้ GX Works3 เป็ นหนังสือที่อธิบายการใช้ งาน PLC FX5U และการ
เขียนโปรแกรมFX5U แบบละเอียด เข้ า ใจง่า ย สามารถเรี ยนรู้ การใช้ งานPLC FX5Uและ
FX5UC ได้ ด้วยตัวเองโดยไม่จาเป็ นต้ องมีPLCใช้ งาน อธิบายข้ อมูลพื ้นฐานทางด้ านฮาร์ ดแวร์
เช่นโครงสร้ างพื ้นฐาน ส่วนประกอบพื ้นฐาน การต่อสายไฟทางด้ านอินพุทและเอาท์ พทุ การ
ใช้ อุป กรณ์ เ สริ มต่ างๆ เช่ นพอร์ ตสื่ อ สาร, expansion board, expansion adapter,

n
expansion module เป็ นต้ น

io
สาหรับการเขียนโปรแกรมPLC FX5U,FX5UC อธิ บายตัง้ แต่วงจรพื ้นฐาน การใช้

at
คาสั่งพืน้ ฐาน การใช้ คาสั่ง ประยุกต์ และตัวอย่างการประยุกต์ใช้ งานในระบบautomation

m
ผู้อ่านสามารถทาความเข้ าใจและเขียนโปรแกรมตามตัวอย่างได้ อย่างง่ายดาย เนื่องจากการ

to
อธิ บายใช้ ภาษาพูด และมีรูปภาพประกอบที่ดูง่าย เน้ นการนาไปใช้ งานจริ ง FX5Uและ
an m
au
FX5UC เป็ นPLC ตระกูล iQ-F series ทีพ่ ฒ ั นามาจากPLCรุ่น FX3 series มีประสิทธิภาพสูง
c o
tri k.c

กว่าPLC FX3 series เช่นความเร็ วในการประมวลผล , มีคาสัง่ ที่ใช้ ได้ หลากหลายกว่า,


d
สามารถลดการเขียนโปรแกรมได้ โดยการตังค่ ้ าพารามิเตอร์ ที่PLC
ec o

MELSEC iQ-F series ใช้ ซอฟต์แวร์ GX Works3 ในการเขียนโปรแกรม ซึ่งเป็ น


el no

ซอฟต์แวร์ รุ่นใหม่ของมิตซูบิชิ กราฟิ กต่างๆ เช่นหน้ าสัมผัส คาสัง่ พื ้นฐาน คาสัง่ ประยุกต์ จะ
n a

ต่างจาก GX developer และGX works2 ส่วนคาสัง่ ต่างๆที่ใช้ กบั FX3 series ก็สามารถใช้ กบั
er lcs

FX5U ได้ เช่นกัน หนังสือจะอธิบายการใช้ GX Works3 อย่างละเอียดและเน้ นให้ เข้ าใจง่าย


od .p

มากที่สดุ หนังสือFX5Uและการใช้ GX Works3 เหมาะกับผู้ใช้ งานทุกระดับ เช่นผู้เริ่ มต้ นใช้


M ww

งาน ท่านที่ใช้ งานในระดับสูงแต่ต้องการคู่มืออ้ างอิง นักเรี ยน นักศึกษาในสายช่างไฟฟ้าและ


วิศวกรรมไฟฟ้า รวมทังผู ้ ้ สนใจเกี่ยวกับPLC
w

พิศนุรัตน์ เขจร
ส า ร บั ญ
บทที่ 1 ฮาร์ดแวร์ PLC
1.1 PLC MELSEC 9
1.2 PLC MELSEC-F series generation 12
1.3 ส่วนประกอบของ CPU module FX5U, FX5UC 16
1.4 Expansion module FX5 (โมดูลต่อขยายFX5) 19
1.5 การใช้ ไฟของ PLC 24
1.6 Expansion board และ Expansion adapter FX5 28
1.7 องค์ประกอบของระบบ PLC รุ่น FX5U (system configuration) 29
1.8 องค์ประกอบของระบบ PLC รุ่น FX5UC (system configuration) 30

n
1.9 การใช้ GX Work3 ออกแบบระบบ 31

io
1.10 Input และ Output 35

at
1.11 Power supply terminal 36

m
1.12 หลอดไฟแสดงสถานะต่างๆของPLC 40

to
1.13 อินพุทเทอร์ มินอล (Input terminal) FX5U 41
an m
1.14 au
เอาท์พทุ เทอร์ มินอล (Output terminal) 46
c o

1.15 การต่อวงจรอินพุท/เอาท์พทุ ของ PLC FX5UC 52


tri k.c
d
1.16 Terminal layout FX5U 55
1.17 Terminal layout FX5UC 56
ec o

1.18 การเรียงตาแหน่ง Input Output ของระบบ PLC 57


el no

1.19 การต่อวงจรอินพุทเมื่อเพิ่ม expansion module 59


n a

1.20 Number of Input/output points 60


er lcs

บทที่ 2 หน่วยความจาและการประมวลผล
od .p

2.1 การประมวลผลของ PLC 61


2.2 โครงสร้ างหน่วยความจา 65
M ww

2.3 SD Memory card 67


2.4 การประมวลผลอินพุทและเอาท์พทุ (I/O processing) 76
w

2.5 Input signal (สัญญาณอินพุท) 77


2.6 ความเร็วของสัญญาณทางด้ านอินพุท 80
2.7 Input respond time and digital filter circuit 81
2.8 Pulse catch function 84
2.9 Pulse catch function (SM8170 to SM8177) 88
2.10 Sensor response time 90
บทที่ 3 คาสั่งพื้นฐานและอุปกรณ์
3.1 ซอฟต์แวร์ ที่ใช้ เขียน Ladder diagram สาหรับ PLC MELSEC 91
3.2 ขันตอนการใช้
้ งาน PLC เบื ้องต้ น 92
3.3 ภาษาโปรแกรมของPLC iQ-F series 93
3.4 Ladder diagram 94
3.5 คาสัง่ อินพุท (input instruction)/หน้ าสัมผัส 117
3.6 Output instructions 121
3.7 กราฟิ กแสดงการทางานของหน้ าสัมผัสและคอยล์รีเลย์ 125
3.8 การทางานของ PLC 126
3.9 การส่งผ่านข้ อมูล 128
3.10 รีเลย์ชว่ ยแบบทัว่ ไปและแบบจาค่าได้ 130
3.11 วงจรแลดเดอร์ พื ้นฐาน (อนุกรมและขนาน) 132
3.12 END instruction 134

n
3.13 คาสัง่ INV (invert the result of operations) 135

io
3.14 คาสัง่ MC, MCR 136

at
3.15 คาสัง่ SET , RST 138

m
3.16 คาสัง่ PLS , PLF 140

to
3.17 ไทม์เมอร์ (T) 143
an m
3.18 au
เคาน์เตอร์ (C/LC) 150
c o

3.19 บิต ดิจิต ไบต์ และ เวิร์ด 157


tri k.c
d
3.20 Data register 159
3.21 Index registers (Z, LZ) 168
ec o

3.22 Battery backup 170


el no

บทที่ 4 คาสั่งประยุกต์
n a

4.1 pointer (P ) 174


er lcs

4.2 Interrupt pointer (I) 176


od .p

4.3 คาสัง่ EI (Enable Interrupt ) 176


4.4 คาสัง่ IRET (Interrupt Return)
M ww

181
4.5 คาสัง่ RET (Subroutine Return) 181
4.6 คาสัง่ DI (Disable Interrupt )
w

181
4.7 คาสัง่ CJ , CJP 182
4.8 คาสัง่ FEND (Main Routine Program End) 185
4.9 คาสัง่ CALL, CALLP 186
4.10 คาสัง่ ZRST, ZRSTP 188
4.11 คาสัง่ ALT, ALTP 190
4.12 คาสัง่ FF 202
4.13 คาสัง่ INC(P)(_U) , DINC(P)(_U) 203
4.14 คาสัง่ DEC(P)(_U) , DDEC(P)(_U) 206
4.15 คาสัง่ MOV , MOVP, DMOV , DMOVP 208
4.16 คาสัง่ BMOV , BMOVP 212
4.17 คาสัง่ BIN, DBIN, BINP, DBINP (Conversion to binary) 215
4.18 คาสัง่ BCD , DBCD , BCDP , DBCDP 218
4.19 คาสัง่ ADD, ADDP, DADD, DADDP (BIN 16bit & 32bit addition) 227
4.20 คาสัง่ ADD_U , ADDP_U, DADD_U, DADDP_U (BIN 16bit & 32bit addition) 230
4.21 คาสัง่ +, +P, D+, D+P (BIN 16bit & 32bit addition) 231
4.22 คาสัง่ +_U, +P_U , D+_U, D+P_U (BIN 16bit & 32bit addition) 231
4.23 คาสัง่ SUB , SUBP , DSUB , DSUBP 234
4.24 คาสัง่ SUB_U , SUBP_U , DSUB_U , DSUBP_U 236
4.25 คาสัง่ -, -P, D-, D-P 236
4.26 คาสัง่ -_U, -P_U , D-_U, D-P_U 236

n
4.27 คาสัง่ MUL , MULP , DMUL , DMULP 237

io
4.28 คาสัง่ MUL_U , MULP_U , DMUL_U , DMULP_U 240

at
4.29 คาสัง่ * , *P , D* , D*P 240

m
4.30 คาสัง่ *_U , *P_U , D*_U , D*P_U 240

to
4.31 คาสัง่ DIV , DIVP , DDIV , DDIVP 241
an m
4.32 au
คาสัง่ DIV_U , DIVP_U , DDIV_U , DDIVP_U 243
c o

4.33 คาสัง่ / , /P , D/ , D/P 243


tri k.c
d
4.34 คาสัง่ /_U , /P_U , D/_U , D/P_U 243
4.35 คาสัง่ เปรียบเทียบข้ อมูล (Data comparison) 244
ec o

4.36 คาสัง่ เปรียบเทียบข้ อมูลแบบ unsigned 247


el no

4.37 รหัสแอสกี (ASCII CODE) 248


n a

4.38 คาสัง่ FORM , FORMP , DFORM , DFORMP 253


er lcs

4.39 คาสัง่ TO , TOP , DTO , DTOP 255


od .p

บทที่ 5 Analog control


M ww

5.1 อุปกรณ์ทางด้ าน Analog control 257


5.2 ลักษณะการใช้ งานอุปกรณ์ Analog control 258
w

5.3 Built-in analog inputs ( PLC FX5U ) 260


5.4 Built-in Analog outputs (PLC FX5U) 265
5.5 Analog input expansion adapter(FX5-4AD-ADP) 268
5.6 Analog output expansion adapter(FX5-4DA-ADP) 279
บทที่ 6 FX5 communication
6.1 มาตรฐานการส่งผ่าน (Transmission standard) 291
6.2 Built-in External interface 294
6.3 MELSOFT connection (แบบใช้ Built-in Ethernet port) 296
6.4 การโหลดโปรแกรมจากFX5U โดยการใช้ Direct connectionแบบระบุ IP Address 302
6.5 การตังค่
้ าPLC ให้ สามารถใช้ indirect connection (Via hub) 306
6.6 การโหลดโปรแกรมจาก PLC โดยใช้ connection via hub 301
6.7 Built-in RS-485 port 314
6.8 FX5-485ADP และ FX5-485-BD 315
6.9 คาสัง่ RS2 (Serial Communication 2) 318
6.10 ตัวอย่างการใช้ Non-Protocol communication, RS-422 322
6.11 FX5-232ADP , FX5-232-BD 337
6.12 ตัวอย่างการใช้ Non-Protocol communication แบบ RS-232 338
6.13 N: N Networks 350
6.14 ตัวอย่างการใช้ N: N Network 355
บทที่ 7 GX Works 3

n
7.1 ระบบปฏิบตั ิการที่ใช้ ติดตังซอฟต์
้ แวร์ ประยุกต์ GX Works3 360

io
7.2 การติดตัง้ GX works3 เวอร์ ชนั 1.001B 361

at
7.3 การติดตัง้ GX Works3 เวอร์ ชนั 1.025B 366

m
7.4 ส่วนประกอบของซอฟต์แวร์ GX works3 368

to
7.5 การบันทึกโปรแกรม PLC 372
an m
7.6 การเขียนวงจรแลดเดอร์ เบื ้องต้ น
au 374
7.7 การตังค่
้ าการเชื่อมต่อกับ PLC กรณีสร้ างโปรเจกต์ใหม่ 380
c o
tri k.c
d
7.8 การเขียนวงจรแลดเดอร์ ไปยังPLC (ไม่ใช้ SD Memory card) 381
7.9 การ ON/OFF อุปกรณ์แบบบิต 381
ec o

7.10 การแก้ ไขโปรแกรมแบบ Online 385


el no

7.11 การขยายมุมมองวงจร 388


n a

7.12 การลบอุปกรณ์ในวงจร 389


er lcs

7.13 การเขียนเส้ น connecting line และ vertical line 391


7.14 การแก้ ไขโปรแกรมแบบ Online (การแทรกคอลัมน์ Ctrl+Ins) 393
od .p

7.15 Overwrite 394


M ww

7.16 Insert 396


7.17 การแก้ ไขโปรแกรมแบบ Online (การ copy แล้ ววาง ) 398
w

7.18 การเช็คการON OFF ของรีเลย์อินพุท 400


7.19 การตรวจสอบอุปกรณ์ที่ใช้ ไปแล้ วและยังไม่ใช้ 401
7.20 การ Clear หน่วยความจา PLC 402
7.21 การเขียนComment 403
7.22 การตรวจสอบ Error ของ PLC 405
7.23 การค้ นหาอุปกรณ์และคาสัง่ 407
7.24 การค้ นหา Step 408
ภาคผนวก
A1 เลขฐาน 410
A2 เลขฐานและแอสกี (ASCII ) 412
ฮาร์ ดแวร์ PLC 8

บทที่ 1 ฮาร์ ด แวร์ PLC


โดยทั่ ว ไปถ้ าพู ด ถึ ง PLC เราจะหมายถึ ง CPU module ซึ่ ง เป็ น อุ ป กรณ์ ที่ มี CPUเป็ น
ส่วนประกอบ ซึ่งCPUจะใช้ ในการประมวลผลโปรแกรม ส่วนใหญ่แล้ วCPU module จะมี
เฉพาะอุปกรณ์I/O คือมีเทอร์ มินอลอินพุทสาหรับต่อกับสวิตช์หรื อเซ็นเซอร์ และมีเทอร์ มินอล
เอาท์พทุ สาหรับต่อกับอุปกรณ์ไฟฟ้า
การใช้ งานPLC เบื อ้ งต้ นคื อ การใช้ PLC
ควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าเช่นหลอดไฟ,โซลินอยล์

n
input สวิตช์,เซ็นเซอร์ วาวล์ ,แมกเนติกคอนแทคเตอร์ เป็ นต้ น ส่วน

io
สวิ ต ช์ แ ละเซ็น เซอร์ ก็ จะใช้ สั่ง งานโปรแกรม

at
CPU module ยกตัวอย่างเช่น ใช้ PLC ควบคุมเครื่ องจักร

m
ขนาดเล็ก ควบคุมระบบไฟฟ้า น ้าประปา เป็ น

to
output ต้ น
an m
au หลอดไฟ,รีเลย์,
c o
tri k.c

คอนแทคเตอร์
d
รู ป 1.1
ec o
el no

การใช้ งานPLCที่ต้องมีอปุ กรณ์อื่นๆเพิ่มเติม เช่นการใช้ PLCสื่อสารกับอุปกรณ์ controllerอื่นๆ


n a

การใช้ PLCควบคุมอุณหภูมิ, การใช้ PLCจ่ายสัญญาณอนาล็อก จะต้ องใช้ อปุ กรณ์ อื่นๆนามา


er lcs

ต่อกับPLC เช่น expansion board, Expansion adapter, Expansion module เป็ นต้ น
od .p
M ww

expansion expansion
Adapter module
w

CPU module

Servo amplify
MR-J4W2-B

Barcode reader
inverter Rotary Servo
motor
รู ป 1.2 Direct drive motor
ฮาร์ ดแวร์ PLC 16

1.3 ส่วนประกอบของ CPU module FX5U, FX5UC


Built in analog I/O terminal block
Input terminals
terminal block
SD memory
card slot ฝาปิ ดเทอร์ มินอล
SD memory card Input display LED
disable switch
Operation Indicator
RUN/STOP/RESET
Output display
switch
LED
RS-485 Terminal

n
resister select switch ฝาปิ ดเทอร์ มินอล

io
at
RS-485 terminal block ด้ านในฝาปิ ด

m
European-type -Expansion board connector
-Battery connector

to
terminal block
an m
au รู ป 1.12
c o

จากรู ป1.12 เป็ นส่วนประกอบภายนอกของPLC FX5U เทอร์ มินอลของFX5Uมีสองแบบ 1.


tri k.c
d
คือเทอร์ มินอลแบบทัว่ ไป ซึง่ เป็ นเทอร์ มินอลของอินพุทและเอาท์พทุ ขนาดสกรู M3 การต่อ
ec o

สายไฟคือใช้ หางปลาแฉกหรื อหางปลากลมยึดและขันสกรู 2. เทอร์ มินอลแบบEuropean


el no

การต่อสายไฟจะใช้ หางปลาแบบพินหรือสายเปลือยยึดกับเทอร์ มินอล และหมุนสกรูล็อก


n a
er lcs

Operation Indicator Input/ Output


od .p

display LED
M ww

Input connector
Built-in Ethernet
w

communication
connector Output connector
RS-485 terminal block Switches input/output of
the I/O display LED
ด้ านล่างPLC
รู ป 1.13 -Power connector for CPU module
-Battery connector
จากรู ป1.13 เป็ นส่วนประกอบภายนอกของPLC FX5U , FX5UC จะใช้ เฉพาะเทอร์ มินอล
แบบEuropean-type โดยใช้ เป็ นเทอร์ มินอลสาหรับ Built-in RS-485 communication ส่วน
อินพุทและเอาท์พทุ จะใช้ คอนเน็คเตอร์ 20พิน
ฮาร์ ดแวร์ PLC 17
ลักษณะเทอร์มินอลของ FX5U, FX5UC
เทอร์ มินอลของFX5Uมีสองแบบ
1. คือเทอร์ มินอลแบบทัว่ ไป ซึง่ เป็ นเทอร์ มินอลของอินพุทและเอาท์พทุ ขนาดสกรู M3 การต่อ
สายไฟคือใช้ หางปลาแฉกหรือหางปลากลมยึดและขันสกรู
2. เทอร์ มินอลแบบEuropean การต่อสายไฟจะใช้ หางปลาแบบพินหรื อสายเปลือยยึดกับ
เทอร์ มินอล และหมุนสกรูล็อก
Tightening torque terminal block
0.5 to 0.8 N.m
1

n
2

io
European-type

at
FX5U
terminal block

m
Tightening torque

to
0.22 to 0.25 N.m
an m
au
c o
tri k.c
d
FX5UC จะใช้ เฉพาะเทอร์ มินอลแบบ
European-type โดยใช้ เป็ นเทอร์ มินอลสาหรับ Input connector
ec o

Built-in RS-485 communication ส่วน


el no

อินพุทและเอาท์พทุ จะใช้ คอนเน็คเตอร์ 20พิน Output connector


n a
er lcs

รูป 1.14 European-type


od .p

terminal block
การติดตั้งPLC FX5U, FX5UC
M ww
w

รางยึดPLC

จุดยึดกับราง

หูยดึ DIN rail


รูป 1.15
การติดตัง้ PLC FX5U กับตู้ไฟฟ้าทาได้ สองแบบคือ ใช้ น็อตยึดที่หูยึด หรื อ ใช้ ราง(DIN rail)
สาหรับยึด ซึง่ PLCจะมีslotที่ฐานสาหรับยึดกับDIN rail ส่วนFX5UC ติดตังโดยใช้
้ DIN rail
เท่านัน้
ฮาร์ ดแวร์ PLC 18

การต่อสายไฟอินพุทและเอาท์พุทของ FX5UC
FX5UC ไม่มีเทอร์ มินอลแบบสกรู สาหรับต่อสายไฟ การต่ออุปกรณ์ภายนอกกับอิ นพุทและ
เอาท์พทุ ของPLC มีสองแบบคือ
1. ใช้ สายcableเสียบที่คอนเน็คเตอร์ ของPLC และต่อสายเคเบิลออกมาที่เทอร์ มินอลโมดูล
และก็นาอุปกรณ์ภายนอกต่อกับ terminal module ดังรูปที่ 1.16
terminal module

n
io
FX5UC I/O cable นาอุปกรณ์ภายนอกต่อ

at
รู ป 1.16 กับ terminal module

m
to
2. ใช้ สายcable แบบมีคอนเน็คเตอร์ ด้านเดียว เสียบที่คอนเน็คเตอร์ ของPLC นาปลายสาย
an m
au
เคเบิลต่อกับอุปกรณ์ภายนอก ดังรูปที่ 1.17
c o
tri k.c
d

นาปลายสายต่อกับ
ec o
el no

อุปกรณ์ภายนอก
n a
er lcs

I/O cable
FX5UC คอนเน็คเตอร์ รู ป 1.17
od .p
M ww

โมเดลสาย I/O
w

I/O cable
1
FX-16E-500CAB-S , 5m สายเคเบิลแบบปล่อยลอย 1
FX-16E-150CAB , 1.5 m
สายเคเบิลแบบFlat สาหรับต่อ
FX-16E-300CAB , 3 m
terminal module (มีทอ่ หุ้ม) 2
FX-16E-500CAB , 5 m 2
FX-16E-150CAB-R ,1.5 m
สายเคเบิลแบบกลมสาหรับ
FX-16E-300CAB-R , 3 m
ต่อ terminal module
FX-16E-500CAB-R , 5 m 3 3
รู ป 1.18
ฮาร์ ดแวร์ PLC 19
1.4 Expansion module FX5 (โมดูลต่อขยายFX5)
Expansion module ที่สามารถใช้ ได้ กบั PLC FX5 คือ FX5 series และ FX3 series
connector Extension cable

CPU Expansion module FX5 Bus conversion Expansion module FX3

n
module

io
module

at
รู ป 1.19

m
ประเภทของ expansion module FX5

to
1. Input expansion module เช่นFX5-16EX/ES เป็ นโมดูลที่มีรีเลย์อินพุทจานวน16จุด
an m
au
2. Output expansion module เช่นFX5-16EYR/ES เป็ นโมดูลที่มรี ีเลย์เอาท์พทุ จานวน16จุด
c o

3. Connector conversion module FX5-CNV-IFC ใช้ งานเป็ นโมดูลสาหรับต่อกับ PLC


tri k.c
d
FX5UC กรณีที่ต้องการใช้ expansion module แบบมีสายเคเบิล
ec o

4. Input/output expansion module เช่นโมดูล FX5-32ER/ES


el no

5. Special expansion module หรื อ Intelligent function module เช่น simple motion
n a

module FX5-40SSC-S , bus conversion module*


er lcs

*Bus conversion module (ตัวแปลงขัวต่


้ อ) มีสองโมเดลคือ FX5-CNV-BUS (มีสาย
เคเบิล)และFX5-CNV-BUSC (ไม่มีสายเคเบิล ) กรณีต้องการใช้ Expansion module FX3
od .p

series กับPLC FX5จะต้ องใช้ Bus conversion module ต่อกับPLC FX5U,FX5UC และนา
M ww

Expansion module FX3 มาต่อกับ Bus conversion module อีกที


w

6. Expansion power supply module เช่นFX5-1PSU-5V


7. Power I/O expansion module เช่นโมดูล FX5-32ER/ES, FX5-32ET/ES
Expansion power supply module Expansion module (power I/O module)

FX5-1PSU-5V FX5-32ER/ES
Power supply capacity Power supply capacity
5VDC 1.2 A, 5VDC 965 mA,
24VDC 300mA 24VDC 250mA
รู ป 1.20
ฮาร์ ดแวร์ PLC 22

Expansion power supply


module

FX5U Extended extension cable หรือ


FX5-30EC (30cm)
FX5-65EC (65cm) Power I/O
module
จุดต่อ extension cable
รู ป 1.25

n
io
เพิม่ สายเคเบิลและBus

at
connector กรณีตอ้ งการ

m
ความยาวมากขึน้

to
3. Expansion module แบบคอนเน็คเตอร์ ซึ่งเป็ นแบบไม่มีสายเคเบิล ออกแบบมาเพื่อ
an m
au
ประหยัดพื ้นที่ในการติดตัง้ ดังนันขนาดจะบางกว่
้ า expansion module แบบแรก สามารถ
c o
tri k.c

ประกบกับ PLC FX5UC หรือexpansion module ชนิดเดียวกันได้ เลย


d
ec o
el no
n a
er lcs

Connector
รู ป 1.26
od .p
M ww
w

หรือ

I/O cable I/O cable terminal module

การต่ออุปกรณ์ภายนอกกับexpansion module แบบนี ้มีสองแบบคือ


1. ใช้ สาย I/O cableเสียบที่คอนเน็คเตอร์ ของโมดูล และต่อสายเคเบิลออกมาที่ terminal
module และก็นาอุปกรณ์ภายนอกเช่นเซ็นเซอร์ , หลอดไฟ, รีเลย์ ต่อกับ terminal module
2. ใช้ สาย I/O cable แบบมีคอนเน็คเตอร์ ด้านเดียว(สายอีกด้ านปล่อยลอย) เสียบที่คอนเน็ค
เตอร์ ของโมดูล และนาปลายสายI/O cable ต่อกับอุปกรณ์ภายนอก
ฮาร์ ดแวร์ PLC 31
1.9 การใช้ GX Work3 ออกแบบระบบ
GX Works3 สามารถออกแบบระบบPLC FX5UและFX5UC โดยมีขนตอนดั
ั้ งนี ้
1. คลิกเลือก Navigation
2
3 2. เลือก Project
3. ดับเบิลคลิกเลือกModule Configuration จะได้
หน้ าจอ Module Configuration ดังรูปที่1.39ข
4. ซอฟต์แวร์ จะกาหนดCPU module รุ่ น FX5-
32MR/ES มาให้ ก่อน (สามารถเปลี่ยนรุ่นได้ โดยกด
คลิกขวาที่CPU และเลือก Change CPU model

n
io
name)

at
m
to
an m
4
au
c o
tri k.c
d
ec o
el no
n a
er lcs

(ข)
1 เมื่อนาเมาส์ไปชี ้ที่PLC จะแสดง
ข้ อมูลของ CPU module
od .p

(ก) รู ป 1.39
M ww
w

Element
selection
window
6

รูป 1.40
6. ที่หน้ าต่าง Element selection window จะแสดงข้ อมูลของ expansion board,
expansion module ของFX5 series เราสามารถเลือกอุปกรณ์ต่างๆมาต่อกับ PLC FX5 ได้
โดยการคลิกลากมายังCPU module (drag and drop)
ฮาร์ ดแวร์ PLC 32

รู ป 1.41

FX5-4AD-ADP FX5-4AD-ADP FX5-16EX FX5-16EYT/ES

ตัวอย่างเช่นต้ องการใช้ FX5-4AD-ADPสองตัว, FX5-16EX 1 ตัว , FX5-16EYT/ES 1 ตัว


สามารถออกแบบระบบได้ ดงั นี ้ 1. เลือกอุปกรณ์เป็ น FX5 series (ยังไม่มีอปุ กรณ์ FX3 series
ให้ เลือก) 2. เลือก Analog adapter

n
3. คลิกลาก FX5-4AD-ADP

io
ไปวางยังด้ านซ้ ายของPLC 1

at
m
3 2

to
an m
au
c o
tri k.c
d
รูป 1.42
ec o
el no

4
n a
er lcs
od .p
M ww

(ก) รู ป 1.43 (ข)


4. คลิกลากเพื่อวางFX5-4AD-ADP อีกครัง้ จะได้ รูปที่ 1.43ข
w

5
6

รู ป 1.44
5. คลิกเลือก input 6. คลิกและลาก FX5-16EX/ES ไปวางที่ด้านขวาของCPU
ฮาร์ ดแวร์ PLC 35
1.10 Input และ Output
อินพุทคือช่องสาหรับรับสัญญาณของPLC เมื่อมีสญ
ั ญาณเข้ ามาทางด้ านอินพุท PLC ก็จะ
นาสัญญาณนัน้ ไปประมวลผลต่อในโปรแกรม เมื่อ PLC ประมวลผลโปรแกรมแล้ วก็จะนา
ผลลัพธ์ของการประมวลผลส่งออกไปทางด้ านเอาท์พทุ เอาท์พทุ คือส่วนของPLC ที่ใช้ สาหรับ
สัง่ งานอุปกรณ์ภายนอก
Built-in digital inputs
คืออินพุทที่ติดตัง้ มาพร้ อ มกับCPU module สาหรั บรั บสัญญาณไฟฟ้าแบบดิ จิตอล จาก
อุปกรณ์ภายนอก โดยใช้ input terminal เป็ นเทอร์ มินอลสาหรับต่อกับอุปกรณ์ต่างๆ
Built-in digital outputs

n
io
คือ เอาท์ พุทที่ติดตัง้ มาพร้ อมกับCPU module ใช้ สาหรั บจ่ายสัญญาณแบบดิจิตอลให้ กับ

at
อุปกรณ์ภายนอกโดยใช้ output terminal เป็ นเทอร์ มินอลจ่ายสัญญาณ

m
to
V1+ Built-in analog inputs และ Built-in analog
an m
Analog Inputs
au V2+
V-
outputs ใช้รบั และจ่ายสัญญาณอนาล็อก
c o

V+
tri k.c

Analog output
d
V-
ec o
el no

สัญญาณดิจติ อล
24VDC service power supply (เลขฐาน2)
n a

Digital built-in Inputs


er lcs

Power supply terminal


od .p

S/S 0V X0 X2 X4 X6 X10 X12 X14 X16


M ww

L N 24V X1 X3 X5 X7 X11 X13 X15 X17


Extension connector
w

Ethernet port

Y0 Y2 Y4 Y6 Y10 Y12 Y14 Y16


COM0 Y1 Y3 COM1 Y5 Y7 COM2 Y11 Y13 COM3 Y15 Y17

RUN/STOP/ RS-485 port


RESET switch
Digital built-in Outputs
สัญญาณดิจติ อล
SD card slot
รูป 1.51 แสดงเทอร์ มินอลของPLC FX5U-32MR-ES/UL
หน่วยความจาและการประมวลผล 61

บ ท ที่ 2 ห น่ ว ย ค ว า ม จา แ ล ะ ก า ร ป ร ะ ม ว ล ผ ล
2.1 การประมวลผลของ PLC
PLCจะประมวลผลโปรแกรมได้ ก็ต่อเมื่อมีกระแสไฟฟ้าจ่ายให้ PLCและPLCต้ องอยู่ในสถานะ
RUN ถ้ าเราจ่ายไฟฟ้าให้ PLCแต่PLCอยู่ในสถานะSTOP PLCก็ยงั ทางานไม่ได้ สถานะRUN
และSTOPจะถูกควบคุมโดยสวิตช์RUN/STOP/RESET
สวิตช์RUN/STOP/RESET หลอดไฟPOWER
ติดเมื่อจ่ายไฟให้ PLC

n
io
หลอดไฟRUN

at
ติดเมื่อสวิตช์อยูใ่ น
ตาแหน่งRUN

m
to
an m
au รู ป 2.1
c o
tri k.c
d
เมื่อสวิตช์อยู่ในตาแหน่งRUN และมีการจ่ายไฟฟ้าให้ กบั PLC PLCจะประมวลผลโปรแกรม
ec o

ทันที แต่ถ้าสวิตช์ อยู่ในตาแหน่ง STOP และจ่ายไฟฟ้าให้ PLC PLCจะยังไม่ทางาน ดังนัน้


el no

จะต้ องปรับสวิตช์ไปที่ตาแหน่งRUN ซึง่ จะทาให้ PLCทางาน(ประมวลผลโปรแกรม)


n a
er lcs

สวิตช์อยูใ่ นตาแหน่ง RUN สวิตช์อยูใ่ นตาแหน่ง STOP


od .p

1 จ่ายไฟให้PLC หลอดไฟpower ติด 1 จ่ายไฟให้PLC หลอดไฟpower ติด


M ww

หลอดไฟRUN ติด

2 ปรับสวิตช์ไปทีR่ UN หลอดไฟRUN ติด


w

2 PLC RUN และประมวลผลโปรแกรม 3 PLC RUN และประมวลผลโปรแกรม


รู ป 2.2

จากรู ป2.2 เมื่อจ่ายไฟให้ PLC หลอดไฟPOWERจะสว่าง ถ้ าหลอดไฟPOWERติดโดยไม่


กระพริ บหมายความว่า แหล่ง จ่ายไฟอยู่ในสถานะปกติ แต่ ถ้า หลอดไฟPOWERกระพริ บ
หมายความว่าแหล่งจ่ายไฟผิดปกติเช่น
1. แรงดันเกินหรือน้ อยกว่าspecของPLC 2. จุดต่อสายไฟไม่แน่น และ 3. มี fault ภายในPLC
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 104

การตั้งค่าอุปกรณ์แบบบิตให้เป็นแบบ Latch
Latched relay (L) คือรีเลย์ที่เป็ นแบบจาค่าได้ เท่านัน้ ส่วนรีเลย M และ Step relay สามารถ
เป็ นได้ ทงอุ
ั ้ ปกรณ์ แบบจาค่าไม่ได้ และแบบจาค่าได้ ขึ ้นอยู่กับการตังค่
้ าparameterของPLC
ซึง่ มีขนตอนคื
ั้ อ
2

n
5

io
6

at
m
to
an m
au
c o
tri k.c
d
1
รู ป 3.22
ec o
el no

1. เลือก Navigation 2. เลือกParameter 3. เลือกFX5UCPU 4. ดับเบิลคลิก CPU


Parameter 5. คลิกเลือก Memory/Device setting 6. คลิกเลือก Device/Label Memory
n a
er lcs

Area setting
od .p
M ww

7
w

รู ป 3.23

7. เลื่อนแถบลง 8. ดับเบิลคลิกที่ Detailed setting ที่รายการ Device(high speed )setting


คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 105

n
io
รู ป 3.24

at
ตัวอย่างเช่น ถ้ าต้ องการตังค่
้ ารีเลย์M 9. ดับเบิลคลิกเลือก setting (Latch 1) จะได้ ตารางรูป

m
ที่ 3.25

to
10
an m
au
c o

11
tri k.c
d
12
ec o
el no

10. เลือก Latch (1) หรื อ


n a

Latch (2) เพื่อตังค่้ าอุปกรณ์


er lcs

ที่ต้องการให้ เป็ นแบบ Latch


od .p

11. เลือก Address เริ่มต้ น


M ww

12. เลือก Address ตัวท้ าย


13. กด OK
w

13

รู ป 3.25

จากรู ป3.25 รายการที่1 แสดงรี เลย์ช่วยM ที่ทางานเป็ นแบบLatchอยู่ จานวน7180ตัว คือ


M500ถึง M7679 การเปลี่ยนอุปกรณ์เป็ นแบบLatchนัน้ ทาได้ เป็ นช่วงๆเท่านัน้ คือกาหนด
อุปกรณ์ตวั แรกและตัวท้ าย และกาหนดได้ สองช่วงคือ เลือกแท็บ Latch (1) และ Latch(2)
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 106

13

รู ป 3.26

n
io
13. กด Apply เพื่อบันทึกการเปลี่ยนแปลง จากนันก็
้ เขียนค่า parameter ไปยัง PLC โดยมี

at
ขันตอนคื
้ อ

m
to
การเขียน parameter ไปยัง PLC
an m
au
c o

สวิตช์RUN/STOP/
tri k.c
d
RESET 1 1. กดสวิตช์RUN/STOP/RESET ไปที่
ec o

ตาแหน่ง STOP (ตาแหน่งตรงกลาง)


el no
n a

รู ป 3.27
er lcs
od .p
M ww

2. เลือกแท็บ Online
w

3. เลือก Write to PLC หรื อเลือก write to PLC


โดยใช้ Menuลัดก็ได้

รู ป 3.28
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 108

n
io
at
9

m
รู ป 3.32

to
8. เลือก OK ( โปรแกรมแจ้ งว่าเมื่อเขียนparameter ไปยังPLCแล้ ว ก่อนRUN PLC จะต้ องรี
an m
เซ็ตPLCก่อน)
au
c o
tri k.c

9. เลือก Close ปิ ดหน้ าต่าง


d
ec o

สวิตช์RUN/STOP/
el no

RESET
10
n a

10. ปรั บสวิตช์ RUN/STOP/RESET


er lcs

ไปที่ ตาแหน่ง Reset จากนัน้ ก็ ปรั บ


สวิตช์ไปที่ตาแหน่งRUN
od .p

รู ป 3.33
M ww
w

11

รู ป 3.34

11. ไฟRUN ของPLC ติดค้ าง(ไม่กระพริบ) แสดงว่าPLC RUN ได้ ปกติ


คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 103

รีเลย์ช่วยแบบ Latch (L)


latch relay(L) คือรีเลย์ช่วยที่สามารถจาข้ อมูลการทางานได้ ข้ อมูลของLจะไม่ถกู เคลียร์ เมื่อ
แหล่งจ่ายPLC OFF หรือ reset PLC และกลับมาทางานได้ เมื่อPLC RUN

iQ-F series
L 21 รีเลย์ชว่ ย
device address
Device name (เลขฐาน10) เลขฐาน 10
รูป 3.20

n
io
at
การสารองข้ อมูลของ latch relay ใช้ แบตเตอรี่ ตาแหน่งของอุปกรณ์ใช้ เลขฐาน10

m
Step relay (S)

to
an m
สเต็บรี เลย์(Step relay) ใช้ งานกับคาสัง่ step ladder และใช้ เป็ นรี เลย์ช่วยในวงจรแลดเดอร์
au
c o

เช่นเดียวกับรีเลย์M สเต็บรีเลย์จะใช้ ชื่อS แล้ วตามด้ วยเลขฐาน10


tri k.c
d
X0 X1 S10
ec o
el no

S10
n a
er lcs

S10 Y1
รู ป 3.21
od .p
M ww

วงจรรูป3.21 เป็ นการใช้ สเต็บรีเลย์เป็ นรีเลย์ช่วยในsequence program เมื่อX0 ON จะทาให้


S10 ทางาน และทาให้ Y1 ON
w

Link relay (B)


คือรีเลย์ช่วยที่ใช้ ในฝั่ งCPU ในการLink ระหว่างCPU module และNetwork module โดยใช้
งานรับส่งข้ อมูลกับ Network module link relay (LB), Link relay ใช้ เลขฐาน 16 ในการระบุ
ตาแหน่ง
Link special relay (SB)
คือรี เลย์ช่วยพิเศษที่ใช้ กบั Network module เช่นการตรวจจับสถานะ Error ของโมดูล Link
special relay ใช้ เลขฐาน16 ในการระบุตาแหน่ง
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 138

3.15 คาสั่ง SET , RST


คาสัง่ SETคือคาสัง่ ที่ทาให้ อุปกรณ์ แบบบิตทางานในทุกๆoperation cycle มีรูปแบบคาสั่ง
(instruction format)คือ
Input contact
SET d รู ป 3.101

จากรูป3.101 หน้ าสัมผัสอินพุทใช้ สาหรับทาให้ คาสัง่ SETทางาน dคืออุปกรณ์แบบบิต


ส่วนคาสัง่ RST(Reset) คือคาสัง่ ที่ทาให้ อปุ กรณ์แบบบิตหยุดทางาน และใช้ เคลียร์ ค่า

n
io
ของอุปกรณ์แบบเวิร์ด ถ้ าใช้ คาสัง่ RSTกับอุปกรณ์แบบเวิร์ด จะทาให้ ค่าของอุปกรณ์แบบเวิร์ด

at
กลายเป็ นศูนย์ มีรูปแบบคาสัง่ คือ

m
to
Input contact
an m
RST d รู ป 3.102
au
c o
tri k.c
d
d คืออุปกรณ์แบบบิตและแบบเวิร์ด
ec o

รูปที่3.103 แสดงตัวอย่างการทางานของคาสัง่ SETและRST


el no

ON
n a

X0 X0
er lcs

SET M1
M1 ON
od .p

X1
M ww

RST M1 X1
รู ป 3.103
w

ตาราง 3.10 แสดงอุปกรณ์ที่สามารถใช้ ได้ (Applicable device)


Bit devices Word devices
คาสัง่ System user Special module System user index constant
X Y, M, L, D.b U\G T, ST, C, D, Z K H
SM, F, B, W, SD, SW, R
SET SB 1
RST 1

1. ใช้ ได้ เฉพาะ Intelligent module FX5


คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 138

3.15 คาสั่ง SET , RST


คาสัง่ SETคือคาสัง่ ที่ทาให้ อุปกรณ์ แบบบิตทางานในทุกๆoperation cycle มีรูปแบบคาสั่ง
(instruction format)คือ
Input contact
SET d รู ป 3.101

จากรูป3.101 หน้ าสัมผัสอินพุทใช้ สาหรับทาให้ คาสัง่ SETทางาน dคืออุปกรณ์แบบบิต


ส่วนคาสัง่ RST(Reset) คือคาสัง่ ที่ทาให้ อปุ กรณ์แบบบิตหยุดทางาน และใช้ เคลียร์ ค่า

n
io
ของอุปกรณ์แบบเวิร์ด ถ้ าใช้ คาสัง่ RSTกับอุปกรณ์แบบเวิร์ด จะทาให้ ค่าของอุปกรณ์แบบเวิร์ด

at
กลายเป็ นศูนย์ มีรูปแบบคาสัง่ คือ

m
to
Input contact
an m
RST d รู ป 3.102
au
c o
tri k.c
d
d คืออุปกรณ์แบบบิตและแบบเวิร์ด
ec o

รูปที่3.103 แสดงตัวอย่างการทางานของคาสัง่ SETและRST


el no

ON
n a

X0 X0
er lcs

SET M1
M1 ON
od .p

X1
M ww

RST M1 X1
รู ป 3.103
w

ตาราง 3.10 แสดงอุปกรณ์ที่สามารถใช้ ได้ (Applicable device)


Bit devices Word devices
คาสัง่ System user Special module System user index constant
X Y, M, L, D.b U\G T, ST, C, D, Z K H
SM, F, B, W, SD, SW, R
SET SB 1
RST 1

1. ใช้ ได้ เฉพาะ Intelligent module FX5


คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 139

ตัวอย่างการใช้งานคาสั่ง SET และRST


1. ทดลองเขียนวงจรตามรูปที่ 3.104
2. ทดลองSimulationวงจร โดยON X0 และ X1 และดูการON-OFF ของY1

X0
SET Y1
X1
RST Y1
Circuit program

n
io
รู ป 3.104

at
m
จากวงจรรูป3.104 การทางานของวงจรคือ เมื่อX0 ON Y1จะทางาน เมื่อX1 ON Y1 จะOFF

to
an m
au
ตัวอย่างการใช้คาสั่ง SET และ RST
c o
tri k.c
d
S1เป็ นสวิตช์ปมุ่ กดแบบกดติดปล่อยดับ Y1คือหลอดไฟ จงเขียนวงจรที่มีการทางานคือ เมื่อ
กดS1จะทาให้ หลอดไฟY1ติด และเมื่อกดS1อีกครัง้ ทาให้ Y1ดับ ซึ่งเป็ นการใช้ สวิตช์ตวั เดียว
ec o

สัง่ งานหลอดY1
el no
n a

100VAC S1 S2 S3
er lcs

X0
SET Y1
od .p

L N 24V S/S 0V X0 X1 X2
Y1
M ww

PLC FX5U OUT T1 K5


COM0 Y1 Y2
w

L1 X0 T1
RST Y1

(ก) (ข)
รู ป 3.105

จากวงจรรูป3.105ข การทางานของวงจรคือ เมื่อX0 ON Y1จะทางาน เมื่อY1ทางานจะทาให้


T1นับเวลา0.5วินาที เมื่อหน้ าสัมผัสT1 ON ถ้ าX0 ON อีกครัง้ คาสัง่ RSTจะทาให้ Y1หยุด
ทางาน ไทม์เมอร์ T1ใช้ หน่วงเวลาเพื่อรอให้ Y1ทางานก่อนจึงจะรีเซ็ตY1ได้
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 143

3.17 ไทม์เมอร์ (T)


ไทม์เมอร์ (Timer) ที่ใช้ กับคาสั่งOUT คืออุปกรณ์ แบบบิต ส่วนค่าที่ ไทม์เมอร์ นับคืออุปกรณ์
แบบเวิร์ด มีขนาด16บิต(16bits word devices) การทางานของไทม์เมอร์ คือจะนับจังหวะ
นาฬิกา(clock pulse) 1ms(High speed timer), 10ms(Timer) และ100ms(low speed
timer)ในPLC เมื่อถึงเวลาที่ตงไว้
ั ้ หน้ าสัมผัสของไทม์เมอร์ จะทางาน(ON)
1. ไทม์เมอร์แบบทั่วไป (General type timer) (T)
ไทม์เมอร์ แบบทัว่ ไป เป็ นไทม์เมอร์ ที่จาค่าไม่ได้ เมื่อPLCหยุดการทางาน เวลาที่ไทม์เมอร์ นบั
จะหายไป ไทม์เมอร์ แบบทัว่ ไปมีสามแบบคือ

n
io
การพิมพ์คาสัง่
Low speed timer (100ms)

at
1. กด F7 2. พิมพ์ T1 เว้ นวรรค K50

m
to
OUT T1 K50
an m
au
K50=5sec
c o
tri k.c
d
รูป 3.112
ec o

การพิมพ์คาสัง่
el no

Timer (10ms) 1. กด F7 2. พิมพ์ H เว้ นวรรค T2 เว้ นวรรค K50


n a
er lcs

OUTH T2 K50
od .p

K50=0.5sec
M ww
w

รูป 3.113

Hi speed timer (1ms) การพิมพ์คาสัง่


1. กด F7 2. พิมพ์ HS เว้ นวรรค T3 เว้ นวรรค K50
OUTHS T3 K50

K50=0.05sec

รูป 3.114
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 149

ไทม์เมอร์แบบจาค่าได้ (Retentive timers) (ST)


X0 ST5 คือไทม์เมอร์ แบบ0.1s และ
OUT ST5 K100 เป็ นแบบจาค่าได้ ถ้ าตังเวลาเท่
้ ากับ
ST5 Y1 K100จะได้ เท่ากับ0.1sx100=10s
(10วินาที)
X1
RST ST5
รูป 3.125

n
io
วงจรรู ปที่3.125 T5 ใช้ เป็ นไทม์เมอร์ แบบRetentive(0.1s) การพิมพ์คอยล์คือพิมพ์ ST5 โดย

at
ตังค่
้ าคงที่เท่ากับK100

m
10sec 10sec

to
an m
X0
au ON OFF ON
c o
tri k.c
d
Set value (10sec)
current value 5sec
ec o
el no

OFF
n a

ST5 (contact) ON
er lcs

Y1 OFF ON
od .p
M ww

X1 ON
w

รู ป 3.126

วงจรรูปที่3.126 เป็ นการใช้ งานไทม์เมอร์ แบบจาค่าได้ เมื่อบิตX0 ONจะทาให้ ST5เริ่มนับเวลา


ถ้ าX0 OFF เวลาที่นบั ไว้ แล้ วก็จะไม่หายไป ถ้ าแหล่งจ่ายไฟที่จ่ายให้ PLCดับ ไทม์เมอร์ ก็จะจา
ค่าเวลาได้ เช่นกัน เช่นสมมุติว่าST5นับเวลาไปได้ 5วินาทีแล้ วX0 OFF ไทม์เมอร์ ก็จะไม่ทางาน
และไม่นบั เวลาต่อ แต่ไทม์เมอร์ ยงั คงเก็บค่าเวลา5วินาทีไว้ อยู่ เมื่อX0 ONอีกครัง้ ไทม์เมอร์ จะ
เริ่มนับเวลาต่อจาก5วินาที เมื่อถึงเวลา10วินาที หน้ าสัมผัสST5 ก็จะONและทาให้ Y1ทางาน
เนื่องจากเป็ นไทม์เมอร์ แบบจาค่าได้ การที่จะทาให้ ไทม์เมอร์ เริ่ มนับเวลาใหม่ จะต้ องใช้ คาสัง่
RST(reset) เพื่อclearค่าที่ไทม์เมอร์ นบั ถ้ าX1 ON ค่าเวลาของST5จะถูกรีเซ็ตให้ เป็ นศูนย์
คาสัง่ พื ้นฐานและอุปกรณ์ 151
ตัวอย่างการใช้ Long counter
วงจรรูป3.129 X0ต่อให้ คอยล์LC1ทางาน โดยตังค่
้ าให้ นบั 5 หน้ าสัมผัสLC1ต่อให้ Y1ทางาน
ส่วนX1ใช้ รีเซ็ตLC1
X0
OUT LC1 K5
LC1 Y1

X1
RST LC1
รูป 3.129

n
io
X0 OFF

at
ON
+1

m
+1 +1 +1 +1 +1
LC1 ( coil)

to
ON
an m
au 5 current value = set value
c o

4
tri k.c
d
3
2
1 1
ec o

current value
el no

0
current value = 5
n a
er lcs

LC1 (contact) OFF ON


od .p

Y1 OFF ON
M ww

ON (reset)
X1 OFF
w

รู ป 3.130

จาก timing diagram เมื่อX0 ON จะทาให้ คอยล์LC1 ON ด้ วย ในช่วงที่คอยล์ LC1 เปลี่ยน


สภาวะจากOFFเป็ นON LC1จะนับ1 ถ้ าLC1 OFFและONอีกLC1จะนับ2 เมื่อถึงจานวนที่ตงั ้
ไว้ คือ5 หน้ าสัมผัส LC1จะต่อให้ Y1ทางาน และเคาน์เตอร์ จะหยุดนับ
การON OFFของX0 จะไม่มีผลอีกต่อไป ถ้ าต้ องการให้ เคาน์เตอร์ เริ่ มนับใหม่จะต้ อง
ใช้ คาสัง่ RST รีเซ็ตค่าLC1 เมื่อX1 ON จะทาให้ ค่าของLC1 เป็ นศูนย์ ถ้ าแหล่งจ่ายไฟของPLC
ดับ ค่าที่นบั ก็จะกลายเป็ นศูนย์เช่นกัน
คาสัง่ ประยุกต์ 192
การSimulationวงจรโดยการใช้ GX Works3 และ GT Designer 3
กรณีที่เราไม่มีPLCจริ ง สามารถใช้ ซอฟต์แวร์ GX Works3 และ GT designer3 เพื่อ
Simulationการทางานของวงจรได้ โดยก่อนอื่นจะต้ อง simulation GX Woks3 ก่อน ซึง่ มี
ขันตอนคื
้ อ
X0
ALTP M10 1. ทดลองเขียนวงจรตามรูปที่4.47
X1 โดยใช้ GX Works3
X2 1

n
M10 Y0

io
รู ป 4.47

at
m
to
an m
au
c o
tri k.c
d
ec o
el no

รู ป 4.48
n a

2. คลิกเลือกไอคอน Start
er lcs

2
Simulation
od .p

3. จะได้ หน้ าต่าง GX simulator3


M ww

ดังรูป4.50 โดยมีหลอดไฟ ERR


รูป 4.49 ติด
w

หลอดไฟERR

รู ป 4.50
คาสัง่ ประยุกต์ 193

4 6

รูป 4.51

4. กด Execute เพื่อจาลองการเขียน
ข้ อมูลไปยังPLC
5. กด OK

n
รูป 4.52 5 6. กด Close

io
at
7. ซอฟต์แวร์ จะแสดงสถานะของPLC ในโหมด RUN

m
to
an m
au 8
c o
tri k.c
d
ec o
el no
n a

7
er lcs
od .p
M ww

รู ป 4.53
8. หน้ าจอของโปรแกรมก็จะแสดงสถานะวงจรในโหมดมอนิเตอร์
w

9 9. เมื่อต้ องการยกเลิก Simulation ก็


กดไอคอน stop Simulation อีกครัง้
ดังรูป 4.54

รู ป 4.54
คาสัง่ ประยุกต์ 202

4.12 คาสั่ง FF
คาสัง่ FF (Inverting the bit device output) คือคาสัง่ ที่ทาให้ อปุ กรณ์แบบบิตONและOFF
สลับกันเมื่อมีสญ
ั ญาณขาขึ ้นของหน้ าสัมผัสสัง่ เข้ า มา(เช่นเดียวกับคาสั่งALTP) รู ปแบบของ
คาสัง่ คือ
Input instruction
FF d d คืออุปกรณ์แบบบิต

รู ป 4.79

n
io
รูปแบบการทางาน

at
การทางานของคาสัง่ FF เป็ นแบบพัลล์(pulse operation)

m
to
an m
X0
au FF M0
c o

รู ป 4.80
tri k.c
d
ec o

PLC RUN
X0
el no

1 2 3 4
n a
er lcs

M0 ON OFF ON
od .p
M ww

จากรูป4.80 เป็ นการทางานของคาสัง่ FF เมื่อX0 ON ในครัง้ แรกนับจากPLC RUNสัญญาณ


ขาขึ ้นของX0จะทาให้ M0ทางาน เมื่อมีสัญญาณขาขึ ้นของX0 ในครัง้ ที่2จะทาให้ M0 OFF
w

และเมื่อมีสญ
ั ญาณขาขึ ้นในครัง้ ที่3จะทาให้ M0 ON สลับกันไปเรื่อยๆ
ตาราง 4.4 แสดงอุปกรณ์แบบบิตที่สามารถใช้ ได้
Bit devices Word devices
operand System user Special module System user index constant
X Y, M, L, F, B D.b U\G T, ST, C, D, W, Z K H
SD, SW, R
d 1

1. ใช้ ได้ เฉพาะ Intelligent module FX5


คาสัง่ ประยุกต์ 203

4.13 คาสั่ง INC(P)(_U) , DINC(P)(_U)


INC (Increment)คือคาสัง่ สาหรับเพิ่มค่าทีละ1ให้ กบั อุปกรณ์แบบเวิร์ด รูปแบบของคาสัง่ คือ
Input contact
INC d rang Data type
Input contact -32768 to 32767 16 bits signed
INCP d binary

Input contact
INC_U d rang Data type

n
Input contact 0 to 65535 16 bits

io
INCP_U d unsigned binary

at
m
รู ป 4.81

to
Input contact
an m
au DINC d rang Data type
c o

Input contact -217483648 to 32 bits signed


tri k.c
d
DINCP d -217483647 binary
ec o

Input contact
el no

DINC_U d rang Data type


n a

Input contact 0 to 32 bits


er lcs

DINCP_U d 429496725 unsigned binary


od .p

รู ป 4.82
M ww

รูปแบบการทางาน
w

INC(_U), DINC(_U) เป็ นคาสัง่ ที่ทางานแบบต่อเนื่อง INCP(_U), DINCP(_U) เป็ นคาสัง่ ที่
ทางานแบบพัลล์ คาสัง่ INC(P)(_U) ใช้ กบั ข้ อมูลแบบ16บิต คาสัง่ DINC(P)(_U) ใช้ กบั ข้ อมูล
แบบ32บิต
ตาราง 4.5 แสดงอุปกรณ์ที่สามารถใช้ ได้
Bit devices Word devices Indirect
operand System user Special module System user index specification
X Y, M, L, SM, D.b U\G T, ST, C, D, W, Z, LZ
F, B, SB SD, SW, R
d
คาสัง่ ประยุกต์ 204

การทางานแบบต่อเนื่อง [16-bit operation (INC และ INC_U)]

X0 D25 = −32768
INC D25 D25 = 0

D25 = 32767
2 input processing

3 Program execution

n
X0 Cycle 1 Cycle 2 Cycle 3

io
INC D25 +1 +1 +1 +1

at
m
END เมื่อเข้าสู่ program

to
execution ค่าของD25 จะ
an m
au
1 Output processing
เพิม่ ขึน้ อีก1
c o
tri k.c
d
รู ป 4.83
ec o
el no

จากรูป4.83 เป็ นการเพิ่มค่าให้ D25 โดยใช้ คาสัง่ INC ก่อนคาสัง่ ทางานสมมุติD25=0 เมื่อX0
ON ค่าของD25จะเพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆในทุกๆOperation cycle คือ0,1,2,3,4,5.. เมื่อคาสัง่ ทางาน
n a
er lcs

อย่างต่อเนื่องทุกๆoperation cycle ค่าD25จะเพิ่มเรื่ อยๆจนถึง32767 และข้ อมูลจะวนไปที่


ค่าลบคือ-32768 จากนันข้้ อมูลจะเพิ่มขึ ้นเรื่อยๆเป็ น-32767,-32766,-32765 จนถึง0 และก็วิ่ง
od .p

ไปที่1,2,3,..จนถึง32767ตามเดิม ถ้ าX0หยุดทางาน คาสั่งก็จะไม่ทางาน ค่าของD25จะไม่


M ww

เปลี่ยนแปลง ค่าของD25 จะยังคงอยู่จนกว่าจะถูกรีเซ็ตโดยคาสัง่ RST


w

X0 D30 = 65535
INC_U D30 D30 = 0

รู ป 4.84 D30 = 65534

จากรู ป4.84 เป็ นการเพิ่มค่าให้ D30 โดยใช้ คาสัง่ INC_U การเพิ่มข้ อมูลจะเหมือนกับคาสั่ง
INC แต่ช่วงของข้ อมูลจะไม่เหมือนกัน คือค่าD25จะเพิ่มเรื่ อยๆจนถึง65535 และข้ อมูลจะวน
ไปที่ศนู ย์ จากนันข้
้ อมูลจะเพิ่มขึ ้นเรื่อยๆเป็ น1,2,3 อีกครัง้
Analog control 257

บทที่ 5 Analog Control


Analog control คือการรับข้ อมูลแบบAnalog เพื่อประมวลผล และจ่ายสัญญาณ Analog
เพื่อควบคุมอุปกรณ์ภายนอก
5.1 อุปกรณ์ทางด้าน Analog control

n
io
FX5U

at
FX5-4AD-ADP FX5-CNV-BUS
FX3U-4AD

m
2 3
FX5-4DA-ADP FX3U-4DA

to
Built-in analog input
an m
au
1
Built-in analog output รู ป 5.1
c o
tri k.c
d
ec o
el no
n a
er lcs

FX5UC FX5-CNV-IFC
od .p

FX5-4AD-ADP FX3U-4AD
1 2
M ww

FX5-4DA-ADP FX3U-4DA
รู ป 5.2
w

รูปที่5.1และ5.2เป็ นอุปกรณ์ทางด้ านAnalog controlที่ใช้ กบั FX5U,FX5UCซึง่ มีสามแบบคือ


1. Built-in Analog เป็ นอุปกรณ์รับสัญญาณอนาล็อกและจ่ายสัญญานอนาล็อกที่ติดตังมา ้
ให้ พร้ อมกับCPU module มีให้ เฉพาะรุ่น FX5U
2. Analog expansion adapter มีสองแบบคือ FX5-4AD-ADP และ FX5-4DA-ADP
3. Analog expansion module มีสองแบบคือFX3U-4ADและFX3U-4DA ซึง่ เป็ นAnalog
expansion module FX3 series(FX5-4AD และ FX5-4DAกาลังออกใหม่เร็ วๆนี)้ สาหรับ
Analog module FX2 series ไม่สามารถใช้ ได้ กบั PLC iQ-F series การใช้ FX5Uกับ
module FX3 จะต้ องต่อผ่านFX5-CNV-BUS ส่วน FX5UC จะต้ องต่อผ่าน FX5-CNV-IFC
Analog control 258

5.2 ลักษณะการใช้งานอุปกรณ์ Analog control


FX5-CNV-BUS
Unit No.1 Unit No.2 Unit No.3
Special Sequence Buffer
register Program memory Buffer
Special register memory
1
Analog Expansion PLC FX5U FX3U-4AD FX3U-4DA
adapter Built-in analog 3

n
FX5-4AD-ADP 2 FROM, TO,

io
MOV, BMOV รูป 5.3

at
m
การตัง้ ค่า Parameter โดยใช้

to
Tool ของ GX Works3
an m
au
c o
tri k.c
d
1. Analog expansion adapter
ec o
el no

การใช้ งานAnalog expansion adapter จะต้ องเขียนโปรแกรมผ่าน special register ของ


PLC เช่นการตังค่ ้ า parameter, การอ่านค่าดิจิตอล, การเขียนค่าดิจิตอลให้ กบั Adapter เป็ น
n a
er lcs

ต้ น นอกจากนันการตั
้ งค่
้ าparameterของAdapterสามารถใช้ เครื่ องมือของGX Works3 ได้
เช่นกัน การใช้ adapter จะต้ องทาการเพิ่มAdapter ทีM ่ odule configurationก่อน
od .p

2. Built-in analog
M ww

การใช้ งานbuilt-in analog จะต้ องเขียนโปรแกรมผ่าน special register ของPLC การตังค่


้ า
w

parameter ก็สามารถใช้ เครื่องมือของGX Works3 ได้ เช่นกัน


Built-in analog ไม่จาเป็ นต้ องเพิ่มอุปกรณ์ทM
ี่ odule configuration
3. Analog expansion module
การใช้ งานmodule จะต้ องเขียนโปรแกรมติดต่อกับBuffer memory ของmodule โดยใช้
คาสัง่ FORM, TO, MOV, BMOV เป็ นต้ น การตังค่
้ า parameter ของmodule ทาได้ โดยการ
เขียนโปรแกรมแลดเดอร์ เท่านัน้
รายละเอียดการใช้ งานFX3U-4ADและFX3U-4DAดูได้ ที่หนังสือPLC กับการควบคุม
แบบซีเควนซ์
Analog control 259

ตัวอย่างโปรแกรมการใช้ FX3U-4AD โดยใช้คาสั่งFROM,TO,MOVและBMOV


100VAC
Unit No.1 Unit No.2
L N 24V S/S 0V X0 X1 X2 X3
PLC FX5U FX3U-4AD
ch1 ch2
FX5-CNV-BUS
Touch
screen

n
Flow sensor1 Flow sensor2

io
รูป 5.4

at
จากรู ป5.4 ch1ของโมดูลFX3U-4AD ใช้ วดั แรงดันจากflow sensor1 ส่วนch2 ใช้ วดั แรงดัน

m
จากflow sensor2 โดยเลือกใช้ งานโหมด0 ส่วนch3และch4ไม่ใช้ งาน(โหมดF) ต้ องการนา

to
แรงดันจาก flow sensor ทังสองไปแสดงเป็
้ นค่าดิจิตอลที่ Touch screenสามารถเขียนวงจร
an m
au
โดยใช้ FROMและTO ได้ ดงั นี ้
c o

SM402
tri k.c
d
TO K2 K0 HFF00 K1
ec o

SM400
el no

OUT T0 K50
T0
n a
er lcs

FROM K2 K10 D0 K2
od .p

รู ป 5.5
M ww

เมื่อPLC RUN และSM402 ON HFF00 จะถูกเขียนไปยังBFM#0 ส่วนM8000จะทาให้ ไทม์


เมอร์ T0 นับเวลา5วินาที เพื่อรอการปรับโหมดอินพุท เมื่อ T0 ON คาสัง่ FROMจะนาค่าจาก
w

BFM#10ไปเก็บที่D0และนาค่าของBFM#11 ไปเก็บที่D1 และเราสามารถนาค่าของD0และ


D1ไปแสดงทีT่ ouch screenได้ วงจรที่5.6 เป็ นการใช้ คาสัง่ MOVและBMOV
SM402
MOV HFF00 U2\G0
SM400
OUT T0 K50
T0
BMOV U2\G10 D0 K2
รู ป 5.6
Analog control 260

5.3 Built-in analog inputs ( PLC FX5U )


PLC FX5U มี Built-in analog inputs สาหรับรับแรงดันไฟฟ้า(ไม่สามารถรับกระแสไฟฟ้าได้ )
โดยมีจานวน2channel คือV1+และV2+ สามารถจับแรงดันขนาด 0-10VDC และแปลงเป็ น
ข้ อมูลดิจิตอลขนาด12 บิต(0-4095) ความเร็ วในการแปลงสัญญาณเท่ากับ 30us/channels
(ข้ อมูลอัปเดตทุกๆ operation cycle) แรงดันที่จ่ายให้ อินพุทสามารถแกว่งได้ ตัง้ แต่ -0.5V ถึง
+15V

Analog Built-in analog input


V1+
input V2+

n
Flow sensor V-

io
V+

at
V-

m
PLC

to
Pressure sensor
an m
au รู ป 5.7
c o

การใช้งาน Analog input


tri k.c
d
Shield Analog Inputs Digital output
ec o
el no

+ V1+ 4000
อุปกรณ์จ่าย V2+
n a

แรงดัน
‒ V-
er lcs

0 ถึง +10V
0 10V
od .p

Analog input
Digital output value Ch1 (SD6020 )
M ww

10V − 0V
Digital output value Ch2 (SD6060 ) resolution = = 0.0025V = 2.5mV
4000 − 0
w

รูป 5.8
FX5U มี built-in analog inputs จานวน2channel คือV1+และV2+ สามารถจับแรงดันขนาด
0-10VDC และแปลงเป็ นข้ อมูลดิจิตอลขนาด12บิต(0-4095)
รู ปที่5.8 แสดงการต่อสายไฟของ Built-in analog input การต่อแรงดันไฟฟ้ากับch1
ทาได้ โดยต่อขัวบวกกั
้ บV1+ และขัวลบกั
้ บ V- ถ้ าต้ องการใช้ ch2 ทาได้ โดยต่อขัวบวกกั
้ บV2+
ส่วนขัวลบต่
้ อกับV-
จากกราฟ เมื่อจ่ายแรงดันให้ analog input ตังแต่
้ 0-10V ก็จะได้ ค่า digital ตังแต่
้ 0
ถึง 4000 โดยประมาณ (ข้ อมูลแบบ12บิตจะมีค่า0ถึง4095) ค่าดิจิตอลของchannel 1 จะถูก
เก็บที่ SD6020 และค่าดิจิตอลของchannel 2 จะถูกเก็บที่ SD6060
Analog control 262

การตั้งค่าการใช้งาน Analog input


ก่อนการใช้ งาน Built-in analog inputs จะต้ องตังค่
้ าParameter ให้ กบั PLC ก่อนโดยการใช้
GX Works3 ตังค่
้ า และเขียนค่าparameter ไปยังPLC โดยมีขนตอนดั
ั้ งนี ้

3 5
6

n
io
4

at
m
to
an m
au
1 รู ป 5.10
c o
tri k.c
d
1. เลือก Navigation 2. เลือก FX5UCPU 3. เลือก module Parameter 4.ดับเบิลคลิก
Analog input 5. คลิกเลือก Basic setting
ec o
el no

6. คลิกเลือก A/D Conversion Enable/ Disable setting


n a
er lcs

7
od .p
M ww
w

รู ป 5.11
7. เลือกEnable ที่CH1 หรือถ้ าใช้ CH2 เลือกEnable ที่CH2

รู ป 5.12

8. เลือกApply และเขียนparameterไปยังPLC (หรือจะรอเขียนพร้ อมกับวงจรแลดเดอร์ ก็ได้ )


Analog control 263

ตัวอย่างโปรแกรมการใช้ Analog input


ใช้ ch1วัดแรงดันของตัวต้ านทานขนาด3โอห์ มต้ อ งการเช็คว่า DC motorทางานเกินพิ กัด
หรือไม่ โดยคิดเกินจากค่าปกติ 10เปอร์ เซ็นต์

Power supply 12 V
15P 15G รู ป 5.13
Analog Inputs
+ V1+ ‒ Resolution 2.5mV
RESISTOR 0.0025V=1 (digital)
V2+ VR 3V

n
3 Ohm
เมือ่ แรงดันเท่ากับ 3V จะได้

io
‒ V-
+ 12V ค่าดิจติ อลคือ

at
m
3V
digital = = 1200

to
0.0025
an m
au
จากวงจร5.13 เมื่อมอเตอร์ ทางานปกติจะได้ แรงดัน VR=3V ซึง่ ค่าดิจิตอลที่อ่านได้ คือ1200
c o
tri k.c

เมื่อคิดที่10%จะได้ เท่ากับ120 ดังนันถ้


้ าค่าดิจิตอลมากกว่า1320 ก็คือมอเตอร์ มีการทางาน
d

เกินพิกดั
ec o
el no

SM8000
MOV SD6020
n a
er lcs

D20 Y7
> D20 รู ป 5.14
od .p

K1320
M ww

จากวงจรแลดเดอร์ 5.14 คาสัง่ MOV เขียนค่าSD6020(ดิจิตอลเอาท์พทุ ) ไปยัง D20 และ


w

คาสัง่ เปรียบเทียบ(มากกว่า) ก็นาค่าD20 เทียบกับค่าคงที่1320 ถ้ า ถ้ าค่าD20มากกว่า1320


จะทาให้ Y7 ON ซึง่ ก็คือมอเตอร์ กินกระแสมากเกิน

รู ป 5.15

รูปที่5.15 เป็ นวงจรแลดเดอร์ ที่เขียนบน GX Works3


Analog control 265

5.4 Built-in Analog outputs (PLC FX5U)


Built-in analog outputs เป็ นเอาท์ พุท ที่ติ ดตัง้ มาพร้ อมกับ CPU module ส าหรั บ จ่ า ย
แรงดันไฟฟ้า0-10V แรงดันไฟฟ้านาไปใช้ ควบคุมอุปกรณ์เช่น อินเวอร์ เตอร์ วาล์วไฮดรอลิกส์
(แบบใช้ แรงดันไฟฟ้าควบคุม) เป็ นต้ น FX5U มี Built-in analog outputs จานวน1channel
ใช้ ข้อมูลดิจิตอลขนาด12บิตเพื่อจ่ายแรงดันไฟฟ้า 0-10V
Shield Analog outputs
+ V+

n
‒ V-

io
Induction motor 0 ถึง +10V FX5U

at
inverter

m
Analog output รู ป 5.18 จ่ายได้เฉพาะ

to
แรงดันเท่านัน้
an m
10V au
c o

Analog output
tri k.c

Digital input
d
Digital input
0-4000 SD6180 0-10V
ec o

0 4000
el no

รู ป 5.19
n a

รู ปที่5.19 เป็ นกราฟoutput characteristicของการจ่ายแรงดันไฟฟ้า เมื่อจ่ายค่าดิจิตอล0ถึง


er lcs

4000 ให้ กบั SD6180 ก็จะได้ แรงดันไฟฟ้า 0ถึง10V (เมื่อความต้ านของโหลดเท่ากับ2k𝛺ถึง


od .p

1M𝛺)
M ww

ตาราง 5.3 แสดงข้ อมูลจาเพาะของ Analog output


Item Voltage output
w

Analog output 0Vถึง10VDC


(External load: 2 kΩ to 1
ดิจติ อลอินพุท MΩ) 12bit , Binary
ความละเอียด 2.5mV (10V/4000)
ความเร็วในการแปลง 30 μs
Total accuracy ±0.5% (± 50mV)(full scale 10V) ทีอ่ ุณหภูม ิ 25 ± 0.5°C
±1% (± 100mV)(full scale 10V) ทีอ่ ุณหภูม ิ 0°C ถึง55°C
Occupied points 0 points
Analog control 268

5.5 Analog input expansion adapter(FX5-4AD-ADP)


FX5-4AD-ADP คือexpansion adapter สาหรับรับแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า มีจานวน
4channel แต่ละChannel เลือกวัดค่าแรงดันไฟฟ้าหรือกระแสไฟฟ้าอย่างใดอย่างหนึ่ง

Analog
input
Flow sensor

Applicable PLC

n
FX5-4AD-ADP

io
Pressure sensor FX5U, FX5UC

at
m
สายชีลด์ FX5-4AD-ADP

to
+
an m
อุปกรณ์จ่าย au V1+
c o

แรงดัน I1+ CH1


tri k.c

PLC
d
-10V ถึง +10V COM1

ec o

V2+
el no

อุปกรณ์จ่าย
กระแส I2+ CH2
n a

COM2
er lcs

-20mAถึง+20mA
V3+
od .p

24VDC (20mA)
I3+ CH3
M ww

5VDC (10mA)
COM3
w

V4+
I4+ CH4
รูป 5.25 COM4

รู ปที่5.25 แสดงการต่อสายไฟของ FX5-4AD-ADP, FX5-4AD-ADP ใช้ ไฟ 24VDC(20mA)


และ 5VDC(10mA) จากCPU module
FX5 communication 291

บทที่ 6 FX5 communication


FX5 communication คือการสื่อสารของPLC iQ-F series ใช้ ในการรับส่งข้ อมูลระหว่างPLC
กับPLC หรือPLCและอุปกรณ์ต่างๆ
6.1 มาตรฐานการส่งผ่าน (Transmission standard)
มาตรฐานการส่งผ่านของ iQ-F series ใช้ พอร์ ตสื่อสาร4แบบคือ RS-422, RS-232, RS-485
และEthernet โดยใช้ อปุ กรณ์สองประเภทคือ อุปกรณ์สื่อสาร(communication equipment)
และพอร์ ตแบบBuilt-inซึง่ เป็ นพอร์ ตที่ติดตังมาให้
้ พร้ อมกับPLC

n
io
at
PLC

m
to
Vision controller Barcode reader standard built-in port
an m
au RS-485 , Ethernet
c o
tri k.c

Communication Equipment
d
RS-232 , RS-485 ,Ethernet, CC-
Inverter Touch screen
ec o

Link module
el no
n a
er lcs

Personal computer PLC


od .p
M ww

รู ป 6.1
พอร์ ตแบบ Built-in ที่ติดตังมาให้
้ พร้ อมกับPLC FX5U,FX5UC คือ RS-485 และEthernet
w

Ethernet port RS-485 port

รูป 6.2
ส่วนอุปกรณ์ สื่อ สาร ใช้ มาตรฐานการส่งผ่าน4แบบคือ RS-422, RS-485, RS-232 และ
Ethernet อุปกรณ์ที่ติดตังมี
้ สองแบบคือexpansion boardและexpansion adapter
FX5 communication 294
6.2 Built-in External interface
Built-in External interface คือจุดที่ใช้ สื่อสารกับอุปกรณ์ภายนอก ซึง่ FX5UและFX5UCมีให้
2พอร์ ตคือ Ethernet(100BASE-TX/10BASE-T)และ RS-485
Built-in Ethernet port
พอร์ ตEthernet ใช้ สาหรับสื่อสารแบบEthernet ความเร็ วในการสื่อสารแบบEthernet เท่ากับ
100/10Mps และโหมดการสื่อสารคือแบบ Full-duplex(FDX)/Half-duplex(FDX) ระยะทาง
สายทาได้ 100เมตร
พอร์ ต Ethernet ใช้ คอนเน็คเตอร์ แบบ RJ-45

n
(IP Address Initial value: 192.168.3.250)

io
at
RJ45 connector

m
to
รู ป 6.6
an m
au
c o

ตัวอย่างฟั งก์ชนั ที่ใช้ ได้ กบั พอร์ ต Ethernet คือ


tri k.c
d

CC-Link IE field network basic MELSOFT connection


ec o
el no

SLMP (3E frame Socket communication


n a

)
FTP server Predefined protocol support
er lcs

MODBUS/TCP communication SNTP client


od .p
M ww

Web server (HTTP)


w

รายละเอียดเบื ้องต้ นของฟั งก์ชนั ต่างๆ มีดงั นี ้


Socket communication
PLC master PLC slave

รูป 6.7
100m
รูปที่6.7 เป็ นการlink โดยตรงระหว่างPLCและPLC โดยใช้ พอร์ ต Ethernet
FX5 communication 295

SLMP communication
HMI หรือ PC SLMP communication FX5U
Hub

รู ป 6.8
รูปที่6.8 SLMP เป็ นการสื่อสารระหว่างPLC และอุปกรณ์controller เช่น HMIและ PC
CC-Link IE Field Network Basic

n
io
MELSEC iQ-F CC-Link IE Field Network Basic คือการ

at
Link ในระดับของ device และอุปกรณ์

m
controller เช่น PLC, PC, Robot, servo,

to
Switching hub HMI, Inverter เป็ นต้ น
an m
au
c o
tri k.c
d
Slave station
รู ป 6.9
ec o
el no

MELSOFT connection
n a

MELSOFT connection คือการสื่อสารระหว่างPLCกับอุปกรณ์ของมิตซูบิชิเช่น MELSOFT


er lcs

PRODUCT (Engineering tool, MX component) หรือHMI GOT เป็ นต้ น


MELSOFT Connection สามารถเชื่อมต่อได้ สองแบบคือ Direct connection และ
od .p

Indirect connection (Connecting via hub)


M ww

FX5U
w

Touch screen
Direct connection
GOT2000
(ก)
GX Works3 FX5U
Direct connection
PC รูป 6.10
(ข)

จากรูป6.10 (ก) เป็ นการสื่อสารระหว่าง GOT2000 กับ FX5U ผ่านพอร์ ต Ethernet และ (ข)
เป็ นการสื่อสารระหว่าง GX Works3 กับ FX5U ผ่านพอร์ ต Ethernet
FX5 communication 296

6.3 MELSOFT connection (แบบใช้ Built-in Ethernet port)


1. Direct connection
คือการสื่อสารโดยตรงระหว่างPLCกับMELSOFT PRODUCT โดยไม่ผ่านHUB (การสื่อสาร
จะระบุ IP Address หรือไม่ระบุก็ได้ )
GX Works3 FX5U
PC Direct connection

IP Address ของ PC จะเป็ น กรณี PLC ไม่ระบุ IP

n
อะไรก็ได้ Address

io
at
IP Address ของ PC จะต้องตรง กรณี PLC ระบุ IP

m
กับPLC (ยกเว้นตัวสุดท้ายทีซ่ ้า Address

to
กันไม่ได้ )
an m
au
GX Works3
รู ป 6.11
c o
tri k.c
d
โหลดข้อมูลจาก PLC จะต้อง
ตัง้ ค่า IP Address ของ PLC ที่
ec o

GX works3
el no
n a

ถ้ า MELSOFT connection คื อ การสื่ อ สารระหว่ า งPLCกับ Software เราจะเรี ย กว่ า


er lcs

Programming communication ก็ได้


จากรูป6.11 เป็ นการสื่อสารระหว่างซอฟต์แวร์ GX works3 และ FX5U โดย FX5U ใช้
od .p

พอร์ ตแบบ Ethernet (built-in) ส่วนพอร์ ตของคอมพิวเตอร์ ก็ใช้ แบบEthernet เช่นกัน ส่วน
M ww

สายโหลดที่ใช้ คือสาย LAN ทัว่ ไปที่เป็ นคอนเน็คเตอร์ แบบ RJ-45


w

เงื่อนไขการสื่อสาร
1. การLink แบบDirect connection ไม่จาเป็ นต้ องระบุIP Address ที่PC ก็ได้ แต่กรณีนี ้คือ
จะต้ องไม่มีIP AddressทีP่ LC (PLC FX5U สามารถลบ IP Address ออกได้ หรื อสามารถตัง้
ค่าเพื่อใช้ IP Address ก็ได้ )
2. ถ้ าPLC มีการใช้ IP Address การLinkกับGX Works3 จะต้ องตังIP้ address ของPC และ
PLC ให้ ตรงกัน
ดังนันกรณี
้ ที่โหลดโปรแกรมจากPLC ไม่ได้ จึงมีสองเหตุผลคือ 1. PLC มีการตังค่
้ าIP
Address ไว้ ก่อนแล้ ว และเราไม่ทราบIP ทาให้ โหลดโปรแกรมไม่ได้ และ2. สายLANขาด
ชารุด หรือพอร์ ต Ethernet PC ใช้ งานไม่ได้
FX5 communication 298
การเช็ค IP address ของPLC
การเช็คIP Address PLC มีขนตอนคื
ั้ อ
1. เชื่อมต่อสายLAN ระหว่างPLC (FX5U,FX5UC) และPC (หรือLaptop)

Ethernet cable

n
ต่อสายLAN ที่ Laptop

io
ต่อสายLAN ที่ PLC FX5U

at
รู ป 6.13

m
2. เปิ ด GX Works3

to
an m
au
c o

3
tri k.c
d
4
ec o
el no

4. หรื อเลือก Read form


n a

PLC โดยใช้ Menuลัดก็ได้


er lcs

รู ป 6.14
od .p

3.เลือกแท็บ Online
M ww

4. เลือก Read form PLC


w

5
รู ป 6.15

4. เลือกซีรีย์ PLC เป็ นFX5CPU


5. กดOK จะได้ หน้ าต่าง Transfer Setup รูปที่6.16
FX5 communication 299

n
io
at
รู ป 6.16
6. เลือก Ethernet Board 7. ดับเบิลคลิก PLC module

m
to
an m
au 8
c o
tri k.c
d
เลือกConnection
ec o

via HUB
el no
n a
er lcs
od .p
M ww

9
w

เลือกFind(S)

แสดง IP Address ของPLC รู ป 6.17


10
( 192.168.3.250 )

กด OK 11
FX5 communication 300

รู ปที่6.18 เป็ นการเชื่อมต่อแบบ Direct connection แต่เราต้ องการเช็คIP Address ดังนันที


้ ่
PLC side จึงเลือกเป็ นแบบConnection Via hub เนื่องจากHub คืออุปกรณ์ที่เป็ นศูนย์กลาง
ในการเชื่อมต่อข้ อมูล ดังนัน้ Direct connection ที่มีการระบุIP address ก็สามารถมองเป็ น
แบบ Indirect connection ได้ เช่นกัน
FX5U
PC Direct connection

192.168.3. 253 192.168.3. 250


รู ป 6.18

n
GX Works3

io
192.168.3. 250 มองเป็ นแบบ Hub

at
connection

m
to
an m
au
c o
tri k.c
d
ec o
el no
n a
er lcs

Direct connection ทีม่ กี ารระบุ IP Address การโหลดโปรแกรม สามารถ


od .p

ตัง้ ค่าที่ GX Works3 ได้ทงั ้ แบบ Direct connection และ Connection via
M ww

hub (ส่วนการเช็คIP address ต้องเลือกเป็ น Connection via hub )


w

กรณี PLC ไม่ม ี IP Address สามารถใช้ได้เฉพาะ Direct


connection เท่านัน้

Hub FX5U

192.168.3. 253 192.168.3. 250

กรณีโหลดโปรแกรมจาก PLC ผ่านhub จะต้องเลือก


Connection via hub เท่านัน้
FX5 communication 314

6.7 Built-in RS-485 port


พอร์ ตRS-485 แบบbuilt-in ใช้ สื่อสารกับอุปกรณ์ controllerอื่นๆ มีความเร็ วในการส่งผ่าน
ข้ อมูล สูงสุด 115.2 Kbps ระยะทางการเดินสายไฟทาได้ 50เมตร เทอร์ มินอลเป็ นแบบ
European
Terminal resistors เป็ นแบบ Built-in มีสาม
แบบคือ OPEN/110Ω/330Ω

n
io
SG SDB SDA RDB RDA

at
(GND) (TXD-) (TXD+) (RXD-) (RXD+)

m
รู ป 6.58

to
an m
au
โดยประเภทของProtocol มีดงั นี ้
c o
tri k.c
d
N:N network MELSOFT connection Non-protocol
ec o

Inverter communication communication


el no

MELSEC Communication
MODBUS RTU (3C/4C frames), (MC protocol) predefined
n a

protocol support
er lcs
od .p

Data transmission speed : CH1


M ww

Max. 115.2 kbps


FX5U,
RS-485 communication
w

FX5UC
Sensor
ระยะทางการเดินสายทีท่ าได้คอื 50m Built-in RS-485 รู ป 6.59

รู ปที่6.59 เป็ นการรับและส่งข้ อมูลระหว่างPLCกับLaser distance sensor ใช้ พอร์ ตสื่อสาร


แบบBuilt-in RS-485 การใช้ งานแบบนี ้ sensorจะต้ องมีฟังก์ชันที่รองรับการสื่อสารแบบ
อนุกรมด้ วย การที่จะสื่อสารกันได้ sensorและPLC ต้ องมีProtocol ที่เหมือนกัน ตัวอย่างเช่น
ถ้ าsensor ใช้ MODBUS RTU ก็จะต้ องตังค่ ้ าprotocol ทีP่ LC ให้ เป็ นMODBUS ด้ วย
FX5 communication 315

6.8 FX5-485ADP และ FX5-485-BD


FX5-485ADPและFX5-485-BD มี ค วามเร็ ว ในการส่ ง ผ่ า นข้ อ มูล สูง สุด 115.2Kbpsและ
สามารถใช้ สื่อสารแบบRS-422ก็ได้ FX5-485ADP ระยะทางการเดินสายไฟทาได้ 1200เมตร
FX5-485-BDระยะทางการเดินสายไฟทาได้ 50เมตร

Terminal resistors เป็ นแบบ Built-in


มีสามแบบคือ OPEN/110Ω/330Ω

FX5-485ADP

n
io
FX5-485-BD

at
รู ป 6.60

m
Signal name Function Signal direction

to
RDA FX5-485ADP RS-485 equipment
an m
RDB au RDA(RXD+)
c o

Receive data
tri k.c

SDA RDB (RXD-)


d
SDB SDA (TXD+)
ec o

Sent data
el no

SG SDB (TXD-)
SG (GND) Signal ground -
n a

Terminal layout
er lcs

ตาราง 6.4 แสดงขาคอนเน็คเตอร์ ของFX5-485ADP, FX5-485-BDและหน้ าที่การใช้ งาน


od .p

คอนเน็คเตอร์ เป็ นแบบเทอร์ มินอล ส่วนประเภทของProtocol มีดงั นี ้


M ww

N:N network MELSOFT connection Non-protocol


communication
w

Inverter communication MELSEC Communication


MODBUS RTU (3C/4C frames), (MC protocol) predefined
protocol support
จานวนการส่งผ่านข้อมูล =
0 ถึง4096 word FX5U,
RS-485 communication FX5UC

Sensor ระยะทางการเดินสายทีท่ าได้คอื 1200m


รูป 6.1
FX5 communication 338

6.12 ตัวอย่างการใช้ Non-Protocol communication แบบ RS-232


ตัวอย่างการใช้ PLC FX5U สัง่ งาน barcode reader โดยใช้ การสื่อสารแบบRS-232อุปกรณ์ที่
ใช้ คือ expansion board FX5-232ADP ดังนันพอร์
้ ตสื่อสารคือchannel2(ch2)
RS-232 communication

FX5U-64MR/ES

2D code reader
FX5-232ADP CH2
SR-751 Keyence รู ป 6.102

n
io
Port RS-232 SR-751 and SR-750 series

at
m
สายสีเหลือง Yellow TD
RD 2
สายสีสม้

to
6 1 TD 3 Orange RD
2 Purple SGND
an m
7 3 GND(SG)
au 5 สายสีมว่ ง
8 RTS 7
c o

9 4
CTS 8
tri k.c

5
d
DTR(ER) 4 รู ป 6.103 เป็ นการwiring ระหว่าง
DSR(DR) 6
ec o

9-pin D-sub FX5-232ADPและSR-751


el no

connector
n a

รูปที่6.102 Barcode reader ที่ใช้ คือ 2D code reader SR-751 ซึง่ เป็ นอุปกรณ์อ่านแถบbar
er lcs

code ที่ใช้ กล้ องในการจับภาพ ข้ อมูลที่SR-751อ่านได้ ก็จะส่งไปที่PLC ซึง่ รูปแบบของข้ อมูล


od .p

คือรหัสแอสกี การสัง่ ให้ SR-751อ่านแถบบาโค๊ ดสามารถทาได้ 2แบบคือ 1. สัง่ ONโดยตรงที่


M ww

สายเคเบิลของอุปกรณ์ 2.สัง่ งานโดยคาสัง่ (command)ผ่านพอร์ ตRS-232 คาสัง่ ที่ใช้ คือLON


ซึง่ เป็ นคาสัง่ ที่ระบุไว้ ในคู่มือของSR-751 LONคืออักษรซึง่ เป็ นรหัส ASCII
w

LON
PLC SR-751
command
S1 X0
data
รูป 6.104 data

จากรู ปที่6.104 สวิตช์S1ต่อกับบิตX0ของPLC การทางานของวงจรคือเมื่อกดS1 PLCจะส่ง


ค าสั่ง LONให้ กับ SR-751และท าให้ SR7-51อ่ า นข้ อ มูล จากแถบbarcode ข้ อ มูล ที่ อ่ า นได้
กาหนดให้ นาไปเก็บที่ D250ถึงD256
FX5 communication 347

ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมสื่อสารโดยใช้คาสั่งRS2
1. กำหนดพอร์ตสื่อสำรให้กับคำสั่งRS2 (n1)
พอร์ ตสื่อสารคือch2 ดังนันที
้ ่คาสัง่ RS แทนค่า n1 ด้ วย K2
1
2 (n1) คือการ
3
(S) ข้อมูลของD120(หรือถัดไป) กาหนด channel
จะถูกส่งไปทีH่ L-G1 (m)จานวนไบต์ของข้อมูลทีจ่ ะส่ง ,K2=ch2
SM400

n
RS2 D120 K3 D250 K13

io
K2

at
รู ป 6.124

m
2. กำหนดอุปกรณ์แบบเวิร์ดที่ตำแหน่ง S

to
Sคืออุปกรณ์แบบเวิร์ดที่ใช้ เก็บข้ อมูลที่จะส่ง จากรู ป 6.124 เลือกใช้ data register D120เป็ น
an m
เวิร์ดแรก au
c o
tri k.c
d
3. กำหนดจำนวนไบต์ที่จะส่ง (m)
ค่าของ m จะเป็ นตัวกาหนดจานวนไบต์ที่จะส่ง เราต้ องการส่ง command LON ไปที่SR-751
ec o
el no

ซึง่ มีจานวน3ไบต์(ไม่รวมกับCR) ดังนันที ้ ่คาสัง่ RS2 แทนค่าm ด้ วยK3 เมื่อmเท่ากับ3ไบต์ ทา


ให้ เวิร์ดที่ใช้ เก็บอักษร LON จะใช้ 2เวิร์ดคือD120และD121
n a
er lcs

upper 8bit
upper 8bit lower 8bit
od .p

3 2 1 lower 8bit
M ww

N O L 4E 4F 4C
w

D121 D120 D121 D120


รู ป 6.125
จากรูป6.125 อักษรL เมื่อเทียบกับเลขฐาน16 คือ4C ส่วนอักษรO เมื่อเทียบกับเลขฐาน16คือ
4FการเขียนLOไปที่D120 จะต้ องเขียนH4F4Cไปที่D120 ส่วนD121 เขียนเฉพาะ4E การ
เขียนรหัสASCII ไปยังD120ถึงD121 ทาได้ ดงั วงจรรูปที่6.126
M0
MOV H4F4C D120
MOV H4E D121
รู ป 6.126
FX5 communication 348

โปรแกรมสื่อสารกับ Barcode reader


จากโปรแกรม6.127 เมื่อPLC RUN SM402จะON คาสัง่ MOVจะเขียนค่าH0Dไปที่SD8635
เพื่อกาหนด Terminator เป็ นCR เมื่อX0 ONคาสัง่ PLS จะทาให้ M0ทางาน และคาสัง่ MOVจะ
เขียนค่าLON ไปทีD่ 121,D120
SM402
MOV H0D SD8635
X0
PLS M0
M0

n
MOV H3025 D120

io
MOV H2331 D121

at
m
SET SM8571
SM400

to
an m
RS2 D120 K3 D250 K13 K2
au
c o

SM8572 M1
tri k.c
d
M1
ec o

RST SM8572
el no

รู ป 6.127
n a

จากนันM0จะท
้ าให้ SM8571 ON (sending request) และPLCจะส่งรหัสแอสกีLONไปยัง
er lcs

SR-751 เมื่อส่งข้ อมูลไปแล้ ว SM8571จะOFFเองอัตโนมัติ เมื่อSR-751ได้ รับคาสัง่ LON ก็จะ


od .p

ตอบกลับมาว่าOK,LON ทาให้ receiving complete flag SM8572ทางาน และก็รีเซ็ตตัวเอง


M ww

โดยใช้ M1 เพื่อให้ PLCสามารถรับข้ อมูลรอบถัดไปได้ เมื่อSR-751อ่านแถบบาร์ โคด ก็จะส่ง


ข้ อมูลมาที่PLCอีกครั ง้ ยกตัวอย่างข้ อ มูลที่ส่งมาที่ PLCคือ9786163214577 เมื่อ PLCรั บ
w

ข้ อมูล แล้ วก็จะนาข้ อมูลไปเก็บที่ D250ถึงD256 เมื่อPLCรับข้ อมูลในทุกๆครัง้ SM8572ก็จะ


ONทุกครัง้ และM1ก็จะreset M8572 เพื่อให้ PLC สามารถรับข้ อมูลได้ อีกในรอบถัดไป

รู ป 6.128

รู ปที่6.128 แสดงcommand ที่PLCส่งไปที่ barcode reader และResponse ที่barcode


readerตอบกลับไปยังPLC ซึง่ ดูได้ จากโปรแกรม Auto ID network navigator
FX5 communication 349

การทางานของคาสั่ง RS2 และขั้นตอนการสื่อสาร

2D code reader 1
3 SR-751 Keyence command FX5-232ADP FX5U
LON
9HSQBQD*cbefhh+
Reading operation 2
OK,LON
respond
RS-232 communication

n
9786163214577

io
4
รูป 6.129

at
m
RS2 instruction

to
OFF ON
driving
an m
SD(TXD) au
c o

LON
send data
tri k.c
d

Sending request OFF


ec o

ON OFF ON
SM8571
el no

RD(RXD)
n a

OK,LON 9786163214577
er lcs

receive data
Receiving complete OFF ON ON
od .p

flag SM8572
M ww

รู ป 6.130
w

ลาดับการสื่อสารคือ
1.PLCส่งรหัสแอสกีLONไปทีS่ R-751
2.เมื่อSR-751ได้ รับรหัสLONแล้ ว ก็จะส่งสัญญาณมาที่PLC เพื่อยืนยันการรับข้ อมูลโดยจะ
ส่งOK,LON มาทีP่ LC
3. SR-751 อ่านแถบ barcode
4. SR-751 ส่งข้ อมูลที่อ่านได้ ไปยังPLC ข้ อมูลที่ส่งเป็ นรหัสแอสกีคือ 9786163214577, การ
ส่งข้ อ มูลมายัง PLCทัง้ สองครัง้ จะเร็ วมาก เมื่อ PLCได้ รับรหัส OK,LON แล้ ว receiving
complete flag จะON และต้ องรี เซ็ตReceiving complete flagทันที เพราะถ้ าไม่รีเซ็ต
receiving complete flag เมื่อSR-751ส่งข้ อมูลมาอีกครัง้ PLCจะไม่สามารถรับข้ อมูลได้
FX5 communication 355

6.14 ตัวอย่างการใช้ N: N Network


จากตัวอย่างที่แล้ ว เป็ นการใช้ PLC FX5Uสื่อสารกับbarcode reader โดยค่าที่ barcode
อ่านได้ นาไปเก็บที่D250ถึงD256ของPLC
2D code reader command FX5-232ADP FX5U
LON
Master No.0

X0 = start
9786163214577

n
respond (D250-D256)

io
N:N networks

at
Slave No.1
master Slave No.1

m
D250-D256 D250-D256

to
FX5-485ADP รูป 6.138
an m
au
c o

รู ปที่6.138 ตัวอย่างนี ้ ต้ องการนาPLC FX5U อีกตัวมาต่อกับPLCเดิม โดยกาหนดให้ PLCที่


tri k.c
d
ต่อกับbarcodeเป็ นPLC master ส่วนPLCตัวที่สองเป็ นslave station การสื่อสารคือ ส่งค่า
ec o

D250ถึงD256 ของMaster station ไปที่ D250ถึงD256 ของ slave station และการสัง่ งาน
el no

barcode reader ต้ องการสัง่ จากX0ของ slave station แทน


n a

การสื่อสารระหว่างPLCสองตัวใช้ พอร์ ตBuilt-in RS-485ทังสองstation


้ ขันตอนการ

er lcs

เขียนโปรแกรมมีดงั นี ้
od .p

1 กาหนด link pattern และอุปกรณ์


M ww

D250ถึงD256 มี7points ดังนันต้


้ องใช้ link pattern2 ซึง่ linkกันได้ 8 points
w

Master (No.0) Slave No.1 จากรูป6.139 ใช้ D1000ถึง


D1006 เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ Link ไป
M0 M1064 X0
ยังslave station จากนันที
้ ่slave
D250-D256 D250-D256 station ก็เขียนค่าD1000ถึง
D1006 ไปยังD250ถึงD256
ส่วนที่ slave station ใช้ M1064
D1000-D1006 D1000-D1006 Link ไปยัง master เพื่อสัง่ ให้ M0
ON
รูป 6.139
FX5 communication 356

การเขียนโปรแกรมที่ Master station


จากโปรแกรม6.140 เมื่อX0ของPLC slave ON จะทาให้ M1064 ของPLC master ON ด้ วย
เมื่ อ M1064 ON ค าสั่ง PLS จะท าให้ M0ท างาน และค าสั่ง MOVจะเขี ย นค่า LONไปที่
D121,D120
SM402
MOV H0D SD8635
M1064 Link bit form slave
station PLS M0
M0

n
MOV H3025 D120

io
at
MOV H2331 D121

m
SET SM8571

to
SM400
an m
au RS2 D120 K3 D250 K13 K2
c o

SM8572 M1
tri k.c
d

M1
ec o

RST SM8572
el no

SM400 Link word to slave station


n a

BMOV D250 D1000 K7


er lcs

รูป 6.140
od .p

เมื่อPLCรับข้ อมูลresponseแล้ วก็จะนาข้ อมูลไปเก็บที่D250ถึงD256 และคาสัง่ BMOV ก็จะ


M ww

นาข้ อมูลไปเก็บที่D1000ถึงD1006
w

การเขียนโปรแกรมที่ Slave station

X0 M1064

SM400
BMOV D1000 D250 K7
รูป 6.141

วงจรรู ปที่6.141 ข้ อมูลของD1000ถึงD1006 จากmaster stationจะส่งมาที่slave station


และคาสัง่ BMOV ก็จะนาข้ อมูลไปเก็บที่D250ถึงD256
GX Works3 368

7.4 ส่วนประกอบของซอฟต์แวร์ GX works3


รูปที7่ .24 เป็ นหน้ าต่างของ GX Works3 รายละเอียดของแต่ละส่วนมีดงั นี ้

ใช้ แสดงชื่อซอฟต์แวร์ และชื่อไฟล์งาน ใช้ ดาเนินการเกี่ยวกับ PLC และ


ดาเนินการเกี่ยวกับการเขียน
Title bar
Menu bar โปรแกรม

n
io
at
คีย์ลดั ของ Menu bar

m
รู ป 7.23 Tool bar

to
an m
au
c o
tri k.c
d
ec o

คาอธิบายเกี่ยวกับคาสัง่ ต่างๆ
el no

Works Element
n a

window selection
er lcs

window
พื ้นที่เขียนวงจรแลดเดอร์
od .p
M ww

Navigation status bar


window
w

รู ป 7.24
Connection ใช้ ตงค่
ั ้ าต่างๆ เช่นตัง้
destination ค่า parameter
ใช้ ตงค่
ั ้ าการสื่อสาร

status bar หน้ าต่างของแต่ละส่วนสามารถ


ย่อหรือขยายได้ โดยใช้ เมาส์ดงึ ที่
-แสดงชื่อ PLC ที่ใช้ งาน ขอบแล้ วเลื่อนไป
-จานวน step ของวงจร
GX Works3 369
การใช้ Toolbar
Toolbar คือแถบที่รวมเครื่ อ งมือลัดที่จาเป็ นในการเขียนโปรแกรม, เป็ นเครื่ องมือ จัดการ
โปรแกรม, ติดต่อกับPLC เป็ นต้ น เครื่องมือที่อยู่บนToolbar จะสะดวกต่อการใช้ งานมากกว่า
การใช้ ผ่านเมนู เนื่องจากกดใช้ งานได้ ทนั ที
Menu bar
Tool bar

n
io
at
Toolbar สามารถจัดวางให้ สบายตาได้ โดย ใช้ เมาส์ รู ป 7.25

m
คลิกที่มมุ ด้ านซ้ ายและนาไปวางตาแหน่งที่ต้องการได้

to
an m
เครื่ องมือบน Toolbar จะใช้ งานได้ ไม่พร้ อมกัน ขึ ้นอยู่กบั สถานะของซอฟต์แวร์ เช่นเมื่อเปิ ด
au
c o

โปรแกรม GX Works3 แล้ ว เครื่ องมือที่ใช้ ได้ คือ การสร้ างnew project หรื อการโหลด
tri k.c
d
โปรแกรมจาก PLC เป็ นต้ น
ec o
el no
n a
er lcs
od .p

การสร้าง new GX Works3 เมื่อกดจะเป็ นการ


M ww

help
project โหลดข้อมูลจากPLC
รู ป 7.26
w

เครื่ องมือบนToolbar บางชนิดสามารถเรี ยกใช้ งานได้ สองแบบคือ กดคลิกที่ไอคอน และกด


ปุ่ มคีย์บอร์ ดเพื่อใช้ งาน เช่นเครื่องมือลัดที่ใช้ ในการเขียนโปรแกรม ดังรู ป7.27

รู ป 7.27
1 2 3 4

1. สัญลักษณ์หน้ าสัมผัสแบบN/O เมื่อคลิกกดไอคอนหรือกดปุ่ ม F5 ก็จะเป็ นเขียนหน้ าสัมผัส


NO
2. sF5 คือการกดปุ่ ม Shift+F5 เป็ นการขนานหน้ าสัมผัสแบบN/O
GX Works3 370

3 4 5 6 7 8 9 10 รู ป 7.28
3. F6 คือหน้ าสัมผัสแบบN/C
4. sF6 คือกด Shift+F6 เป็ นการขนานหน้ าสัมผัสแบบN/C
5. F7 คือการเขียนคาสัง่ OUT
6. F8คือการเขียนคาสัง่ ประยุกต์ (และคาสัง่ พื ้นฐานเช่น SET, RST, PLS)
7. F9คือการเขียนเส้ นในแนวนอน
8. sF9 คือShift+F9 เป็ นการเขียนเส้ นในแนวตัง้

n
9. cF9คือกดปุ่ มCtrl+F9 เป็ นการลบเส้ นแนวนอน(หรืออาจกดDeleteก็ได้ )

io
10. cF10 คือกดCtrl+F10 เป็ นการลบเส้ นในแนวตัง้

at
m
to
an m
11 12 13 au 14 15 16 17 18 19 20 21 รู ป 7.29
c o
tri k.c
d
11. sF7 คือกดปุ่ ม Shift+F7 คือการเขียนหน้ าสัมผัสแบบพัลล์ขาขึ ้น
12. sF8 คือการกดปุ่ ม Shift+F8 เป็ นการเขียนหน้ าสัมผัสแบบพัลล์ขาลง
ec o
el no

13. aF7 คือการกดปุ่ มALT+F7 เป็ นการขนานหน้ าสัมผัสแบบพัลล์ขาขึ ้น


14. aF8 คือการกดปุ่ ม ALT+F8 เป็ นการขนานหน้ าสัมผัสแบบพัลล์ขาลง
n a
er lcs

15. saF5 คือการกดปุ่ ม Shift+ALT+F5 เป็ นการเขียนหน้ าสัมผัสแบบพัลล์ขาขึ ้นแบบปกติปิด


16. saF6 คือการกดปุ่ ม Shift+ALT+F6 เป็ นการเขียนหน้ าสัมผัสแบบพัลล์ขาลงแบบปกติปิด
od .p

17. saF7 (Shift+ALT+F7) เป็ นการขนานหน้ าสัมผัสแบบพัลล์ขาขึ ้นแบบปกติปิด


M ww

18. saF8 ( Shift+ALT+F8) เป็ นการขนานหน้ าสัมผัสแบบพัลล์ขาลงแบบปกติปิด


19. aF5 คือการกดปุ่ ม ALT+F5 การเขียนพัลล์operation แบบขาขึ ้น
w

20. caF5 คือการกดปุ่ ม Ctrl+ALT+F5 การเขียนพัลล์operation แบบขาลง


21 caF10 (Ctrl+ALT+F10) เป็ นการเขียนคาสัง่ invert
เมื่อเลื่อนเมาส์ชี ้ที่ไอคอนต่างๆบน Toolbar ก็จะมีคาอธิบายเกี่ยวกับความหมายและคีย์ลดั ที่
จะใช้ งานดังรูป7.30
รู ป 7.30
GX Works3 374

7.6 การเขียนวงจรแลดเดอร์เบือ้ งต้น


การเขียนวงจรแลดเดอร์ ตงแต่
ั ้ เริ่มต้ นมีขนตอนคื
ั้ อ
1. เปิ ดซอฟต์แวร์ GX Works3
2. เลือกแท็บ Project

3. เลือก New
3. หรื อเลือก New project

n
โดยใช้ Menuลัดก็ได้

io
at
รู ป 7.38

m
to
4. เลือกseries ของPLC
an m
au 4 เป็ น FX5CPU
c o

5
tri k.c
d
5. เลือก Type เป็ น FX5U
ec o

6
el no

6. เลือกภาษาเป็ น
Ladder
n a
er lcs

7. เลือกOK
od .p

รูป 7.39
M ww

เมื่อเลือกOKแล้ วก็จะเข้ าสู่หน้ าจอของการเขียนโปรแกรมดังรูป7.40


w

ทีส่ าหรับเขียนโปรแกรมจะอยูใ่ น Program>


Scan > MAIN > ProgPou > ProgramBody

รู ป 7.40
GX Works3 380

7.7 การตั้งค่าการเชื่อมต่อกับ PLC กรณีสร้างโปรเจกต์ใหม่


กรณีสร้ างโปรเจกต์ใหม่ จะต้ องตังค่
้ าการสื่อสารที่ซอฟต์แวร์ ก่อน คือการเลื อกว่าจะสื่อสาร
กับPLCผ่านพอร์ ตอะไร สื่อสารโดยตรงหรือผ่านหน้ าจอtouch screen ซึง่ ทาได้ ดงั นี ้

2. ดับเบิลคลิก Connection

n
io
at
1. คลิก connection destination

m
to
an m
au
c o

รู ป 7.60
tri k.c
d
ec o

3. PLC side เลือก Ethernet board กรณี


el no

สื่อสารกับPLC โดยโดยใช้ พอร์ ตEthernet *


n a
er lcs
od .p

4. ดับเบิลคลิกที่ CPU module และเลือก Direct


connection หรือ Via hub **
M ww
w

5. กด OK

รู ป 7.61

* หรือเลือกSerial USB กรณีสื่อสารแบบserial


**เลือก GOT กรณีสื่อสารผ่าน GOT
GX Works3 381
7.8 การเขียนวงจรแลดเดอร์ไปยังPLC (ไม่ใช้ SD Memory card)
เมื่อ Convert โปรแกรมและตังค่
้ า Connection แล้ ว ต่อมาคือการเขียนโปรแกรมแลดเดอร์ ไป
ยังPLC ซึง่ มีขนตอนคื
ั้ อ
1. ต่อสายLAN ระหว่างPLC และคอมพิวเตอร์
สวิตช์RUN/STOP/
RESET 2 2. กดสวิตช์RUN/STOP/RESET ไปที่
ตาแหน่ง STOP (ตาแหน่งตรงกลาง)
รู ป 7.62

n
io
at
3. เลือกแท็บ Online

m
to
an m
au
c o
tri k.c
d
4. เลือก Write to PLC หรื อเลือก write to PLC
โดยใช้ Menuลัดก็ได้
ec o
el no

รูป 7.63
n a

จะได้ หน้ าต่างรูปที่ 7.64


er lcs
od .p

5
M ww
w

แสดงเครื่องหมายถูก
ทีไ่ ฟล์ขอ้ มูลทีจ่ ะ
เขียนไปยังPLC

รู ป 7.64
5. เลือก Parameter+ Program
GX Works3 382

รู ป 7.65

6
6. กด Execute เพื่อ
เขียนข้ อมูลไปยังPLC

กรณีทไ่ี ม่ได้ปรับสวิตช์ไปทีS่ TOP


จะมีหน้าต่างถามว่าต้องการ
เขียนข้อมูลหลังจากทีม่ กี าร

n
Remote STOP หรือไม่ ถ้าเลือก

io
Yes PLC ก็จะหยุดการทางานให้

at
ก่อน
รูป 7.66

m
to
an m
au
c o
tri k.c
d
8
ec o
el no
n a
er lcs

7
od .p
M ww

9
w

รูป 7.67
รู ป 7.68
7. เลือก Yes to All 8. การเขียนข้ อมูลครบ 100%
9. กด Close

10. กด OK
10

รู ป 7.69
GX Works3 383

11

รู ป 7.70
11. กด Close
12. เมื่อเขียนข้ อมูลไปยังPLCแล้ ว ถ้ ากดสวิตช์ RUN/STOP/RESETไปยังตาแหน่งRUN ไฟ

n
P.RUN จะติดกระพริบ กรณีนี ้PLCยังไม่สามารถประมวลผลโปรแกรมได้

io
at
m
to
12
an m
au หลอดไฟ P.RUN
c o
tri k.c
d
ec o

PLC จะทางานเมื่อไฟP.RUN ติด


el no

รู ป 7.71
ไม่กระพริบเท่านัน้
n a
er lcs

13. ดังนัน้ เมื่อเขียนข้ อมูลไปยังPLCแล้ ว จะต้ อ งReset PLC ก่อน โดยการปรับสวิตช์


od .p

RUN/STOP/RESET ไปทีต่ าแหน่งRESET และรอจนไฟERRกระพริบ จากนันก็ ้ ปล่อยสวิตช์


M ww

สวิตช์RUN/STOP/
w

RESET 13. กดสวิตช์RUN/STOP/RESET ไปที่


13 ตาแหน่ง RESET (ตาแหน่งด้ านล่าง)
เพื่อReset PLC
รู ป 7.72

14. กดสวิตช์ไปที่ตาแหน่งRUN ก็จะใช้ งานPLCได้


15. กดF3 เพื่อเปลี่ยนเป็ นโหมดmonitor ทดลองการทางานโดยการON X0, Y0จะติดสอง
วินาทีแล้ วดับ

You might also like