You are on page 1of 26

137

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
คาสั่ง G - Code และ M - Code
สาหรับเครื่องกลึง
138

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องจักรกล ซี เอ็น ซี

1. สาระการเรียนรู้
1. คำสั่ง G - Code ของกำรกำหนดเงื่อนไขเบื้องต้น
2. คำสั่ง G - Code สำหรับใช้ในกำรเคลื่อนที่ของทูล
3. คำสั่งวัฎจักร (Cycle) สำหรับงำนกลึง
4. คำสั่งสำหรับกำรกลึงเกลียวและกำรเจำะรู
5. คำสั่ง M - Code ที่เกี่ยวกับกำรหยุดโปรแกรม
6. คำสั่ง M - Code ที่เกี่ยวข้องกับสปินเดิลและเปลี่ยนทูล
7. คำสั่ง M - Code ที่เกี่ยวข้องกับ Coolant
8. คำสั่ง M - Code ที่เกี่ยวข้องกับกำรจับยึดชิ้นงำน
9. คำสั่ง M - Code ที่เกี่ยวข้องอุปกรณ์ยันศูนย์
10. คำสั่ง M - Code ที่เกี่ยวข้องกับชุดลำเลียงเศษชิ้นงำน

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีควำมรู้และควำมเข้ำใจเกี่ยวกับคำสั่ง G - code ของกำรกำหนดเงื่อนไขเบื้องต้น
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีควำมรู้และควำมเข้ำใจเกี่ยวกับคำสั่ง G - Code สำหรับใช้ในกำรเคลื่อนที่ของทูล
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีควำมรู้และควำมเข้ำใจเกี่ยวกับคำสั่งวัฎจักร (Cycle) สำหรับงำนกลึง
4. เพื่อให้ผู้เรียนมีควำมรู้และควำมเข้ำใจเกี่ยวกับคำสั่งสำหรับกำรกลึงเกลียวและกำรเจำะรู
5. เพื่อให้ผู้เรียนมีควำมรู้และควำมเข้ำใจเกี่ยวกับคำสั่ง M - Code ที่เกี่ยวกับกำรหยุดโปรแกรม
6. เพื่อให้ผู้เรียนมีควำมรู้และควำมเข้ำใจเกี่ยวกับ คำสั่ง M - Code ที่เกี่ยวข้องกับสปินเดิลและ
เปลี่ยนทูล
7. เพื่อให้ผู้เรียนมีควำมรู้และควำมเข้ำใจเกี่ยวกับคำสั่ง M - Code ที่เกี่ยวข้องกับ Coolant
8. เพื่อให้ผู้เรียนมีควำมรู้และควำมเข้ำใจเกี่ยวกับคำสั่ง M - Code ที่เกี่ยวข้องกับกำรจับยึดชิ้นงำน
9. เพื่อให้ผู้เรียนมีควำมรู้และควำมเข้ำใจเกี่ยวกับคำสั่ง M - Code ที่เกี่ยวข้องอุปกรณ์ยันศูนย์
10. เพื่อให้ผู้เรียนมีควำมรู้และควำมเข้ำใจเกี่ยวกับ คำสั่ง M - Code ที่เกี่ยวข้องกับชุดลำเลียงเศษ
ชิ้นงำน
11. เพื่อให้ผู้เรียนมีกิจนิสัยในกำรทำงำนที่มีระเบียบแบบแผนมีควำมรับผิดชอบต่อตนเองและ
ส่วนรวม
139

3. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. ผู้เรียนสำมำรถใช้คำสั่ง G - code ของกำรกำหนดเงื่อนไขเบื้องต้นได้
2. ผู้เรียนสำมำรถ คำสั่ง G - Code สำหรับใช้ในกำรเคลื่อนที่ของทูล
3. ผู้เรียนสำมำรถ คำสั่งวัฎจักร (Cycle) สำหรับงำนกลึง
4. ผู้เรียนสำมำรถ คำสั่งสำหรับกำรกลึงเกลียวและกำรเจำะรู
5. ผูเ้ รียนสำมำรถใช้คำสั่ง M - Code ที่เกี่ยวกับกำรหยุดโปรแกรมได้
6. ผู้เรียนสำมำรถใช้คำสั่ง M - Code ที่เกี่ยวข้องกับสปินเดิลและเปลี่ยนทูลได้
7. ผู้เรียนสำมำรถใช้คำสั่ง M - Code ที่เกี่ยวข้องกับ
8. ผู้เรียนสำมำรถ คำสั่ง M - Code ที่เกี่ยวข้องกับกำรจับยึดชิ้นงำน
9. ผู้เรียนสำมำรถ คำสั่ง M - Code ที่เกี่ยวข้องอุปกรณ์ยันศูนย์
10. ผู้เรียนสำมำรถ คำสั่ง M - Code ที่เกี่ยวข้องกับชุดลำเลียงเศษชิ้นงำน
11. มี กิ จนิสัย กำรท ำงำนอย่ ำ งมีระเบีย บแบบแผน มีควำมรับผิดชอบต่อตนเอง และส่วนรวม
มีกิจนิสัยช่ำงที่ดีตระหนักถึงควำมปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม
140

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
คาสั่ง G - Code และ M - Code สาหรับเครื่องกลึง

6.1 คาสัง่ G - Code ของการกาหนดเงื่อนไขเบื้องต้น


ก่อนสั่งกำรให้เครื่องจักรทำงำนตำม NC โปรแกรมที่ต้องกำรเรำจะต้องกำหนดเงื่อนไข
เบื้องต้นที่จำเป็นก่อน มิเช่นนั้น เครื่องจักรจะทำงำนผิดพลำด โค้ดเหล่ำนี้ส่วนมำกจะเป็นกลุ่มหรือคู่ที่เรำต้อง
เลือกใช้ตัวใดตัวหนึ่งเท่ำนั้นโค้ดเหล่ำนี้ได้แก่

6.1.1 G70( M ) / G71( M ) คือ กำรกำหนดหน่วยเป็น mm / Inch

G70 คือ กำรกำหนดหน่วยเป็น นิ้ว ( Inch )


G71 คือ กำรกำหนดหน่วยเป็น มิลลิเมตร ( mm )

6.1.2 G90( M ) / G91( M ) คือ กำรกำหนดให้โปรแกรมเคลื่อนที่แบบ Absolute / Incremental

G90 คือ กำรกำหนดให้โปรแกรมเคลื่อนที่ แบบสัมบูรณ์ หรือ Absolute Positioning


G91 คือ กำรกำหนดให้โปรแกรมเคลื่อนที่ แบบสัมพัทธ์ หรือ Incremental Positioning

6.1.3
G92( M ) คือ กำรกำหนดขีดจำกัดควำมเร็วรอบของ spindle
*

บล็อก ของ G92 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำงๆ ของแต่ละโค้ด คือ


N … G92 S…..
ซึ่ง N คือ เลขที่บล็อก
… คือ ตัวเลข หรือ ค่ำที่ต้องกำร ตำมหลังโค้ดนั้น ๆ
S คือ ควำมเร็วรอบสูงสุดของสปินเดิล ( maximum )

6.1.4 G94 ( M ) คือ กำหนดค่ำอัตรำป้อนที่ใช้ในโปรแกรม mm หรือ Inch / min

G94 คือ กำหนดค่ำอัตรำป้อน ( F ) ที่ใช้ในโปรแกรมเป็น ( มม. หรือ นิ้ว ) ต่อ นำที mm


หรือ Inch / min
* บล็อก ของ G94 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำงๆ ของแต่ละโค้ด คือ
N…G94 F…G01/G02/G03 X…Z…
ซึ่ง N คือ เลขที่บล็อก
… คือ ตัวเลข หรือ ค่ำที่ต้องกำร ตำมหลังโค้ดนั้น ๆ
141

F คือ อัตรำป้อน( มม. หรือ นิ้ว ) ต่อ นำที mm หรือ Inch / min
G01/G02/G03 คือ คำสั่งกำรเคลื่อนที่
X คือ ระยะกำรเคลื่อนที่ในแนวแกนX
Z คือ ระยะกำรเคลื่อนที่ในแนวแกน Z

6.1.5
G95 ( M ) คือ กำหนดค่ำอัตรำป้อนที่ใช้ในโปรแกรม mm หรือ Inch / rev

G95 คือ กำหนดค่ำอัตรำป้อน ( F ) ที่ใช้ในโปรแกรมเป็น ( มม. หรือ นิ้ว ) ต่อ รอบ mm


หรือ Inch / rev
* บล็อก ของ G95 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำงๆ ของแต่ละโค้ด คือ
N…G95 F…G01/G02/G03X…Z…
ซึ่ง N คือ เลขที่บล็อก
… คือ ตัวเลข หรือ ค่ำที่ต้องกำร ตำมหลังโค้ดนั้น ๆ
F คือ อัตรำป้อน ( มม. หรือ นิ้ว ) ต่อ รอบ mm หรือ Inch / rev
G01/G02/G03 คือ คำสั่งกำรเคลื่อนที่
X คือ ระยะกำรเคลื่อนที่ในแนวแกนX
Z คือ ระยะกำรเคลื่อนที่ในแนวแกน Z

6.1.6 G96 ( M ) คือ กำหนดค่ำเร็วตัด

G96 คือ ให้ควำมเร็วตัดคงที่ผิวคงที่ (V ) เป็น เมตร / นำที ( m / min ) หรือ ฟุต / นำที
( ft / min )
* บล็อก ของ G96 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำงๆ ของแต่ละโค้ด คือ
N … G96 [X…] S…
ซึ่ง N คือ เลขที่บล็อก
… คือ ตัวเลข หรือ ค่ำที่ต้องกำร ตำมหลังโค้ดนั้น ๆ
G96 คือ คำสั่งกำรกำหนดค่ำควำมเร็วตัด
X คือ ขนำดควำมโตชิ้นงำนในปัจจุบัน
S คือ ควำมเร็วตัด ( Cutting speed m / min )

6.1.6 G97 ( M ) คือ กำหนดควำมเร็วรอบ

G97 คือ ให้ควำมเร็วรอบของแกนเครื่องคงที่ ( S ) เป็น รอบ / นำที ( rpm )


* บล็อก ของ G97 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำงๆ ของแต่ละโค้ด คือ
142

N… G97 S… M…
ซึ่ง N คือ เลขที่บล็อก
… คือ ตัวเลข หรือ ค่ำที่ต้องกำร ตำมหลังโค้ดนั้น ๆ
S คือ ควำมเร็วรอบของแกนเครื่อง( rpm )
M คือ M โค้ด

6.1.7
G54 ( M ) ,G55 ( M ) ,G56 ( M ) ,G57 ( M ) และ G59 ( M ) คือ กำรเลือกตำแหน่งจุดศูนย์ของชิ้นงำน

G54 ถึง G57 คือ กำรเลือกตำแหน่งของจุดศูนย์ชิ้นงำน ( workpiece zero ) ที่ตำแหน่ง


ต่ำง ๆ กัน ตำมที่กำหนดจริงที่เครื่องและเก็บค่ำไว้ในคอนโทรลเลอร์
* บล็อก ของ G54 ถึง G57 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วยเวิร์ดต่ำง ๆ ของแต่ละโค้ด
คือ
N … G54 ( G57 ) S… M…
ในส่วนของ G59 คือ กำรกำหนดหรือเปลี่ยนตำแหน่งของจุดศูนย์ชิ้นงำน ไปที่ตำแหน่งใหม่
โดยที่ อ้ำงอิงจำกตำแหน่งของจุดศูนย์ชิ้นงำนเดิมที่ใช้เป็นจุดใดจุดหนึ่งใน G54 ถึง G57

รูปที่ 6.1 กำรเลือกตำแหน่งของจุดศูนย์ชิ้นงำน ( workpiece zero )


* บล็อก ของ G59 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำงๆ ของแต่ละโค้ด คือ
N … G59 X… Z… S… M…
ซึ่ง N คือ เลขที่บล็อก
… คือ ตัวเลข หรือ ค่ำที่ต้องกำร ตำมหลังโค้ดนั้น ๆ
X คือ ระยะทำงตำมแนวแกน X เป็นขนำดเส้นผ่ำศูนย์กลำง
Z คือ ระยะทำงตำมแนวแกน Z
S คือ ควำมเร็วรอบของแกนเครื่อง
143

6.2 คาสัง่ G - Code สาหรับใช้ในการเคลื่อนที่ของทูล


ใช้สำหรับกำรควบคุมกำรเคลื่อนที่ของทูลให้ได้รูปทรงตำมแบบที่กำหนด เช่น กำร
เคลื่อนที่เป็นเส้นตรง, กำรเคลื่อนที่เป็นเส้นโค้งวงกลม ตำมเข็มนำฬิกำหรือทวนเข็มนำฬิกำ ซึ่งประกอบไป
ด้วยคำสั่ง

6.2.1. G00 คือ กำรเคลื่อนที่อย่ำงรวดเร็วของทูล

G00 คือ คำสั่งให้ทูลเคลื่อนที่ไปอย่ำงรวดเร็วโดยไม่มีกำรตัดชิ้นงำนด้วยควำมเร็วสูงสุด


ของเครื่อง ( หรือเรียกว่ำ Rapid Traverse ) จำกจุดเริ่มต้นหรือตำแหน่งปัจจุบันไปยังตำแหน่งเป้ำหมำยที่
ต้องกำร

รูปที่ 6.2 G00 สำหรับงำนกลึง


* บล็อก ของ G00 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำงๆ ของแต่ละโค้ด คือ
N … G00 X หรือ U… Z หรือ W…
ซึ่ง N.. คือ เลขที่บล็อก
X คือ ระยะทำงในกำรเคลื่อนที่ตำมแนวแกน X แบบสัมบูรณ์ ( Absolute )
เป็นขนำดเส้นผ่ำศูนย์กลำง
Z คือ ระยะทำงในกำรเคลื่อนที่ตำมแนวแกน Z แบบสัมบูรณ์ ( Absolute )
U คือ ระยะทำงในกำรเคลื่อนที่ตำมแนวแกน X แบบสัมพัทธ์ ( Relative )
W คือ ระยะทำงในกำรเคลื่อนที่ตำมแนวแกน Z แบบสัมพัทธ์ ( Relative )

6.2.2 G01 คือ กำรเคลื่อนในแนวเส้นตรงตำมค่ำอัตรำป้อนที่กำหนด

G01 คือ คำสั่งให้ทูลเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง ( Linear Interpolation ) โดยมีกำรตัด


ชิ้นงำนตำมค่ำอัตรำป้อน ( Feed ) ที่กำหนดจำกจุดเริ่มต้นหรือตำแหน่งปัจจุบันไปยังตำแหน่งเป้ำหมำย
ที่ต้องกำร
144

รูปที่ 6.3 G01 สำหรับงำนกลึง


* บล็อก ของ G01 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำงๆ ของแต่ละโค้ด คือ
N … G01 X หรือ U… Z หรือ W… F…
ซึ่ง N.. คือ เลขที่บล็อก
X คือ ระยะทำงในกำรเคลื่อนที่ตำมแนวแกน X แบบสัมบูรณ์ ( Absolute ) เป็น
ขนำดเส้นผ่ำศูนย์กลำง
Z คือ ระยะทำงในกำรเคลื่อนที่ตำมแนวแกน Z แบบสัมบูรณ์ ( Absolute )
U คือ ระยะทำงในกำรเคลื่อนที่ตำมแนวแกน X แบบสัมพัทธ์ ( Relative )
W คือ ระยะทำงในกำรเคลื่อนที่ตำมแนวแกน Z แบบสัมพัทธ์ ( Relative )
F คือ อัตรำป้อนฟีด ( Feed Rate) mm / rev

6.2.3
G02 และ G03 คือ กำรเคลื่อนในแนวเส้นโค้ง

G02 คือ คำสั่งให้ทูลเคลื่อนที่กลึงผิวชิ้นงำนโดยเคลื่อนที่ตำมเข็มนำฬิกำด้วยค่ำอัตรำป้อน


(Feed Rate )
G03 คือ คำสั่งให้ทูลเคลื่อนที่กลึงผิวชิ้นงำนโดยเคลื่อนที่ทวนเข็มนำฬิกำด้วยค่ำอัตรำป้อน
(Feed Rate )

รูปที่ 6.4 G02 และ G03 ในชิ้นงำนกลึง


145

รูปที่ 6.5 กำรหำจุดศูนย์กลำงส่วนโค้งของ G02

รูปที่ 6.6 กำรหำจุดศูนย์กลำงส่วนโค้งของ G03


* คอนโทรลเลอร์บำงรุ่น บอกค่ำรัศมี ( R ) ได้เลยโดยไปไม่ต้องคำนวณหำค่ำ I , J , K
* บล็อก ของ G02 , G03 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำง ๆ
ของแต่โค้ด คือ N … G02 X … Z … I… K… F…
N … G03 X … Z … I… K… F…
ซึ่ง N.. คือ เลขที่บล็อก
X คือ ระยะทำงในกำรเคลื่อนที่ตำมแนวแกน X ( ตำแหน่งสุดท้ำย )
Z คือ ระยะทำงในกำรเคลื่อนที่ตำมแนวแกน Z ( ตำแหน่งสุดท้ำย )
I คือ ระยะห่ำงจำกจุดเริ่มต้นของส่วนโค้งถึงจุดศูนย์กลำงของส่วนโค้งในแนวแกน X
K คือ ระยะห่ำงจำกจุดเริ่มต้นของส่วนโค้งถึงจุดศูนย์กลำงของส่วนโค้งในแนวแกน Z
ถ้ำเป็นงำนกัด J คือ ระยะห่ำงจำกจุดเริ่มต้นของส่วนโค้งถึงจุดศูนย์กลำงของส่วนโค้งในแนวแกน Y
F คือ อัตรำป้อน ( Feed Rate) mm / rev
146

6.2.6.2 G40( M ), G41( M ) , G42( M ) คือ การชดเชยรัศมีที่ปลายทูล

G40 คือ กำรยกเลิกกำรใช้คำสั่งชดเชยรัศมีปลำยทูล ( ยกเลิกคำสั่ง G41 , G42 และ G46 )


G41 คือ กำรใช้คำสัง่ ชดเชยรัศมีปลำยทูล เมื่อทูลอยู่ทำงฝั่งซ้ำยมือของเส้นทำงเดินของ
ชิ้นงำน
G42 คือ กำรใช้คำสั่งชดเชยรัศมีปลำยทูล เมื่อทูลอยู่ทำงฝั่งขวำมือของเส้นทำงเดินของ
ชิ้นงำน
* บล็อก ของ G40, G41 ,G42 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำง ๆ ของแต่
ละโค้ด คือ N … ( G40 - G42 )

รูปที่ 6.7 รัศมีที่ปลำยทูลมีดกลึง รูปที่ 6.8 ลักษณะกำรเดินทูลมีดเมื่อชดเชยรัศมีปลำยทูล

6.3 คาสัง่ วัฏจักร (CYCLE) สาหรับงานกลึง


เป็นคำสั่งในกำรเคลื่อนที่ที่เป็นกำรทำซ้ำๆ กัน ด้วยโค้ดเฉพำะตำมลักษณะกำรเคลื่อนที่ที่
ต้องกำร โดยที่คำสั่ง ไซเคิล จะใช้แทนโค้ดของ G00 และ G01 ที่ต้องเขียนหลำย ๆ ครั้งในกำรทำงำนและ
เป็นกำรลดเวลำในกำรเขียนโปรแกรมและเวลำทำงำนให้เร็วขึ้น เช่น งำนกลึงเกลียว งำนเจำะรู ฯลฯ

6.3.1 G63

G63 คือ คำสั่ง CYCLE กลึงงำนหยำบแบบ Roughing Cycle With Groove


147

รูปที่ 6.9 กำรใช้คำสั่ง G63


* บล็อก ของ G63 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำงๆ ของแต่ละโค้ด คือ
N…..G63 [N .. N .. ] / [EP..] X.. Z.. EX.. / EZ.. P../R.. EA../ EU../EW..[EB..][E ..][ER..]
[Q..] [ EQ.. ] [EF..]
ซึ่ง N.. คือ เลขที่บล็อก
G63 คือคำสั่ง CYCLE กลึงงำนหยำบแบบ Roughing Cycle With Groove
N .. N .. คือเลขที่บล็อกแรกและบล็อกสุดท้ำยของรูปแบบชิ้นงำนที่สำเร็จ
( มำกสุด 95 บล็อก )
EP…. คือหมำยเลขตำมรูปแบบของแบบชิ้นงำน
X.. Z.. คือจุดเริ่มต้นของCycle
EX.. / EZ.. คือจุดสิ้นสุดของCycle ในแนวแกน X และแกน Z
P../R.. คือควำมลึกในกำรป้อนP ตำมแนวแกน X
ควำมลึกในกำรป้อนR ตำมแนวแกน Z
EB.. คือมุมมำกสุดในกำรพำมีดเข้ำตัดเฉือน
EC.. คือมุมมำกสุดในกำรพำมีดเคลื่อนที่ออก
ER.. คือ
Q.. คือตำแหน่งช่องว่ำงก่อนมีดสัมผัสชิ้นงำน
EQ.. คือกำรกำหนดปริมำณเศษน้อยสุด
EF.. คือ อัตรำป้อน

6.3.2 G64

G64 คือ คำสั่ง CYCLE กลึงงำนหยำบแบบ Turning / Facing


148

รูปที่ 6.10 กำรใช้คำสั่ง G64


* บล็อก ของ G64 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำงๆ ของแต่ละโค้ด คือ
N.. G64 [N…N…] / [ EP…] [I.. K.. ] P.. / R….
N… BLANK DEFINITION
ซึ่ง N.. คือ เลขที่บล็อก
G 64 คือ คำสั่ง CYCLE กลึงงำนหยำบแบบ Turning / Facing
N… N…คือ เลขที่บล็อกแรกและบล็อกสุดท้ำยของรูปแบบชิ้นงำนที่สำเร็จ
( น้อยสุด 2 บล็อก มำกสุด 50 บล็อก )
EP… คือหมำยเลขตำมรูปแบบของแบบชิ้นงำน
I… คือ ค่ำควำมหนำเผื่อ ( allowance ) ในแนวแกน X
K…คือ ค่ำควำมหนำเผื่อ ( allowance ) ในแนวแกน Z
P… คือควำมลึกของกำรกลึงในแนวแกน X
R...คือควำมกว้ำงของกำรกลึงในแนวแกน Z
N… BLANK DEFINITION คือกำรกำหนดขอบข่ำยของวัสดุชิ้นงำน

G65
6.3.3

G65 คือ คำสั่ง CYCLE กลึงงำนหยำบแบบ Groove Roughing Cycle

รูปที่ 6.11 กำรใช้คำสั่ง G65


149

* บล็อก ของ G65 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำงๆ ของแต่ละโค้ด คือ


N…..G65 [N .. N .. ] / [EP..] X../ Z.. [ I…K…] [EA..] P../R.. [Q..] [EF..]
ซึ่ง N คือ เลขที่บล็อก
… คือ ตัวเลข หรือ ค่ำที่ต้องกำร ตำมหลังโค้ดนั้น ๆ
G65 คำสั่ง CYCLE กลึงงำนหยำบแบบ Groove Roughing Cycle
N… N…คือ เลขที่บล็อกแรกและบล็อกสุดท้ำยของรูปแบบชิ้นงำนที่สำเร็จ
( มำกสุด 50 บล็อก )
EP… คือหมำยเลขตำมรูปแบบของแบบชิ้นงำน
X../ Z.. คือจุดที่มีกำรตัดเฉือนครั้งสุดท้ำยของCycle
- X สำหรับกลึงปำดหน้ำชิ้นงำน
- Z สำหรับกลึงปอกชิ้นงำน
I … คือ ค่ำควำมหนำเผื่อ ( allowance ) ในแนวแกน X
K… คือ ค่ำควำมหนำเผื่อ ( allowance ) ในแนวแกน Z
EA….. คือมุมที่มีดวิ่งเข้ำตัดชิ้นงำน
P… คือควำมลึกของกำรกลึงในแนวแกน X
R...คือควำมกว้ำงของกำรกลึงในแนวแกน Z
Q… คือระยะช่องว่ำงก่อนทำกำรตัดแต่ละครั้ง
EF….คืออัตรำป้อน

6.3.4 G66

G65 คือ คำสั่ง Cycle กลึงงำนเซำะร่องแบบ Plunging Cycle

รูปที่ 6.12 กำรใช้คำสั่ง G66


150

* บล็อก ของ G66 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำงๆ ของแต่ละโค้ด คือ


N…..G66D… X…Z… X../ Z.. [EA..] P../R.. [EF..]
ซึ่ง N….. คือ เลขที่บล็อก
… คือ ตัวเลข หรือ ค่ำที่ต้องกำร ตำมหลังโค้ดนั้น ๆ
D….. คือ ตัวเลข หรือ ตำแหน่งปลำยมีด
G66 คำสั่ง Cycle กลึงงำนเซำะร่องแบบ Plunging Cycle
EA…. คือมุมที่มีดวิ่งเข้ำตัดชิ้นงำน
P… คือควำมลึกของกำรกลึงในแนวแกน X
R.......คือควำมกว้ำงของกำรกลึงในแนวแกน Z
EF….คืออัตรำป้อน

6.3.5 G77

G77
* บล็อก ของ G77 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำงๆ ของแต่ละโค้ด คือ
N…..G77 [N .. N .. ]
ซึ่ง N คือ เลขที่บล็อก
… คือ ตัวเลข หรือ ค่ำที่ต้องกำร ตำมหลังโค้ดนั้น ๆ
G77
N… N…คือ เลขที่บล็อกแรกและบล็อกสุดท้ำยของรูปแบบชิ้นงำนที่สำเร็จ
( มำกสุด 50 บล็อก )

6.3.5 G80

G0 วัฎจักรในกำรทำงำนทั้งหมด
* บล็อก ของ G80 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำงๆ ของแต่ละโค้ด คือ
N…..G 0
ซึ่ง N คือ เลขที่บล็อก
… คือ ตัวเลข หรือ ค่ำที่ต้องกำร ตำมหลังโค้ดนั้น ๆ
G0 วัฎจักรในกำรทำงำน
151

6.4 คาสั่งสาหรับการกลึงเกลียวและการเจาะรู

6.4.1 G33

G33 คือ คำสั่ง CYCLE สำหรับกำรกลึงเกลียวที่มีระยะ Pitch คงที่

รูปที่ 6.13 ลักษณะกำรเดินของทูลด้วยคำสั่ง G33


* บล็อก ของ G33 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำงๆ ของแต่ละโค้ด คือ
N … G33 X…..Z….K….P….Q….EB….S….
ซึ่ง
N คือ เลขที่บล็อก
… คือ ตัวเลข หรือ ค่ำที่ต้องกำร ตำมหลังโค้ดนั้น ๆ
G33 คือ คำสั่ง CYCLE สำหรับกำรกลึงเกลียวที่มีระยะ Pitch คงที่
X…
Z…
K…
P… คือควำมลึกของเกลียว
Q…
EB….. คือมุมที่มีดวิ่งเข้ำตัดชิ้นงำน
S… คือจำนวนครั้งในกำรกลึง

6.4.2
G81

G81 คือ คำสั่ง CYCLE สำหรับกำรเจำะดอกเจำะนำศูนย์ Center drilling cycle


152

รูปที่ 6.14 กำรใช้คำสั่ง G81

* บล็อก ของ G81 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำงๆ ของแต่ละโค้ด คือ


N … G 1 X.../Z...[ER..][EH..]
ซึ่ง N คือ เลขที่บล็อก
… คือ ตัวเลข หรือ ค่ำที่ต้องกำร ตำมหลังโค้ดนั้น ๆ
G81 คือ คำสั่ง CYCLE สำหรับกำรเจำะดอกเจำะนำศูนย์ Center drilling cycle
X…/ Z ...
ER
E กำรวิ่งเข้ำเจำะ

6.4.3 G82

G82 คือ คำสั่ง CYCLE สำหรับกำร Counterbering cycle

รูปที่ 6.15 กำรใช้คำสั่ง G82

* บล็อก ของ G82 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำงๆ ของแต่ละโค้ด คือ


N … G 2 X.../Z...[ER..][EH..] EF
153

ซึ่ง N คือ เลขที่บล็อก


... คือ ตัวเลข หรือ ค่ำที่ต้องกำร ตำมหลังโค้ดนั้น ๆ
G82 คือ คำสั่ง CYCLE สำหรับกำร Counterbering Cycle
X…/ Z ...
ER
E กำรวิ่งเข้ำเจำะ
EF EF… คือเวลำในกำรรอของกำรเจำะแต่ละครั้ง

6.4.4 G83

G83 คือ คำสั่ง Cycle สำหรับกำรเจำะรูลึก โดยมีกำรคำยเศษ (Chip ) ออกโดยถอยทูล


ออกมำที่จุดเริ่มต้นทุกครั้ง โดยที่ระยะลึกก่อนคำยเศษแต่ละครั้ง ขึ้นอยู่กับจำนวนครั้งที่ต้องกำรคำยเศษ
ออก

รูปที่ 6.16 ลักษณะกำรเดินของทูลด้วยคำสั่ง G83


* บล็อก ของ G83 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำงๆ ของแต่ละโค้ด คือ
N … G 3 X.../Z...[ER..][EH..] [P..]/[ES..] [Q..] [EP..] [EF…]

ซึ่ง N คือ เลขที่บล็อก


… คือ ตัวเลข หรือ ค่ำที่ต้องกำร ตำมหลังโค้ดนั้น ๆ
G83 คือคำสั่ง CYCLE สำหรับกำรเจำะรูลึก โดยมีกำรคำยเศษ ( Chip )
X…/ Z ...
ER
EH กำรวิ่งเข้ำเจำะ
P… คือปริมำณกำรเจำะครั้งแรก
ES…
Q…
154

EP….. คือระยะทำงในกำรป้อนกิน
EF… คือเวลำในกำรรอของกำรเจำะแต่ละครั้ง

6.4.5 G84

G84 คือ คำสั่ง CYCLE สำหรับกำรต๊ำปเกลียว

รูปที่ 6.17 ลักษณะกำรเดินของทูลด้วยคำสั่ง G84


* บล็อก ของ G84 จะมีโครงสร้ำงซึ่งประกอบไปด้วย เวิร์ด ต่ำงๆ ของแต่ละโค้ด คือ
N … G 4 X…/Z… [ER...] [E …] EF…
ซึ่ง N คือ เลขที่บล็อก
… คือ ตัวเลข หรือ ค่ำที่ต้องกำร ตำมหลังโค้ดนั้น ๆ
G84 คือคำสั่ง CYCLE สำหรับกำรต๊ำปเกลียว
X…/ Z ...
ER
E กำรเข้ำต๊ำป
EF… คือเวลำในกำรรอของกำรเจำะแต่ละครั้ง

6.5 คาสั่ง M - Code ที่เกี่ยวกับเครือ่ งจักรCNC


คำสั่ง M - code ของเครื่องกลึง CNC ที่สรุปตำมลำดับต่อไปนี้ เป็นคำสั่งจำก
คอนโทรลเลอร์รุ่น NUM 1020/1040/1060T ที่ใช้กับเครื่องกลึง CNC ของบริษัท THAI MACHINE
PRODUCT และมีโค้ดอื่นๆ เสริมตำมแต่ประเภทและอุปกรณ์เสริมต่ำง ๆ ของเครื่องกลึง
155

6.5.1 คาสั่ง M - Code ที่เกี่ยวกับการหยุดโปรแกรม

รูปที่ 6.18 ตัวอย่ำงปุ่มสวิตซ์ที่ให้ทำงำนแบบต่อเนื่อง (CYCLE STAR )

โค้ด ลักษณะกำรใช้งำนของคำสั่งหยุดหรือจบโปรแกรม
M00 หยุดโปรแกรม ( Program Stop หรือ PRG –STOP ) ชั่วครำว แล้วจะทำงำนต่อเมื่อกดสวิตซ์สั่ง
M01 หยุดกำรทำงำนชั่วขณะ ( Optional Stop หรือ OPT –STOP ) จะให้หยุดต้องกดปุ่ม ที่แผงควบคุม
ของชุดคอนโทรเลอร์ Optional Stop – ถ้ำไม่กดก็จะไม่หยุด
M02 จบโปรแกรม ( End of program )
M30 จบโปรแกรม ( End of program ) แล้วกลับไปบล็อกแรกของโปรแกรม
M99 จบโปรแกรมย่อย ( End of Sub – Routine )

6.5.2 คาสัง่ M - Code ที่เกี่ยวข้องกับสปินเดิลและเปลี่ยนทูล

รูปที่ 6.19 ทิศทำงกำรหมุนของของสปินเดิล รูปที่ 6.20 ทิศทำงกำรเปลี่ยนทูลในขณะทำงำน

โค้ด ลักษณะการใช้งานของคาสั่งควบคุมสปินเดิลและการเปลี่ยนทูล
M03 ให้สปินเดิลหมุนตำมเข็มนำฬิกำ
M04 ให้สปินเดิลหมุนทวนเข็มนำฬิกำ
M05 ให้สปินเดิลหยุดหมุน
M06 เปลี่ยนทูล
156

6.5.3 คาสัง่ M - Codeที่เกี่ยวข้องกับ Coolant

รูปที่ 6.21 ลักษณะกำรหล่อเย็นงำนกลึง

โค้ด ลักษณะการใช้งานของคาสั่งควบคุมน้าหล่อเย็น (Coolant)


M07 เปิดน้ำหล่อเย็น 2
M08 เปิดน้ำหล่อเย็น 1
M09 ปิดน้ำหล่อเย็น

6.5.4 คาสัง่ M - Code ทีเ่ กี่ยวข้องกับการจับยึดชิ้นงาน

รูปที่ 6.22 ลักษณะหัวจับสำหรับงำนกลึง CNC


157

โค้ด ลักษณะการใช้งานของคาสั่งควบคุมการจับยึดชิ้นงาน ( Chuck & Clamp )


M10 จับยึดชิ้นงำนที่หัวจับ (Clamp Workpiece )
M11 ปล่อยชิ้นงำนออกจำกหัวจับ ( UnClamp Workpiece )
M19

6.5.5 คาสัง่ M - Code ที่เกี่ยวข้องอุปกรณ์ยันศูนย์

รูปที่ 6.23 ลักษณะกำรเคลื่อนที่ของยันศูนย์ (Tail Stock)

โค้ด ลักษณะการใช้งานของคาสั่งควบคุมตัวยันศูนย์ ( Tail Stock )


M28 ตัวยันศูนย์เดินเข้ำหำชิ้นงำน ( Quill forward )
M29 ตัวยันศูนย์เดินถอยออกจำกชิ้นงำน ( Quill retract )
158

6.5.6 คาสัง่ M - Code ที่เกี่ยวข้องกับชุดลาเลียงเศษชิ้นงาน

รูปที่ 6.24 ลักษณะกำรทำงำนของชุดลำเลียงเศษโลหะ ( Chip Conveyer )

โค้ด ลักษณะกำรใช้งำนของคำสั่งควบคุมชุดลำเลียงเศษโลหะ ( Chip Conveyer )


M92 เปิดให้ชุดลำเลียงเศษโลหะทำงำน
M93 หยุดกำรทำงำนของชุดลำเลียงเศษโลหะทำงำน
159

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
คำสั่ง G - code ของแต่ละคอนโทรลเลอร์จะมีรูปแบบของ Word ใน Block ที่แตกต่ำงกัน ดังนั้น
ก่อนทำกำรเขียน NC โปรแกรม จึงจำเป็นอย่ำงยิ่งที่จะต้องศึกษำคู่มือกำรเขียนโปรแกรม ( Programming
Manual ) เฉพำะของคอนโทรลเลอร์รุ่นนั้น ๆ กำรใช้ NC โปรแกรมจำกคอนโทรลเลอร์อื่นอำจเกิด
อันตรำยและทำให้เครื่องจักรเสียหำยได้
คำสั่ง G - code ของเครื่องกลึง CNC ที่สรุปตำมลำดับต่อไปนี้ เป็นคำสั่งจำกคอนโทรลเลอร์รุ่น
NUM 1020/1040/1060T ที่ใช้กับเครื่องกลึง CNC ของบริษัท THAI MACHINE PRODUCT
โค้ดที่มี เส้นใต้ กำกับเป็นโค้ดที่คอนโทรลเลอร์กำหนดให้เองโดยอัตโนมัติ เมื่อมิได้กำหนดโค้ด
ใดโค้ดหนึ่งในกลุ่มนั้น หรือเป็น “ดิฟอลท” (Def u ) และที่กำกับ ด้วย ( M ) หมำยถึงโค้ดตัวนั้นเป็น
“โมดเดิล” ( Modal ) หรือมีผลต่อเนื่องไปทุกบล็อก จนกว่ำจะมีโค้ดอื่นมำแทน
160

แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 6 คาสัง่ G - Code และ M - Code สาหรับเครื่องกลึง
เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
1. G71 คือ.
ก. กำหนดหน่วยกำรทำงำนเป็น ฟุต ข. กำหนดหน่วยกำรทำงำนเป็น นิ้ว
ค. กำหนดหน่วยกำรทำงำนเป็น มม. ง. กำหนดหน่วยกำรทำงำนเป็น ม.

2. G90 คือ.
ก. กำหนดโหมดกำรทำงำนแบบสัมบูรณ์ ข. กำหนดโหมดกำรทำงำนแบบต่อเนื่อง
ข. กำหนดโหมดกำรทำงำนแบบเส้นตรง ง. กำหนดโหมดกำรทำงำนแบบเส้นโค้ง

3. กำหนดค่ำอัตรำป้อน (F) ที่ใช้ในโปรแกรมเป็น ( มม. หรือ นิ้ว ) ต่อ รอบ , mm หรือ Inch / rev ใช้โค้ดใด.
ก. G94 ข. G95 ค. G96 ง. G97

4. กำรกำหนดขีดจำกัดของควำมเร็วรอบของสปินเดิลใช้ โค้ดคำสั่งใด.
ก. G66 ข. G70 ค. G84 ง. G92

5. คำสั่งให้ทูลเคลื่อนที่ไปอย่ำงรวดเร็วโดยไม่มีกำรแมชชีนชิ้นงำนด้วยควำมเร็วสูงสุดของเครื่อง ( หรือเรียก
ว่ำ เรพพิด Rapid Traverse ) จำกจุดเริ่มต้นหรือ ตำแหน่งปัจจุบันไปยังตำแหน่งเป้ำหมำยที่ต้องกำรใช้
โค้ดคำสั่ง คือ.
ก. G00 ข. G01 ค. G82 ง. G99

6. .คำสั่ง CYCLE กลึงงำนหยำบแบบ Roughing Cycle With Groove


ก. G63 ข. G64 ค. G65 ง. G33

7. คำสั่ง CYCLE สำหรับกำรกลึงเกลียวที่มีระยะ Pitch คงที่ คือ


ก. G63 ข. G64 ค. G65 ง. G33

8. จบโปรแกรม ( End of program ) แล้วกลับไป บล็อกแรกของโปรแกรม.


ก. M00 ข. M01 ค. M30 ง. M99
161

9. คำสั่งให้สปินเดิลหมุนทวนเข็มนำฬิกำ คือ.
ก. M03 ข. M04 ค. M05 ง. M06

10. คำสั่งที่ใช้จับยึดชิ้นงำนที่หัวจับ ( Clamp Workpiece ) คือ .


ก. M10 ข. M11 ค. M12 ง. M13
162

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 6 คาสัง่ G - Code และ M - Code สาหรับเครื่องกลึง
ข้อที่ คาตอบ
1. ข.
2. ก.
3. ข.
4. ง.
5. ค.
6. ก.
7. ง.
8. ค.
9. ข.
10. ก.

You might also like