You are on page 1of 48

Lecture 6

ในการใช้ Microcontroller ควมคุมอุปกรณ์ตา่ งๆ มีทงแบบที


ั้ ่ทาให้ อปุ กรณ์ทางานในแบบ digital เพื่อ
ON/OFF อุปกรณ์ซงึ่ สามารถใช้ สญ
ั ญาณจากตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ ได้ โดยตรง หรื อ ส่งข้ อมูลออกไปเพื่อ
ควบคุมอุปกรณ์ที่เป็ น Analogue เช่น ลาโพง อุปกรณ์ทาความร้ อน หรื ออุปกรณ์ทาความเย็น อย่างไรก็
ตามการส่งข้ อมูลออกไปเพื่อควบคุมอุปกรณ์ที่เป็ น Analogue ต้ องมีการแปลงสัญญาณ Digital ให้ เป็ น
Analogue ก่อนโดยใช้ วงจร Digital to Analogue Converter (D/A) ซึง่ จะอธิบายต่อไป

Analogue Output

Digital to Analogue Converter (D/A)


วงจร D/A ทาหน้ าที่ในการเปลี่ยนข้ อมูลของเลขฐานสอง ให้ เป็ นแรงดันที่หรื อกระแส ที่สมั พันธ์กบั ค่าข้ อมูล
นันๆ
้ หลักการทางานของวงจร แสดงได้ ดงั รูปซึง่ เป็ นตัวอย่างของ D/A ชนิด Weighted Resistor ขนาด 5
บิต ดังรูป

รู ปที่ 1 Weighted Resistor D/A


ขาอินพุท ลบของ Op-amp จะมีแรงดันเป็ น 0 Volt และเมื่อมีสวิทช์ อันใดที่ปิดวงจร ก็จะเกิดกระแสที่ไหล
ผ่าน Resistor เท่ากับ VREF / Ri แต่ละตัว และกระแสทังหมดจะไหลผ่
้ าน Rf ทาให้ ได้ เป็ นแรงดัน Output ที่
แปลตามผลรวมของกระแสนี ้
ค่าความต้ านทานของ R1 R2 R3 R4 และ R5 จะถูกเลือกมาเพื่อให้ ได้ คา่ ของกระแสที่แตกต่างกัน ตามค่า
ความสาคัญของข้ อมูลเลขฐานสอง
Rf D D D D 
Vo u t  Vref  N0  N11  N22    N11 
R 2 2 2 2 
ข้ อเสียของการใช้ วงจรลักษณะนี ้ คือในทางปฏิบตั ิ ค่าความต้ านทานที่ตา่ งกันเป็ น 2 เท่า คือ 2R, 4R, 8R,
… จะ ไม่สามารถหาได้ ง่ายนัก และในกรณีที่ผลิตเป็ นอุตสาหกรรม การออกแบบวงจรรวมให้ ความ
ต้ านทานหลายๆค่าทาให้ เพิ่มความลาบากในการผลิต

1
Lecture 6

รู ปที่ 2 R-2R network D/A


จากรูป วงจร D/A แบบ R-2R network
Rf D D D D 
Vo u t  Vref  N0  N11  N22    N11 
R 2 2 2 2 
หรื อ

Rf  Val 
Vout  Vref  N 
R 2 

โดยที่ N คือ จานวนหลัก และ Val คือค่าของเลขฐานสองนันๆในฐานสิ


้ บ

ตัวอย่างเช่น จากรูป N=4 Vref = 3.3 V ถ้ าเลขฐานสอง input คือ 00112 =310

10k  3 
Vout  3.3 4 
10k 2 

= 0.61875 V

Minimum (single step) VAL = 1 จะมีคา่

Vout = 3.3 × 1 / 24 = 0.20625 volts

Maximum output (1111) VAL = 15 จะมีคา่

2
Lecture 6

Vout = 3.3 × 15 / 24 = 3.09375 V


วงจร R-2R ladder เป็ นวงจรที่มีราคาถูกและง่ายต่อการผลิตเชิงอุตสาหกรรมเพราะใช้ คา่ ความต้ านทาน
เพียง 2 ค่า
IC D/A มีทงแบบที
ั้ ่รับส่งข้ อมูลแบบขนานและอนุกรม
ตัวอย่ าง IC D/A R-2R ladder
Rf D D D D 
Vo u t  Vref  N0  N11  N22    N11 
R 2 2 2 2 
N=8 Vref = 2 V, Rf=5k, R=1k, ถ้ าเลขฐานสอง input คือ 11111111112 =25510

5k 1 1 1 1 1 1 1 1 1 
V  2 8  7  6  5  4  3  2  1  0 
out 1k2 2 2 2 2 2 2 2 2 
5k  255 
V  2   9.961V
out 1k  256 

รู ปที่ 3 IC D/A 8 bits


สิ่งที่กาหนดคุณภาพของ D/A คือ
1. Resolution ดูได้ จากจานวนของบิตที่เป็ น Input ของ D/A นันๆ
้ เช่นถ้ า D/A มี Input จานวน 8 บิต
จะสามารถสร้ างระดับแรงดันของสัญญาณ Output ได้ ทงหมด
ั้ 28 หรื อ 256 ระดับ ดังนัน้ ค่า
Resolution ของมันก็คือ 1 ใน 256

3
Lecture 6

2. Full-scale Output Voltage บอกถึงค่าแรงดัน Output มากที่สดุ ที่จะได้ จาก D/A นันๆ ้ จาก
ตัวอย่างวงจรข้ างต้ น แรงดันอ้ างอิงป้อนผ่าน R14 จะได้ Output Voltage ที่เป็ นไปตามสมการ ซึง่
เมื่อป้อนข้ อมูลที่เป็ น ‚1‛ ทุกบิตให้ กบั D/A ก็จะทาให้ ได้ แรงดันที่ Output เป็ น 10V x (255/256)
= 9.961 V
สังเกตได้ วา่ แรงดัน Output สูงสุดที่ได้ จาก D/A จะน้ อยกว่าค่าที่ระบุมา อยู่ 1 LSB เสมอ แต่
อย่างไรก็ตามเราก็ยงั เรี ยกมันว่าเป็ น 10 V Output
3. Input Code สามารถมีได้ หลายชนิดเช่น Binary, BCD, Offset Binary ซึง่ ในการใช้ งาน ต้ องส่ง
ข้ อมูลไปให้ กบั D/A ให้ ถกู ต้ อง
4. Accuracy คือค่าความถูกต้ องของแรงดัน Output ที่ได้ ออกมาจริง เปรี ยบเทียบกับค่าแรงดัน
Output ที่ควรจะได้ ตามทฤษฎี โดยบอกเป็ นเปอร์ เซ็นต์ ของ Full-scale Output เช่น D/A Full-
scale Output 10V +/- 0.2% accuracy ก็จะหมายถึงว่ามันผิดพลาดอยูใ่ นช่วง 10.00 x 0.002 =
20 mV
โดยทัว่ ไปแล้ ว ค่าความผิดพลาดของ D/A ก็จะมีคา่ ไม่เกิน +/- ½ LSB
5. Linearity หมายถึงค่าความผิดพลาดของ Output Voltage ที่วดั ได้ เทียบกับแนวเส้ นตรงที่ได้ เมื่อ
แปรค่าของข้ อมูลจากน้ อยไปมาก ซึง่ มีคา่ ประมาณ +/- ½ LSB
6. Settling Time คือระยะเวลาที่ D/A ใช้ ในการทาให้ Output Voltage มีคา่ เท่ากับข้ อมูลที่ป้อนเข้ า
ไป โดยให้ มีความผิดพลาดได้ +/- ½ LSB
ตัวอย่างของการใช้ งาน D/A เช่น ใช้ ในการแปลงข้ อมูล Digital ที่ได้ จากแผ่น CD ให้ ออกเป็ นสัญญาณเสียง
เพลงตามต้ องการ และสาหรับการใช้ งานกับ Microcomputers ก็เช่นการสร้ างเป็ นเครื่ องสาหรับทาการ
ทดสอบอุปกรณ์ โดยใช้ ความสัมพันธ์ ระหว่าง Voltage ที่ป้อนเข้ าไป กับแรงดัน Output ที่ได้ จากอุปกรณ์
นันๆ

นอกจากนี ้ ก็สามารถนาไปใช้ ในการ ควบคุมความเร็วของ DC Motor, ควบคุมความร้ อนของ Heater หรื อ
ความสว่างของหลอดไฟ

Digital Output
Digital output โดยปกติแล้ วคือการส่งข้ อมูลออกจาก Port โดยใน MCS-51 คือ Port 0-3 โดยมีสิ่งที่ต้อง
คานึงถึงเช่น
เมื่อดูข้อมูลจาก Datasheet ของ Microcontroller P89V51RD2 พบว่า
VOL (Low-level output voltage หรื อ Logic 0) ที่ port 0 มีคา่ สูงสุด 0.45 V และ port อื่นๆ มีคา่ สูงสุด
ประมาณ 1V ขึ ้นอยู่กบั ปริมาณกระแสที่ตวั อุปกรณ์ output ใช้ ถ้ าอุปกรณ์ใช้ ปริมาณกระแสน้ อยลง ค่า
Voltage สูงสุดของ Logic 0 ก็จะลดลงด้ วย

4
Lecture 6

VOH (High-level output voltage หรื อ Logic 1) ที่ port 0 มีคา่ ต่าสุด VDD- 0.7 V และ port อื่นๆ มีคา่
ต่าสุดประมาณ VDD- 1.5 V ขึ ้นอยู่กบั ปริมาณกระแสที่ไมโครคอนโทรลเลอร์ ตวั จ่ายให้ อปุ กรณ์ output ถ้ า
ปริมาณกระแสที่ไมโครคอนโทรลเลอร์ ตวั จ่ายให้ อปุ กรณ์ output น้ อยลง ค่า Voltage ต่าสุดของ Logic 1 ก็
จะเพิ่มขึ ้น แสดงว่าในการใช้ Microcontroller ควมคุมอุปกรณ์ตา่ งๆ ในแบบที่ทาให้ อปุ กรณ์ output
ทางานในแบบ digital เพื่อ ON/OFF อุปกรณ์ ต้ องเลือกใช้ อุปกรณ์ output ที่ต้องการระดับของ Voltage
ให้ เป็ น Logic 0 หรื อ Logic 1 ตามที่ระบุใน Datasheet ด้ วย
นอกจากนัน้ IOL (Low-level output current หรื อ Logic 0) ที่ขา 1.5 1.6 และ 1.7 มีคา่ สูงสุด 20mA และ
port อื่นๆ มีคา่ สูงสุดประมาณ 15 mA โดยไม่เกิน 26 mA ต่อPort และไม่เกิน 71 mA เมื่อใช้ ทกุ Port พร้ อม
กัน

ในไมโครคอนโทรลเลอร์ บางตัว เช่น AVR ต้ องมีการกาหนดว่า port จะทาหน้ าที่เป็ น input หรื อ output
โดยการกาหนดค่าใน DDR ลาดับการเขียนโปรแกรมเพื่อใช้ งาน port เป็ น output ควรจะเป็ นการส่งค่า
ออกไปที่ port ก่อนเพื่อให้ แน่ใจว่าจะมีคา่ ที่ถกู ต้ องส่งออกไป แล้ วจึงกาหนดค่าใน DDR เพื่อให้ port
เป็ น output

5
Lecture 6

6
Lecture 6

รูปที่ xx1 Datasheet ของ Microcontroller P89V51RD2

การควบคุมอุปกรณ์ให้ ทางานในแบบ ON/OFF นัน้ สามารถใช้ ร่วมกับ Integrated Circuit Bufferในกรณีที่


ต้ องการกระแสที่มากขึ ้น โดยการใส่ IC ที่ทาหน้ าที่เป็ น Buffer เช่น 74LS07 ซึง่ มี Output แบบ Open
Collector และสามารถรับกระแสได้ ถึง 40 mA หรื อ 74LS541ซึง่ สามารถรับกระแสได้ ถึง 24 mA หรื อใน
กรณีที่ต้องการกระแสที่มากๆ อาจจะใช้ Transistor Buffer ช่วยจ่ายกระแสก็ได้

ตัวอย่ าง 74LS541 Octal Buffer

7
Lecture 6

รู ปที่xx2 74LS541 Octal Buffer [Motorolla]

8
Lecture 6

ในกรณีที่ต้องการใช้ Buffer ช่วยขับ Output สิ่งที่ต้องดูคือ VOH, VOL, IOH, IOL และควรคานึงถึง IOS ถ้ า
จะต้ องมีการใช้ งานในลักษณะที่จะมีการ Short circuit ที่ Output นอกจากนัน้ จะต้ องดูวา่ Buffer นี ้
ต้ องการ Supply current เท่าไรโดยดูจาก ICC ในกรณีที่ต้องการนาไปใช้ กบั สัญญาณคลื่นหรื ออุปกรณ์ที่
ต้ องการความเร็วสูงจะต้ องดู AC Characteristics เพื่อดูวา่ Buffer นี ้สามารถใช้ กบั สัญญาณในช่วงความถี่
นันหรื
้ อทางานด้ วยความเร็วที่ต้องการได้ หรื อไม่

Digital Output Devices


LEDs
LED (Light Emitting Diode) เป็ นอุปกรณ์แสดงผลที่นิยมใช้ มาก มีรูปร่างและสีหลายแบบเพื่อให้ เหมาะสม
กับการใช้ งาน สีที่มีในท้ องตลาดส่วนใหญ่คือ เขียว แดง แต่จริงๆ LED มีอีกหลายสีเช่น เหลือง น ้าเงิน ขาว
รวมทัง้ LED ที่เปล่งแสงในย่าน infrared หรื อ ultraviolet

Va R
Anode

+
IF
VF
-
LED LED
Cathode
Vb

รูปที่ xx3 แสดงสัญญลักษณ์ของ LED และ วงจรพื ้นฐานในการใช้ งาน LED มีลกั ษณะเหมือน Diode
ทัว่ ไปคือมี Forward voltage VF และ Forward current IF ถ้ า Voltage ตกคร่อมระหว่าง anode กับ
cathode มากกว่า VF LED จะเปล่งแสงออกมา

ตัวอย่ าง การต่อ LED สีแดงขนาด 5 mm. ที่ port ของ Microcontroller P89V51RD2

รู ปที่ 4

9
Lecture 6

รูปที่ xx4 Datasheet ของ LED สีแดง ขนาด 5 mm.

10
Lecture 6

ตัวอย่ าง การต่ อ LED ทีละ 1 ดวง


- การต่ อโดยให้ LED ที่ Logic ‘1’

Port x.x VOH

+
IOH
1.8
-
LED

รู ปที่ 5
VOH = R·IOH+VLED
จากตารางใน datasheet ของตัวไมโครคอนโทรลเลอร์
เมื่อ IOH=-10A, VOH= VDD-0.3
เมื่อ IOH=-60A, VOH= VDD-1.5
จากข้ อมูลของ LED
ILED=15mA
ไม่สามารถต่อ LED ให้ ติดที่ลอจิก 1 ในลักษณะนี ้ได้
แต่สามารถทาได้ เมื่อใช้ Buffer ดังรูป
Port x.x VOH

R
74LS541
IIH

+
IOH 1.8
-
LED

รู ปที่ 6
VOH = R·IOH+VLED
R =( VOH - VLED)/IOH

11
Lecture 6

จากตารางใน datasheet ของตัว Buffer 74LS541


IIH= 20A, IOH=-15 mA, VOH= 3.4 V
จากข้ อมูลของ LED
ILED=15mA ปริมาณนี ้เท่ากับ IOH ของ Buffer เพราะฉะนันจึ
้ งสามารถใช้ Buffer นี ้ขับ LED ตัวนี ้ได้
โดย
R =( VOH - VLED)/IOH= (3.4-1.8)/15m  =106.66   110 

- การต่ อโดยให้ LED ที่ Logic ‘0’

V+

+
VF=1.8
-
LED

VOL
Port x.x

R
IOL

รู ปที่ 7
Port 1.5, 1.6 และ 1.7
จาก Datasheet ที่ Test conditions VDD = 4.5V, IOL= 16 mA มีคา่ VOL= 1V และ Maximum IOL= 20 mA
แสดงว่าสามารถนา LED มาต่อใช้ งานในลักษณะนี ้ได้
V(+)-VOL = VR+VF(LED)
4.5 - 1 = ILED*R + 1.8
จากข้ อมูลของ LED ต้ องการ ILED=15mA
R= [4.5-1-1.8]/ 15mA 
=113.33   113 

Port อื่นๆ
จาก Datasheet ที่ Test conditions VDD = 4.5V, IOL= 3.5 mA มีคา่ VOL= 1 V และ Maximum IOL= 15
mA แสดงว่าสามารถนา LED มาต่อใช้ งานในลักษณะนี ้ได้ แต่ VOL จะมีคา่ มากกว่า 1V มาก
IOL= 15 mA, VOL>> 1
V(+)-VOL = VR+ VF(LED)

12
Lecture 6

VR = V(+) - VOL -1.8


เมื่อ (VOL>> 1)
R << VR/ ILED = [V(+) - VOL -1.8]/ ILED 
LED ต้ องการ ILED=15mA
R << [4.5-1-1.8]/ 15mA 
<<113.33 

ส่วนการต่อ LED ให้ ตดิ พร้ อมกัน 8 ดวง บน port เดียวกันนัน้ เมื่อดู จากตารางพบว่า Maximum IOL per
8-bit port = 26 mA. ดังนัน้ แสดงว่าไม่สามารถทาได้ เพราะแต่ละตัวต้ องการ 15 mA ถ้ าติดพร้ อมกัน 8
ดวง จะต้ องใช้ ถึง 120 mA และการต่อ LED นี ้ทุก port ก็ไม่สามารถทาได้ เช่นเดียวกันเพราะ Maximum IOL
total for outputs = 71 mA. เท่านัน้ บางกรณีจงึ ต้ องใช้ ตอ่ วงจรเสริมเพื่อช่วยจ่ายกระแสให้ อปุ กรณ์ เช่น
Buffer ที่เหมาะสม (74LS541 ที่กล่าวถึงก่อนหน้ านี ้ก็ไม่สามารถใช้ ได้ เช่นกัน) หรื อวงจรขยายทรานซิสเตอร์
เป็ นต้ น

รู ปที่ 8 Multiple LEDs in parallel.

รู ปที่ 9 Multiple LEDs in series.

13
Lecture 6

รูปที่ 8 แสดงการต่อ LEDs หลายตัวขนานกันโดยมีตวั ต้ านทานจากัดกระแสเพียงตัวเดียว การต่อแบบนี ้


เป็ นลักษณะนี ้ไม่ดีเพราะ LEDs มี forward voltage ตกคร่อมประมาณ 1–2 V อย่างไรก็ตาม ค่านี ้ขึ ้นอยูก่ บั
อุณหภูมิ จึงเป็ นไปได้ วา่ LED ทังหมดอาจจะมี
้ อณ
ู หภูมิไม่เปลี่ยนไปไม่เท่ากัน เนื่องการความแตกต่างที่
เกิดขึ ้นระหว่างขบวนการผลิต ทาให้ อาจจะมี LED ตัวหนึ่งมี voltage ตกคร่อมน้ อยกว่าอีกตัวหนึง่ และ
LED ตัวนันจะดึ
้ งกระแสมากกว่าอีกตัวหนึง่ เพราะฉะนันวงจรในรู
้ ปที่ 9 ซึง่ เป็ นการต่อแบบอนุกรมจะเป็ น
ลักษณะที่ดีกว่า
* อธิบายรูปที่ 9 ไว้ ก่อนละกัน

 Opto-isolator

Opto-isolators สามารถนามาใช้ เพื่อแยกส่วนวงจรไมโครโปรเซสเซอร์ ออกจากวงจรภายนอก การขับส่วน


LED ของ opto-isolator สามารถขับด้ วยวีธีเดียวกันกับ LED ทัว่ ไป

A B
รู ปที่ xx การใช้ งาน Opto-Isolator

ตัวอย่ าง การใช้ Opto Isolator เบอร์ PC817 กับไมโครคอนโทรเลอร์

14
Lecture 6

รูปที่ xx6 Datasheet ของ Opto-isolator PC817

 จากรูป B
ทางด้ าน Input
จาก Datasheet ของ PC817 ค่า VF(D) = 1.2 V, IF(D) = 20mA, VCE(sat) = 0.2 V, IC(MAX) = 50 mA
VOH - 0 = VR1+VF(D)
VOH = IF(D)R1+VF(D)
VR1 = IF(D)R1 หรื อ IOHR1แต่ในกรณีของไมโครคอนโทรลเลอร์ P89V51RD2 ในตัวอย่างที่ผา่ นมา IOH มีคา่
น้ อยกว่า IF(D) = 20mA ที่ VF(D) = 1.2 – 1.4V มาก ทาให้ ไม่สามารถต่อวงจรใช้ งานในลักษณะนี ้ได้ ต้ องมี
การต่อใช้ งาน Buffer ร่วมด้ วย
ทางด้ าน Output
สมมุตวิ า่ ต้ องการให้ มีกระแสไหลสูงสุด
12V - 0= IC(MAX)R2+ VCE(sat)
12V - 0= 50mA(R2)+ 0.1V
R2 = 238 Ω

 จากรูป A
จากตารางใน Datasheet IF(D) = 20mA และจะทาให้ VF(D) = 1.2 – 1.4V แต่ขณะใช้ งานตามตัวอย่างนี ้ IF(D)
จะมีคา่ เท่ากับ IOL จากไมโครคอนโทรลเลอร์ IOL = 16mA ซึง่ ต่ากว่า IF(D) ในตาราง ทาให้ ไม่สามารถใช้ คา่
VF(D) จากตารางได้ แต่เมื่อดูจาก กราฟ Forward Current vs. Forward Voltage จะเห็นได้ วา่ เมื่อ IF(D) =
IOL =16mA , VF(D) = 1.25 V
5V - VOL(Micro) = IF(D)R1+VF(D)
5V – 1V=16mA* R1 + 1.25V

15
Lecture 6

R1 = 171.8 Ω

ส่วนทางด้ าน output
สมมุตวิ า่ ต้ องการให้ มีกระแสไหลสูงสุด
12V - 0= IC(MAX)R2+ VCE(sat)
12V - 0= 50mA(R2)+ 0.1V
R2 = 238 Ω

+5 V +12 V

To Output

รู ปที่ 10

รู ปที่ xx LED constant-current drive with microprocessor control.

ตัวอย่ าง จากรูป ใช้ Opto Isolator เบอร์ PC817 ใช้ D2 เป็ น zener Diode 3.3 V, D1 เป็ น LED ในรูปที่ 4
และ Q1 เป็ น transistor 2SC1815Y ซึง่ มีคณุ สมบัตดิ งั ตารางข้ างล่างนี ้

16
Lecture 6

จาก Datasheet ของ PC817 ค่า VCE(sat)(Photo) = 0.2 V, VF(D1) = 1.2 V ที่ IF(D1) = 20mA
5V- 0 = VR1+ VF(D1) + VCE(Q1) + VRs
5V = IC(Q1)R1+ VF(D1) +VCE(Q1) + VRs
D1 จะทำงำนเมื ่อ VRs < VD2 เพราะฉะนัน้ VRs ≤ 3.3 V และเมื่อทางาน VCE(Q1) = VCE(sat)(Q1) = 0.1V ,
IC(Q1) = IF(D1) = 20mA
5 = 20mA*R1+ 1.2+0.1+3.3
จะได้ คา่ R1 > 20 Ω

และ จาก VRs ≤ 3.3 V

VRs = IC(Q1)*Rs เมื่อทางาน IC(Q1) = IF(D1) = 20mA


จะได้ว่ำ Rs ≤ 3.3/20mA

Rs ≤165 Ω
ส่วนทางด้ าน output
12V-0 = ICE(Photo) R2+VCE(sat) (Photo)
12V = 50mA(R2)+ 0.2V
R2 = 236 Ω

17
Lecture 6

จากรูป ต้ องการให้ Opto Isolator ทางานเมื่อไมโครคอนโทรลเลอร์ มี output เป็ น Logic ‚1‛


ดังนัน้ VOH - 0 = VR3+VD2
VOH - 0 = IOH R3+VD2
เมื่อ IOH=-30A, VOHของไมโครคอนโทรลเลอร์ = VDD – 0.7 (VDD คือไฟเลี ้ยงของตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ )
ถ้ า VDD = 5V ค่า VOH = 3.8V จะสามารถคานวณค่า R3 ได้ เป็ น
(5-0.7) – 3.3 = 30A* R3
R3 = 33.33 kΩ
โดยทัว่ ไป Vo ของ Op-Amp ในกรณีที่ไม่มีการต่อวงจร feedback จะมีคา่ ใกล้ เคียงกับไฟเลี ้ยงเมื่อ Output
เป็ นสถานะ On อย่างเต็มที่ จากรูป ถ้ า Op-Amp ต่ออยู่กบั ไฟเลี ้ยง 5V เช่นเดียวกัน เมื่อ IE ของ Q1 ไม่มาก
เกินไปจะทาให้ Voltage ตกคร่อม Rs น้ อยกว่า VD2 และทาให้ Vo ของ Op-Amp มีคา่ ใกล้ เคียง 5V
แต่เมื่อ IE ของ Q1 มากเกินไปจะทาให้ Voltage ตกคร่อม Rs มากกว่า VD2 และ Vout ของ Op-Amp มีคา่
ใกล้ เคียง 0V ทาให้ Q1 cut-off
เพราะฉะนันสามารถค
้ านวณค่า R4 ได้ ดงั นี ้

Vo(Op-Amp) - 0=VR4+VBE(sat)(Q1)+VRs
Vo(Op-Amp) = IB(Q1)R4+ VBE(sat)(Q1)+VRs

Q1 จะมีคา่ VBE(sat)(Q1) = 1 V และ hFE หรื อ β0 = 120


เนื่องจาก IC(Q1) ต้ องถูกจากัดไว้ ให้ มีคา่ เท่ากับ IF(D1) = 20mA
เพราะฉะนัน้ IB(Q1) = IC(Q1) / β0 = 20mA/120 = 0.166 mA
จากสมการ Vo(Op-Amp) = IB(Q1)R4+ VBE(sat)(Q1)+VRs
สามารถคานวณหาค่า R4 ได้ เป็ น
Vo(Op-Amp) = IB(Q1)R4+ VBE(sat)(Q1)+VRs
5 = 0.166 mA* R4 + 1+ 3.3
R4 > 4.22 kΩ

18
Lecture 6

Driving BJT (Bipolar Junction Transistor)

รู ปที่ 11 การขับ BJT


สิ่งที่ควรระวังในการสร้ างวงจรขับทรานซิสเตอร์ เพื่อใช้ งานในลักษณะของ switch ก็คือการออกแบบวงจร
bias ให้ transistor อย่างเหมาะสมเพื่อให้ transistor ทางานในช่วง active ถ้ าทรานซิสเตอร์ saturated
รอยต่อระหว่าง base-emitter จะมีประจุมาสะสมอยูท่ าให้ เป็ นเสมือนตัวเก็บประจุ ด้ วยเหตุนี ้ transistor
จะ turn off หรื อเปลี่ยนสถานะเป็ น logic ได้ ช้า นอกจากนี ้แล้ ว output ของ transistor ซึง่ อยูท่ ี่ขา collector
ก็ไม่สามารถดึงแรงดัน output ขึ ้นสูร่ ะดับ high ได้ จึงต้ องมีการใช้ resistor ดึงระดับแรงดัน output ให้ เป็ น
high เมื่อ transistor turns off และยังทาให้ rise time ของ output ซึง่ ขึ ้นอยูก่ บั transistor switching
speed ขึ ้นอยูก่ บั ความเก็บประจุที่ขา collector ด้ วย ความเร็วในการ turn-on และ turn-off ของ transistor
สามารถทาให้ ดีขึ ้นได้ โดยการเพิ่ม capacitor คร่อม resistor ที่ขาเบส ดังแสดงใน รูปที่ 10 C.
ตัวอย่ าง ถ้ า transistor ในรูปเป็ น transistor 2SC1815Y ต่ออยูก่ บั Microcontroller P89V51RD2
VOH- 0 = VR1+VBE(sat)
R1= (VOH-VBE(sat))/IOH
R1 = (3.8-1)/ 30A
R1 = 93 kΩ

19
Lecture 6

Driving MOSFET

รู ปที่ 12 การขับ MOSFET

สิ่งสาคัญในการใช้ งาน MOSFET ซึง่ ส่วนใหญ่ใช้ เพื่อขับอุปกรณ์ที่ต้องการกาลังสูง ในลักษณะนี ้คือ


output voltage ของ microcontroller จะต้ องมีคา่ มากกว่า gate-to-source threshold voltage ของ
MOSFET ไม่เช่นนัน้ MOSFET จะไม่ on กรณีนี ้เป็ นปั ญหาสาหรับ Microcontroller ที่เป็ น IC ชนิดที่ใช้ 3V
แต่ไม่คอ่ ยเป็ นปั ญหาสาหรับ IC ชนิดที่ใช้ 5V logic ในบางครัง้ สามารถใช้ ความต้ านทาน pull-up มาต่อ
เพื่อให้ แรงดัน output ใกล้ เคียงกับระดับ supply voltage โดยทัว่ ไป MOSFET มีคา่ ความจุไฟฟ้าระหว่าง
gate กับ source (Cgs) และ gate กับ drain (Cgd) สูง ยิ่ง MOSFET ตัวใหญ่ ค่าความจุไฟฟ้านี ้ก็ยิ่งมีคา่
มาก ถ้ าใช้ MOSFET นี ้ ไปขับ Load ที่ก่อให้ เกิด voltage spike เช่น อุปกรณ์อะไรก็ตามที่ประกอบด้ วย
ขดลวดเหนี่ยวนา voltage spike นี ้อาจถูกส่งผ่านกลับมายังตัว Microcontroller ผ่านตัวเก็บประจุดงั กล่าว
และทาให้ Microcontroller เสียหายได้ นอกจากนันเวลาที้ ่ใช้ ในการ turn-on ของ MOSFET จะขึ ้นอยู่กบั
ความเร็วในการ charge ประจุของตัวเก็บประจุ Cgs จนถึงระดับ gate-to-source threshold voltage ซึง่
หมายความว่ายิ่งตัวเก็บประจุมีคา่ มาก ก็จะยิ่งทางานช้ า

20
Lecture 6

นอกจากนัน้ Microcontroller ส่วนใหญ่สามารถจ่าย (source) และรับ (sink) กระแสได้ น้อยมาก ถ้ าเวลา


turn-on ของ MOSFET นานและความถี่ในการ on-off สูง จะทาให้ มีกาลังสูญเสียใน MOSFET เนื่องจาก
มันต้ องเปลี่ยนสถานะจาก cutoff ไป saturation อย่างต่อเนื่อง นอกจากนันถ้
้ ามีการใช้ ตวั ต้ านทาน pull-up
ด้ วย ระยะเวลาที่ใช้ ในการ turn-on time MOSFET ก็จะถูกจากัดโดย rise-time ของตัวต้ านทาน pull-up
กับ Cgs และเนื่องจาก ขนาดของตัวต้ านทาน pull-up ถูกจากัดโดย ปริมาณกระแสที่ Microcontroller รับ
(sink) ได้ ความเร็วในการ on-off จึงถูกจากัดโดยความสามารถในการ sink กระแสของ Microcontroller
เช่นกัน

ปั ญหาเหล่านี ้จะหมดไปเมื่อมีการใช้ IC สาหรับขับ MOSFET ดังแสดงในรูปที่ 2B ซึง่ เป็ นตัวอย่างการใช้


MAX5048 ในการขับ MOSFET โดยที่ R1 ไม่จาเป็ นต้ องต่อก็ได้ แต่ R1 จะเป็ นตัวจากัด เวลาในการ on-
off ของ MOSFET

AC Power Device
เมื่อต้ องการใช้ Microcomputer ในการควบคุม AC Power Device ก็จะทาได้ โดยการใช้ Relay หรื อใช้
Solid-state Relay ได้ เช่นกัน

Solenoid

อุปกรณ์อะไรก็แล้ วแต่ที่มีลกั ษณะเป็ นขดลวด (solenoid) และใช้ หลักการ electromagnetic ในการ


ควบคุมการทางานทางกล (mechanical function) แบ่งเป็ น

 Continuous-duty solenoids ออกแบบเพื่อให้ ถกู กระตุ้นอยูต่ ลอดเวลาขณะทางาน

 Pulse-duty solenoids ออกแบบเพื่อให้ ไม่จาเป็ นต้ องมีการกระตุ้นตลอดเวลาขณะทางาน Pulse-


duty solenoid ออกแบบให้ สามารถสร้ างแรงแม่เหล็กได้ มากโดยไม่ต้องใช้ กระแสไฟฟ้าสูง
อุปกรณ์ประเภทนี ้ได้ แก่
1. Solenoid Valves
เป็ น Valve ควบคุมการเปิ ดปิ ดที่ใช้ ขดลวดเหนี่ยวนา
ให้ เกิดแรงแม่เหล็ก เมื่อขดลวดได้ รับการกระตุ้นแกน
จะถูกดึงเข้ าไปในขดลวด Solenoid ทาให้ Valves
เปิ ด ใช้ ควบคุมการไหล
รู ปที่ 13

21
Lecture 6

2. Directional Valves เป็ น Valve ควบคุมการเปิ ดปิ ดที่ใช้ ขดลวดเหนี่ยวนาให้ เกิดแรงแม่เหล็ก เมื่อขดลวด
ได้ รับการกระตุ้นแกนจะถูกดึงเข้ าไปในขดลวด Solenoid ใช้ เพื่อหยุดและควบคุมทิศทางการไหล

รู ปที่ 14

Relay

Relay เป็ น solenoid ที่ใช้ ควบคุมการทางานของหน้ าสัมผัสหรื อสวิทช์ทางไฟฟ้า

เนื่องจากอุปกรณ์ประเภท solenoid ที่ยกตัวอย่างดังกล่าวนี ้ ประกอบด้ วยขดลวด จึงทาให้ เกิด สิ่งที่เรี ยกว่า


flyback voltage ขึ ้นเมื่อกระแสที่ไหลผ่านขดลวดหายไป (turn off) ซึง่ เป็ นการทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลง
ของสนามแม่เหล็กในขดลวดในทางตรงกันข้ ามและทาให้ เกิดเหนี่ยวนา และเกิดกระแสไฟฟ้าไหลย้ อนกลับ
กระแสไฟฟ้านี ้อาจมีขนาดสูงมากเพราะเกิดขึ ้นในช่วงเวลาสันๆ ้ ในบางครัง้ อาจทาให้ transistor หรื อ
อุปกรณ์ที่ใช้ ขบั solenoid หรื อrelay เสียหายได้

วิธีการป้องกันคือต่อ Diode คร่อมขดลวดดังรูปที่ 15 B เมื่อ transistor turns off ทันทีที่ voltage เพิ่มขึ ้นถึง
ระดับของแหล่งจ่ายบวกกับแรงดันตกคร่อม diode (ประมาณ 0.6 V สาหรับ silicon diode) diode จะเริ่ม
นากระแสทันที ทาให้ กระแสไม่ไหลผ่านตัววงจรขับ relay แต่จะไหลผ่าน diode แทน

อย่าไรก็ตามกระแสนี ้ไม่ได้ หายไปเฉยๆแต่จะไหลเข้ าสูแ่ หล่งจ่าย ทาให้ แหล่งจ่ายจะต้ องมีการออกแบบที่ดี


เพื่อ bypass กระแสนี ้ลง ground และ ในบางกรณี relay ในวงจรอาจอยูห่ า่ งจาก power supply ทาให้
เกิด noise spike บน ground ขึ ้น ปั ญหานี ้อาจแก้ ได้ โดยการทาให้ เวลาในการ turn off ช้ าลงเล็กน้ อย

รูปที่ 16 แสดงการใช้ zener diode เพื่อทาให้ การ turn off ของ relay เร็วขึ ้น เมื่อ transistor turns off และ
เกิด flyback pulse ตัว diode ธรรมดาจะ forward biased และ zener จะ reverse biased ทาให้ ขา
voltage ที่ collector ของ transistor มีขนาดเท่ากับ voltage คร่อม zener บวกกับ voltage คร่อม diode

22
Lecture 6

drop และระดับของ positive supply voltage ซึง่ รวมแล้ วควรจะมีคา่ ต่ากว่าระดับ voltage ที่ transistor
ทนได้ ไม่เช่นนัน้ transistor จะเสียหายได้

ในบางกรณี อาจมีการใช้ อปุ กรณ์ surge suppressor ชนิดอื่น เพื่อต่อคร่อม relay หรื อ solenoid เช่น
Sidactor (สาหรับ 24 V ขึ ้นไปถึงระดับฟ้าผ่า), transient voltage suppression (TVS) diode หรื อ
Tranzorbs (สามารถทน voltage ในระดับที่ต่ากว่า Sidactor) และ positive-temperature-coefficient
resistor (PTC) ซึง่ จากัดกระแสโดยการเพิ่มความต้ านทานของตัวเองเมื่อมีกระแสไหลผ่านมากขึ ้น.
Tranzorb เป็ นอุปกรณ์คล้ าย zener แต่กระแสสามารถไหลผ่านได้ สองทางโดยที่มี voltage ตกคร่อมคงที่
จึงไม่จาเป็ นต้ องต่อร่วมกับ diode

รู ปที่ 15 Relay control and clamping

23
Lecture 6

รู ปที่ 16 การใช้ zener diode เข้ าช่วยเพื่อให้ การ turn off ของ relay เร็วขึ ้น

Pick/Hold
ในการขับ relay กระแสที่ใช้ ต้องมีขนาดสูงพอที่จะทาให้ เกิดสนามแม่เหล็กที่แรงพอที่จะดึงหน้ าสัมผัสของ
relay ไว้ ได้ อย่างไรก็ตาม กระแสในขณะที่ใช้ ยดึ หน้ าสัมผัส (hold) ไว้ จะมีคา่ น้ อยกว่ากระแสที่ใช้ ดงึ
หน้ าสัมผัส (pick) ในตอนแรกประมาณ 50% เพราะฉะนัน้ จึงสามรถใช้ พลังงานจากแหล่งจ่ายต่าลง
ในขณะ hold ได้ และการที่ใช้ กระแสน้ อยลงในการ hold ยังทาให้ การปล่อยหน้ าสัมผัสเกิดได้ เร็วขึ ้นอีก
ด้ วยเพราะมีพลังงานสะสมอยูใ่ นขดลวดน้ อยกว่า

รูปที่ 17A แสดงการใช้ electrolytic capacitor ต่อขนานกับตัวต้ านที่อนุกรมกับขา


collector ของ transistor ที่ใช่ขบั relay เมื่อ transistor ทางาน capacitor จะเสมือนกับเป็ นความต้ านทาน
ค่าต่าๆ และกระแสจะไหลผ่านขดลวดของ relay อย่างเต็มที่ ขณะที่ capacitor ถูกชาร์ จ กระแสที่ไหลผ่าน
ขดลวดของ relay จะมีคา่ ลดลงจนกระทัง่ ถึงค่าๆหนึง่ ที่ถกู จากัดไว้ โดยตัวต้ านทาน
วงจรนี ้มีข้อเสียคือ ต้ องใช้ capacitor ขนาดใหญ่เนื่องจากมันต้ องทาหน้ าที่ชว่ ยจ่ายกระแสในขณะ hold
และจะมีการสูญเสียพลังงานที่ตวั ต้ านทาน จึงต้ องใช้ ตวั ต้ านทานที่สามารถทนพลังงานได้ สงู

รูปที่ 17B แสดงวงจร pick/hold อีกแบบหนึง่ วงจรนี ้ต้ องใช้ 2 outputs จาก microprocessor ในการ
ควบคุม Input 2 เป็ นตัวที่จะถูกขับเป็ น high เพื่อการ pick และหลังจาก delay (เป็ น software) Input 1
จะถูกขับเป็ น high และ Input 2 เป็ น low วงจรนี ้ไม่ต้องใช้ capacitor แต่ยงั ใช้ resistor และสอง outputs
จาก microprocessor ร่วมกับโปรแกรม

รูปที่ 17C แสดงการควบคุม relay โดยการปรับกระแสด้ วยวงจร PWM หลังจากที่ ON input เป็ น high
เพื่อที่จะดึงหน้ าสัมผัส relay เข้ าแล้ ว HOLD จะเป็ น high หลังจากนันเล็
้ กน้ อยด้ วยการควบคุมโดย

24
Lecture 6

software กระแสที่ผา่ น relay .จะมีคา่ เท่ากับค่าเฉลี่ยของรูปคลื่นที่เกิดขึ ้น ถ้ ารูปคลื่นมี duty cycle 50%


กระแสเฉลี่ยผ่าน relay ขณะ hold จะเป็ นครึ่งหนึง่ ของกระแส pick

รูปที่ 17D แสดงวงจรอีกแบบหนึง่ ซึง่ ใช้ วงจร PWM เช่นกัน การดึง relay เข้ ามาจะต้ องโปรแกรมให้ รูปคลื่น
มี duty cycle 90% หรื อ 100 % เพื่อการ pick และหลังจากนันจึ ้ งใช้ duty cycle เป็ น 50% หรื ออื่นๆ
เพื่อลดระดับกระแสลงมา

รูปที่ 17E แสดงวงจรซึง่ ใช้ 2 PNP transistors ต่อจาก 2 power supplies โดยขณะ Input 1จะเป็ น high
และ transistor Q2 จะ on ทาให้ V2 ต่อเข้ ากับ coil หลังจากนัน้ Input 2 จะเป็ น high และ Input 1 จะเป็ น
low V2 มีคา่ สูงกว่า V1 .

รู ปที่ 17 Pick and hold

สิ่งที่ต้องพิจารณามีหลายอย่างโดยหนึง่ ในนันคื
้ อ พิกดั กระแสที่หน้ าสัมผัส (Contact Max. Switching
current) กาลังไฟฟ้าสูงสุดที่ใช้ งานได้ (Contact Max. Switching Power) ซึง่ มีทงั ้ AC และ DC แต่คา่ พิกดั
แรงดันจะไม่เท่ากัน แรงดันไฟฟ้าสูงสุดที่ใช้ งานได้ ที่คอล์ย (Coil Max. Allowable Voltage) และอีกส่วนที่
สาคัญคือ เวลาที่ใช้ ในการตอบสนองคาสัง่ (Operation time / Release time)

25
Lecture 6

Operate time ก็คือเวลาที่ใช้ ตงแต่


ั ้ รับคาสัง่ ไปจะถึงขณะที่หน้ าสัมผัสของ Relay จะทางาน ส่วน Release
time ก็คือเวลาที่ใช้ ตงแต่
ั ้ เลิกส่งสัญญาณให้ Relay ทางานกระทังหน้ ้ าสัมผัสเลิกทางาน และ Max.
Operating Frequency ซึง่ หมายถึงความถี่สงู สุดในการทางาน เปิ ด ปิ ด ของหน้ าสัมผัส

รูปxxx7 Datasheet ของ PCB Relay 12V G2RL Omron

Ex จากรูป 17D PCB Relay 12V G2RL Omron ที่ +V = 12V


วิธีเลือกใช้ Transistor
จาก Datasheet ของ Relay แสดงให้ เห็นว่า ถ้ าใช้ Rated
D1
Relay G2RL Omron
Voltage 12VDC แล้ ว Rated Current จะเท่ากับ 33.3 mA ทาให้
สามารถทราบได้ ว่า ทรานซิสเตอร์ Q1 ในรูปต้ องมีคา่ IC(SAT) ≤ R1
MCS-51 port
33.3 mA ด้ วย
เนื่องจาก Coil resistance จะมีคา่ 360 Ω ทาให้ จะสามารถ
Q1

26
Lecture 6

ทราบได้ วา่ VCE(SAT) ของทรานซิสเตอร์ Q1 นี ้ต้ องมีคา่

VCE(SAT) = IC(SAT)x Coil resistance = 12-(33.3mA x 360)= 0.0012 V


้ องเลือกใช้ ทรานซิสเตอร์ Q1 ที่มี VCE(SAT) ≤ 0.0012V
ดังนันต้
จากนันจะสามารถค
้ านวณค่าความต้ านทานได้ โดย
IB = IC/ β0 หรื อ hFE โดยแทนค่า IC = IC(SAT)
และ Voh = IBER1 - VBE
R1 = (Voh - VBE)/IBE
วิธีเลือกใช้ Diode (D1)
เมื่อทราบว่ากระแสที่ไหลผ่าน coil จะมีคา่ เท่ากับ Rated Current ซึง่ มีคา่ 33.3 mA แล้ ว ทาให้ ทราบว่า
กระแสที่เกิดจาก Back EMF เมื่อ coil switched off ก็มีคา่ 33.3 mA เช่นเดียวกัน และขณะ Relay ทางาน
จะมีแรงดันตกคร่อม coil กับ Diode เท่ากันคือ 11.988 V
ดังนันจึ
้ งต้ องเลือก Diode ที่ทนกระแสไหลผ่านได้ 33.3 mA และ Diode ต้ องมีคา่ Breakdown voltage
เกิน 11.988 V โดยอาจจะเผื่อไว้ เป็ น 2 เท่าคือ 23.976 V

Analogue switches (Solid-state Relay)

Analogue switches หรื อที่ร้ ูจกั กันชื่อ Solid-


state Relay มีความเร็วสูงกว่า ขนาดเล็กกว่า
Relay ไม่มีการ bounce ของหน้ าสัมผัส และ
ใช้ กระแสต่ากว่า โครงสร้ างภายใน Analogue
switches ประกอบด้ วย N-channel
MOSFET ต่อขนานกับ P-channel MOSFET
วงจรควบคุมจะทาการ on หรื อ off MOSFETs
ทังสองพร้
้ อมๆกัน และกระแสจะไหลผ่านได้ ทงสองทาง ั้ Analogue switches มี 3 ชนิดคือ
 BJT output
 Power MOSFET output
 Thyristor or Triac output
ถึงแม้ Analogue switches จะเป็ นที่ร้ ูจกั กันในชื่อ solid-state relay แต่จริงๆแล้ วมีความแตกต่างกับ
relay คือหน้ าสัมผัสของ relay จะถูกแยกจาก coil อย่างสมบูรณ์ จึงสามารถนาไปใช้ กบั ความต่างศักย์สงู ๆ
ต่อกับด้ านหน้ าสัมผัสได้ โดยที่วงจรไมโครโปรเซสเซอร์ ซงึ่ ต่อกับด้ าน coil กับไม่เป็ นอันตรายใดๆ จากความ

27
Lecture 6

ต่างศักย์สงู ส่วน analog switch นันทั


้ งสองด้
้ านของสวิทช์ไม่ได้ แยกออกจากกันอย่างแท้ จริงแต่อยูบ่ นสาร
กึ่งตัวนาชิ ้นเดียวกัน analog switch ต้ องการ power supplies สาหรับการ switch transistors ดังนัน้
voltage บนขา input และ output จะไม่สามารถเกิน V+ และ V-
Analog switches บางชนิดมีการออกแบบไว้ เพื่อป้องกันความผิดพลาดที่จะเกิดขึ ้นโดยยอมให้ voltage ที่
ขา input และ output สามารถเกิน supply voltage ได้ แต่จะไม่ทางานเมื่อ voltage บนขา input และ
output เกิน V+ และ V- อยู่ดี

รู ปที่ 18 วงจรใช้ งาน Analogue Switch เพื่อแยกวงจร input กับ output


DC Motor
 Brushed DC motor
 Brushless DC motor
Brushed DC motor แบ่งตามลักษณะการวางตาแหน่งของขดลวดกับ แกนของแม่เหล็ก
1. แบบ Shunt Motor เป็ นแบบการวางตาแหน่งของขดลวดขนานกับแกนแม่เหล็ก เป็ นแบบที่
สามารถปรับเส้ นแรงได้ อย่างอิสระ นิยมใช้ กบั ระบบควบคุมการเคลื่อนที่ต้องการแรงบิตสูง
2. แบบ Series Motor เป็ นแบบการวางตาแหน่งของขดลวดอนุกรมกับแกนแม่เหล็กเป็ นแบบ
เส้ นแรงแม่เหล็กเป็ นสัดส่วนกับกระแส เหมาะนาไปใช้ ในสภาวะเฉพาะคือ เมื่อต้ องการแรงบิตสูงที่ความเร็ว
ต่า

28
Lecture 6

3. Compound

DC motor speed and direction control


PWM (Pulse Width Modulation) ที่ความถี่ 20 kHz หรื อต่ากว่า เป็ นความถี่ ที่มนุษย์สามารถได้ ยินเสียง
มอเตอร์ ทางานได้ ถ้ าความถี่สงู เกินไป ค่า Impedance ของขดลวดในมอเตอร์ จะมีคา่ สูงทาให้ เกิดความ
ร้ อนและการสูญเสียพลังงาน

29
Lecture 6

IC ขับ DC motor
เช่น L293D
 Supply-Voltage Range: 4.5 V to 36 V
 Output Current 600 mA Per Channel
 Peak Output Current 1.2 A Per Channel
 Output Clamp Diodes for Inductive
 Transient Suppression (L293D)

Brushless DC motor
Stepper Motor เป็ นอุปกรณ์ที่เป็ น Output Device อย่างหนึง่ ซึง่ เปลี่ยนสัญญาณทางไฟฟ้า เป็ นการ
เคลื่อนที่ทางกลได้ และสามารถควบคุมการหมุนของมันได้ อย่างละเอียด มีหลายประเภท เช่น
1. Permanent-magnet: a rotor with
alternating north and south poles
2. Variable-reluctance: a soft iron rotor with teeth and a wounded stator.

3. Hybrid: adds teeth to a permanent Magnet motor

30
Lecture 6

, resulting in better coupling of the magnetic field


into the rotor and more precise movement.

โครงสร้ างเบื ้องต้ น และวงจรที่จะใช้ ขบั Stepper Motor แสดงดังรูป

มุม step
มอเตอร์ จะหมุนไปทีละหนึง่ step ถ้ ามอเตอร์ 4 เฟส มีขดลวดชุดเดียว มอเตอร์ จะมีมมุ step เท่ากับ 90
องศา ถ้ ามีขดลวดหลายชุดก็จะยิ่งมีมมุ step น้ อยลง โดยจานวน stepต่อรอบคือ 4 คูณจานวนชุดขดลวด

31
Lecture 6

ในการขับ Stepper Motor ด้ วยวงจรข้ างต้ นนัน้ ต้ องเขียน


โปรแกรมของ Microcomputer ให้ ทาการส่งสัญญาณ
ออกไปขับให้ ขดลวดของ Motor ทางานตามลาดับ การขับ
จะสามารถทาแบบทีละขด (One Phase) หรื อพร้ อมๆ กัน
สองขด (Two phases) ก็ได้ ซึง่ จะทาได้ ได้ แรงบิดที่มากขึ ้น
นอกจากนี ้จะมีการขับในแบบของ Half step ซึง่ จะได้ มมุ
ของการหมุนที่ละเอียดขึ ้น ลาดับของการขับให้ ขดลวดต่างๆ
ทางานแสดงในตาราง
วงจรขับ Stepping motor อย่ างง่ าย

การขับ Stepping motor

1. การขับแบบ 1 เฟส
Step Phase 1 Phase 2 Phase 3 Phase 4

1 ON OFF OFF OFF

2 OFF ON OFF OFF

3 OFF OFF ON OFF

4 OFF OFF OFF ON

32
Lecture 6

2. การขับแบบ 2 เฟส
Step Phase 1 Phase 2 Phase 3 Phase 4

1 ON ON OFF OFF

2 OFF ON ON OFF

3 OFF OFF ON ON

4 ON OFF OFF ON
3. การขับแบบ ครึ่งสเต็ป
Step Phase 1 Phase 2 Phase 3 Phase 4

1 ON OFF OFF OFF

2 ON ON OFF OFF

3 OFF ON OFF OFF

4 OFF ON ON OFF

4. การขับแบบ Microstepping

ข้ อจากัดของ Stepper Motor คือมันไม่สามารถหมุนได้ เร็ วมากนัก ดังนัน้ ในการที่จะส่งสัญญาณไปขับให้


หมุนแต่ละ Step นัน้ จะต้ องมีการหน่วงเวลาเอาไว้ ด้วย

AC Control
โดยทัว่ ไป การควบคุมเปิ ดปิ ดไฟ AC ควรจะมีการตรวจสอบ zero crossing ซึง่ เป็ นจุดที่สญ ั ญาณไฟ AC
ผ่านระดับศูนย์ (รูปที่ 19) ถ้ าการเปิ ดปิ ดไฟ AC เกิดขึ ้นในขณะที่ voltage มีคา่ ไม่เท่ากับศูนย์ voltage ที่
โหลดจะมีระดับสูงขึ ้นทันทีแทนที่จะค่อยๆขึ ้นจนเป็ นรูป sine wave ปรากฏการณ์นี ้จะทาให้ โหลดเสียหาย
และทาให้ เกิด EMI ตัว solid-state relays ที่มี zero crossing ด้ วยมีขายทัว่ ไปโดยที่วงจรส่วนนี ้มักจะ
ประกอบด้ วย SCR หรื อ triac
ในบางกรณี zero crossing สามารถทาโดยใช้ software รูปที่ 19 C แสดงวิธีการใช้ opto-isolator และตัว
ต้ านทานจากัดกระแส แต่ละครัง้ ที่ AC voltage ผ่านระดับศูนย์ opto-isolator จะ turns off และทาให้ เกิด

33
Lecture 6

สัญญาณ interrupt ส่งไปยัง microprocessor แล้ วการเปิ ดสวิทช์เพื่อส่งไฟ AC ไปยัง loads จะถูก
ควบคุมด้ วย ISR

รู ปที่ 19 AC control

Heaters
Heaters ส่วนใหญ่มีคา่ inductance ที่น้อยมาก ดังนันจึ
้ งไม่จาเป็ นต้ องมี clamping diodes และ heaters
จะถูกควบคุมด้ วย feedback loop โดยใช้ temperature sensor วัดอุณหภูมิดงั รูป

34
Lecture 6

รู ปที่ 20

Coolers

รู ปที่ 21 Peltier cooler และ waterblockที่ถูกออกแบบมาให้ ใช้ กับ Peltierโดยเฉพาะ

Solid-state (Peltier) cooler ประกอบด้ วยรอยต่อ PN หลายๆอัน ส่วนใหญ่สร้ างจาก bismuth telluride
ซึง่ จะดึงความร้ อนจากด้ านหนึง่ และปล่อยออกไปอีกด้ านหนึง่ การควบคุม Peltier cooler คล้ ายๆกับการ
ควบคุม heater การปรับอุณหภูมิสามารถทาได้ โดยควบคุมการจ่ายไฟด้ วยวงจร pulse width modulation
แต่การทาเช่นนันควรใช้
้ ความถี่ของ PWM สูงกว่าความถี่ต่าสุดที่แนะนาเพื่อลดผลของ thermal stress ซึง่
โดยทัว่ ไปมีคา่ ประมาณ 2 kHz.

Fans
การใช้ Cooling fans ควรจะมีการควบคุมความเร็วพัดลมเพื่อจากัด noise ที่จะเกิดขึ ้นในระบบ การวัด
ความเร็วพัดลมอาจใช้ optical sensor กับ disc encoder

35
Lecture 6

Displays
 7-Segment LED
7-Segment LED คือการนาเอา LED 7 ดวงมาเรี ยกกัน ดังรูป ซึง่ มันจะใช้ ในการแสดงตัวเลข ‘0’ – ‘9’ หรื อ
ใช้ แสดง ตัวเลข ‘0’ – ‘F’ ก็ได้ การแสดงผลจะออกมาจากการติดสว่างของ LED คือ

รูปที่ 22
7-Segment LED แต่ละส่วนมี ชื่อของมันดังที่แสดงในรูป ในการต่อใช้ งานในเพื่อเป็ นการแสดงผลของ
Microcomputer นิยมต่อ Segment ‘a’ เข้ ากับ บิต ‘0’ ของข้ อมูลที่สง่ เป็ น Output ออกมา และ Segment
‘b’ ก็จะต่อกับบิตที่ ‘1’ ตามลาดับ
ดังนัน้ ถ้ าส่งข้ อมูล ‘0 0 1 1 1 1 1 1’ (3FH) ออกไปที่ Output Port ที่ตอ่ อยู่กบั 7-Segment จะมี
Segment ที่ ‘a’, ‘b’, ‘c’, ‘d’, ‘e’ และ ‘f’ ที่ติดสว่าง และมองเห็นได้ เป็ นเลข ‘0’

รูปที่ 23

ตาราง 1
แสดงผล Common Common แสดงผล Common Common แสดงผล Common Common
cathode anode cathode anode cathode anode

36
Lecture 6

0 3F C0 C 39 C6 b 7C 83
1 06 F9 E 79 86 c 58 A7
2 5B A4 F 71 8E d 5E A1
3 4F B0 G 70 82 h 74 8B
4 66 99 H 76 89 n 54 AB
5 6D 92 I 06 F9 o 5C A3
6 7D 82 J 1E E1 r 50 AF
7 07 F8 L 38 C7 u 1C E3
8 7F 80 O 3F C0 - 40 BF
9 67 98 P 73 8C ? 53 AC
A 77 88 U 3E C1 Blank 00 FF
B 7F 80 Y 66 99
BCD Output to 7-Segments
เราสามารถที่จะต่อ LED Segment ต่างๆ เข้ า
โดยตรงที่ Output Port Bit ก็ได้ ในกรณีนี ้
Output Port 8 Bit ก็จะต่อ 7-Segment ได้ 1
ตัว หรื อจะต่อโดยใช้ IC ถอดรหัส BCD ใน
กรณีนี ้ ข้ อมูลที่สง่ ออกมาจะเป็ น BCD ซึง่ ใช้
เพียง 4 Bit เท่านัน้
การแสดงผลที่ 7-Segments จะทาได้ โดยการ
ส่งข้ อมูลไปออกที่ Output port ที่มนั ต่ออยู่
หลักการนี ้ จะเรี ยกได้ วา่ เป็ น Static Display
เราจะสามารถต่อ 7-Segment เพิ่มได้ ตาม
ต้ องการ โดยการใช้ Output Port ที่มากขึ ้น
แต่อย่างไรก็ดี ในการแสดงผลของ 7-Segment
จานวนมากแล้ ว จึงใช้ หลักการของ Dynamic
Display แทน

รู ปที่ 24

37
Lecture 6

Dynamic Display
หลักการของ Dynamic Display นันอาศั ้ ยคุณสมบัตขิ อง ตามนุษย์ ที่ไม่สามารถมองเห็นการกระพริบ หรื อ
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นเร็ วๆ ได้ ดังนัน้ 7-Segment ทังหมดจึ
้ งไม่จาเป็ นต้ องติดพร้ อมกัน ซึง่ ทาได้ โดยใช้
สัญญาณ (ข้ อมูล) อีกส่วนหนึง่ เป็ นตัว
ควบคุมว่าจะให้ 7-Segment ตัวใดที่แสดงผล (หลักการนี ้ คล้ ายกับการ Scan key) จากรูปเป็ นตัวอย่าง
ของวงจรที่ใช้ แสดงผล 7-Segments จานวน 7 หลัก โดย Microcomputer จะส่งข้ อมูลของตัวเลขที่ต้องการ
แสดง ออกทาง Output port B และส่งสัญญาณเพื่อเลือก หลักที่จะแสดงผลออกที่ Output port A
โปรแกรมสาหรับการแสดงผล นี ้จะเขียนเป็ น Pseudo-code ได้ คือ

Port B

Port A

รู ปที่ 25
1. ไม่เลือกให้ 7-Segments ตัวใดติด
2. ส่งค่าตัวเลข ที่ต้องการแสดงผล ออกไปที่ Output port B
3. เลือก หลัก ของ 7-Segments ที่ต้องการให้ ตดิ
4. หน่วงเวลา
5. อ่านข้ อมูลที่จะแสดงผลของหลักต่อไป แล้ วกลับไปที่ข้อ 1 ทาจนครบทัง้ 7 หลัก
6. กลับไปเริ่มต้ นใหม่ ที่ข้อ 1

38
Lecture 6

ขบวนการทางานแสดงผล ตัวเลขทังหมดนี
้ ้ จะต้ องเกิดขึ ้น ภายในเวลา ที่ น้ อยกว่า 20 mS ไม่เช่นนัน้ แล้ ว
เราจะมองเห็นว่าตัวเลขนันกระพริ
้ บ

นอกจากนี ้ หลักการของ Dynamic Display ยังจะ


ใช้ ได้ กบั การแสดงผลใดๆ ก็ได้ ที่คนหรื อระบบ มีการ
ตอบสนองได้ ช้า เช่นการต่อใช้ กบั LED เพื่อแสดงผล
ในแบบของ Matrix ก็จะทาได้ โดยหลักการของ
Dynamic Display เช่นกัน

รูปที่ 26
LCDs
LCD มีข้อดีคือสามารถใช้ แสดงผลได้ หลายรูปแบบ
ทังแบบตั
้ วอักษร ตัวเลข และ กราฟฟิ ก ราคาไม่แพง
และการใช้ งานไม่ยงุ่ ยากเนื่องจากถูกผลิตขึ ้นโดยมีอปุ กรณ์ควบคุมการแสดงผลอยูภ่ ายในทาให้ ไม่ต้อง
เขียนโปรแกรมที่ซบั ซ้ อน และเสียเวลาในการแสดงผลทีละหลัก อุปกรณ์แสดงผลแบบ LCD บางครัง้ จะ
เรี ยกว่า LCD Module เนื่องจากภายในประกอบด้ วยหลายส่วน ได้ แก่ Register เก็บคาสัง่ (Instruction
Register: IR) ทาหน้ าที่รับคาสัง่ ควบคุมการแสดงผล, Register เก็บข้ อมูล (Data Register: DR)
RS (Register Select) ใน LCD Module มี
Register เก็บคาสัง่ และ Register เก็บ
ข้ อมูล
RS เป็ น ‚0‛ แสดงว่าเป็ นคาสัง่ , ‚1‛ เป็ น
ข้ อมูล
R/W เป็ น ‚0‛ write, ‚1‛ read
E (Enable) ทาให้ LCD ทางาน
D0-D7 ใช้ รับส่งข้ อมูล รูปที่ 27

ตารางที่ 1 คาสั่งควบคุมการแสดงผล LCD


Instruction RS R/W Command Code Description
(binary)

39
Lecture 6

7 65 4 3 2 1 0
Clear entire display and move cursor
1 Clear Display 0 0 0 00 0 0 0 0 1
home (address 0)
Move cursor home and return display to
2 Home Display 0 0 0 00 0 0 0 1 0
home position.
Sets cursor direction (M: 0=left, 1=right)
3 Entry Mode Set 0 0 0 0 0 0 0 1 M S and display scrolling (S: 0=no scroll,
1=scroll)
Sets display on/off (D), cursor on/off (C)
4 Display/Cursor 0 0 0 00 0 1 D C B
and blinking cursor (B). (0=off, 1=on)
Cursor or Display Shift (C: 0=cursor,
Cursor or Display
5 0 0 0 0 0 1 C M 0 0 1=display) left or right (M: 0=left,
Shift
1=right).
Data bus size (D: 0=4-bits, 1=8-bits),
6 Function Set 0 0 0 0 1 D N F 0 0 lines No.(N: 0=1-line, 1=2-lines) and
font size (F: 0=5x7, 1=5x10)
Move pointer to Character Generator
Set CG-RAM CGRAM
7 0 0 0 1 RAM location specified by address
Address ADDRESS
(ADDRESS)
Move cursor to Display Data RAM
Set DD-RAM DDRAM
8 0 0 1 location specified by address
Address ADDRESS
(ADDRESS)
9 Busy, ADD.Read 0 1 BF ADDRESS Read Busy flag, And Address Read
CGRAM,DDRAM
10 1 0 WRITE DATA Write Data to DDRAM or CGRAM
WR
CGRAM,DDRAM
11 1 1 READ DATA Read Data to DDRAM or CGRAM
RD

รายละเอียดคาสัง่
1). เคลียร์ การแสดงผล (Clear Display)
7 6 5 4 3 2 1 0 bit0=1 เคลียร์ การแสดงผล

40
Lecture 6

0 0 0 0 0 0 0 1 เคอร์ เซอร์ กลับไปอยูท่ ี่มมุ ซ้ ายมือสุด


RS=0, R/W=0
2).Home Display
7 6 5 4 3 2 1 0 bit1=1 เคอร์ เซอร์ กลับไปอยู่ที่มมุ ซ้ ายมือสุด
0 0 0 0 0 0 1 - ข้ อมูลไม่มีการเปลี่ยนแปลง
RS=0, R/W=0
3).โหมดการป้อนข้ อมูล (Entry Mode Set)
bit2=1
7 6 5 4 3 2 1 0
M (Address Increase/Decrease) , M=0 ลดตาแหน่งแอดเดรส,
0 0 0 0 0 1 M S
M=1 เพิ่มตาแหน่งแอดเดรส
S (Shift bit) การเลื่อนข้ อมูล,S=0 เคอร์ เซอร์ จะเลื่อนไปทางขวา ,S=1
RS=0, R/W=0
เคอร์ เซอร์ จะอยู่กบั ที่
4).การควบคุมการแสดงผล (Display/Cursor)
7 6 5 4 3 2 1 0 bit3=1
0 0 0 0 1 D C B D (Display ON/OFF) D=0 OFF, D=1 ON,
RS=0, R/W=0 C (Cursor ON/OFF) C=0 OFF, C=1 ON,
B (Blinking Cursor ON/OFF ) B=0 OFF, B=1 ON,
5).การควบคุมการเลื่อนเคอร์ เซอร์ (Cursor or Display Shift)
7 6 5 4 3 2 1 0 bit4=1
0 0 0 1 C M - - C (Cursor or Display Shift) C=0 shift cursor ,C=1 shift display
RS=0, R/W=0 M (Move left/right) M=0 left, M=1 right,
6).ฟั งก์ชนั่ เซ็ท (Function Set)
7 6 5 4 3 2 1 0 bit5=1
0 0 1 DN F - - D (Data bus size ) D= 0 is 4-bits,D= 1 is 8-bits,
RS=0, R/W=0 N (lines No.)N= 0 is 1-line,N= 1 is 2-lines
F ( font size) F= 0 is 5x7,F= 1 is 5x10
7).เซ็ทตาแหน่งใน CG-RAM (Set CG-RAM Address)

41
Lecture 6

bit6=1
76 5 4 3 2 1 0
หน่วยความจาชัว่ คราว เก็บข้ อมูลตัวอักษร CG-RAM (Character
0 1 A5 A4 A3 A2 A1 A0
Generator RAM)
RS=0, R/W=0 A0-A5 เป็ นตาแหน่งแอดเดรสใน CG-RAM
8).เซ็ทตาแหน่งใน DD-RAM (Set DD-RAM Address)
bit7=1
7 6 5 4 3 2 1 0
หน่วยความจาชัว่ คราว เก็บข้ อมูลการแสดง DD-RAM (Display
1 A6 A5 A4 A3 A2 A1 A0
Data RAM)
A0-A6 เป็ นตาแหน่งแอดเดรสใน DD-RAM ซึง่ จะถูกคัดลอกไปยัง
RS=0, R/W=0
Address Counter (AC)
DD-RAM คือหน่วยความจาที่เก็บข้ อมูลการแสดงผล หากเขียนรหัส ASCII ลงในหน่วยความจานี ้ก็จะ
ปรากฏที่จอ LCD ทันที ตาแหน่ง Address ของ LCD แต่ละแบบ
1 x 16 Display
Line 1 0 1 2 3 4 5 6 7 40 41 42 43 44 45 46 47
2 x 16 Display
Line 1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
Line 2 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 4A 4B 4C 4D 4E 4F
4 x 20 Display
Line 1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F 10 11 12 13
Line 2 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 4A 4B 4C 4D 4E 4F 50 51 52 53
Line 3 14 15 16 17 18 19 1A 1B 1C 1D 1E 1F 20 21 22 23 24 25 26 27
Line 4 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 6A 6B 6C 6D

เช่นกรณีใช้ งาน LCD โมดูลแบบ 2x16 บรรทัดที่ 2 ใน columnแรกจะมีคา่ address = 64(dec) หรื อ
40H คาสัง่ ที่ใช้ ในการเขียนข้ อมูลออกไปยังโมดูล LCD บรรทัดต่างๆคือ การนา 10000000 หรื อ 80H มา
OR กับ address ของ DDRAM เช่น 80H OR 40H =0C0H จะเป็ นชุดคาสัง่ ที่ใช้ เขียนไปยังโมดูล LCD
บรรทัดที่ 2
9). การอ่าน BUSY Flag and Address Counter (BF and AC)
7 6 5 4 3 2 1 0 BF=bit7เป็ นตัวบอกสถานะของ

42
Lecture 6

BF A6 A5 A4 A3 A2 A1 A0 LCD
R/W=1กาหนดให้ เป็ น Read
mode
RS=0, R/W=1 BF=0 ว่าง, BF=1 ไม่วา่ ง
A0-A6 = Address Counter (AC)
10). การเขียนข้ อมูลใน CG or DD-RAM
7 6 5 4 3 2 1 0 RS=1 กาหนดให้ เป็ นข้ อมูล
D7 D6 D5 D4 D3 D2 D1 D0 R/W=0 กาหนดให้ เป็ น Write mode
RS=1, R/W=0 D0-D7 = ข้ อมูลที่ต้องการเขียน
หากต้ องการเขียนข้ อมูลใน CG-RAM ให้ เซ็ทตาแหน่ง CG-RAM ในข้ อที่ 7 ก่อน
หากต้ องการเขียนข้ อมูลใน DD-RAM ให้ เซ็ทตาแหน่ง DD-RAM ในข้ อที่ 8 ก่อน
11). การอ่านข้ อมูลจาก CG or DD-RAM
7 6 5 4 3 2 1 0 RS=1 กาหนดให้ เป็ นข้ อมูล
D7 D6 D5 D4 D3 D2 D1 D0 R/W=1 กาหนดให้ เป็ น Read
mode
RS=1, R/W=0
D0-D7 =ข้ อมูลที่อา่ นได้
หากต้ องการอ่านข้ อมูลใน CG-RAM ให้ เซ็ทตาแหน่ง CG-RAM ในข้ อ 7 ก่อน
หากต้ องการอ่านข้ อมูลใน DD-RAM ให้ เซ็ทตาแหน่ง DD-RAM ในข้ อ 8 ก่อน

การเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุม LCD

รู ปที่ 28
ขันตอนการเขี
้ ยนโปรแกรมเพื่อใช้ งาน LCD สามารถอธิบายได้ ดงั นี ้
1) หากเป็ นการเริ่มจ่ายไฟที่ระดับแรงดันถึง 4.5 V ให้ LCD ให้ รออย่างน้ อย 15ms เพื่อให้ LCD

43
Lecture 6

Reset ตัวเอง (Internal Reset)


2) Set ค่าเริ่มต้ นต่างๆเพื่อให้ LCD เริ่มทางานตามที่เราต้ องการ โดย
กาหนดขาควบคุม
ให้ ขา E = 1
ให้ ขา RS= 0 กาหนดเป็ นคาสัง่
ให้ ขา R/W = 0 เขียนคาสัง่
ส่งข้ อมูลค่าสัง่ 4 ครัง้
2.1) Function Set Instruction = 00111000B
DL=1 8bit
N=1 2บรรทัด
F=0 5x7 dot
2.2) Display ON/OFF Instruction = 00001110B
D=1 Display ON
C=1 Cursor ON
B=0 Blink OFF
2.3) Entry Mode Set Instruction = 00000110B
M=1 เพิ่มค่า DDRAM address ขึ ้น
S=0 No scroll
2.4) Display clear Instruction = 00000001B
3) Set DDRAM Address เพื่อเลือกตาแหน่งในการ Display โดย
กาหนดขาควบคุม
ให้ ขา E = 1
ให้ ขา RS= 0 กาหนดเป็ นคาสัง่
ให้ ขา R/W = 0 เขียนคาสัง่
เช่น 10000000B = ตาแหน่งแรก แถวที่1 (10000000 OR 00000000)
11000000B = ตาแหน่งแรก แถวที่ 2 (10000000 OR 01000000)
40H = 01000000B
4) เขียนตัวอักษรที่ต้องการแสดงไปยัง DDRAM
กาหนดขาควบคุม

44
Lecture 6

ให้ ขา E = 1
ให้ ขา RS= 1 กาหนดเป็ น
ข้ อมูล
ให้ ขา R/W = 0 เขียนข้ อมูล
หมายเหตุ หลังจากการปฏิบตั กิ ารในแต่
ละขันตอนต้
้ องมีการตรวจสอบว่า LCD
Module พร้ อมที่จะรับคาสัง่ ต่อไป
หรื อไม่โดยการตรวจสอบ Busy Flag
(Bit 7) ใน Instruction Register โดย
กาหนดขาควบคุม
ให้ ขา E = 1
ให้ ขา RS= 0 กาหนดเป็ นคาสัง่
ให้ ขา R/W = 1 อ่านคาสัง่
รู ปที่ 29
ตัวอย่ างการต่ อ LCD
ตาแหน่ง address
0400H (xxxxx100xxxxxxxx) เขียนคาสัง่
0500H (xxxxx101xxxxxxxx) อ่านคาสัง่
0600H (xxxxx110xxxxxxxx) เขียนข้ อมูล
0700H (xxxxx111xxxxxxxx) อ่านข้ อมูล

OLED (Organic Light Emitting Devices)

เป็ นอุปกรณ์ที่มีหลักการง่ายๆ กล่าวคือ เมื่อนาวัสดุที่มีสมบัตเิ ป็ นสารเปล่งแสง (Emissive Materials) ซึง่


เป็ นโมเลกุลอินทรี ย์ (Organic Materials) มาวางไว้ ระหว่างขัวไฟฟ้ ้ าบวกและลบ วัสดุเปล่งแสงนี ้ มีสมบัติ
เป็ นสารกึ่งตัวนาที่มีชนของพลั
ั้ งงาน 2 ชนิด ได้ แก่ ชันพลั
้ งงานที่มีอิเล็กตรอนบรรจุอยู่ กับ ชันพลั
้ งงานที่วา่ ง
เปล่าที่ไม่มีอิเล็กตรอนบรรจุ ประจุบวกหรื อโฮล (Hole) สามารถวิ่งอยูบ่ นชันพลั ้ งงานที่มีอิเล็กตรอนบรรจุอยู่
นี ้ได้ ในขณะที่ประจุลบหรื ออิเล็กตรอน (electron) สามารถวิ่งได้ บนชันพลั้ งงานที่วา่ งเปล่านี ้ ชันพลั
้ งงาน 2
ชนิดนี ้มีลกั ษณะที่ไม่เชื่อมต่อกัน โดยชันพลั
้ งงานที่วา่ งเปล่าจะอยูส่ งู กว่าชันพลั
้ งงานที่มีอิเล็กตรอนบรรจุ
อยู่ ชันพลั
้ งงานบนสุดที่มีอิเล็กตรอนบรรจุอยู่ จะถูกแยกออกจากชันพลั ้ งงานว่างเปล่าด้ วยช่องว่างของ
พลังงาน (Energy Gap) ซึง่ มีขนาดที่พอเหมาะ เมื่อผ่านสนามไฟฟ้าเข้ าไปที่ขวไฟฟ ั ้ ้ าทังสอง
้ อิเล็กตรอน

45
Lecture 6

จากขัวลบจะวิ
้ ่งไปที่ชนพลั
ั ้ งงานที่วา่ งเปล่า ในขณะที่โฮลจะวิ่งจากขัวบวกเข้
้ าไปยังชันพลั
้ งงานที่มี
อิเล็กตรอนบรรจุอยู่ จากนันประจุ
้ ลบจะวิ่งลงมาในขณะที่ประจุบวกจะวิ่งขึ ้นไปพบกัน แล้ วรวมตัวกันเกิด
เป็ นอนุภาคโฟตอนหรื อแสงนัน่ เอง โดยพลังงานของอนุภาคโฟตอนนันจะมี ้ คา่ เท่ากับ Energy Gap ซึง่ จะ
เป็ นตัวกาหนดสีของแสงที่เปล่งออกมา เช่น สีแดง ซึง่ มีพลังงานต่ากว่า สีฟ้า เป็ นต้ น สีของแสงที่เปล่ง
ออกมาขึ ้นอยูก่ บั Energy Gap ซึง่ ก็จะขึ ้นอยู่กบั สมบัตขิ องวัสดุเปล่งแสงอีกที

168x128 pixels OLED


รู ปที่ 30

Digital Potentiometers (a variable resistance)


รูปที่ 31 เป็ นตัวอย่าง Digital Potentiometers เบอร์ AD5220 ซึง่ ทางานคล้ ายกับ potentiometer สามขา
สัญญาณ clock จะทาให้ ขากลางของ potentiometer เปลี่ยนตาแหน่งและ ค่าความต้ านทานทางด้ าน
output เพิ่มขึ ้นหรื อลดลง โดยการเพิ่มหรื อลดกาหนดโดยขา U/D ถ้ า U/D เป็ น high จะทาให้ ขากลางเข้ า
ใกล้ A ทาให้ คา่ ความต้ านทานด้ าน Aลดลงและด้ าน B เพิ่มขึ ้น หรื อถ้ า U/D เป็ น low จะเป็ นตรงกันข้ าม

46
Lecture 6

แต่ AD5220 resistor terminals (A, B, and W) จะไม่สามารถมี voltage ระดับสูงกว่า supply voltage
หรื อต่ากว่า ground

รู ปที่ 31

แบบฝึ กหัด
1. จากรูป แสดงการคานวณหาค่า R ดังเมื่อมีการใช้ 74LS244 line driver ต่อเข้ ากับขา port ของ
Microcontroller เพื่อช่วยจ่ายกระแส (ทาเหมือนตัวอย่างในบทเรี ยน)

74LS244 pin VOH V+

R
+
1.8
+ -
IOH
1.8 LED
-
LED 74LS244 pin
VOL

R
IOL

47
Lecture 6

2. จากรูปที่ 8 ถ้ า transistor ที่ใช้ งานเป็ น 2sc1815 กระแสไหลผ่าน Load (IC) = 20 mA และ V+ =


5 V จงคานวณหาค่า R1 ที่เหมาะสม

48

You might also like